You are on page 1of 32

ชุดที่ ๑

ข้อสอบมาตรฐานชัน
้ ปี
กลุุมสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน สุขศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๒

คำาชี้แจง ้ หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐


ข้อสอบมีทัง
คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. ฮอร์โมนทีผ
่ ลิตออกมาจากต่อมไร้ท่อมีหน้าทีส
่ ำาคัญ
อย่างไร
ก. ช่วยให้ส่วนสูงและน้ำ
้ หนักเป็ นไปตำมเกณฑ์
ข. ช่วยให้วัยร่่นมีพัฒนำกำรทำงเพศเป็ นไปตำมปกติ
ค. ช่วยในกำรพัฒนำร่ำงกำยของเด็กวัยร่่นให้เป็ นไปตำม
วัย
ง. ช่วยในกำรพัฒนำร่ำงกำย จิตใจ อำรมณ์ สังคม และ

สิง่ แวดล้อม

๒. เด็กวัยร่่นส่วนมากมักจะนิยมแต่งกายแบบใด

1
ก. ตำมสบำย ข. ตำมสมัยนิยมและเพือ
่ นๆ

ค. ตำมทีพ ้ ให้ ง.
่ ่อแม่ของตนเองซือ ตำมภำวะทำง

เศรษฐกิจของครอบครัว

๓. ตัวการสำาคัญทีท
่ ำาให้เกิดแรงขับทางเพศ (Sexual
drive) คืออะไร
ก. ฮอร์โมน ข. พลังทำงเพศ
ค. กำรเจริญเติบโต ง. อำรมณ์ทำงเพศ

๔. ข้อใดเป็ นการแบ่งเซลล์เมือ
่ เกิดการปฏิสนธิ
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ... ข. ๑ ๓ ๕ ๗ ๙ ...
ค. ๑ ๒ ๔ ๖ ๘ ... ง. ๑ ๒ ๔ ๘ ๑๖ ...

๕. วัยเจริญพันธ์่จะเริม
่ ในวัยใด
ก. วัยร่่น ข. วัยเด็ก
ค. วัยผู้ใหญ่ ง. แล้วแต่พัฒนำกำรของ

แต่ละบ่คคล

๖. บ่คคลทีอ
่ าย่ 60 ปี ขึ้นไป เรามักเรียกว่าวัยอะไร
ก. วัยชรำ ข. วัยสูงอำย่

2
ค. วัยเกษียณอำย่ ง. วัยผู้ใหญ่ตอนปลำย

๗. การทีน
่ ักเรียนร้้จักติดตามด้แลเพือ
่ ให้ตนเองมีการ
เจริญเติบโตและพัฒนาการทีเ่ หมาะสมกับวัย มีความ
สำาคัญอย่างไร
ก. ทรำบน้ำ
้ หนักและส่วนสูงของตนเอง
ข. เพือ
่ ให้ทรำบกำรเจริญเติบโตของตนเอง
ค. เพือ
่ ให้ทรำบถึงกำรพัฒนำกำรของตนเองว่ำเป็ น
อย่ำงไร
ง. เพือ
่ ส่ขภำพและค่ณภำพชีวิตทีด
่ ีของของนักเรียนใน

อนำคต

๘. การชัง
่ นำ้าหนักและวัดส่วนส้งอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง
นั้น ควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ภำคเรียนที ่ ๑ รวม ๒ ครัง้ ข. ภำคเรียนละ ๑
ครัง้
ค. ภำคเรียนใดก็ได้ รวม ๒ ครัง้ ง. ภำคเรียนที ่ ๒

ควรท้ำ รวม ๒ ครัง้

๙. อาหารมื้อใดทีม
่ ีความสำาคัญทีส
่ ่ด

3
ก. เช้ำ ข. เย็น
ค. กลำงวัน ง. กลำงคืน

๑๐.คำาพ้ดทีว
่ ่า วัยแตกเนื้อหน่่มสาว หมายถึงช่วงวัยใด
ก. วัยร่่น ข. วัยเด็กตอนปลำย
ค. วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ง. วัยผู้ใหญ่ตอนกลำง

๑๑.วัยร่่นจะหย่ดการเจริญเติบโตด้านความส้ง เมือ
่ อาย่
ประมาณเท่าใด
ก. ๑๔ - ๑๖ ปี ข. ๑๕ - ๑๗ ปี
ค. ๑๗ - ๒๐ ปี ง. ๒๐ - ๒๕ ปี

๑๒. เกรียงไกรอาย่ ๑๔ ปี ส่วนส้ง ๑๖๒ เซนติเมตร


ศีรษะเขาควรจะมีความยาวประมาณเท่าใด
ก. ๒๑ เซนติเมตร ข. ๒๔ เซนติเมตร
ค. ๒๗ เซนติเมตร ง. ๓๐ เซนติเมตร

๑๓.การเปลีย
่ นแปลงของวัยร่่นนั้นมีผลมาจากสิง่ ใด
ก. ฮอร์โมนเพศ ข. กำรเจริญเติบโตของวัย
ร่น

4
ค. สภำพแวดล้อมทีเ่ ปลีย
่ นแปลงง. พัฒนำกำรในด้ำน

ต่ำงๆ ของวัยร่่น

๑๔. ปั ญหาสำาคัญทีเ่ กิดกับวัยร่่นไทยในปั จจ่บันคือบ่คคล


ใด
ก. ไอที ข. อำรมณ์
ค. ผู้ใหญ่ ง. สำรเสพติด

๑๕.ผ้ท
้ ีจ
่ ะแก้ไขปั ญหาความร่นแรงในวัยร่่นได้ดีทีส
่ ่ดคือ
บ่คคลใด
ก. เพือ
่ น ข. ต้ำรวจ
ค. ตัวของวัยร่่นเอง ง. พ่อ แม่ หรือผู้ปกครอง

๑๖.ความเสมอภาคทางเพศในอดีตกับปั จจ่บันแตกต่างกัน
อย่างไร
ก. สมัยก่อนมีควำมเสมอภำคเท่ำเทียมกัน
ข. สมัยก่อนผู้ชำยจะได้เปรียบผู้หญิงมำกกว่ำปั จจ่บัน
ค. สมัยก่อนผู้ชำยเสียเปรียบผู้หญิงมำกกว่ำปั จจ่บัน
ง. สมัยปั จจ่บันมีควำมเสมอภำคเท่ำเทียมกันท่กประกำร

5
๑๗. ข้อใดเป็ นคำาประณามต่อว่าผ้้หญิงทีม
่ ีความร่นแรง
ทีส
่ ด

ก. ไม่เป็ นลูกผู้หญิง ข. ไม่รักนวลสงวนตัว
ค. ไม่มีควำมเป็ นก่ลสตรี ง. ท้ำตัวเหมือนหญิงโสเภณี

๑๘. ผ้ห
้ ญิงประเภทใดทีส
่ ังคมไทยมักเปรียบเทียบว่า
เหมือนนางวันทอง นางโมราห์ และนางกากี
ก. ผู้หญิงทีม
่ ีเสน่ห์แรง ข. ผู้หญิงทีใ่ บหน้ำสวย
ค. ผู้หญิงทีม
่ ีสำมีหลำยคน ง. ผู้หญิงทีไ่ ม่เอำใจใส่ดูแล

สำมี

๑๙. ข้อใดไม่อย่้ในขอบข่ายของการวางแผนครอบครัว
ก. วำงแผนว่ำจะมีลูกกีค
่ น
ข. วำงแผนว่ำจะมีลูกเมือ
่ ไร
ค. วำงแผนว่ำจะค่มก้ำเนิดด้วยวิธีใด
ง. วำงแผนว่ำจะประกอบอำชีพอะไรหลังแต่งงำนแล้ว

๒๐. ข้อใดเป็ นการค่มกำาเนิดทีม


่ ีประโยชน์ต่อบ่คคลมาก
ทีส
่ ด

ก. ถ่งยำงอนำมัย ข. ยำฉีดค่มก้ำเนิด
ค. ยำเม็ดค่มก้ำเนิด ง. ยำเม็ดค่มก้ำเนิดฉ่กเฉิน

6
๒๑. การทำาแท้งมีอันตรายต่อร่างกายหรือไม่อย่างไร
ก. มีอันตรำย อำจเสียชีวิตได้
ข. มีอันตรำย มักท้ำแบบผิดกฎหมำย
ค. ไม่มีอันตรำย ถ้ำได้ท้ำแท้งกับแพทย์
ง. ไม่มีอันตรำย เพรำะเครือ
่ งมือท้ำแท้งในปั จจ่บันมี

ควำมทันสมัย

๒๒. กระบวนการตัดสินใจเพือ
่ หลีกเลีย
่ งการมีเพศ
สัมพันธ์ มีกีข
่ ้น
ั ตอน
ก. ๔ ขัน
้ ตอน ข. ๕ ขัน
้ ตอน
ค. ๖ ขัน
้ ตอน ง. ๗ ขัน
้ ตอน

๒๓. เมือ
่ เพือ
่ นชายชวนไปเทีย
่ วตามลำาพัง ฝ่ ายหญิง
กำาลังคิดว่าจะไปหรือไม่ไปดี จัดว่าเป็ นขั้นตอนการ
ตัดสินใจข้อใด
ก. กำรประเมินผลกำรตัดสินใจ
ข. กำรก้ำหนดทำงเลือกเพือ
่ กำรตัดสินใจ
ค. กำรประเมินข้อดี ข้อเสียของแต่ละทำงเลือก
ง. กำรตัดสินใจเลือก และระบ่เหต่ผลของกำรเลือก

7
๒๔. วิธีส่ดท้ายของการป้องกันตนเองจากสถานการณ์
เพลีย
่ งพลำ้าต่อการมีเพศสัมพันธ์ คือวิธีใด
ก. กำรปิ ดกัน
้ โอกำส ข. กำรปิ ดกัน
้ อำรมณ์
ค. กำรเจรจำต่อรอง ง. กำรใช้ถ่งยำงอนำมัย

๒๕. การเทีย
่ วกลางคืนในสถานเริงรมย์ต่างๆ กับคนที ่
เพิง่ ร้้จักกัน และมีการดืม
่ เครือ
่ งดืม
่ ทีม
่ ีแอลกอฮอล์ด้วย
จัดเป็ นพฤติกรรมเสีย
่ งข้อใด
ก. สถำบันครอบครัว ข. ควำมเชือ
่ ทำงเพศทีผ
่ ิด
ค. กำรเปิ ดเผยอำรมณ์ทำงเพศ ง. กำรเปิ ดโอกำสแก่

ตนเองและผู้อืน

๒๖. การทีเ่ ด็กหญิงอาย่ยังน้อยตั้งครรภ์ เมือ


่ คลอดบ่ตร
จะพบกับปั ญหาใดมากทีส
่ ่ด
ก. กำรตำยของแม่ ข. กำรตำยของทำรก
ค. กระดูกเชิงกรำนเล็ก ง. ระยะเวลำกำรคลอดจะใช้

เวลำนำน

8
๒๗. ผ้ห
้ ญิงทีไ่ ม่ยอมให้คนรักสัมผัสร่างกายมากเกินไป
จัดเข้ากับข้อใด
ก. ร้จ
ู ักกำรค่มก้ำเนิด ข. ร้จ
ู ักทักษะกำรปฏิเสธ
ค. ร้จ
ู ักทักษะกำรต่อรอง ง. ควำมสัมพันธ์ทีด
่ ีระหว่ำง

ครอบครัว

๒๘. ปั ญหาส่ขภาพมีความสัมพันธ์กับสิง่ ใดมากทีส


่ ่ด
ก. อำหำร ข. กำรออกก้ำลังกำย
ค. พฤติกรรมส่ขภำพ ง. สภำพสิง่ แวดล้อม

๒๙. ปั จจัยสำาคัญทีส
่ ่ดทีจ
่ ะช่วยป้องกันการเกิดโรคได้คือ
ข้อใด
ก. ร้บ
ู ่อเกิดของโรค
ข. พฤติกรรมกำรป้ องกัน
ค. กำรรณรงค์ให้ประชำชนรักส่ขภำพของตนเอง
ง. กำรออกกฎหมำยควบค่มกำรแพร่ระบำดของเชือ
้ โรค

๓๐.ข้อใดเป็ นเป้าหมายส้งส่ดของการป้องกันโรค
ก. ภำวะของควำมส่ข ข. ปรำศจำกโรคภัยไข้เจ็บ

9
ค. มีพฤติกรรมส่ขภำพทีถ
่ ูกต้อง ง. กำรป้ องกันกำร

แพร่ระบำดของเชือ
้ โรค

๓๑.ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์จากท่อไอเสีย จัดเป็ นสิง่


แวดล้อมประเภทใด
ก. สิง่ แวดล้อมบนถนน ข. สิง่ แวดล้อมในช่มชน
ค. สิง่ แวดล้อมนอกทีท
่ ้ำงำน ง. สิง่ แวดล้อมทีไ่ ร้พรมแดน

๓๒. มลพิษใดทีก
่ ่อให้เกิดปั ญหาต่อคนในเขตเมืองมาก
ทีส
่ ด

ก. มลพิษทำงดิน ข. มลพิษทำงน้ำ

ค. มลพิษทำงอำกำศ ง. มลพิษในวงจรอำหำร

๓๓. ข้อใดเป็ นการแก้ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมเชิงเทคนิค


ก. กำรใช้เทคโนโลยีสะอำด
ข. กำรควบค่มค่ณภำพด้วยระบบ ISO ๑๔๐๐๐
ค. กำรออกกฎหมำยเพือ
่ ส่งเสริมและรักษำสิง่ แวดล้อม
ง. กำรติดตัง้ เครือ
่ งกรองอำกำศในโรงงำนอ่ตสำหกรรม

10
๓๔. โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อสามารถเรียกอีกชือ
่ ว่า
อะไร
ก. โรคติด และโรคไม่ติด ข. โรคมีตัว และโรคไม่มีตัว
ค. โรคติดเชือ
้ และโรคไม่ติดเชือ
้ ง. โรคร้ำยแรง

และโรคไม่ร้ำยแรง

๓๕. โรคใดจัดเป็ นโรคทางกรรมพันธ์่


ก. โรคเบำหวำน ข. โรคไข้หวัดนก
ค. โรคพิษส่นัขบ้ำ ง. โรคอหิวำตกโรค

๓๖. วัตถ่ประสงค์ของการฉีดวัคซีน BCG แก่เด็กแรก


เกิด เพือ
่ ป้องกันโรคใด
ก. ไอกรน ข. วัณโรค
ค. โปลิโอ ง. บำดทะยัก

๓๗. นิว
้ ค่้ใดทีใ่ ช้ในการนวดด้วยตนเองได้น้อยทีส
่ ่ด
ก. นิว้ ชีแ
้ ละนิว้ ก้อย ข. นิว้ นำงและนิว้ ก้อย
ค. นิว้ กลำงและนิว้ ก้อย ง. นิว้ หัวแม่มือและนิว้ นำง

๓๘. ถ้าปวดท้องจากไส้ติง่ อักเสบ เมือ


่ กดบริเวณใดจะ
ร้ส
้ ึกเจ็บปวดมาก

11
ก. หน้ำท้องส่วนล่ำงด้ำนขวำ ข. หน้ำท้องส่วนล่ำง
ด้ำนซ้ำย
ค. ชำยโครงส่วนล่ำงด้ำนขวำ ง. ชำยโครงส่วนล่ำง

ด้ำนซ้ำย

๓๙. ถ้าถ้กส่นัขจรจัดกัด เบื้องต้นควรปฏิบัติอย่างไร


ก. ใช้เชือกรัดเหนือบำดแผล
ข. รีบพำไปพบแพทย์เพือ
่ รักษำ
ค. ตีส่นัขให้ตำยเพือ
่ น้ำซำกส่นัขไปให้แพทย์ตรวจ
ง. รีบล้ำงแผลด้วยน้ำ
้ สะอำด ฟอกสบู่ ๒ - ๓ ครัง้ แล้ว

ใส่ยำส้ำหรับแผลสด

๔๐.โรงพยาบาลทีอ
่ ย่้ในระดับอำาเภอจะต้องมีเตียงเท่าใด
ก. ๑๒๐ เตียง ข. ๑๓๐ เตียง
ค. ๑๔๐ เตียง ง. ๑๕๐ เตียง

๔๑. ศ้นย์ส่ขภาพช่มชนมีขีดความสามารถให้บริการอย่้
ในระดับใด
ก. ระดับ ๑ ข. ระดับ ๑ - ๒
ค. ระดับ ๒ - ๓ ง. ระดับ ๓

12
๔๒. การทีร
่ ัฐบาลมีโครงการหลักประกันส่ขภาพให้แก
ประชาชน เกิดประโยชน์อย่างไร
ก. แพทย์เอำใจใส่ดูแลดีขึน

ข. ไม่ต้องเสียเงินในกำรตรวจรักษำ
ค. มีกำรจ่ำยยำรักษำโรคทีม
่ ีค่ณภำพดีขึน

ง. มีกำรบริกำรด้ำนส่ขภำพทีห
่ ลำกหลำย และใช้ได้ท่ก

โรงพยำบำล

๔๓. ความหมายของผ้้บริโภคข้อใดครอบคล่มชัดเจน
ทีส
่ ด

ก. บ่คคลท่กคน ข. คนทีก
่ ินและใช้
ค. คนทีม
่ ีรำยได้เป็ นของตนเอง ง. คนทีร
่ จ
ู้ ักสิทธิของผู้

บริโภค

๔๔. อาหารกล่่มใดต่อไปนีท
้ ีไ่ ม่ได้ห้ามใส่สีผสมอาหาร
ก. กะปิ แหนม ลูกชิน
้ ข. ก่นเชียง ทอดมัน ผัก
ดอง
ค. ไอศกรีม น้ำ
้ หวำน ้ ปลำ ง.
น้ำ ข้ำวเกรียบ ผลไม้

สด ผลไม้ดอง

13
๔๕. พระราชบัญญัติค้่มครองผ้้บริโภค มีข้ึนเมือ
่ ใด
ก. พ.ศ. ๒๕๑๖ ข. พ.ศ. ๒๕๑๘
ค. พ.ศ. ๒๕๒๐ ง. พ.ศ. ๒๕๒๒

๔๖. อาหารทีม
่ ีนมแม่ ข้าวบด เนื้อปลาส่กหรือไข่แดง
ต้มส่กผสมนำ้าแกงจืด เพิม
่ ผักส่กบดเป็ นอาหารแทน
นม ๑ มื้อ มีผลไม้ส่กนิม
่ ๆ เป็ นอาหารว่าง ๑ มื้อ คือ
อาหารของเด็กทารกทีม
่ ีอาย่กีเ่ ดือน
ก. ๕ เดือน ข. ๖ เดือน
ค. ๗ เดือน ง. ๘ เดือน

๔๗. แม่ทีอ
่ ย่้ในระยะให้นมบ่ตรควรบริโภคอาหารจำาพวก
ใดเพิม
่ เติม
ก. ตับ นม ่ แดง ข. ข้ำวซ้อมมือ
เนย ถัว ไข่แดง
ถัว
่ ลิสงคัว

ค. นม เนือ
้ สัตว์ต่ำงๆ ผักและผลไม้ ง. ข้ำวสำลี

ไม่ขัดขำว จมูกข้ำว ผักใบเขียว

๔๘. นำ้าตาลในเลือดส้งเท่าใดจะมีอาการเบื้องต้นของ
โรคเบาหวานเกิดขึ้น

14
ก. ๑๔๐ มิลลิกรัม / เดซิลิตร ข. ๑๖๐ มิลลิกรัม /
เดซิลิตร
ค. ๑๘๐ มิลลิกรัม / เดซิลิตร ง. ๒๐๐ มิลลิกรัม /

เดซิลิตร

๔๙. ข้อใดคืออาหารทีต
่ ้องกำาหนดค่ณภาพหรือ
มาตรฐาน
ก. นมเปรีย
้ ว และน้ำ
้ แข็ง
ข. น้ำ
้ มันถัว
่ ลิสง และน้ำ
้ ปลำ
ค. ขนมปั ง และผลิตภัณฑ์จำกเนือ
้ สัตว์
ง. แป้ งข้ำวกล้อง อำหำรเสริมทำรกและเด็กเล็ก

๕๐.เลขสารบบอาหาร หมายเลข (อ.ย.) จะต้องมีกีต


่ ัว
ก. ๗ ตัว ข. ๙ ตัว
ค. ๑๑ ตัว ง. ๑๓ ตัว

๕๑.ในฉลากอาหารมีข้อความ “นำ้าผึ้งแท้ เดือน ๕”


ข้อความนีค
้ ืออะไร
ก. ชือ
่ อำหำรภำษำไทย ข. ชือ
่ เครือ
่ งหมำยกำรค้ำ

15
ค. ชือ ่ ลิต เดือน ๕ ง.
่ ระยะเวลำทีผ แสดงค่ณภำพของ

น้ำ
้ ผึง้ แท้

๕๒. อาหารประเภทใดควรใช้หลัก “ชิมก่อนเติม”


ก. น้ำ
้ ผลไม้ ข. กำแฟเย็น
ค. กระเพำะปลำ ง. ข้ำวเหนียวสังขยำ

๕๓. บ่คคลใดทีม
่ ีโอกาสเป็ นผ้้ส้บบ่หรีม
่ ือสองส้ง
ก. เป็ นผู้ขำยบ่หรี ่ ข. ชอบขอบ่หรีเ่ พือ
่ นสูบ
ค. มักซือ
้ บ่หรีค
่ รัง้ ละ ๕ มวน ๑๐ มวน ง. ผู้ใกล้ชิด

คนทีส
่ ูบบ่หรีต
่ ลอดเวลำ

๕๔. การปฏิบัตต
ิ นเพือ
่ สร้างเสริมส่ขภาพกายและ
ส่ขภาพจิตข้อใดสำาคัญทีส
่ ่ด
ก. ออกก้ำลังกำย ข. ไม่ใช้สำรเสพติด
ค. ท้ำจิตใจให้ร่ำเริง แจ่มใส ง. รักษำควำมสะอำดสิง่

แวดล้อม

16
๕๕. การประเมินนิสัยหรือพฤติกรรมในการนอนหลับได้
กีค
่ ะแนนจึงจะอย่้ในเกณฑ์ดีเยีย
่ ม
ก. ๒๐ - ๒๓ คะแนน ข. ๒๔ - ๒๘ คะแนน
ค. ๒๙ - ๓๒ คะแนน ง. ๓๓ - ๓๕ คะแนน

๕๖. ก่อนนอนหลับควรจะดืม
่ สิง่ ใดก่อน
ก. นม ข. ชำ
ค. กำแฟ ง. น้ำ
้ ผลไม้

๕๗. วิธีการลดความเครียดทางกล้ามเนื้อทีด
่ ีควรใช้วิธีใด
ก. กำรดืม
่ น้ำ
้ ข. กำรผ่อนคลำย
ค. กำรออกก้ำลังกำย ง. กำรเล่นกีฬำทีไ่ ม่ปะทะ

กัน

๕๘. แผนการออกกำาลังกาย การพักผ่อน การสร้างเสริม


สมรรถภาพทางกาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
นันทนาการ ขัน
้ ตอนแรกคืออะไร
ก. ตัง้ เป้ ำหมำย
ข. ศึกษำสภำพปั จจ่บัน
ค. เลือกประเภททีเ่ หมำะสม
ง. ก้ำหนดตำรำง เวลำกำรปฏิบัติ

17
๕๙. คำากล่าวถึงความสำาคัญของการวางแผนทีด
่ ี คือ
อะไร
ก. งำนเสร็จไปแล้ว ๒๕% ข. งำนเสร็จไปแล้ว ๕๐%
ค. งำนเสร็จไปแล้ว ๗๕% ง. งำนเสร็จไปแล้ว ๘๐%

๖๐.การวางแผนก่อให้เกิดประโยชน์ข้อใดชัดเจนทีส
่ ่ด
ก. กำรเตรียม ข. กำรท้ำงำน
ค. ควำมส้ำเร็จ ง. กำรด้ำเนินชีวิต

๖๑.ส่ภาพ อาย่ ๑๕ ปี เขาจะออกกำาลังกายในชีพจรเป้า


หมายที ่ ๘๐% ชีพจรส้งส่ดทีค
่ วรเต้นในขณะออกกำาลัง
กาย ควรเท่าใด
ก. ๑๔๐ ครัง้ / นำที ข. ๑๔๒ ครัง้ / นำที
ค. ๑๕๖ ครัง้ / นำที ง. ๑๖๔ ครัง้ / นำที

๖๒. การจับชีพจรบริเวณใดทำาให้ผลชัดเจนและง่ายทีส
่ ่ด
ก. บริเวณขมับ ข. บริเวณทีต
่ ัง้ ของหัวใจ
ค. บริเวณทีข
่ ้อพับต่ำงๆ ของร่ำงกำย ง. บริเวณคอ

หรือข้อมือด้ำนใกล้นิว้ หัวแม่มือ

18
๖๓. การฝึ กฝนความเร็วของร่างกาย ควรฝึ กอย่างไร
ก. ให้วิง่ เร็วระยะ ๑๐ เมตรบ่อยๆ ข. ให้วิง่ เร็วระยะ
๒๐ เมตรบ่อยๆ
ค. ให้วิง่ เร็วระยะ ๕๐ เมตรบ่อยๆ ง. ให้วิง่ เร็วระยะ

๒๐๐ เมตรบ่อยๆ

๖๔. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายทีน
่ ิยมมากทีส
่ ่ดคือ
ข้อใด
ก. JASA ข. ICSPFT
ค. AAHPER ง. SATST

๖๕. การบันทึกคะแนนการยืนกระโดดไกล มีหลักการ


บันทึกอย่างไร
ก. ทดสอบกีค
่ รัง้ ก็ได้จนกว่ำจะพอใจ
ข. บันทึกคะแนนจำกกำรทดสอบครัง้ เดียว
ค. ประลอง ๒ ครัง้ เอำผลมำรวมกัน หำรด้วย ๒
ง. เอำเวลำทีด
่ ีทีส
่ ่ดจำกกำรประลอง ๒ ครัง้

๖๖. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ICSPET มีแบบ


การทดสอบกีร
่ ายการ
ก. ๖ รำยกำร ข. ๘ รำยกำร

19
ค. ๙ รำยกำร ง. ๑๐ รำยกำร

๖๗. ยาธาต่น้ำาแดง จัดเป็ นยาประเภทใด


ก. ยำสม่นไพร ข. ยำแผนโบรำณ
ค. ยำแผนปั จจ่บัน ง. ยำสำมัญประจ้ำบ้ำน

๖๘. ข้อใดเป็ นสารเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง


ก. ยำบ้ำ ข. โคเคน
ค. มอร์ฟีน ง. โคเคอีน

๖๙. โครงการใดทีจ
่ ัดตั้งขึ้นเพือ
่ ช่วยในการแก้ไขปั ญหา
สารเสพติดโดยเฉพาะ
ก. โครงกำรตำวิเศษ ข. โครงกำรถนนสีขำว
ค. โครงกำรทูบีนัมเบอร์วัน ง. โครงกำรโรงเรียนปลอด

อบำยม่ข

๗๐. โครงการ “ทอดกฐินปลอดเหล้า” มีจด


่ ม่่งหมาย
สำาคัญอย่างไร
ก. ลดกำรเกิดอ่บัติเหต่ ข. เพือ
่ ท้ำบ่ญปลอดจำกบำป

20
ค. เพือ
่ รักษำศีล ๕ ให้บริส่ทธิ ์ ง. เพือ
่ มิให้น้ำส่รำ

เข้ำไปดืม
่ ในงำนกฐิน

๗๑. การตรวจหาระดับของแอลกอฮอล์จากผ้้ขับขีย
่ าน
พาหนะ ส่วนใหญ่นิยมใช้วิธีใด
ก. ตรวจเลือด ข. ตรวจปั สสำวะ
ค. ตรวจอ่จจำระ ง. ตรวจทำงลมหำยใจ

๗๒. ถ้าตรวจว่ามีระดับแอลกอฮอล์ในเลือด ๘๐
มิลลิกรัม แสดงว่ามีโอกาสทีจ
่ ะเกิดอ่บัติเหต่เป็ นกีเ่ ท่า
ของคนปกติ
ก. ๒ เท่ำ ข. ๓ เท่ำ
ค. ๔ เท่ำ ง. ๕ เท่ำ

๗๓. Jogging คืออะไร


ก. กำรวิง่ ช้ำมำก ข. กำรวิง่ เร็วมำก
ค. กำรวิง่ เหยำะๆ ง. กำรวิง่ เป็ นกล่่มๆ

๗๔. ข้อใดสามารถช่วยเหลือผ้้ประสบภัยทางทะเลได้ดี
ทีส
่ ด

ก. หัดว่ำยน้ำ
้ ให้เป็ น

21
ข. ไปคนเดียวไม่ไปเป็ นหมู่คณะ
ค. หลีกเลีย
่ งกำรไปเทีย
่ วทำงทะเล
ง. ใส่เสือ
้ ชูชีพซึง่ อยู่ในเรือตลอดเวลำ

๗๕. การป้องกันการเกิดอ่บัติเหต่จากกิจกรรมนันทานา
การข้อใดเหมาะสมทีส
่ ่ด
ก. ไม่ประมำท
ข. ไปกับหมู่เพือ
่ น
ค. ควรมีผู้ใหญ่ไปด้วย
ง. ควรเข้ำร่วมกิจกรรมนันทนำกำรอย่ำงสม้่ำเสมอ

๗๖. ภัยทีม
่ ักพบบ่อยขณะโดยสารรถประจำาทางคือภัย
ชนิดใด
ก. กำรปล้น ข. กำรชิงทรัพย์
ค. กำรลวนลำม ง. กำรล้วงกระเป๋ ำ

๗๗. ข้อใดจัดเป็ นวินาศภัย


ก. อัคคีภัย ข. กำรพนัน
ค. ถูกชิงทรัพย์ ง. พืน
้ ทีแ
่ ห้งแล้ง

22
๗๘. “อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน” ตรงกับข้อใด
ก. อย่ำไปในสถำนทีเ่ ปลีย
่ ว ข. อย่ำไว้ใจคนแปลกหน้ำ
ค. บนถนนเต็มไปด้วยอ่บัติเหต่ ง. อย่ำประมำทใน

กำรเดินทำงและกำรคบคน

๗๙. ความร่นแรงแบ่งได้เป็ น ๓ ประเภท มีอะไรบ้าง


ก. ประเภทต่อเด็ก ประเภทต่อหญิง และประเภทต่อ
ชำย
ข. ประเภทร่นแรงมำก ร่นแรงปำนกลำง และร่นแรง
น้อย
ค. กำรท้ำร้ำยร่ำงกำย กำรท้ำร้ำยทำงจิตใจ และกำร
ท้ำร้ำยทำงเพศ
ง. กำรท้ำร้ำยร่ำงกำย กำรท้ำร้ำยทำงจิตใจ และกำร

ละเมิดสิทธิส่วนบ่คคล

๘๐.แผนภ้มิตามข้อใดแสดงให้เห็นความสอดคล้อง
ระหว่างความร่นแรงในวัยร่่น ๑
และปั จจัยทีท
่ ำาให้เกิดความร่นแรง ๒ อย่าง

ชัดเจน

23
ก. ๑ ๒ ข. ๑ ๒

ค. ๑ ๒ ง. ๑ ๒

๘๑. ปั ญหาการทะเลาะวิวาทของนักศึกษาระหว่าง
สถาบัน เกิดจากสาเหต่ใด
ก. เลียนแบบดำรำ ข. ยกพวกตีกัน
ค. ข่มขู่รีดไถเงิน ง. ติดยำแล้วอยำก

แสดงออก

๘๒. พฤติกรรมการส่งเสริมส่ขภาพทีค
่ วรปฏิบัติ เรียกอีก
อย่างหนึง
่ ว่าอะไร
ก. ส่ภำพดี ข. กำรด้ำรงชีพ
ค. กำรเลีย
้ งชีพชอบ ง. กำรด้ำรงชีวิตเพือ
่ ส่ขภำพ

ดี

๘๓. พฤติกรรมด้านการเมือง สังคม และเศรษฐกิจเพือ



ส่ขภาพ จะเกิดจากการกระทำาของบ่คคลกล่่มใด
ก. ข้ำรำชกำร ข. นักกำรเมือง

24
ค. นักธ่รกิจ ง. นักเรียน นักศึกษำ

๘๔. ข้อใดจัดเป็ นความส่ขทางกาย


ก. ไม่เจ็บป่ วย ข. มีสมำธิทีด
่ ีเยีย
่ ม
ค. มีอิสรภำพทำงควำมคิด ง. มีทักษะในกำรด้ำเนินชีวิต

ประจ้ำวัน

๘๕. หลักความปลอดภัย ๓ ด้าน ตรงกับข้อใด


ก. ๓ A ข. ๓ C
ค. ๓ E ง. ๓ H

๘๖. การขับขีร
่ ถจักรยานยนต์แบบใดทีผ
่ ิดกฎหมาย
ก. ขับขีข
่ ณะฝนตกหนัก ข. ไม่สวมหมวกนิรภัยขณะ
ขับขี ่
ค. ไม่ตรวจสอบเบรกก่อนน้ำไปใช้ ง. เปลีย
่ นช่อง

ทำงโดยไม่มองกระจกหลัง

๘๗. รถไฟฟ้ าเมโทร คืออะไร


ก. รถลอยฟ้ำ ข. รถไฟฟ้ำบนดิน
ค. รถไฟฟ้ำใต้ดิน ง. รถไฟฟ้ำบนรำง

25
๘๘. กระบวนการบริหารความขัดแย้งแบ่งออกเป็ นกีข
่ ้น

ก. ๔ ขัน
้ ข. ๕ ขัน

ค. ๖ ขัน
้ ง. ๗ ขัน

๘๙. ข้อใดเป็ นพฤติกรรมทีแ


่ สดงความขัดแย้งชัดเจน
ทีส
่ ด

ก. กำรนิง่ เฉย ข. กำรพูดเสียงดัง
ค. กำรใช้ควำมร่นแรง ง. กำรแสดงท่ำทำงประกอบ

กำรพูด

๙๐. วิธีการสือ
่ สารข้อใดสะดวกและดีทีส
่ ่ด
ก. ทำงโทรศัพท์ ข. ทำงจดหมำย
ค. กำรใช้สือ
่ อินเทอร์เน็ต ง. กำรใช้ภำพและเสียงทำง

โทรทัศน์

๙๑. กระบวนการสร้างเสริมความปลอดภัยในช่มชน
เป็ นการดำาเนินงานภายใต้โครงการใด
ก. สังคมสงบส่ข ข. ช่มชนปลอดภัย
ค. สวัสดิกำรสังคม ง. กำรจัดกำรในช่มชน

๙๒. พฤติกรรมความปลอดภัยตรงกับพฤติกรรมในข้อใด

26
ก. พฤติกรรมดี ข. พฤติกรรมทีเ่ รียบร้อย
ค. พฤติกรรมทีพ
่ ึงประสงค์ ง. พฤติกรรมทีไ่ ม่เสีย
่ งต่อ

ควำมปลอดภัย

๙๓. ข้อใดเป็ นเหต่การณ์ล่วงละเมิดทางเพศทีม


่ ีสาเหต่
จากการแต่งกายไม่เหมาะสม
ก. ใส่เสือ ่ ว ถูกชิงทรัพย์ ข.
้ สำยเดีย ใส่เสือ
้ รัดรูป ถูก
หลอกให้ดืม
่ ส่รำ
ค. ใส่กำงเกงเอวต้่ำ ถูกชักชวนไปเทีย
่ ว ง. ใส่เสือ

เอวลอย ถูกฉ่ดเพือ
่ พำไปข่มขืน

๙๔. การใช้คำาพ้ดในการสือ
่ สารได้ดี จัดว่าเป็ น
พฤติกรรมด้านใด
ก. จิตพิสัย ข. พ่ทธิพิสัย
ค. จลนพิสัย ง. ทักษะพิสัย

๙๕. ข้อใดเป็ นการปฏิเสธทีเ่ หมาะสมและได้ผลตลอดจน


ถ้กหลักของการปฏิเสธ
ก. ปฏิเสธอย่ำงเด็ดขำด
ข. ปฏิเสธอย่ำงน่่มนวล และคล่มเครือ

27
ค. ปฏิเสธอย่ำงชัดเจน และไม่เสียดำยควำมสัมพันธ์
ง. ปฏิเสธโดยอ้อม อย่ำให้เขำได้พูดต่อรองมำกนัก

๙๖. ข้อใดจัดเป็ นว่าเป็ นสือ


่ การตลาดทางตรง
ก. กำรโฆษณำเจำะกล่่มลูกค้ำ ข. กำรโฆษณำ
สือ
่ สิง่ พิมพ์
ค. กำรโฆษณำทำงโทรทัศน์ วิทย่ ง. กำรแนะน้ำ

สินค้ำโดยไปขำยตรงตำมบ้ำน

๙๗. โครงการใดทีม
่ ีจ่ดประสงค์ เพือ
่ ป้องกันภัยทาง
อินเทอร์เน็ต
ก. โครงกำรรักษ์อินเทอร์เน็ต ข. โครงกำร
อินเทอร์เน็ตสีขำว
ค. โครงกำรจัดข้อมูลจำกอินเทอร์เน็ต ง. โครงกำร

เล่นอินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย

๙๘. คณะกรรมการป้องกันอ่บัติภัยแห่งชาติ ใช้อักษรย่อ


ตัวใด

28
ก. ปภ. ข. กปอ. ค. ปอช. ง. คปอช.

๙๙. หากเกิดเหต่ด่วนเหต่ร้าย จะต้องแจ้งทีห


่ มายเลขใด
ก. ๑๙๑ ข. ๑๙๙ ค. ๑๑๙๑ ง. ๑๑๙๙

๑๐๐. บ้านพักฉ่กเฉิน มีหน้าทีใ่ ห้การช่วยเหลือกับบ่คคล


กล่่มใดโดยเฉพาะ
ก. ช่วยรักษำและฟื้ นฟูส่ขภำพจิตผู้หญิงทีเ่ ดือดร้อน
ข. เป็ นทีพ
่ ักชัว
่ ครำวส้ำหรับผู้หญิงทีป
่ ระสบปั ญหำเดือด
ร้อน
ค. เป็ นสถำนทีช
่ ่วยเหลือผู้หญิงทีเ่ ดือดร้อนจำกกำรถูก
สำมีท้ำร้ำย
ง. เป็ นสถำนทีช
่ ่วยเหลือผู้หญิงทีป
่ ่ วยด้วยโรคเอดส์และ
โรคติดต่อทำงเพศสัมพันธ์

29
ชุดที่ ๑

ข้อสอบมาตรฐานชัน
้ ปี
กลุุมสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน สุขศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๒

คำาชี้แจง ้ หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐


ข้อสอบมีทัง
คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. ค. ๒. ข. ๓. ก. ๔. ง. ๕. ก.
๖. ข. ๗. ง. ๘. ข. ๙. ก. ๑๐.ก.
๑๑.ค. ๑๒. ค. ๑๓. ง. ๑๔. ง.
๑๕. ค.
๑๖.ข. ๑๗. ง. ๑๘. ค. ๑๙. ง.
๒๐. ก.

30
๒๑. ก. ๒๒. ค. ๒๓. ง. ๒๔. ง.
๒๕. ง.
๒๖. ค. ๒๗. ข. ๒๘. ค. ๒๙. ข.
๓๐. ก.
๓๑.ข. ๓๒. ค. ๓๓. ง. ๓๔. ค.
๓๕. ก.
๓๖. ข. ๓๗. ข. ๓๘. ก. ๓๙. ง.
๔๐. ง.
๔๑. ข. ๔๒. ข. ๔๓. ก. ๔๔. ค.
๔๕. ง.
๔๖. ข. ๔๗. ค. ๔๘. ค. ๔๙. ข.
๕๐. ข.
๕๑.ก. ๕๒. ค. ๕๓. ง. ๕๔. ข.
๕๕. ข.
๕๖. ก. ๕๗. ข. ๕๘. ข. ๕๙. ข.
๖๐. ค.
๖๑.ง. ๖๒. ง. ๖๓. ค. ๖๔. ข.
๖๕. ง.
๖๖. ข. ๖๗. ง. ๖๘. ก. ๖๙. ค.
๗๐. ก.

31
๗๑. ง. ๗๒. ก. ๗๓. ค. ๗๔. ก.
๗๕. ก.
๗๖. ง. ๗๗. ก. ๗๘. ข. ๗๙. ค.
๘๐. ง.
๘๑. ข. ๘๒. ง. ๘๓. ข. ๘๔. ก.
๘๕. ค.
๘๖. ข. ๘๗. ค. ๘๘. ก. ๘๙. ค.
๙๐. ก.
๙๑. ข. ๙๒. ง. ๙๓. ง. ๙๔. ง.
๙๕. ค.
๙๖. ง. ๙๗. ข. ๙๘. ข. ๙๙. ก.
๑๐๐. ข.

32

You might also like