You are on page 1of 35

ข้อสอบกฎหมายแพ่ง 1 และวิธีตอบคำาถามที่ถูกต้อง

เด็กชายดี อายุ 14 ปี เป็นเด็กมีความประพฤติดีและสอบได้คะแนนดี นายเด่นบิดาจึงซื้อจักรยานเสือภูเขาให้ 1 คัน ราคา


5,000 บาท เด็กชายดีขี่จักรยานผ่านหน้าบ้านนายดัง (นักศึกษาปริญญาเอก) ทุกวัน ๆ ละหลาย ๆ รอบ นายดังชอบรถจักรยานคันนั้น
และแอบรูว้ ่าเด็กชายดีเป็นคนขี้เบื่อ-เชื่อคนง่ายจึงสอนให้เด็กชายดีขี่มอเตอร์ไซค์จนเป็น เด็กชายดีเบื่อรถจักรยานและอยากได้มอเตอร์ไซค์
แทน นายดังจึงออกตัวว่าสงสารเด็กชายดีและจะรับซื่อรถจักรยานเองแต่ขอให้ขายราคาถูกเพียง 2,000 บาท เด็กชายดี ดีใจ จึงรีบขาย
ทันที แล้วทุบกระปุกออมสินได้เงินมากพอไปซื้อมอเตอร์ไซค์ นายเด่นบิดาโกรธหาว่านายดังหลอกเด็กจึงพามาพบท่านในฐานะทนายความ
ท่านจะแนะนำานายเด่นว่าอย่างไร

(แนวคำาตอบ)

ย่อหน้าที่หนึ่งเน้นหนักไปทางแก่นกฎหมายแยกเป็นหมวดหมู่สาระสำาคัญ

บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เรื่อง ความสามารถในการทำานิติกรรมของผู้เยาว์ มีสาระสำาคัญสรุปได้ดังนี้

-นิติกรรมใด ๆ ที่ผู้เยาว์ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อนย่อมเป็นโมฆียะ เว้นแต่จะบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น

-ผู้แทนโดยชอบธรรมมีสิทธิ...

1.ให้สัตยาบันแก่นิติกรรมออันเป็นโมฆียะนั้นให้สมบูรณ์ได้หรือ

2.บอกล้างนิติกรรมอันเป็นโมฆียะนั้นให้ตกเป็นโมฆะ

-การให้สัตยาบันต่อนิติกรรมที่ผู้เยาว์ได้ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมนั้นย่อมกระทำาได้โดยแสดงเจตนาต่อคู่กรณี
อีกฝ่ายหนึ่งและมีผลให้นิติกรรมดังกล่าวสมบูรณ์ตลอดไป

-การบอกล้างนิติกรรมที่ผเู้ ยาว์ได้ทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมนั้น ย่อมกระทำาได้โดยแสดงต่อคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง


มีผลให้นิติกรรมดังกล่าวตกเป็นโมฆะคือเสียเปล่ามาแต่เริ่มแรก และให้ผู้เป็นคู่กรณีกลับคืนสู่ฐานะเดิม ถ้าเป็นการพ้นวิสัยจะให้กลับคืนเช่น
นั้นได้ ก็ให้ได้รับค่าเสียหายชดใช้แทนนอกจากนี้หากผู้มสี ิทธิบอกล้างมฆียะกรรมมิได้ใช้สิทธิบอกล้างเมื่อพ้นหนึ่งปีนับแต่เวลาที่อาจให้
สัตยาบันได้หรือเมื่อพ้นเวลาสิบปี นับแต่ได้ทำานิติกรรมอันเป็นโมฆียะนั้น

(ย่อหน้าที่สอง เน้นหนักไปในทางวินิจฉัย หรือปรับบทกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริง ภาษากฎหมายมาตรานั้น วรรคนั่น เขาเรียกว่าอะไรก็เรียก


ไปตามนั้น)

กรณีตามปัญหาวินิจฉัยดังนี้ เด็กชายดีอายุ 14 ปี ผู้เยาว์ในฐานะผู้ขายตกลงขายรถจักรยานเสือภูเขา ซึ่งนายเด่นบิดาซื้อมาให้ตนในราคา


5,000 บาท แก่นายดังผู้ซื้อในราคาเพียง 2,000 บาท โดยยังไม่ได้รับความยินยอมจากนายเด่นบิดาของเด็กชายดีในฐานะผู้แทนโดย
ชอบธรรมของเด็กชายดีผู้เยาว์ ทำาให้นิติกรรมซึ่งก็หมายถึงสัญญาซื้อขายรถจักรยานเสือภูเขาระหว่างเด็กชายดีผู้ขายกับนายดังผู้ซื้อนั้นตกเป็น
โมฆียะ เมื่อนายเด่นมาปรึกษาข้าพเจ้าในฐานะทนายความข้าพเจ้าจะแนะนำาให้นายเด่นพิจารณาทางเลือกเป็น 2 แนวทางดังนี้

ก.ทางเลือกที่หนึ่ง หากนายเด่นตัดสินใจยอมรับนิติกรรมซึ่งหมายถึงสัญญาซื่อขายที่เด็กชายดีบุตรของตนในฐานะผู้ขายได้ทำาขึ้นกับ
นายดังในฐานะผู้ซื้อ นายเด่นสามารถให้สัตยาบันแก่นิติกรรมหรือสัญญาซื้อขายนั้นได้ด้วยการแสดงเจตนายินยอมให้นายดังรับทราบ หรือ
ทอกระยะเวลาออกไปให้พ้นหนึ่งปีนับแต่เวลาที่อาจให้สัตยาบันได้หรือเมื่อพ้นสิบปีนับแต่เด็กชายดีและนายดังทำานิติกรรมซึ่งหมายถึงสัญญา
ซือ้ ขายนั้น

ข. ทางเลือกที่สอง หากนายเด่นตัดสินใจไม่ยอมรับนิติกรรมซึ่งหมายถึงสัญญาซื้อขายที่เด็กชายดีบุตรของตนในฐานะผู้ขายได้ทำา
ขึ้นกับนายดังในฐานะผู้ซื้อ นายเด่นสามารถบอกล้างนิติกรรมหรือสัญญาซื้อขายนั้นได้ด้วยการแสดงเจตนาบอกล้างให้นายดังทราบ มีผลให้
นิติกรรมซึ่งหมายถึงสัญญาซื้อขายนั้นตกเป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรกและให้เด็กชายดีและนายดังคู่กรณีกลับคืนสู่ฐานะเดิมคือเด็กชายดีต้องคืน
ราคาคือเงินค่าซื้อรถจักรยานที่ได้รับจากนายดังให้แก่นายดังไป และนายดังต้องคืนรถจักรยานคันที่เด็กชายดีส่งมอบให้เพราะเป็นการปฏิบัติ
ตามการซื้อขาย และถ้าเป็นการพ้นวิสัยที่จะได้คืน เช่นนายดังทำาให้รถจักรยานพังเสียหาย นายดังก็ต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่เด็กชายดี

(ย่อหน้าที่สาม สรุปสั้น ๆ ตามคำาถามทีละประเด็นให้ครบถ้วน)

สรุปหรือธง

ข้าพเจ้าแนะนำาให้นายเด่นพิจารณาทางเลือกตาม ก. หรือ ข. ด้วยเหตุผลตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น

- ที่มาจากหนังสือประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อาญา โดย ผศ.อรรถสิทธิ์ ชื่นสงวน -

วิธีการเขียนตอบ “ข้อสอบอุทาหรณ์”

(1) โครงสร้างของการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์

ข้อสอบอุทาหรณ์เกือบทั้งหมด เป็นข้อสอบอุทาหรณ์แบบทัว่ ไป ซึ่งมีโครงสร้างการเขียนตอบคล้ายกัน คือ จะประกอบไปด้วยเนื้อหา 4


ส่วน ซึ่งจะมีลำาดับการเขียนตอบก่อนหลังกัน ดังต่อไปนี้

1. ประเด็นของคำาถาม

การเขียนตอบ โดยมากจะเริ่มต้นด้วยการตั้งประเด็นของคำาถาม กล่าวคือเมื่อนักศึกษาอ่านคำาถามและจับประเด็นข้อสอบได้แล้ว เพื่อแสดงให้


ผู้ตรวจเห็นถึงความสามารถในการวินิจฉัยข้อเท็จจริงในเบื้องต้น และเพื่อป้องกันการวินิจฉัยผิดพลาด หรือหลงประเด็น นักศึกควรจะเขียน
ประเด็นของคำาถามไว้เป็นลำาดับแรกของการเขียนตอบ

2. หลักกฎหมาย

ข้อสอบอุทาหรณ์จะมีคะแนนของหลักกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับประเด็นของคำาถามเสมอ ซึง่ อาจจะมีสัดส่วนน้อยกว่าการปรับบทซึ่งเป็นส่วนที่


3 แต่คะแนนของหลักกฎหมายก็อาจเป็นส่วนที่สามารถชี้วัดผลการสอบในแต่ละข้อได้ บางครั้งผู้ตรวจข้อสอบอาจกำาหนดสัดส่วนการให้
คะแนนของหลักกฎหมายถึงครี่งหนึ่งของคะแนนทั้งข้อ ซึ่งมักจะเป็นกรณีทคี่ ำาถามมีประเด็นที่ถามหลายประเด็น

3. การปรับบทกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริง

ส่วนนี้อาจจะเรียกได้ว่าเป็นส่วนที่สำาคัญที่สุดของการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์ เนื่องจากเป็นส่วนที่วัด ความเข้าใจในหลักกฎหมาย และ


ความสามารถในการปรับใช้หรือวินิจฉัยของนักศึกษา ความยากในการเขียนตอบข้อสอบอุทาหรณ์จึงอยู่ที่ส่วนของการปรับบทกฎหมายนี่เอง

4. การสรุปคำาตอบ

ส่วนนี้อาจถือได้ว่าเป็นส่วนสุดท้ายที่จะมาเติมเต็มให้กับการเขียนตอบข้อสอบของนักศึกษาจบลงด้วยความสมบูรณ์ ทั้งนี้แม้นักศึกษาจะจับ
ประเด็น วางหลักกฎหมาย หรือปรับบทที่ถูกต้อง แต่หากนักศึกษาไม่สรุปคำาตอบให้ตรงกับคำาถามที่โจทย์ถาม ก็เหมือนนักศึกษายังไม่ได้ทำา
ในสิ่งทีผ่ ู้ถามประสงค์จะให้ทำา ซึง่ นักศึกษาอาจเสียคะแนนที่ไม่ควรจะเสียไป

ก ทำางานกลางคืน วันหนึ่งขณะเลิกงานซึ่งเป็นเวลาดึกมาก ก เดินกลับบ้านมาคนเดียวระหว่างทางขณะที่เดินเข้าซอย มีวัยรุ่น 2


คน ซึง่ เป็นอัธพาลอยู่แถวนั้นได้ตรงเข้าล้อม ก และชกต่อยทำาร้าย ก จึงวิ่งหนี้ พร้อมกันนั้นเหล่าวัยรุ่นก็วิ่งไล่ตาม พอดีสวนทางกับ
ยามของหมู่บ้านแถวนั้น ก จึงผลักยามล้มลงพร้อมกับแย่งปืนของยามเพื่อเอามาขู่วัยรุ่น แต่วัยรุ่นพวกนั้นก็ยังตรงเข้ามาทำาร้าย ก อีก
จึงยิงปืนไปหนึ่งนัด ถูกวัยรุ่นคนหนึ่งถึงแก่ความตาย ทั้ง ก มีความผิดที่กระทำาต่อวัยรุ่นผู้ตายหรือไม่และจะต้องรับโทษเพียง ใด
หรือไม่
เฉลย

มาตรา 68(บ่อ) บัญญัติว่า “ผู้ใดจำาได้ต้องกระทำาการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการ


ประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายและเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำาโดยสมควรแก่เหตุ การกระทำานั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วย
กฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด”

ตามมาตรา 604 ถ้าผู้ว่าจ้างเป็นผู้จัดหาสัมภาระ และการที่นั้นพังทลายหรือบุบสลายลงก่อนได้ส่งมอบกันถูกต้อง ความวินาศนั้น


ตกเป็นพับแก่ผู้ว่าจ้าง หากความวินาศนั้นมิได้

ในกรณีเช่นว่านี้ สินจ้างก็เป็นอันไม่ต้องใช้ เว้นแต่ความวินาศนั้นเป็นเพราะการกระทำาของผู้วาจ้าง

ตามปัญหา การที่ ก. ตกลงจ้าง ข. จัดสร้างโรงรถเป็นสัญญาจ้างทำาของตามมาตรา 587 เพราะมีวัตถุประสงค์เพื่อผลสำาเร็จ


แห่งการที่ทำาและ ก. ผูว้ ่าจ้างเป็นผู้จัดหาสัมภาระ การที่โรงรถที่สร้างเสร็จถูกพายุพัดแรงผิดปติจนพังทลายลงก่อนที่ส่งมอบโรงรถนั้น มิใช่
เป็นเพราะการกระทำาของ ข. ผูร้ ับจ้าง ความวินาศจึงตกเป็นพับแก่ ก. ผูว้ ่าจ้างตามมาตรา 604 วรรคแรกดังนั้น ก. จะเรียกให้ ข.
จัดการทำาให้ใหม่หาได้ไม่

กรณีดังกล่าวที่โรงรถพังทลายลงมิใช่เป็นเพราะการกระของ ก.ผู้ว่าจ้าง ข. จะเรียกร้องให้ ก. ผูว้ ่าจ้างจ่ายสินจ้างให้ตนหาได้ไม่


กรณีต้องด้วยมาตรา 604 วรรค 2 ตอนแรก

บางคนอาจจะคิดว่าวิชา แพ่ง 1 มันยากตรงไหน ถึงว่ามันปราบเซียนอันนี้เป็นเรื่องที่บัณฑิตมสธ.ที่จบการศึกษาไปแล้วเล่าให้ผมฟัง จริงๆ


แล้วมสธ.เราเรียนกันแบบลูกเมียน้อย (ภาษาชาวบ้าน)

อ.จะแค่สอนเสริมให้ไม่กี่ครั้งทีเ่ หลืออ่านเองทำาความเ¢้้าใจเองใครไม่เ¢้้าใจต้องโทรไปถามกันเอาเอง

แพ่ง 1 เป็นวิชาพื้นฐานใครๆก็อาจคิดว่ามันไม่ยากสบายๆ

สุดท้ายได้ U กันเพราะไม่เ¢้้าใจในเนื้อเอาประสบการณ์ส่วนตัวมาตอบโดยไม่ได้อ้างอิงตัวบทกฎหมาย

(ผู้เ¢้ียนเองก็ยังต้องปรับทัศนคติ ก่อนเรียนวิชานี้จึงสอบผ่านมาได้)

กลับมาพูดถึงอดีต นศ.มสธ.ท่านหนึ่ง ท่านนี้เป็นตำารวจทำางานอยู่กทม.

เรียนมสธ.มานานพอควรสอบผ่านในแทบทุกรายวิชาและลงประสบการณ์วิชาชีพฯไปแล้ว

แต่ก็ยังสอบตกในรายวิชา แพ่ง 1 อยู่อีก จนต้องเดือดร้อนโทรมาสอบถามเพื่อนที่สอบผ่านรายวิชานี้แล้วที่¢อนแก่น ให้ติวให้

และออกค่าโทรฯเอง (สมัยนั้นค่าโทรแพงสุดๆและเพื่อนคนอื่นที่เ¢ารูจ้ ักก็ยังสอบไม่ผ่านแพ่ง 1) สุดท้ายก็สอบผ่านและเรียนจบจนได้


ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มสธ.

เรื่องนี้แสดงให้เห็นว่า นศ.ทุกท่านที่สอบไม่ผ่านไม่ได้หมายความว่าเ¢าโง่

แต่ต้องกลับทบทวนดูว่าตนเองมีจุดผิดพลาดตรงไหน ที่ใด เช่น

แนวคิด วิธีการศึกษา วิธีตอบ¢้้อสอบ

ผูเ้ ¢้ียนเองเคยศึกษา ป.ตรีใน ม.ปิด¢องรัฐมาก่อน


ซึง่ กว่าจะสลัดทัศนคติเก่าๆออกได้ก็ใช้เวลาร่วมๆ 1 ปี

เพราะ¢ณะนั้นที่ลงเรียนเรียนพร้อมกันทั้ง 2 ทีจ่ ึงหนักหน่วงกว่าปกติ

***เรื่องอ่านหนังสือ 2 เล่มอ่านไม่จบไม่ใช่ปัญหาแต่ปัญหาคืออ่านจบแล้วคุณเ¢้้าใจมันรึเปล่า

สรุปแล้วผูเ้ ¢้ียนเองยังต้องอ่านหนังสือ 4-5 เล่มต่อวิชาเพื่อทำาความเ¢้้าใจวิชาด้านกฎหมายเพราะบางหน่วยผูเ้ ¢้ียนหน่วยนั้นๆยังถ่ายทอด


ความรู้ได้ไม่ชัดเจน

ดังนั้นสำาหรับผู้ที่สอบตกไม่ต้องเสียใจ พยายามหาจุกผิดพลาดปรับปรุงแก้ไ¢ ในเมื่อเราไม่เก่งแต่เราเน้นพยายาม¢ยันเอา ผู้เ¢้ียนเชือ่ ว่าหาก


ตั้งใจแล้วทุกท่านจะสอบผ่านได้

การหาแนว¢้้อสอบก็เป็นอีก 1 วิธีการ บางท่านอาจจะคิดว่าเหมือนการลอกการบ้านคนอื่น

แต่ผเู้ ¢้ียนมีวิธีแนะนำาคือนำาโจทย์ที่ได้มานั้นหัดทำาด้วยตนเองเสียก่อนจากนั้นค่อยดูเฉลยและนำาตัวบทมาเทียบเคียงว่า

ที่ตอบไปนั้นผิดพลาดตรงไหน เพราะถึง¢้้อสอบไม่ออกแบบเดิมแต่ตัวบทกฎหมายนั้นยังคงเหมือนเดิม(ยกเว้นกฎหมายมีการแก้ไ¢

โชคดีทุกท่านในการสอบซ่อม

แพ่ง 1 ปราบเซียน สำาหรับผมเหมือนกัน นะ ส่วนตัวผมแล้วคิดว่า แพ่ง 1 เป้นวิชาเริ่มต้น ของแพ่ง และ หลักการเขียน ทางแพ่ง
ให้ได้คะแนนดี มันจะต่างกันกับอาญานิดๆ ร่วมทั้งตัวบทที่ยืดยาวปรับหลายมาตรา ต่อ 1 ข้อ แต่เมื่อใดที่คนแพ้ทางแพ่ง 1 ผ่านแพ่ง 1 ไป
ได้ จะรูว้ ่าไม่มีวิชาใดยากสำาหรับท่านอีกเลย ใน นิติมสธ. เคล็ดลับส่วนตัวผมเอง จะไม่ท่องว่ามาตราว่าไว้อย่างไร แต่ผมจะจำาว่า ถ้ามาตรานี้
ถ้าจะหลอกจะหลอกอย่างไร เพื่อเป้นการดักทางไว้ก่อน

ถ้าคุณอ่านตามวิธีที่แนะนำาไว้ในเอกสารประกอบการสอนไม่น่าจะมีปัญหา แพ่ง๑ เป็นพื้นฐาน ซึง่ จะต้องใช้เป็นอันดับแรกในการ


พิจารณาเรื่องต่าง ศัพท์กฎหมายบางคำาไม่เคยได้ยิน วิธีการพิจารณาและวิเคราะห์ปํญหาก็เป็นเรื่องใหม่ ไม่รู้คนอื่นมีวธี ีเรียนอย่างไร แต่ผมทำา
ตามวิธีที่แนะนำามาในเอกสารการสอน และผมมีเวลาน้อยจะได้อ่านก็รอบเดียว แต่ก็ผ่านมาได้มีซ่อมชุดเดียว ข้อสอบอยู่ในเอกสารการสอน
ไปเรียนสอนเสริม บ้างถ้ามีเวลา โทรถามหน่วยเน้นจากคณะ ทำาความเข้าใจตัวบท มาตราอะไรเป็นมาตราสำาคัญ อย่าท่องตัวบทอย่างนกแก้ว
นกขุนทอง เท่านี้น่าจะทำาให้ผ่านได้ไม่ลำาบากนัก

อ่านแล้วก็...โดยส่วนตัวคิดว่าแพ่งหนึ่งอาจจะยากในแง่เป็นวิชาที่ลงแรกๆ อาจมีความไม่คุ้นชิน ทั้ง ภาษากฎหมาย ทั้งการท่องจำา


ให้เข้าใจกับตัวบท แต่สำาหรับผู้ที่เรียนเกือบจบแล้วยังต้องใช้ความพยายามกับแพ่งหนึ่งนี่ ไม่เข้าใจ หรืออาจเป็นแบบท่านเจ้าของกระทู้ว่า แพ้
ทางกัน เหมือนงูแพ้เชือกกล้วย แน่ๆเลย

สิ่งสำาคัญเหนือ การท่องจำาคือความเ¢้้าใจครับเมื่อใจแล้วการท่องจำาเป็นเรื่องรองครับ

เพราะสอบอัตนัยเป็นแนววิเคราะห์ ถามความเ¢้้าใจการท่องแบบนกแก้วนก¢ุ้นทองจึงไม่มีประโยชน์อย่างเช่นเรื่องสัญญา ถึงแม้ท่องตัวบทไ


a ม่ได้ แต่ถ้าจับหลักได้ว่าคำาเสนอคำาสนองต้องถูกต้องตรงกันสัญญาจึงจะเกิดเมื่อสัญญาเกิดแล้ว จึงเป็นนิติกรรมที่ผูกพันคู่สัญญา

(ไม่มีในตัวบทโดยตรงมันคือความเ¢้้าใจ) ทีเ่ หลือก็คือต้องรู้ว่าสิ่งใคคือคำาเสนอสิ่งใดคือคำาสนอง

เท่านี้เวลาสอบคุณก็เห็นธงใน¢้้อนั้นตั้งแต่อ่านโจทย์แล้ว

การสอบแพ่ง 1 ให้ผ่านคุณจะต้องเ¢้้าใจว่าโจทย์ถามเรื่องอะไร

เช่น โจทย์ถามเรื่องสัญญา แต่ลวงด้วยเรื่องคำาเสนอที่มีระยะทาง เช่นการเ¢้ียนจดหมาย


ถ้าเ¢้้าใจเรื่องสัญญาเรื่องคำาเสนอที่มีระยะทางก็ไม่มผี ลอะไรเลยครับถึงไม่ตอบหลักกฎหมายตรงนี้แต่ตอบหลักกฎหมายเรื่องสัญญา ก็สอบ
ผ่านแล้วครับ

ตอนสอบครั้งแรก ผูเ้ ¢้ียนนึกไปเองว่าถามเรื่องสัญญาต่างตอบแทน เลยไม่ผ่านแต่พอทบทวนโจทย์ที่ตนเองเคยตอบมาปรับเ¢้้ากับ


หลักกฎหมายจึงทราบว่าโจทย์ถามเรื่องสัญญา ในส่วน¢องบททั่วไปเท่านั้นเอง

แต่มาคิดอีกที ยากจริงๆ เพราะตอนสอบกลับมาบ้าน มั่นใจมากว่าตัวเองต้องได้ H แบบว่านอนมาไม่มีพระนำา ไม่กระวนกระวายรอผลสอบ


เลย น้องกับลูกสาวเสียอีกเป็นคนเช็คให้ แล้วแซวว่าแม่ขี้โม้ได้แค่ S ก็มานั่งคิดแบบจริงจังนะว่า เป็นการตอบอัตนัยครั้งแรก แม้ธงจะถูกหมด
แต่ในรายละเอียดอาจยังไม่เข้าข่ายถูกใจอาจารย์ ไม่สงสัยปรนัยเพราะคิดว่าแม่นแล้วประเมินถูก สรุป คือต้องวางธงไว้ว่าต้อง H จะได้ไม่
ต้องสัมผัสกับ U อิๆๆๆ

แนะนำา ให้อ่านหนังสือประกอบกับตัวบท ทำาความเข้าใจทุกย่อหน้า อย่าข้าม

ทำาตามวิธีที่มสธ.กำาหนดคือทำาแบบทดสอบก่อนเรียน อ่าน ตอบคำาถาม จบหน่วยแล้วทำาแบบทดสอบหลังเรียนอีกที (มสธ.ศึกษาแล้วว่าน


ศ.ที่ทำาตามวิธีดังกล่าวมีผลการสอบแตกต่างจากกลุ่มที่ไม่ได้ทำาอย่างมีนัยสำาคัญครับ)

สุดท้ายก่อนสอบต้องท่องตัวบทหลัก ๆ สำาคัญๆ ให้ได้ ถ้าไม่เป๊ะก็เอาหลักให้ครบในมาตรานั้น อ่านโจทย์แล้วอย่าพึงวางธง วางตัวบทก่อน


แล้ววินิจฉัยประกอบ แล้วไปตามนั้น ซึ่งจะไปอย่างมีเหตุผลประกอบ คำาตอบอาจผิดธง แต่โอกาสพลาดมีน้อยครับ

โชคดีในการสอบครับ

ของเรา ดันสอบแพ่ง 2 ผ่านก่อนแพ่ง 1 อีก แพ่ง 1 สอบสามหนถึงผ่าน(สอบหนแรกลงทะเบียนเรียนรอบแรก หนสองลง


ทะเบียนซ่อม หนสามลงทะเบียนรอบสอง) หลังจากที่ผ่านแพ่ง 2 ไปแล้ว อ้อ แพ่ง 2 สอบหนเดียวผ่าน เป็นงงกับตัวเองเหมือนกัน
เอาใจช่วยทุกท่านนะ พยายามต่อไป

ข้อที่1 นายสมศักดิ์อายุ 17 ปี ศาลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ โดยมีนายสมส่วนบิดาเป็นผู้พิทักษ์ รู้ว่าตัวเองเป็นโรค


ร้าย

จึงทำาพินัยกรรมยกรถยนต์ให้นางสาวนำ้าฝนแฟนสาว เมื่อนายสมศักดิ์ตาย นางสาวนำ้าฝนมาขอรับรถยนต์ตามพินัยกรรม นายสมส่วนไม่ให้

อ้างว่าตนยังไม่ได้ให้ความเห็นชอบในการทำาพินัยกรรมของนายสมศักดิ์ พินัยกรรมจึงเป็นโมฆะ ....ถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร

ข้อที่ 2 นายใต้เป็นคนที่มีหนี้สินล้นพ้นตัว กลัวเจ้าหนึ้จะเป็นว่ามีทรัพย์สินแล้วตามมาทางหนี้จึงแกล้งตกลงกับนายเหนือทำาสัญญา


ขายรถยนต

้์และรถจักรยานยนต์ให้ ต่อมานายเหนือกับนายใต้ทะเลาะกัน นายเหนือจึงนำารถยนต์ไปขายต่อให้นายเอก และยกรถจักรยานยนต์ให้นางสาว


โท

แฟนสาว ภายหลังนายใต้ทราบเรื่องจึงมาขอรถยนต์และรถจักรยานยนต์คืน นายเอกและนางสาวโทอ้างว่าไม่เคยรู้เรื่องระหว่างนายใต้และนาย


เหนือ

จึงไม่ยอมคืนให้ ..ก็อธิบายปายว่าเห็นด้วยหรือไม่ประมาณนี้น่ะนะ

ข้อที่ 3 แดงต้องการขายรถยนต์ให้ต้อย ในราคา 300,000 บาท จึงเขียนจดหมายไปหาและบอกให้ต้อยตัดสินใจและตอบ


กลับได้ถึงวันที่ 10 สิงหาคม 2552
ต่อมาวันที่ 1 สิงหาคม ต้อยได้เจอกับแดงจึงบอกแดงว่า "ไม่ซื้อหรอก ยังไม่มเี งิน" จนกระทั่งวันที่ 5 สิงหาคม ต้อยได้รับโบนัสมา
500,000 บาท

และคิดว่ายังอยู่ในกำาหนดที่แดงเคยบอกไว้จึงเปลี่ยนใจ เขียนจดหมายไปตอบซื้อรถแดง จดหมายถึงแดงในวันที่ 9 สิงหาคม 2552 แต่


แดงไม่ยอมขายให้

บอกว่าต้องการเก็บไว้ให้ลูกใช้ ต้อยจะสามารถฟ้องบังคับให้แดงขายรถให้ได้หรือไม่ ....ถามประมาณนี้ให้อธิบายนะจ๊ะ

ไม่แน่ใจ จขกท หมายถึงท่องหลักกฎหมายในแต่ละมาตราเพื่อจำาไปเขียนสอบหรือจำาติดตัวไปตลอด ความเห็นผมส่วนตัวและเงื่อนไขสภาพ


แวดล้อมส่วนตัว ผมมีความเห็นทั้ง 2 ด้านดังนี้

1. ถ้าท่องไปสอบ ผมจะท่องมาตราสำาคัญในหน่วยเน้นที่อาจารย์ที่ไปสอนเสริ มแนะนำา(ถ้าไปได้เรียนสอนเสริม) หรือตามที่ผู้รู้+รุ่นพี่


บอกต่อกันมา อันนี้ผมพยายามท่องให้จำาขึ้นใจ(แต่จะจำาได้แค่ไหนเป็นอีกเรื่องหนึ่ง) สรุปข้อนี้คือ เข้าใจและจำาหลักกฎหมายให้ได้มากที่สุด

2. ถ้าเป็นมาตรานอกจาก ข้อ. 1 ผมแค่อ่านไปพร้อมกับเอกสารเรียนของ มสธ.อันนี้ไม่ท่องแต่อ่านให้เข้าใจว่ามาตรานั้นมีหลักในข้อ


กฎหมายย่างไร มีคำาอธิบายอย่างไร มีคำาพิพากษาฎีกาอย่างไรบ้าง สรุปข้อนี้ต้องอ่านทั้งหมด พอเข้าใจ+แต่ไม่ท่อง

อันนี้เป็นความสามารถการจำาเฉพาะบุคคล ส่วนผมเอาแค่จำาไปสอบผมก็แย่ล่ะครับ เอาไปที่ละขั้นล่ะกัน ถ้าสอบผ่านหมดเรียนจบแล้วคงจะมี


เวลาเอาประมวลมานั่งทบทวนให้ครบถ้วน

ส่วนใครที่สามารถจำาได้ทุกมาตราในขณะเรียนนี่ต้องบอกว่าผมนับถือยกย่องจริง นับว่าจะเป็นผู้ประสบความสำาเร็จในการเรียนกฎหมายและ
จะเป็นนักกฎหมายที่แท้จริง ส่วนผมขอเป็นผู้รู้กฎหมายก็พอมากกว่าคนทั่วไปก็พอ

ข้อความจาก mjupost28

วันที่ 2 กรกฎาคม 2552 เวลา 16:43

พื้นที่ใช้ internet: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สมัครเมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2552 จำานวนโพสต์: 1731 ครั้ง

Profile Search Quote


ผมท่องแต่ที่เน้นๆๆครับ (หน่วยเน้น)

ส่วนที่ไม่เน้น ผมอ่านให้เข้าใจครับถ้าเข้าใจก็ไม่ยากที่จะสอบผ่าน

ข้อความจาก harakeeree
วันที่ 2 กรกฎาคม 2552 เวลา 16:45

พื้นที่ใช้ internet: ไม่ได้ระบุ

สมัครเมื่อ: 26 พฤษภาคม 2552 จำานวนโพสต์: 7 ครั้ง

Profile Search Quote


ขอบคุณมากๆครับสำาหรับคำาแนะนำา โดยส่วนตัว ตอนแรกคิดว่าจะท่องเฉพาะมาตราที่ปรากฏเฉพาะในหนังสือครับผม แต่หลังจากที่ได้รับคำา
แนะนำาแล้วทำาให้ได้แนวทางในการศึกษาที่ถูกต้อง เย้

ข้อความจาก สนิมแดง

วันที่ 2 กรกฎาคม 2552 เวลา 18:47

พื้นที่ใช้ internet: ภาคเหนือ

สมัครเมื่อ: 15 พฤษภาคม 2552 จำานวนโพสต์: 40 ครั้ง

Profile Search Quote


ผมท่องหมดเลย วันละ 3 มาตรา

ข้อความจาก หมอดู

วันที่ 2 กรกฎาคม 2552 เวลา 20:08

พื้นที่ใช้ internet: กรุงเทพฯ และปริมณฑล

สมัครเมื่อ: 13 มกราคม 2552 จำานวนโพสต์: 309 ครั้ง

Profile Search Quote


ฟังแล้วเครียดจังเยย จาไหวมั๊ยเนี่ย...

ข้อความจาก mjupost28

วันที่ 2 กรกฎาคม 2552 เวลา 21:19

พื้นที่ใช้ internet: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


สมัครเมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2552 จำานวนโพสต์: 1731 ครั้ง

Profile Search Quote


ท่านสนิมแดงขยันจริงๆๆ

ข้อความจาก Niti51

วันที่ 3 กรกฎาคม 2552 เวลา 16:28

พื้นที่ใช้ internet: กรุงเทพฯ และปริมณฑล

สมัครเมื่อ: 10 มิถุนายน 2552 จำานวนโพสต์: 120 ครั้ง

Profile Search Quote


เคยท่อง ทุกมาตราตอนแพ่ง 1 อาญา 1 หลังจากนั้น ........................หมดไฟ

ข้อความจาก sawai

วันที่ 4 กรกฎาคม 2552 เวลา 06:40

พื้นที่ใช้ internet: ภาคตะวันออก

สมัครเมื่อ: 19 กุมภาพันธ์ 2552 จำานวนโพสต์: 55 ครั้ง

Profile Search Quote


คุณเอาเวลาไหนไปท่องกันเนี้ยผมมีแต่งาน+นอน+เลี้ยงลูก = หมดเวลา ไปทามงานต่อ

ข้อความจาก mjupost28

วันที่ 23 มิถุนายน 2552 เวลา 22:10

พื้นที่ใช้ internet: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สมัครเมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2552 จำานวนโพสต์: 1598 ครั้ง

Profile Search Quote


แนวแพ่ง 1

ข้อ 1 นั้นจะเป็นเรื่องสภาพบุคคล ซืง่ ประกอบด้วย

สภาพบุคคลเริ่มตั้งแต่อยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย ม.15

1.ผู้เยาว์ ผูเ้ ยาว์จะบรรลุติติภาวะได้ อย่างไร ตาม ม.19 ม.20

ผูเ้ ยาว์ทำานิติกรรมใดๆต้องได้นับความยินยอมจากผู้แทนโดนชอบธรรมก่อนหากไม่ได้รับความยินยอมเป็นโมฆียะ ตาม ม.21

ส่วนข้อยกเว้นที่ไม่ต้องขอความเห็นชอบจากผู้แทนโดยชอบธรรม

ม.22 ม.23 ม.24 ม.25(การทำาพินัยกรรมหากตำ่ากว่า 15 ปีเป็นโมฆะตาม ม.1703) ม.26

2.ผู้ไร้ความสามารถ ม.28 ใครมีอำานาจร้องขอต่อศาลให้เป็นคนไร้ความสามารถเมื่อศาลสั่งแล้วจะมีผู้อนุบาล ม.29 การใดที่บุคคลไร้


คงามสมมารถกระทำาเป็นโมฆียะ ระวังม.30 ดีๆอ่านให้เข้าใจ

3.ผู้เสมือนไร้ความสามารถ ม.32 ใครมีอำานาจร้องต่อศาลและเป็นผู้พิทักษ์

ส่วนมาจะใช้ร่วมกับเรื่องโมฆกรรมโมฆียกรรม ม.175 ม 176 ม.177 ม.178

หากย่อนไปกระทู้ก่อนๆท่านปีศาลสายฟ้าได้บรรยายาภาพรวมไว้ได้ดีมากแล้วครับ

ข้อความจาก mjupost28

วันที่ 23 มิถุนายน 2552 เวลา 22:25

พื้นที่ใช้ internet: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สมัครเมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2552 จำานวนโพสต์: 1598 ครั้ง

Profile Search Quote


ข้อ 2 เป็นเรื่องของนิติกรรมครับ

1.นิติกรรมเกิดขึ้นได้อย่างไร ตาม ม.149

2.วัตถุประสงค์ต้องห้ามต่อกำาหมายหรือไม่ตาม ม.150 การนั้นเป็นโมฆะ

3.ไม่ถูกต้องตามแบบเป็นโมฆะ

จะรวมกับเรื่องเจตนาครับ เช่นเจตนารวง เจตนาซ่อมเร้น นิติกรรมอำาพราง กลฉ้อฉน กลฉ้อฉนถึงขนาด ต้องแยกให้ออกครับว่าเป็นโมฆียะ


เพราะอะไร

หากย่อนไปกระทู้ก่อนๆท่านปีศาลสายฟ้าได้บรรยายาภาพรวมไว้ได้ดีมากแล้วครับ
ข้อความจาก mjupost28

วันที่ 23 มิถุนายน 2552 เวลา 22:31

พื้นที่ใช้ internet: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สมัครเมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2552 จำานวนโพสต์: 1598 ครั้ง

Profile Search Quote


ข้อ 3 เป็นเรื่องสำญญาครับ

มีตวั ที่ต้องดูการก่อเกิดสัญญาเกิดได้อย่างไร

คำาเสนอ คำาสนอง ถูกต้องตรงกันหรือไม่ ล่วงเวลาไหม

หรือไม่จะออกผลแห่งสัญญา

ในสัญญาต่างตอบแทน ดู ม.369 ม.370 ม.371 ม.372

ไม่ยากเกินไปครับลองดูนะครับพยายามดู

ความสามารถบุคคล

หลักการ : บุคคลย่อมมีสิทธิและหน้าทีเ่ สมอภาคกัน แต่ความสามารถบุคคลนั้นต่างกัน ดังนั้น กฎหมาย จึงจำาเป็นต้อง


ปกป้องคุ้มครองสิทธิและประโยชน์ของบุคคลเหล่านี้

บุคคลที่มีปัญหาในเรื่องความสามารถบุคคล คือ - ผู้เยาว์

- คนไร้ความสามารถ

- คนเสมือนไร้ความสามารถ

ผูเ้ ยาว์ : บุคคลซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ


1. การบรรลุนิติภาวะของผู้เยาว์มีกี่กรณี ?? มี 4 กรณี คือ

(1) โดยอายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ (ม.19)

(2) โดยการสมรส (ม.20) / อายุครบ 17 ปี บริบูรณ์ (ม.1448) / จดทะเบียนสมรส (ม.1457)

(3) โดยคำาสั่งศาล หากมีเหตุอันควรให้สมรส (ม.1448)

(4) ให้เสมือนว่าบรรลุนิติภาวะ ในกรณีที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจหรือการจ้างแรงงาน (ม.27 ว.2)

2. ผูเ้ ยาว์ทำานิติกรรมได้หรือไม่ ??

- ทำาได้ แต่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน (โดยลายลักษณ์อักษร โดยปากเปล่า

หรือโดยปริยาย) .....หากไม่ได้รับความยินยอม เป็นโมฆียะ (ม.21)

- มีนิติกรรมบางประเภท ที่ผู้เยาว์ทำาได้เองโดยไม่ต้องขอความยินยอม

* นิติกรรมทีเ่ ป็นคุณประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว (ม.22)

* นิติกรรมที่ต้องทำาเองเฉพาะตัว (ม.23) เช่น การรับรองบุตรของตัวเอง ทำาพินัยกรรม ฯลฯ

* นิติกรรมทีจ่ ำาเป็นเพื่อการดำารงชีพ และต้องสมควรแก่ฐานานุรูป (ม.24)

* ทำาพินัยกรรมได้ เมื่ออายุครบ 15 ปี บริบูรณ์ (ม.25) / ถ้ายังไม่ครบ เป็นโมฆะ (ม.1703)

* เพื่อประกอบธุรกิจการค้า และการจ้างแรงงาน (ม.27 ว.2)

3. ใครคือผู้แทนโดยชอบธรรม ??

- ผูใ้ ช้อำานาจปกครอง ได้แก่ บิดามารดา (ม.1569)

- ผู้ปกครอง ได้แก่ บุคคลอื่นนอกจากบิดามารดา โดยคำาสั่งศาล (ม.1585)

- มารดา ย่อมเป็นผู้มีอำานาจปกครองบุตรเสมอ (ม.1546)

4. อำานาจหน้าที่ของผู้แทนโดยชอบธรรม

- ยินยอมให้ทำานิติกรรมใดๆ (ม.21)

- ยินยอมให้จำาหน่ายทรัพย์สินทั้งระบุและไม่ระบุวัตถุประสงค์ (ม.26)

- ยินยอมให้ประกอบธุรกิจ หรือทำาสัญญาเป็นลูกจ้าง (ม.27 ว.1)

- ยินยอมให้หมั้น (ม.1436)

- ยินยอมให้สมรส (ม.1454)

- ให้การอุปการะเลี้ยงดูและการศึกษา (ม.1564)

- จัดการและรักษาทรัพย์สินของผู้เยาว์ ด้วยความระมัดระวัง (ม.1571)


5. อำานาจหน้าที่ที่ผู้แทนโดยชอบธรรม ทำาไม่ได้

- การโอนทรัพย์สินโดยมีการแต่งตั้งผู้จัดการไว้แล้ว (ม.1577)

- บิดามารดาสละมรดก (ม.1615)

- นิติกรรม 13 ประเภท ที่ต้องขออนุญาตต่อศาล (ม.1574)

6. ใครเป็นผู้มีสิทธิบอกล้างโมฆียกรรม (ม.175)

- ตัวผู้เยาว์เอง (เมื่อบรรลุนิติภาวะ / ถ้ายัง ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม)

- ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม

- ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดก

7. ผลของการบอกล้างโมฆียกรรม (ม.176)

- นิติกรรมนั้นเป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรก คู่กรณีกลับคืนสู่ฐานะเดิม

- ถ้าเป็นการพ้นวิสัยจะให้กลับคืนเช่นเดิมได้ ต้องชดใช้ค่าเสียหายแทน

8. ใครเป็นผู้มีสิทธิให้สัตยาบัน (ม.177)

- ได้แก่ บุคคลกลุ่มเดียวกับที่มีสิทธิบอกล้างโมฆียกรรม ตาม ม.175

9. ผลของการให้สัตยาบัน (ม.177)

- นิติกรรมนั้นเป็นอันสมบูรณ์แต่เริ่มแรก

- ต้องไม่กระทบต่อสิทธิของบุคคลภายนอก

10. วิธีการบอกล้างหรือให้สัตยาบัน (ม.178)

- แสดงเจตนาแก่คู่กรณีอีกฝ่ายได้รู้ ก็เพียงพอแล้ว

11. โมฆียกรรมซึ่งเกิดจากความเป็นผู้เยาว์นั้น ผู้เยาว์จะให้สัตยาบันเองได้ ถ้าบรรลุนิติภาวะแล้ว (ม.179)

12. ถ้าผู้มสี ิทธิบอกล้างโมฆียกรรมตาม ม.175 ได้แสดงให้เห็นถึงพฤติการณ์ดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นการให้สัตยาบันแล้ว


(ม.180) เช่น

- ได้ปฏิบัติการชำาระหนี้แล้วทั้งหมดหรือแต่บางส่วน

- ได้มีการเรียกให้ชำาระหนี้นั้นแล้ว

-ได้มีการแปลงหนี้ใหม่

- ได้มีการให้ประกันเพื่อหนี้นั้น

- ได้มีการโอนสิทธิหรือความรับผิดชอบทั้งหมดหรือแต่บางส่วน
- ได้มีการกระทำาอย่างอื่นอันแสดงได้ว่าเป็นการให้สัตยาบัน

13. กำาหนดระยะเวลาการบอกล้างโมฆียกรรม (ม.181)

- ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้ว่าทำานิติกรรมทีเ่ ป็นโมฆียะ

- ภายใน 10 ปี นับแต่วันทำานิติกรรมที่เป็นโมฆียะ

- ข้อสังเกต : กรณีการให้สัตยาบัน ไม่มีกำาหนดระยะเวลา

บุคคลวิกลจริต

1. คนวิกลจริต หมายความถึงคนที่มีลักษณะ ดังนี้

- คนบ้า หรือคนที่มีจิตไม่ปกติ หรือสมองพิการ ไม่มีความรู้สึกผิดชอบอย่างยิ่ง

- คนสติวิปลาส หรือคนที่มีกิริยาอาการผิดปกติธรรมดา เนื่องจากเจ็บป่วยถึงขนาดไม่มีความรู้สึกผิด

ชอบและไม่สามารถประกอบการงานได้

2. คนวิกลจริต แบ่งตามลักษณะการคุ้มครองของกฎหมายออกเป็น 2 จำาพวก คือ

(1) คนวิกลจริต ทีศ่ าลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หรือเรียกว่า “คนไร้ความสามารถ”

(2) คนวิกลจริต ทีศ่ าลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หรือเรียกว่า “คนวิกลจริต”

คนไร้ความสามารถ : คนที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถแล้ว

1. อาการวิกลจริต จนเป็นเหตุให้ศาลสั่งบุคคลให้เป็นคนไร้ความสามารถ มีลักษณะ 2 ประการ คือ

(1) ต้องเป็นอย่างมาก หมายความว่า เป็นถึงขนาดไม่มคี วามรู้สึกผิดชอบ พูดจาไม่รู้เรื่องไม่เข้าใจกัน ไม่มสี ติว่าตนได้


พูดหรือทำาอะไรลงไป

(2) ต้องเป็นอยู่ประจำา หมายความว่า อาการบ้าหรือวิกลจริตต้องมีลักษณะเป็นอาการประจำาตัวของบุคคลนั้น หรือเกิด


จากเหตุที่มีอยู่ในตัวบุคคลเป็นประจำา

2. วิธีการที่ทำาให้บุคคลกลายเป็นคนไร้ความสามารถ (ม.28)

- ต้องเป็นคำาสั่งศาลเท่านั้น

- ผูม้ ีสิทธิร้องขอต่อศาล

* คู่สมรส

* ผู้บุพการี ได้แก่ บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด

* ผู้สืบสันดาน ได้แก่ ลูก หลาน เหลน ลื่อ

* ผู้ปกครอง หรือผู้พิทักษ์ หรือผู้ซึ่งปกครองดูแล


* พนักงานอัยการ

- คนไร้ความสามารถต้องมี “ผู้อนุบาล” โดยคำาสั่งศาล

- คำาสั่งศาลต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา

3. นิติกรรมที่เกี่ยวข้องกับคนไร้ความสามารถ

- คนไร้ความสามารถไม่อาจทำานิติกรรมใดๆ ได้เลย ต้องให้ผู้อนุบาลเป็นผู้ทำาแทน (ม.29)

- นิติกรรมที่ผู้ไร้ความสามารถทำาขึ้น เป็นโมฆียะเสมอ (ม.29)

- พินัยกรรมที่คนไร้ความสามารถทำาขึ้น เป็นโมฆะ (ม.1704)

4. ผูม้ ีสิทธิร้องขอให้ศาลเพิกถอนคำาสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ (ม.31)

- คนไร้ความสามารถเอง เมื่อหายดีแล้ว

- บุคคลในกลุ่มเดียวกับที่ระบุใน ม.28

- คำาสั่งศาลต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา

5. ผูใ้ ดมีสิทธิเป็นผู้อนุบาล ??

- กรณีคนไร้ความสามารถยังไม่ได้สมรส

* ถ้ายังไม่บรรลุนิติภาวะ บิดามารดาเป็นผู้อนุบาล (ม.1569)

* ถ้าบรรลุนิติภาวะแล้ว บิดามารดา หรือบิดาหรือมารดา เป็นผู้อนุบาล (ม.1569/1)

- กรณีคนไร้ความสามารถสมรสแล้ว

* คู่สมรส เป็นผู้อนุบาล (ม.1463)

* ผู้มสี ่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ แล้วศาลแต่งตั้งผู้อนุบาล (ม.1463)

คนวิกลจริต : คนคุม้ ดีคุ้มร้าย

1. ตาม ม.30 นิติกรรมที่คนวิกลจริตที่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ จะสมบูรณ์หรือเป็นโมฆียะ มี 2 กรณี ดังนี้

(1) ขณะทำานิติกรรม ผู้นั้นมีจริตวิกล และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง “ไม่รู้” = = > สมบูรณ์

(2) ขณะทำานิติกรรม ผู้นั้นมีจริตวิกล และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง “รู้” = = > เป็นโมฆียะ

2. ผูใ้ ดอ้างว่า นิติกรรมเป็นโมฆียะ ผู้นั้นมีหน้าที่นำาสืบพิสูจน์ข้อกล่าวอ้างนั้น

3. ใครเป็นผู้มีสิทธิบอกล้างหรือให้สัตยาบันโมฆียกรรม

- คนวิกลจริตเอง ในขณะที่อยู่ในอาการคุ้มดี (ม.175 (4))


- ทายาทของคนวิกลจริต (ม.175 ว.2)

คนเสมือนไร้ความสามารถ

1. คนเสมือนไร้ความสามารถ คือ บุคคลที่มีเหตุบกพร่อง เนื่องจากร่างกายพิการ หรือจิตฟั่นเฟื่อนไม่สมประกอบ หรือมีความ


ประพฤติสว่ นตัวเสียหาย หรือเหตุอื่นทำานองเดียวกัน จนถึงขนาดไม่สามารถจัดทำาการงานโดยตนเองได้ (ม.32)

2. ผูม้ ีสิทธิร้องขอต่อศาลให้สั่งบุคคลเป็นผู้เสมือนไร้ความสามารถ เป็นบุคคลในกลุ่มเดียวกับที่ระบุใน ม.28

3. คนเสมือนไร้ความสามารถต้องมี “ผู้พิทักษ์” โดยคำาสั่งศาล (ม.32)

4. คำาสั่งศาลต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ม.32)

5. นิติกรรมบางอย่างที่ผู้เสมือนไร้ความสามารถทำาได้ แต่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ ถ้าไม่ได้รับความยินยอมเป็นโมฆียะ


(ม.34) นิติกรรมเหล่านี้ ได้แก่

(1) นำาทรัพย์สินไปลงทุน

(2) รับคืนทรัพย์สินที่ไปลงทุน ต้นเงินหรือทุนอย่างอื่น

(3) กู้ยิมหรือให้กู้ยืมเงิน ยืมหรือให้ยืมสังหาริมทรัพย์

(4) รับประกันโดยประการใดๆ อันเป็นผลให้ตนต้องถูกบังคับชำาระหนี้

(5) เช่าหรือให้เช่าสังหาริมทรัพย์มีกำาหนดระยะเวลาเกินกว่า 6 เดือน หรืออสังหาริมทรัพย์มีกำาหนด

เกินกว่า 3 ปี (ถ้าไม่เกินกว่า คนเสมือนไร้ความสามารถ ทำาได้ด้วยตนเอง)

(6) ให้โดยเสน่หา เว้นแต่การให้ที่พอควรแก่ฐานานุรูป เพื่อการกุศล การสังคม หรือตามหน้าที่ธรรม

จรรยา

(7) รับการให้โดยเสน่หาที่มีเงื่อนไขหรือค่าภาระติดพัน หรือไม่รับการให้โดยเสน่หา

(8) ทำาการอย่างหนึ่งอย่างใด เพื่อจะได้มาหรือปล่อยไปซึ่งสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ หรือในสังหาริม

ทรัพย์อันมีค่า

(9) ก่อสร้างหรือดัดแปลงโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือซ่อมแซมอย่างใหญ่

(10) เสนอคดีต่อศาลหรือดำาเนินกระบวนพิจารณาใดๆ เว้นแต่การร้องขอตาม ม.35 หรือการร้องขอ

ถอนผู้พิทักษ์

(11) ประนีประนอมยอมความ หรือมอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย

6. ผูม้ ีสิทธิร้องขอให้ศาลเพิกถอนคำาสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ (ม.36)

- คนไร้ความสามารถเอง เมื่อหายดีแล้ว
- บุคคลในกลุ่มเดียวกับที่ระบุใน ม.28

- คำาสั่งศาลต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา

7. ผูใ้ ดมีสิทธิเป็นผู้พิทักษ์ ??

- กรณีคนไร้ความสามารถยังไม่ได้สมรส

* ถ้ายังไม่บรรลุนิติภาวะ บิดามารดาเป็นผู้พิทักษ์ (ม.1569)

* ถ้าบรรลุนิติภาวะแล้ว บิดามารดา หรือบิดาหรือมารดา เป็นผู้พิทักษ์ (ม.1569/1)

- กรณีคนไร้ความสามารถแต่งงานแล้ว

* คู่สมรส เป็นผู้พิทักษ์ (ม.1463)

* ผู้มสี ่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ แล้วศาลแต่งตั้งผู้พิทักษ์ (ม.1463)

นิติกรรม และการแสดงเจตนา

นิติเหตุ

1. นิติเหตุ คือ เหตุการณ์ใดๆ ที่ทำาให้เกิดการเคลื่อนไหวในสิทธิตามกฎหมาย

2. นิติเหตุ แบ่งได้ 2 แบบ คือ

2.1 แบบที่แบ่งตามประเภท ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ

2.1.1 นิติเหตุที่เกิดจากเหตุการณ์ธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น

- การเกิด (ม.15) - การตาย (ม.1599)

- บรรลุนิติภาวะ (ม.19) - ที่งอกริมตลิ่ง (ม.1308)

2.1.2 นิติเหตุที่เกิดจากการกระทำาของบุคคล ซึ่งยังแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

(1) การกระทำาที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึง่ ยังแบ่งย่อยออกไปอีกเป็น 2 ประเภท คือ

(1.1) การกระทำาของบุคคลที่ชอบด้วยกฎหมาย ตัวอย่างเช่น

- นิติกรรม (ม.149)

(1.2) การกระทำาของบุคคลที่เกิดขึ้นเองโดยอำานาจกฎหมาย ตัวอย่างเช่น

- การจัดการงานนอกสั่ง (ม.395) - ลาภมิควรได้ (ม.406)


(2) การกระทำาที่มิชอบด้วยกฎหมาย ตัวอย่างเช่น

- การกระทำาละเมิด (ม.420)

2.2 แบบที่แบ่งตามความหมาย ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ

2.2.1 นิติเหตุในกฎหมายอย่างกว้าง

(1) นิติเหตุที่เกิดจากเหตุการณ์ธรรมชาติ

(2) นิติเหตุที่เกิดจากการกระทำาของบุคคล

(2.1) การกระทำาที่ชอบด้วยกฎหมาย

- การกระทำาของบุคคลที่ชอบด้วยกฎหมาย

- การกระทำาของบุคคลที่เกิดผลขึ้นเองโดยอำานาจกฎหมาย

(2.2) การกระทำาที่มิชอบด้วยกฎหมาย

2.2.2 นิติเหตุในกฎหมายอย่างแคบ คือ หมายเฉพาะเหตุที่เกิดขึ้นมีผลในกฎหมายโดยอำานาจ

ของกฎหมายโดยแท้จริง ได้แก่

(1) การกระทำาของบุคคลที่เกิดผลขึ้นเองโดยอำานาจกฎหมาย

(2) การกระทำาที่มิชอบด้วยกฎหมาย

3. รายละเอียดข้างต้น ทำาให้ทราบว่า

(1) นิติเหตุ ได้แก่ การเกิด การบรรลุนิติภาวะ การตาย ที่งอกริมตลิ่ง การจัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ การกระทำา
ละเมิด และนิติกรรม

(2) นิติกรรม เป็นนิติเหตุอย่างหนึ่ง แต่นิติเหตุไม่จำาเป็นต้องเป็นนิติกรรมเสมอไป

นิติกรรม

1. มาตรา 149 บัญญัติว่า “ นิติกรรม หมายความว่า การใดๆ อันทำาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูก


นิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคลขึ้น เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ”

2. ตาม ม.149 นี้ สามารถบอกลักษณะทัว่ ไป (ไม่ใช่องค์ประกอบ) ของนิติกรรมได้ 5 ประการ คือ

3 กระทำา 2 ต้องการ

(1) การกระทำาของบุคคล

(2) การกระทำาโดยชอบด้วยกฎหมาย

(3) การกระทำาด้วยใจสมัคร

(4) ต้องการผูกนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
(5) ต้องการก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ

3. นิติกรรม จะเกิดได้ต้องเป็นการกระทำาของบุคคล ซึ่งสามารถที่จะ “แสดงเจตนา” หรือความประสงค์ให้แก่กันและกัน และเข้าใจ


ระหว่างกัน การแสดงเจตนาทำานิติกรรมนั้นทำาได้ 3 วิธี กล่าวคือ

(1) การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง เป็นได้ทั้งด้วยวาจา หรือทำาเป็นลายลักษณ์อักษร

(2) การแสดงเจตนาโดยปริยาย เป็นการแสดงเจตนาที่แม้จะไม่แจ้งชัด แต่โดยพฤติการณ์แล้วต่างฝ่าย

ต่างเข้าใจ และตกลงกัน

(3) การแสดงเจตนาโดยการนิ่ง ซึ่งโดยหลักทั่วไปแล้วการนิ่งไม่ถือว่าเป็นการแสดงเจตนาทำานิติกรรม

แต่มีข้อยกเว้น คือ กรณีซื้อขายเผื่อชอบ (ม.505)

4. คำาว่า “สิทธิ” ตาม ม.149 นี้ หมายความถึง บุคคลสิทธิและทรัพยสิทธิ กล่าวคือ

(1) บุคคลสิทธิ คือ สิทธิเหนือบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณี เพื่อให้กระทำาการ งดเว้นกระทำาการอันใดอันหนึ่ง

(2) ทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่สามารถใช้ยันกับบุคคลทั่วไป ให้เคารพซึ่งสิทธินั้น เช่น กรรมสิทธิ์ ฯลฯ

5. นิติกรรมนั้นก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ ทั้งบุคคลสิทธิและทรัพยสิทธิ ซึ่งกฎหมายได้กำาหนดไว้ 5 ประการ คือ

(1) การก่อสิทธิ เช่น สิทธิจำานำา สิทธิจำานอง ภารจำายอม

(2) การเปลี่ยนแปลงสิทธิ เช่น การแปลงหนี้ใหม่ (ม.349)

(3) การโอนสิทธิ เช่น การโอนสิทธิเรียกร้อง (ม.303)

(4) การสงวนสิทธิ เช่น ลูกหนี้ทำาหนังสือรับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ (ม.193/14)

(5) การระงับสิทธิ เช่น การบอกล้างโมฆียกรรม (ม.175, ,ม.176) การบอกเลิกสัญญา (ม.386)

6. นิติกรรมที่ทำาไม่ถูกต้องตาม “แบบ” ที่กฎหมายบังคับ ถือเป็นโมฆะ (ม.152)

7. แบบนิติกรรม แบ่งออกเป็น 5 แบบ ได้แก่

(1) ต้องทำาเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น สัญญาซื้อขาย (ม.456 ว.1)

(2) ต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น จดทะเบียนสมรส (ม.1457) จดทะเบียนหย่า (ม.1515)

(3) ต้องทำาเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น พินัยกรรมเอกสารฝ่ายเมือง (ม.1658)

(4) ทำาเป็นหนังสือระหว่างกันเอง เช่น หนังสือรับสภาพหนี้ (ม.193/14)

(5) แบบอื่นๆ ตามที่กฎหมายกำาหนด เช่น ตั๋วแลกเงิน (ม.910)

8. ประเภทของนิติกรรม แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ

(1) นิติกรรมฝ่ายเดียว และนิติกรรมหลายฝ่าย


- นิติกรรมฝ่ายเดียว เช่น การทำาพินัยกรรม (ม.1646) คำามั่นจะให้รางวัล (ม.362)

- นิติกรรมหลายฝ่าย เช่น สัญญา

(2) นิติกรรมมีผลเมื่อผู้ทำายังมีชีวิตอยู่ กับนิติกรรมมีผลเมื่อผู้กระทำาตายแล้ว

- นิติกรรมมีผลเมื่อผู้ทำายังมีชีวิตอยู่ เช่น นิติกรรมฝ่ายเดียว หรือนิติกรรมหลายฝ่าย ก็ได้

- นิติกรรมมีผลเมื่อผู้กระทำาตายแล้ว เช่น พินัยกรรม

(3) นิติกรรมมีค่าต่างตอบแทน กับนิติกรรมไม่มีค่าต่างตอบแทน

- นิติกรรมมีค่าต่างตอบแทน เช่น ซื้อขาย (ม.453) เช่าทรัพย์ (ม.537) จ้างทำาของ (ม.587)

- นิติกรรมไม่มีค่าต่างตอบแทน เช่น ยืมใช้คงรูป (ม.640) ฝากทรัพย์ไม่มีบำาเหน็จ (ม.659)

(4) นิติกรรมมีเงื่อนไขเงื่อนเวลา กับนิติกรรมไม่มเี งื่อนไขเงื่อนเวลา

- นิติกรรมมีเงื่อนไขเงื่อนเวลา เช่น นิติกรรมที่มเี งื่อนไข (ม.183) หรือที่มีเงื่อนเวลา (ม.191)

- นิติกรรมไม่มเี งื่อนไขเงื่อนเวลา มีผลบังคับใช้ได้ทันทีที่นิติกรรมนั้นได้กระทำาลง

(5) นิติกรรมทีจ่ ะต้องทำาตามแบบจึงจะสมบูรณ์ กับนิติกรรมซึ่งสมบูรณ์โดยการแสดงเจตนา -


นิติกรรมที่จะต้องทำาตามแบบจึงจะสมบูรณ์ เช่น นิติกรรมทีเ่ ป็นไปตาม ม.152

- นิติกรรมซึ่งสมบูรณ์โดยการแสดงเจตนา เช่น นิติกรรมที่เป็นไปตาม ม.149


การแสดงเจตนา

1. หลักสำาคัญในการทำานิติกรรม คือ การแสดงเจตนาเพื่อจะให้เกิดผลผูกพันกันทางกฎหมาย หรือเข้าใจกันโดยทั่วไปว่า “หลักส่ง


เจตนา” ซึ่งสามารถแยกพิจารณาได้เป็น 2 ประเภท คือ

(1) การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่เฉพาะหน้า (ม.168)

(2) การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่ห่างโดยระยะทาง (ม.169)

2. มาตรา 168 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่เฉพาะหน้า” ไว้ดังนี้

- การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่เฉพาะหน้า ให้ถือว่ามีผลเมื่อผู้รับเจตนาได้ทราบและเข้าใจเจตนานั้น

- ความนี้ให้หมายรวมถึง การแสดงเจตนาโดยทางโทรศัพท์ หรือเครื่องมือสื่อสารอื่น เช่น วิทยุสื่อสาร

- การแสดงเจตนาที่ส่งออกไปแล้ว ภายหลังผู้แสดงเจตนาตาย หรือศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ

หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ถือว่าการแสดงเจตนานั้นยังมีผลอยู่

- การเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร แล้วให้อีกฝ่ายได้อ่านและเข้าใจกันได้ทันที ก็ใช้ได้เช่นกัน

- การแสดงเจตนาทางโทรเลขหรือโทรสาร ไม่ถือว่าเป็นการแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่เฉพาะหน้า

3. มาตรา 169 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่ห่างโดยระยะทาง” ไว้ดังนี้

- การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่ห่างโดยระยะทาง ให้ถือว่ามีผลเมื่อเจตนานั้นถูกส่ง “ไปถึง” ผู้รับเจตนา

- ถ้าจะถอนการแสดงเจตนา ผู้แสดงเจตนาจะต้องส่งคำาถอนนั้นไปถึงผู้รับเจตนาก่อนหรือพร้อมกับการ

แสดงเจตนาดังกล่าวไปถึง

- การแสดงเจตนาที่ส่งออกไปแล้ว ภายหลังผู้แสดงเจตนาตาย หรือศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ

หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ถือว่าการแสดงเจตนานั้นยังมีผลอยู่

- เจตนานั้นถูกส่งไปถึง หมายความว่า เพียงแค่บุรุษไปรษณีย์ไปส่งให้ที่ตู้จดหมายหน้าบ้าน หรือให้คน

ในบ้านคนหนึ่งคนใดรับแทน ก็ใช้ได้แล้ว

4. กรณี “ผู้อื่น” แสดงเจตนาทำานิติกรรมต่อผูเ้ ยาว์ หรือคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ จะมีผลทางกฎหมายหรือ


ไม่ อย่างไร ?? ..............มาตรา 170 ได้วางหลักกฎหมายไว้ ดังนี้

- การแสดงเจตนาทำานิติกรรมกับผู้เยาว์ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ต้องให้ผู้แทนโดยชอบธรรม

หรือผู้พิทักษ์ยินยอมก่อน แล้วแต่กรณี มิฉะนั้นการแสดงเจตนานั้นไม่เป็นผล


- การแสดงเจตนาทำานิติกรรมกับคนไร้ความสามารถ ต้องให้ผู้อนุบาลรับรู้ก่อน มิฉะนั้นการแสดง

เจตนานั้นไม่เป็นผล

- การแสดงเจตนาทำานิติกรรมของผู้เยาว์ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจการค้าหรือการจ้างแรงงาน

ตาม ม.27 หรือของคนเสมือนไร้ความสามารถ ซึ่งนอกเหนือจาก 11 กรณีที่ระบุอยู่ใน ม.34 ไม่เข้า

มาตรานี้

5. กฎหมายได้วางหลักเกี่ยวกับการตีความแสดงเจตนาไว้ว่า ถ้าการแสดงเจตนามีข้อสงสัย ให้คำานึงถึงเจตนาที่แท้จริง มากกว่าถ้อยคำา


สำานวนหรือตามตัวอักษร (ม.171)

หลักขัดขวางการแสดงเจตนา

1. นอกจากการแสดงเจตนาที่กฎหมายให้กระทำาได้ตาม “หลักส่งเจตนา” แล้ว ยังมีการแสดงเจตนาที่กฎหมายไม่ต้องการให้กระทำากัน


ขึ้น เพราะจะไปกระทบต่อผลประโยชน์ของประชาชนโดยส่วนรวม หรือเข้าในโดยทั่วไปว่า “หลักการขัดขวางเจตนา”

2. หลักการขัดขวางเจตนา มีบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4 มาตรา คือ

(1) การทำานิติกรรมที่มวี ัตถุประสงค์ผิดกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัย หรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบ

ร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (ม.150)

(2) นิติกรรมที่มขี ้อตกลงแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย (ม.151)

(3) นิติกรรมที่ไม่ได้ทำาถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำาหนด (ม.152)

(4) นิติกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับความสามารถของบุคคล (ม.153)

3. มาตรา 150 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “นิติกรรมที่มุ่งประสงค์ต่อประโยชน์สุดท้าย” ไว้ ดังนี้

- นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามหรือผิดกฎหมายโดยชัดแจ้ง ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายรู้ถึงวัตถุประสงค์ ถือ

ว่านิติกรรมนั้นเป็นโมฆะ แต่ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายไม่รู้ นิติกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์

- นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์เป็นการพ้นวิสัย หรือเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ถือว่านิติกรรมนั้นเป็นโมฆะ

- นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ถือว่า

นิติกรรมนั้นเป็นโมฆะ

4. มาตรา 151 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “นิติกรรมมีข้อตกลงแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย” ไว้ดังนี้

- ถ้าเป็นเรื่องที่จัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน เป็นโมฆะ

- ถ้าเป็นเรื่องอื่นๆ ไม่เป็นโมฆะ

5. มาตรา 152 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมที่ไม่ได้ทำาถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำาหนด เป็นโมฆะ


6. มาตรา 153 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ ถ้า
ไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายที่กำาหนดไว้ เป็นโมฆียะ กล่าวคือ

- ผูเ้ ยาว์จะทำานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน (ม.21)

- คนไร้ความสามรถกระทำาการใดๆ (ขอคำายินยอมจากผู้อนุบาลก่อนไม่ได้) เป็นโมฆียะเสมอ (ม.29)

- คนเสมือนไร้ความสามารถกระทำาการใดใน 11 กรณี ที่ระบุอยู่ใน ม.34 ต้องได้รับความยินยอมจาก

ผู้พิทักษ์ก่อน

การควบคุมการแสดงเจตนา

1. การควบคุมการแสดงเจตนา แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ

(1) การแสดงเจตนาที่ไม่ตรงกับเจตนาที่แท้จริง แบ่งย่อยออกเป็น

- การแสดงเจตนาซ่อนเร้น (ม.154)

- การแสดงเจตนาลวง (ม. 155 ว.1)

- นิติกรรมอำาพราง (ม.155 ว.2)

(2) การแสดงเจตนาวิปริต (เจตนาโดยไม่สมัครใจ) แบ่งย่อยออกเป็น

- การแสดงเจตนาโดยสำาคัญผิด (ม.156 – 158)

- การแสดงเจตนาโดยถูกกลฉ้อฉล (ม.159 – 163)

- การแสดงเจตนาโดยถูกข่มขู่ (ม.164 –166)

2. มาตรา 154 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การแสดงเจตนาซ่อนเร้น” ไว้ดังนี้

- ผูแ้ สดงเจตนาได้แสดงเจตนาออกมา ซึ่งไม่ใช่เจตนาแท้จริงที่อยู่ในใจ

คิดเองทำาเอง อีกฝ่ายไม่รู้

- ผูร้ ับเจตนา “ไม่รู้” เจตนาแท้จริงที่อยู่ในใจของผู้แสดงเจตนา

- ให้ถือว่า การแสดงเจตนาออกมานั้น มีผลบังคับทางกฎหมาย


- เจตนาซ่อนเร้น อาจเกิดจากผู้แสดงเจตนาไปทำานิติกรรมซ่อนเร้นด้วยตัวเอง / หรือผู้แสดงเจตนาใช้

ให้คนอื่นไปทำานิติกรรมซ่อนเร้นนั้นก็ได้ กรณีนี้แม้ว่าผู้ถูกใช้ไม่รู้มาก่อน ก็ต้องรับผิด

- เจตนาซ่อนเร้น เป็นการกระทำาของคนๆ เดียว

3. มาตรา 155 ว.1 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การแสดงเจตนาลวง” ไว้ดังนี้

- บุคคล 2 ฝ่าย สมคบกันแกล้งทำานิติกรรม เพื่อจะหลอกลวงบุคคลภายนอก

คิดเองทำาเอง อีกฝ่ายรู้

- คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่าย ไม่มีเจตนาจะผูกนิติสัมพันธ์ต่อกันแต่อย่างใด

- นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาลวง เป็นโมฆะ

- หากนิติกรรมดังกล่าว ผูร้ ับเจตนาได้นำาไปกระทำาต่อบุคคลภายนอก ซึง่ บุคคลภายนอกกระทำาโดย

สุจริตและต้องเสียหาย ถือว่านิติกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์ (กฎหมายคุ้มครองบุคคลภายนอก)

4. มาตรา 155 ว.2 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “นิติกรรมอำาพราง” ไว้ดังนี้

- บุคคล 2 ฝ่าย สมคบกันแกล้งทำานิติกรรม 2 นิติกรรม เพื่อจะหลอกลวงบุคคลภายนอก

- คู่กรณีทั้ง 2 ฝ่าย มีเจตนาที่ทำานิติกรรมหนึ่งขึ้นมา เพื่ออำาพรางหรือปิดบังอีกนิติกรรมหนึ่งที่ทั้งคู่

คิดอย่าง ทำาอย่าง

ต้องการจะผูกนิติสัมพันธ์กันจริงๆ

- นิติกรรมที่เป็นนิติกรรมอำาพราง เป็นโมฆะ

- นิติกรรมที่เป็นนิติกรรมถูกอำาพราง มีผลบังคับทางกฎหมาย

- นิติกรรมอำาพรางดังกล่าว ผูร้ ับเจตนาได้นำาไปกระทำาต่อบุคคลภายนอก ซึ่งบุคคลภายนอกกระทำาโดย

สุจริตและต้องเสียหาย ถือว่านิติกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์ (กฎหมายคุ้มครองบุคคลภายนอก)

5. การแสดงเจตนาโดยสำาคัญผิด แบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ

(1) การแสดงเจตนาสำาคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญแห่งนิติกรรม (ม.156)

(2) การแสดงเจตนาสำาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์ (ม.157)

6. มาตรา 156 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การสำาคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญแห่งนิติกรรม” ไว้ดังนี้

ผิดฝา ผิดคน ผิดคู่ ผิดทรัพย์


- เป็นแสดงเจตนาโดยสำาคัญผิดในสิ่งที่เป็น

“สาระสำาคัญ” แห่งนิติกรรมนั้น

- สาระสำาคัญแห่งนิติกรรม ตามมาตรานี้ กำาหนดไว้ 3 ประการ คือ

* สำาคัญผิดในลักษณะแห่งนิติกรรม เช่น ตั้งใจจะทำาสัญญาคำ้าประกัน แต่กลับไปลงลายมือ

ชื่อในสัญญากู้ยืม

* สำาคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณีแห่งนิติกรรม เช่น ตั้งใจจะจ้างคนหนึ่ง แต่กลับไปทำา

สัญญาจ้างกับอีกคนหนึ่ง

* สำาคัญผิดในทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งนิติกรรม เช่น ต้องการซื้อที่ดินแปลงหนึ่ง แต่กลับไป

ทำาสัญญาซื้อขายที่ดินอีกแปลงหนึ่ง

- ผลของการการแสดงเจตนาโดยสำาคัญผิดดังกล่าว เป็นโมฆะ

- ข้อสังเกตบางประการ

* ถ้าเป็นเพียงแต่สำาคัญผิดในมูลเหตุจูงใจ แต่ไม่ถึงขนาดจะเป็นวัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม

ไม่ถือว่าเป็นการสำาคัญผิดในสาระสำาคัญแห่งนิติกรรม

* การสำาคัญผิดในตัวบุคคลผู้เป็นคู่สมรส ถือว่าเป็นโมฆียะ เท่านั้น การบอกล้าง ต้องร้องขอ

ต่อศาล

7. มาตรา 157 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การสำาคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน” ไว้ดังนี้

- เป็นการแสดงเจตนาสำาคัญผิดในคุณสมบัติที่เป็น “สาระสำาคัญ”

- คุณสมบัติที่เป็นสาระสำาคัญในมาตรานี้ ได้แก่

โง่เอง เซ่อเอง

* คุณสมบัติของบุคคลซึ่งเป็นคู่กรณีแห่งนิติกรรม หรือ

* คุณสมบัติของทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งนิติกรรม

- ผลของการการแสดงเจตนาโดยสำาคัญผิดดังกล่าว เป็นโมฆียะ

- ตัวอย่างเช่น ต้องการช่างไม้ แต่กลับกลายเป็นช่างปูน หรือต้องการกำาไลโบราณ แต่กลับกลายเป็น

ของใหม่ทำาเลียนแบบ

8. มาตรา 158 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “ความสำาคัญผิดซึ่งเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง”

ไว้ดังนี้
- เป็นความประมาทเลินเล่อจากการสำาคัญผิดใน ม.157 และ ม.158

โง่เอง ซวยเอง

- เป็นความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

- ความสำาคัญผิดดังกล่าวเกิดจากความประมาทเลินเล่อของผู้แสดงเจตนา - ผูแ้ สดงเจตนาจะใช้อ้างเพื่อให้


นิติกรรมนั้นเป็นโมฆะไม่ได้

9. กลฉ้อฉล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

(1) กลฉ้อฉลถึงขนาด (ม.159)

- กลฉ้อฉลโดยถูกหลอกลวง (ม.159 ว.1) = = > ตัวละคร 2 คน

- กลฉ้อฉลโดยบุคคลภายนอก (ม.159 ว.2) = = > ตัวละคร 3 คน

(2) กลฉ้อฉลเพื่อเหตุ (ม.161)

10. มาตรา 159 ว.1 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “กลฉ้อฉลโดยถูกหลอกลวง” ไว้ดังนี้

- ผูแ้ สดงเจตนาได้แสดงเจตนาออกมา เพราะถูกคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งหลอกลวงหรือใช้กลฉ้อฉล

ถูกทำาให้ โง่ ถูกทำาให้เซ่อ

- ต้องเป็นกลฉ้อฉลถึงขนาดให้แสดงเจตนาออกมา

- นิติกรรมที่เกิดจากกลฉ้อฉลนี้ เป็นโมฆียะ

11. มาตรา 159 ว.2 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “กลฉ้อฉลโดยบุคคลภายนอก” ไว้ดังนี้

- ผูแ้ สดงเจตนาได้แสดงเจตนาออกมา เพราะถูกบุคคลภายนอกหลอกลวงหรือใช้กลฉ้อฉล

- คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งรู้เห็นเป็นใจกับบุคคลภายนอกด้วย

ถูกทำาให้ โง่ ถูกทำาให้เซ่อ

- ต้องเป็นกลฉ้อฉลถึงขนาดให้แสดงเจตนาออกมา

- นิติกรรมที่เกิดจากกลฉ้อฉลนี้ เป็นโมฆียะ

12. มาตรา 160 ได้วางหลักกฎหมายไว้ว่า นิติกรรมที่เกิดจากกลฉ้อฉล ตาม ม.159 แม้ว่าจะบอกล้างโมฆียกรรมได้ก็ตาม แต่ถ้า


ปรากฏว่าเกิดมีนิติกรรมใหม่กับบุคคลภายนอกซึ่งกระทำาโดยสุจริต บุคคลภายนอกย่อมได้รับการคุ้มครอง หรือนิติกรรมใหม่นั้นมีผลสมบูรณ์
จะบอกล้างไม่ได้

13. มาตรา 161 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “กลฉ้อฉลเพื่อเหตุ” ไว้ดังนี้

- ผูแ้ สดงเจตนาทำานิติกรรมสมัครใจจะทำานิติกรรม โดยคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งใช้กลฉ้อฉล เพื่อให้ผู้แสดง

เจตนายอมรับข้อกำาหนดที่หนักขึ้น
คุณสมบัติไม่ถึง

- นิติกรรมที่เกิดจากกลฉ้อฉลเพื่อเหตุ ไม่เป็นโมฆะ

- ผูแ้ สดงเจตนามีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนได้

14. มาตรา 162 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “กลฉ้อฉลโดยนิ่ง” ไว้ดังนี้

- ผูแ้ สดงเจตนาทำานิติกรรมมีประเด็นข้อสงสัยจะถาม แต่คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งนิ่งเฉย

แกล้งไม่พูด

ไม่ได้เปิดเผยความจริงออกมา

- การนิ่งเฉยต้องเป็นกรณีที่ทำาให้เกิดกลฉ้อฉลถึงขนาด

- การนิ่งเฉยทำาให้นิติกรรมเกิดขึ้น คือ ถ้าไม่มีการนิ่งเฉยเช่นนั้น นิติกรรมจะไม่ได้เกิดขึ้นเลย

- ผูแ้ สดงเจตนามีสิทธิบอกล้างได้

15. มาตรา 163 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “กลฉ้อฉลด้วยกันทั้งสองฝ่าย” ไว้ดังนี้

- ผูแ้ สดงเจตนาตั้งใจใช้กลฉ้อฉลกับคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งให้ทำานิติกรรม

ต่างคน ต่างโกง

- คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งก็ใช้กลฉ้อฉลด้วยเช่นกัน

- กฎหมายบังคับมิให้ทั้งสองฝ่ายบอกล้าง และเรียกค่าเสียหายซึ่งกันและกัน

16. การข่มขู่ เป็นการทำาให้ผู้ถูกข่มขู่กลัวภัย จนต้องแสดงเจตนาเข้าทำานิติกรรม หรือยอมรับภาระที่หนักกว่าปกติจากการทำานิติกรรม


ดังนั้น การแสดงเจตนาทำานิติกรรมเพราะถูกข่มขู่ จึงเกิดจากการแสดงเจตนาโดยไม่สมัครใจ

17. มาตรา 164 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การถูกข่มขู่” ไว้ดังนี้

- ผูแ้ สดงเจตนาถูกข่มขูใ่ ห้จำาต้องทำานิติกรรมโดยไม่สมัครใจ

- ต้องเป็นการข่มขู่ถึงขนาด

- ภัยทีเ่ กิดจากการข่มขู่ เป็นภัยใกล้จะถึง ซึ่งไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้

- ผลของนิติกรรมที่เกิดจากภัยข่มขู่ เป็นโมฆียะ

18. มาตรา 165 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ การกระทำาบางอย่างที่ไม่ถือว่าเป็นการข่มขู่ กล่าวคือ

(1) การขู่ว่าจะใช้สิทธิตามปกตินิยม เช่น

- เจ้าหนี้ขู่ให้ลูกหนี้ชำาระเงิน
- ขูใ่ ห้ทำาสัญญาคำ้าประกัน ถ้าไม่ทำาจะฟ้องริบทรัพย์

(2) การนับถือยำาเกรง เป็นเรื่องที่เป็นไปตามสังคมและประเพณี เช่น

- ลูกหลาน ย่อมเคารพยำาเกรง บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย

- ภรรยายำาเกรงสามี

19. มาตรา 166 ได้วางหลักกฎหมายไว้ว่า การแสดงเจตนาที่เกิดจากการข่มขู่เป็นโมฆียะ ไม่ว่าคนข่มขู่ให้ทำานิติกรรมจะเป็นคู่กรณี


อีกฝ่ายหนึ่ง หรือบุคคลภายนอกก็ตาม

20. มาตรา 167 ได้วางหลักการวินิจฉัยคดีที่เกิดจากการสำาคัญผิด กลฉ้อฉล ข่มขู่ ต้องพิจารณาถึงสิ่งต่อไปนี้ของผู้แสดงเจตนา

- เพศ อายุ ฐานะ

- สุขภาพอนามัย และภาวะแห่งจิตใจ

- พฤติการณ์และสภาพแวดล้อมอื่นๆ

ข้อความจาก ความจำาสั้น..แต่

วันที่ 29 สิงหาคม 2552 เวลา 14:19

พื้นที่ใช้ internet: ไม่ได้ระบุ

สมัครเมื่อ: 28 สิงหาคม 2552 จำานวนโพสต์: 26 ครั้ง

Profile Search Quote


สัญญา

คำาเสนอ และคำาสนอง

1. สัญญา เป็นการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไป ที่จะมุ่งต่อการก่อให้เกิดผลในทางกฎหมาย ดังนั้น สัญญาจึงมีสาระ


สำาคัญ 3 ประการ คือ

(1) จะต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไปเสมอ

(2) การแสดงเจตนาของบุคคลทั้ง 2 ฝ่าย จะต้องถูกต้องตรงกัน

(3) บุคคลทั้ง 2 ฝ่าย มีวัตถุประสงค์จะก่อให้เกิดผลทางกฎหมาย

2. การแสดงเจตนาเพื่อทำาสัญญานั้น จำาเป็นต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่าย ดังนี้


- ผูเ้ สนอ เป็นฝ่ายที่แสดงเจตนาที่มีความประสงค์จะขอทำาสัญญา หรือเป็นการแสดงเจตนาทำาคำาเสนอ

- ผูส้ นอง เป็นฝ่ายที่รับการแสดงเจตนา ซึง่ พร้อมที่จะตกลงเข้าทำาสัญญากับผู้แสดงเจตนานั้น

3. คำาเสนอที่ไม่ตรงกับคำาสนอง กฎหมายถือว่ามีความหมาย 2 ประการ คือ

- คำาสนองนั้น มีผลเท่ากับเป็นการ “บอกปัด” ไม่รับคำาเสนอ

- ขณะเดียวกัน คำาสนองนั้น มีผลกลายเป็น “คำาเสนอใหม่” ขึ้นทันที

4. สัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด ???

สัญญาจะเกิดขึ้นทันที เมื่อมีลักษณะที่เข้าสาระสำาคัญของสัญญา ทั้ง 3 ประการ กล่าวคือ

- มีคำาเสนอและคำาสนอง ที่เกิดจากบุคคลทั้งสองฝ่าย

- คำาเสนอและคำาสนองนั้น ต้องตรงกัน

- ทั้งสองฝ่ายตกลงใจหรือสมัครใจที่จะก่อให้เกิดผลทางกฎหมาย

5. การแสดงเจตนาที่เป็นคำาเสนอนั้น โดยปกติจะมี 2 ลักษณะ คือ

(1) การแสดงเจตนาต่อบุคคลเป็นการเฉพาะตัว เช่น แสดงเจตนาไปยังนาย ก.

(2) การแสดงเจตนาต่อบุคคลทั่วไป เช่น โดยการประกาศโฆษณา

6. ในส่วนของ “คำาเสนอและคำาสนอง” นั้น กฎหมายได้วางหลักไว้ ดังนี้

(1) คำาเสนอที่มีการบ่งระยะเวลาให้ทำาคำาสนอง จะผูกพันตามระยะเวลาที่บ่งไว้ เท่านั้น ไม่ว่าจะเป็น

คำาเสนอต่อบุคคลผู้อยู่เฉพาะหน้า หรือผู้อยู่ห่างโดยระยะทางก็ตาม (ม.354)

(2) คำาเสนอที่มิได้บ่งระยะเวลาให้ทำาคำาสนอง และเสนอต่อผู้อยู่ห่างโดยระยะทาง ผูเ้ สนอจะถอนคำา

เสนอของตนได้ ต่อเมื่อพ้นระยะเวลาที่คาดหมายได้ว่าจะได้รับคำาสนองนั้น (ม.355)

(3) คำาเสนอที่มิได้บ่งระยะเวลาให้ทำาคำาสนอง และเสนอต่อผู้อยู่เฉพาะหน้า เมื่อได้เสนอ ณ ที่ใด เวลา

ใด ย่อมต้องมีคำาสนอง ณ ที่นั้น เวลานั้น ......และให้รวมถึงคำาเสนอทางโทรศัพท์ด้วย (ม.356)

(4) คำาเสนอใด ถ้าผู้รับคำาเสนอบอกปัด หรือมิได้สนองรับคำาเสนอนั้นภายในเวลาที่กำาหนด ถือว่า

คำาเสนอนั้นไม่มีผลผูกพันอีกต่อไป (ม.357)

(5) คำาสนองรับใดที่ถูกส่งโดยทางการกลับไปยังผู้เสนอแล้ว ซึง่ ตามปกติย่อมคาดหมายได้ว่าจะถึงผู้

เสนอได้ภายในกำาหนด ถ้าปรากฏว่าคำาสนองรับไปถึงผู้เสนอล่าช้ากว่าเวลาที่กำาหนด ผู้เสนอมี


หน้าที่ต้องรีบแจ้งผู้สนองทันที เว้นแต่จะได้แจ้งไว้ก่อนแล้ว …….....ถ้าผู้เสนอละเลยไม่แจ้งเหตุ

ดังกล่าว ถือว่าคำาสนองรับนั้นไม่ล่วงเวลา (ม.358)

(6) คำาสนองรับใดมาถึงผู้เสนอล่าช้าและพ้นระยะเวลาที่บ่งแล้ว ให้ถือว่า คำาสนองรับนั้นกลายเป็น

คำาเสนอขึ้นใหม่ รวมทั้งคำาสนองรับใดที่มีข้อความเพิ่มเติม มีข้อจำากัด หรือมีข้อแก้ไข ให้ถือว่า

เป็นคำาบอกปัดไม่รับ และเป็นคำาเสนอขึ้นใหม่ในตัว (ม.359)

(7) ตามมาตรา 169 วรรค 2 นั้น มิให้ใช้บังคับ ในกรณีต่อไปนี้ (ม.360)

- การแสดงเจตนานั้นขัดกับเจตนาเดิมของผู้เสนอที่ได้แสดงไว้

- ก่อนมีคำาสนองตอบ ผูร้ ับคำาเสนอได้รู้แล้วว่า ผู้เสนอตายหรือเป็นคนไร้ความสามารถแล้ว

(8) สัญญาระหว่างผู้เสนอและผู้สนองที่อยู่ห่างโดยระยะทาง จะมีผลเมื่อคำาสนองรับนั้น ส่งกลับไปถึง

ผู้เสนอแล้ว …....การแสดงเจตนาบางกรณี ซึ่งตามปกติประเพณีเป็นที่เข้าใจกันและไม่จำาเป็นต้อง

มีคำาสนองรับ ให้ถือว่าสัญญาเกิดขึ้นในเวลานั้น (ม.361)

คำามั่น

1. คำามั่น เป็นการแสดงเจตนาฝ่ายเดียวของผู้ให้คำามั่น และมีผลผูกพันตนเองที่จะปฏิบัติตามคำามั่นที่ได้แสดงเจตนาไว้ ซึ่งคำามั่นมีอยู่


2 ลักษณะ ได้แก่

(1) คำามั่นที่จะให้รางวัล (ม.362 – ม.364)

(2) คำามั่นในการประกวดชิงรางวัล (ม.365)

2. มาตรา 362 ได้วางหลักเกี่ยวกับ “คำามั่นที่จะให้รางวัล” ไว้ดังนี้

- บุคคลใดได้ให้คำามั่นโดยออกโฆษณาว่าจะให้รางวัลแก่ผู้ซี่งกระทำาการอันใด ถ้ามีผู้กระทำาการสำาเร็จ

ผู้ให้คำามั่นจำาต้องให้รางวัลแก่ผู้กระทำาการนั้น

- แม้ว่าผู้กระทำาการจะกระทำาไปโดยไม่เห็นแก่รางวัล ผูใ้ ห้คำามั่นก็ต้องให้รางวัลแก่ผู้กระทำาการนั้น

- ข้อพิจารณามาตรานี้

* เป็นคำาเสนอที่เป็นการแสดงเจตนาฝ่ายเดียว และเสนอต่อบุคคลทั่วไป

* มีผลผูกพันให้ผู้ให้คำามั่นต้องปฏิบัติตามคำามั่นที่ตนได้ให้ไว้

* ไม่จำาเป็นต้องมีคำาสนองตอบ ผู้ใดที่กระทำาการสำาเร็จตามคำามั่นในประกาศโฆษณา ผู้ให้

คำามั่นต้องให้รางวัลแก่ผู้นั้น
* การประกาศโฆษณา อาจกระทำาได้โดยวิธีใดก็ได้ เช่น ทางวิทยุ ทางโทรทัศน์ ทางหนังสือ

พิมพ์ แผ่นปลิว ป่าวประกาศ หรือวิธีอื่นใดที่จะทำาให้คนรู้โดยทั่วไป

3. มาตรา 363 ได้วางหลักเกี่ยวกับ “การถอนคำามั่นที่จะให้รางวัล” ไว้ดังนี้

- เมื่อได้มีการออกโฆษณาให้คำามั่นว่าจะให้รางวัลไปแล้ว ถ้ายังไม่มผี ู้ใดกระทำาการสำาเร็จตามที่ออก

โฆษณาไว้ ผู้ให้คำามั่นมีสิทธิจะถอนคำามั่นนั้นได้ เว้นแต่จะแสดงเจตนาในโฆษณาว่าจะไม่ถอน

- การโฆษณาให้คำามั่นว่าจะให้รางวัลด้วยวิธีใด การถอนคำามั่นดังกล่าวต้องใช้วิธเี ดียวกัน แต่หาก

ถอนคำามั่นด้วยวิธีอื่น จะมีผลใช้ได้เฉพาะบุคคลที่รู้เท่านั้น

- คำามั่นว่าจะให้รางวัลที่มีการกำาหนดระยะเวลาไว้ จะถอนคำามั่นนั้นไม่ได้

4. มาตรา 364 ได้วางหลักเกี่ยวกับ “การให้รางวัล” ไว้ดังนี้

- บุคคลหลายคนทำาการตามที่บ่งบอกไว้ในประกาศโฆษณา ผู้ใดทำาได้สำาเร็จก่อน ผู้นั้นรับรางวัลไป

- แต่ถ้าบุคคลหลายคนทำาการตามที่บ่งบอกไว้สำาเร็จพร้อมกัน ให้แบ่งรางวัลดังนี้

* ถ้ารางวัลนั้นสามารถแบ่งได้ ให้ทุกคนมีสิทธิได้ส่วนแบ่งเท่าๆ กัน

* ถ้ารางวัลนั้นแบ่งแยกไม่ได้ ให้ใช้วิธีจับสลาก

5. มาตรา 365 ได้วางหลักเกี่ยวกับ “คำามั่นในการประกวดชิงรางวัล” ไว้ดังนี้

- ต้องมีการออกประกาศโฆษณา เพื่อให้บุคคลหลายๆ คนมาทำาการแข่งขันประกวดชิงรางวัลกัน

- ต้องมีการกำาหนดระยะเวลาการประกวดแข่งขัน

- ต้องมีการกำาหนดวิธีการและรายละเอียดเกี่ยวกับกติกาการตัดสิน และคณะกรรมการตัดสิน

- คำาตัดสินของคณะกรรมการ ถือว่ามีผลผูกพันตามกฎหมาย

- การให้รางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด ให้นำาบทบัญญัติ ม.364 มาใช้บังคับ แล้วแต่กรณี

- กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ทำาการประกวดชิงรางวัลจะตกเป็นของผู้ใด ขึ้นอยู่กับรายละเอียดที่ระบุอยู่ใน

ประกาศโฆษณาครั้งนั้นๆ

ผลแห่งสัญญา

1. สัญญา เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจากความตกลงยินยอมของคู่สัญญาตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไป และความตกลงยินยอมนั้นเป็นเรื่องซึ่งคู่สัญญามี


เสรีภาพอย่างเต็มที่ ที่จะทำาความตกลงผูกพันกันทางกฎหมาย

2. สัญญาต่างตอบแทน เป็นสัญญาที่ต่างฝ่ายต่างมีหนี้ที่ต้องกระทำาตอบแทนซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ต่างฝ่ายต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้


ซึง่ กันและกันในขณะเดียวกันนั่นเอง
3. ผลแห่งสัญญาที่เกิดขึ้นจากความตกลงในการทำาสัญญา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

(1) การชำาระหนี้ตอบแทนของคู่สัญญา (ม.369)

(2) ผลแห่งภัยพิบัติที่เกิดกับวัตถุแห่งสัญญา หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง “การรับบาปเคราะห์ในภัยพิบัติ”

- การรับบาปเคราะห์แห่งภัยพิบัติ โดยโทษลูกหนี้ไม่ได้ (ม.370)

- การรับบาปเคราะห์แห่งภัยพิบัติ โดยโทษเจ้าหนี้ไม่ได้ (ม.371)

- การรับบาปเคราะห์แก่งภัยพิบัติ โดยโทษใครไม่ได้ (ม.372)

4. มาตรา 369 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การชำาระหนี้ตอบแทนของคู่สัญญา” ไว้ดังนี้

- เป็นกรณีสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งคู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างต้องปฏิบัติต่อกัน

- ถ้าคูส่ ัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชำาระหนี้ อีกฝ่ายหนึ่งย่อมมีสิทธิไม่ชำาระหนี้ได้

- ถ้าหนี้ใดยังไม่ถึงกำาหนดชำาระหนี้ เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิเรียกชำาระหนี้ก่อนกำาหนด

5. มาตรา 370 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การรับบาปเคราะห์ในภัยพิบัติ โดยโทษลูกหนี้ไม่ได้” ไว้ดังนี้

- กรณีสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งต้องมีการโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์เฉพาะสิ่ง

- ทรัพย์เฉพาะสิ่งซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้ ได้โอนกรรมสิทธิ์จากลูกหนี้ไปยังเจ้าหนี้แล้ว โดยไม่คำานึงว่า

จะส่งมอบทรัพย์แล้วหรือไม่

- ถ้าวัตถุแห่งหนี้นั้น สูญหายหรือถูกทำาลาย โดยมิใช่ความผิดของลูกหนี้ หรือโทษลูกหนี้ไม่ได้

- บาปเคราะห์ในภัยพิบัติย่อมตกแก่ฝ่ายเจ้าหนี้

6. มาตรา 371 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การรับบาปเคราะห์ในภัยพิบัติ โดยโทษเจ้าหนี้ไม่ได้” ไว้ดังนี้

- กรณีสัญญาต่างตอบแทน ซึ่งต้องมีการโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์เฉพาะสิ่ง โดยมีเงื่อนไขบังคับก่อน

- ทรัพย์เฉพาะสิ่งซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้ ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์จากลูกหนี้ไปยังเจ้าหนี้ เพราะเงื่อนไข

บังคับก่อนยังไม่สำาเร็จ

- ถ้าวัตถุแห่งหนี้นั้น สูญหายหรือถูกทำาลาย ก่อนที่เงื่อนไขจะสำาเร็จ โดยมิใช่ความผิดของเจ้าหนี้ หรือ

โทษเจ้าหนี้ไม่ได้

- บาปเคราะห์ในภัยพิบัติย่อมตกแก่ฝ่ายลูกหนี้

- ในกรณีที่วัตถุแห่งหนี้นั้นเสียหายเพียงบางส่วน โดยโทษเจ้าหนี้ไม่ได้ และทรัพย์นั้นยังไม่ได้โอน

กรรมสิทธิ์ เจ้าหนี้มสี ิทธิ์เลือกปฏิบัติได้ 2 ทาง คือ


* เรียกชำาระหนี้โดยลดส่วน

* บอกเลิกสัญญา

- ในกรณีที่วัตถุแห่งหนี้นั้นเสียหายเพราะลูกหนี้ เจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนได้

7. มาตรา 372 ได้วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับ “การรับบาปเคราะห์ในภัยพิบัติ โดยโทษใครไม่ได้” ไว้ดังนี้

- กรณีสัญญาต่างตอบแทนซึ่งไม่ต้องมีการโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์เฉพาะสิ่ง

- การชำาระหนี้นั้นตกเป็นพ้นวิสัย เพราะเหตุหนึ่งเหตุใด โดยโทษใครไม่ได้

- บาปเคราะห์ในภัยพิบัติย่อมตกแก่ฝ่ายลูกหนี้ ลูกหนี้ไม่มสี ิทธิเรียกชำาระหนี้ตอบแทนจากเจ้าหนี้ได้

- เว้นแต่กรณีการพ้นวิสัยนั้นสามารถโทษเจ้าหนี้ได้ ลูกหนี้มีสิทธิเรียกชำาระหนี้ตอบแทนจากเจ้าหนี้ได้

แต่ไม่เต็มจำานวน โดยหักออกด้วย (1) ค่าลงทุนที่ไม่ได้จ่ายไป (2) รายได้อื่นที่ได้มาทดแทนระหว่าง

นั้น หรือ (3) รายได้อื่นอันพึงจะได้แต่ได้ละเลยเสีย

- ข้อสังเกต การพ้นวิสัยโดยโทษใครไม่ได้ ลูกหนี้ย่อมหลุดพ้นจากการชำาระหนี้นั้น (ม.219)

8. บทบัญญัติมาตราอื่นที่ควรรู้

มาตรา 195 ว.2 ได้วางหลักกฎหมายไว้ว่า ทรัพย์ที่มิใช่ทรัพย์เฉพาะสิ่ง จะเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งได้ต่อก็เมื่อได้มีการก


ระทำาการเพื่อส่งมอบทรัพย์นั้นแล้ว หรือได้เลือกกำาหนดทรัพย์ที่จะส่งมอบเป็นสัดส่วนแล้ว ถือว่าเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งทันที

มาตรา 219 ได้วางหลักกฎหมายไว้ว่า ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังได้ก่อหนี้แล้ว ลูกหนี้เป็น


อันหลุดพ้นจากการชำาระหนี้

คัดลอกมาจ่ากพี่ ๆ เพื่อเป็นแนวทางได้ค่ะ

สรุปกฎหมายแพ่ง 1 (41211)

บุคคล นิติกรรม สัญญา

เน้นหน่วยที่ 3, 7-9 และ 12-14

เนื้อหาแบ่งได้ 3 กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มที่ 1 หน่วยที่ 3 เรื่อง ความสามารถของบุคคล

1. บุคคลบรรลุนิติภาวะ มีได้ 2 กรณีตามมาตรา 19, 20


2. ผูเ้ ยาว์ทำานิติกรรม (ไม่รวมเรื่องนิติเหตุ เช่น ละเมิด) มีหลักทั่วไปตามมาตรา 21 ถ้าไม่ได้รับความ ยินยอมจากผู้แทนโดยชอบ
ธรรม นิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆียะ มีข้อยกเว้นที่ไม่ทำาให้นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ คือ

1) นิติกรรมที่ได้สิทธิหรือพ้นหน้าที่ มาตรา 22

2) นิติกรรมที่ต้องทำาเองเป็นการเฉพาะตัว มาตรา 23

3) นิติกรรมที่จำาเป็นในการดำารงชีพ มาตรา 24

4) กรณีผเู้ ยาว์ทำาพินัยกรรม มาตรา 25

5) ผูเ้ ยาว์จำาหน่ายทรัพย์สิน มาตรา 26

6) ผูเ้ ยาว์ประกอบธุรกิจ หรือสัญญาจ้างแรงงาน มาตรา 27

3. บุคคลไร้ความสามารถ

1) กรณีการขอให้ศาลสั่งบุคคลผู้วิกลจริตให้เป็นคนไร้ความสามารถ มาตรา 28

2) ผลของนิติกรรมที่ผู้ไร้ความสามารถกระทำาลง ตกเป็นโมฆียะ มาตรา 29 แม้ได้รับความยินยอมจากผู้อนุบาล ก็ตกเป็นโมฆียะ

3) ผลของนิติกรรม ที่บุคคลวิกลจริตที่ศาลยังไม่มีคำาสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถกระทำาลง มาตรา 30 เป็นโมฆียะต่อเมื่อ ได้กระทำาขณะ


ผู้นั้นจริตวิกล + อีกฝ่ายหนึ่งรู้ด้วยว่าผู้กระทำาเป็นคนวิกลจริต

4. บุคคลเสมือนไร้ความสามารถ

1) การขอให้ศาลสั่งว่าเป็นบุคคลเสมือนไร้ความสามารถ มาตรา 32

2) นิติกรรมที่คนเสมือนไร้ความสามารถต้องได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ก่อน มาตรา 34

กลุ่มที่ 2 หน่วยที่ 7-9 เรื่องนิติกรรม

1. ความหมายของนิติกรรม มาตรา 149

2. นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามด้วยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัย หรือเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของ


ประชาชน มาตรา 150

3. นิติกรรมที่ทำาไม่ถูกต้องตามแบบ มาตรา 152 (ทำาความเข้าใจเรื่องทำาเป็นหนังสือ และการมี หลักฐานเป็นหนังสือ)

4. นิติกรรมที่ไม่ได้เป็นไปตามความสามารถของบุคคล มาตรา 153

5. เจตนาซ่อนเร้น มาตรา 154

6. เจตนาลวง มาตรา 155 วรรค 1

7. นิติกรรมอำาพราง มาตรา 155 วรรค 2 บังคับตามนิติกรรมที่ถูกอำาพราง

8. สำาคัญผิดในสาระสำาคัญแห่งนิติกรรม มาตรา 156

9. สำาคัญผิดในคุณสมบัติของนิติกรรม มาตรา 157


10. กลฉ้อฉล มาตรา 159 กลฉ้อฉลเพื่อเหตุ มาตรา 161 กลฉ้อฉลโดยการนิ่ง มาตรา 162 กลฉ้อฉลทั้งสองฝ่าย มาตรา 163

11. การข่มขู่ มาตรา 164 ขนาดของการข่มขู่ มาตรา 165 บุคคลภายนอกข่มขู่ มาตรา 166

12.การแสดงเจตนาต่อบุคคลเฉพาะหน้า มาตรา 168

13. การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่ห่างโดยระยะทาง มาตรา 169 โดยเฉพาะมาตรา 169 วรรค 2 ซึ่งต้องนำาไปใช้ในเรื่องสัญญา

14. การแสดงเจตนาต่อผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ มาตรา 170

15. โมฆะกรรม มาตรา 172, 173, 174

16. ผู้บอกล้างโมฆียกรรม มาตรา 175 ต้องเป็นบุคคลตามมาตรานี้เท่านั้นจึงจะมีสิทธิบอกล้างโมฆียกรรม บุคคลอื่นไม่มีสิทธิ

17. ผลของการบอกล้างโมฆียกรรม มาตรา 176

18. การให้สัตยาบันโมฆียกรรม มาตรา 177

19.วิธีการบอกล้างหรือการให้สัตยาบันแก่โมฆียกรรม ทำาได้โดยการแสดงเจตนาแก่คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง มาตรา 178

20. ความสมบูรณ์ของการให้สัตยาบัน มาตรา 179

21. ระยะเวลาในการบอกล้างโมฆียกรรม มาตรา 181

กลุ่มที่ 3 หน่วยที่ 12-14 เรื่องสัญญา

1. คำาเสนอ

1) คำาเสนอมีระยะเวลาให้ทำาคำาสนอง มาตรา 354

2) คำาเสนอต่อบุคคลที่อยู่ห่างกัน มาตรา 355

3) คำาเสนอต่อบุคคลเฉพาะหน้า มาตรา 356

4) คำาเสนอสิ้นความผูกพัน มาตรา 357

2. คำาสนอง

1) คำาสนองมาถึงล่วงเวลา มาตรา 359

2) การบอกกล่าวคำาสนองซึ่งส่งโดยทางการมาถึงล่วงเวลา มาตรา 358

3) กรณีที่ไม่นำามาตรา 169 วรรค 2 มาใช้บังคับ ตามมาตรา 360 ซึ่งเป็นเรื่องคำาเสนอเท่านี้น ส่วนเรื่องคำาสนองอยู่ในบังคับของ


มาตรา 169 วรรค 2

3. การเกิดสัญญา มาตรา 361

4. คำามั่น มาตรา 362, 363, 364


5. การตีความสัญญา

1) กรณีทเี่ ป็นที่สงสัยข้อตกลงในข้อความใดแห่งสัญญา มาตรา 366

2) สัญญาได้ทำาขึ้นแล้ว แต่มีบางข้อที่ยังไม่ได้ตกลง มาตรา 367

6. ผลของสัญญาต่างตอบแทน มาตรา 369, 370, 371, 372 สำาคัญมากๆๆๆๆ ต้องเปรียบเทียบความแตกต่างให้ได้โดย


เฉพาะมาตรา 370, 371, 372

7. มัดจำา มาตรา 377, 378

คำาแนะนำาในการศึกษาและตอบข้อสอบ วิชากฎหมายแพ่ง 1

1. ข้อสอบมี 3 ข้อ ข้อแรกเป็นเรื่องบุคคล ในเนื้อหากลุ่มที่ 1 มักจะพ่วงคำาถามเกี่ยวกับโมฆะ หรือโมฆียะร่วมด้วยเสมอ ข้อที่สองเป็น


เรื่องของการแสดงเจตนาต่างๆ ในหน่วยที่ 8 ข้อทีส่ ามเป็นเรื่องสัญญา

2. ให้ตอบโดยยกตัวบทขึ้นก่อน ตามด้วยการปรับหลักกฎหมาย และสรุปธงคำาตอบเสมอ ถ้าสรุปแต่ธงคำาตอบอย่างเดียวถึงแม้ว่าคำาตอบจะ


ถูกต้องก็ได้คะแนนเพียง 1-2 คะแนน จาก 20 คะแนนเท่านั้น

3. การใช้ภาษากฎหมายต่างๆ ต้องแม่นยำา เช่น โมฆะ โมฆียะ สมบูรณ์ ไม่บริบูรณ์ กลฉ้อฉล การฉ้อฉล อย่าใช้สับไปสับมา เพราะคำาเหล่านี้
มีความหมายแตกต่างกัน

4. กฎหมายแพ่ง 1 เป็นวิชาพื้นฐานที่สำาคัญของสาขานิติศาสตร์ เพราะว่าเรื่องบุคคล นิติกรรม สัญญา จะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับกฎหมา


ยอื่นๆเป็นอันมาก โดยทั่วไปไม่ยาก ถ้าตั้งใจ ขอให้โชคดีกันทุกคน

You might also like