You are on page 1of 33

ชุดที่ ๒

ข้อสอบมาตรฐานชัน
้ ปี
กลุุมสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน สุขศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๒

คำาชี้แจง ้ หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐


ข้อสอบมีทัง
คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. อัตราการเจริญเติบโตของวัยรุ่นแตุละคนจะเป็ น
อยุางไร
ก. เหมือนกันในแต่ละบุคคล ข. คล้ายคลึงกันในแต่ละ
บุคคล
ค. แตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ง. เพิม
่ ขึน
้ เท่าๆ กัน

แต่จะถึงจุดสูงสุดต่างกัน

๒. ตุอมเพศมีอิทธิพลตุอวัยรุ่นอยุางไร
ก. ทำาให้ร่างกายเจริญเติบโต
ข. ทำาให้เกิดแรงขับทางเพศ

17
ค. ทำาให้ชายและหญิงมีอวัยวะเพศตามเพศของตน
ง. ทำาให้เกิดการพัฒนาการของลักษณะทีแ
่ สดงเพศชาย

และเพศหญิง

๓. การพัฒนาทางด้านค่ณธรรม จริยธรรมของวัยรุ่น
แตุละคนนั้นเป็ นอยุางไร
ก. เท่าเทียมกัน
ข. ไม่เท่าเทียมกัน
ค. เท่ากันในระยะแรก แต่จะต่างกันในระยะหลัง
ง. ไม่เท่ากันในระยะแรก แต่จะเท่ากันในระยะหลัง

๔. ข้อใดเป็ นความหมายของการปฏิสนธิ
ก. การมีเพศสัมพันธ์ของชายและหญิง ข. การที ่
ทารกคลอดจากครรภ์มารดา
ค. การมีเซลล์สืบพันธ์ุของชายและหญิง ง. การผสม

ของอสุจิของพ่อกับไข่ของแม่

18
๕. การทีท
่ ารกจะเกิดมาเป็ นเพศหญิงหรือชายนั้น ขึ้นอยุ่
กับโครโมโซมของพุอและแมุ ถ้าเป็ นล่กชายจะมี
ลักษณะโครโมโซมอยุางไร
ก. xy ข. yx
ค. xx ง. yy

๖. ปั จจัยใดเป็ นสาเหต่ทีท
่ ำาให้คนญีป
่ ุ ่นมีร่ปรุางทีส
่ ่งใหญุ
กวุาคนไทย
ก. อาหารทีบ
่ ริโภค ข. สภาพแวดล้อมทางสังคม
ค. การเจ็บป่ วยหรืออุบัติภัย ง. การอบรมเลีย
้ งดูของพ่อ

และแม่

๗. วิธต
ี ิดตามด่แลการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัย
รุน
่ ข้อใดเหมาะสมทีส
่ ่ด
ก. การสำารวจตนเอง
ข. การสังเกตตนเอง
ค. การชัง่ นำา
้ หนัก และวัดส่วนสูง
ง. การตรวจสุขภาพร่างกายประจำาปี

๘. ถ้านักเรียนมีน้ำาหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน จะมีวิธีการ
แก้ไขอยุางไร

19
ก. เล่นกีฬา ข. ปรึกษาแพทย์
ค. หมัน
่ ชัง่ นำา
้ หนักตนเอง ง. ออกกำาลังกายและ

ควบคุมปริมาณอาหาร

๙. การเริม
่ ต้นชีวิตใหมุ NEW START ประการใดสำาคัญ
ทีส
่ ุด
ก. Air ข. Rest
ค. Sunshine ง. Exercise

๑๐.ฮอร์โมนใดทีม
่ ีความเกีย
่ วข้องกับการเจริญเติบโตของ
รุางกาย
ก. Estrogen ข. Progesterone
ค. Testosterone ง. Growth Hormone

๑๑.พรเกียรติ อาย่ ๑๖ ปี นำ้าหนักตัว ๕๐ กิโลกรัม ควรมี


นำ้าหนักของกล้ามเนื้อประมาณเทุาใด
ก. ๑๐ - ๑๕ กิโลกรัม ข. ๑๖ - ๑๙ กิโลกรัม
ค. ๒๐ - ๒๕ กิโลกรัม ง. ๔๐ - ๕๐ กิโลกรัม

๑๒. พัฒนาการทางเพศข้อใด ทีเ่ พศชายและเพศหญิง


เหมือนกัน

20
ก. ไหล่ขยายกว้าง ข. มีกลิน
่ ตัวแรง
ค. มีขนขึน
้ บริเวณอวัยวะเพศ ง. เสียงเริม
่ แตกและ

นำา
้ เสียงห้าว

๑๓.ชุวงชีวิตของวัยรุ่นจะมีการดำาเนินชีวิตเป็ นอยุางไร
ก. เป็ นช่วงทีม
่ ีวิถีชีวิตเปลีย
่ นไป
ข. เป็ นช่วงคาบเกีย
่ วระหว่างวัยเด็กกับวัยผู้ใหญ่
ค. เป็ นช่วงชีวิตทีม
่ ีแต่ความสนุกสนาน ร่าเริง แจ่มใส
ง. เป็ นช่วงชีวิตทีม
่ ีแต่ความสับสนวุ่นวายทัง้ ของตนเอง

และครอบครัว

๑๔. แนวทางในการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งของวัยรุ่น


กับพุอแมุน้ัน วัยรุ่นควรปฏิบต
ั ิ
เชุนไรจึงเหมาะสม
ก. ฟั งพ่อแม่อย่างเดียว
ข. แสดงเหตุผลได้ในโอกาสทีเ่ หมาะสม
ค. โต้เถียงเมือ
่ คิดว่าตนเองมีเหตุผลดีพอ
ง. เก็บความรู้สึกทีไ่ ม่พอใจไว้ แล้วไประบายทีอ
่ ืน

21
๑๕.บ่คคลใดทีม
่ ีอิทธิพลมากทีเ่ ป็ นสาเหต่ทำาให้วัยรุ่นเสพ
สารเสพติด
ก. เพือ
่ น ข. พ่อแม่
ค. คนในชุมชน ง. คนขายสารเสพติด

๑๖.ความเสมอภาคทางเพศจะต้องมีสิง่ ใดกำากับด้วย
ก. กฎหมายทางเพศ
ข. การวางตัวอย่างเหมาะสมของแต่ละเพศ
ค. การยอมรับในความสามารถของแต่ละเพศ
ง. บทบาททางเพศกับการพัฒนาสังคมของแต่ละเพศ

๑๗. คำาวุา “ผ้่ชายเป็ นช้างเท้าหน้า ผ้่หญิงเป็ นช้างเท้า


หลัง” เป็ นคำาทีแ
่ สดงให้เห็นถึงสิง่ ใด
ก. บทบาททางเพศ ข. การกดขีท
่ างเพศ
ค. ความเสมอภาคทางเพศ ง. การวางตัวทีเ่ หมาะสม

ทางเพศ

๑๘. ข้อใดเป็ นการวางตัวตุอเพศตรงข้ามในฐานะเพือ


่ น
ตุางเพศทีไ่ มุเหมาะสม
ก. ดูภาพยนตร์ด้วยกัน ข. โอบไหล่ต่อหน้าเพือ
่ นๆ

22
ค. ไปเทีย
่ วค้างคืนกันตามลำาพัง ง. โทรศัพท์คุยกัน

บ่อย ครัง้ ละนานๆ

๑๙. ส่ขภาพทางเพศหมายถึงอะไร
ก. การศึกษาเกีย
่ วกับเรือ
่ งสุขภาพทางเพศ
ข. ความเข้าใจในเรือ
่ งการดูแลสุขภาพทางเพศ
ค. การป้ องกันโรคต่างๆ ทีเ่ ป็ นโรคเกีย
่ วกับทางเพศ
ง. ความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพทางเพศได้

ตามวัย

๒๐. โรคติดเชื้อในระบบสืบพันธ์่ทีเ่ ป็ นปั ญหาสาธารณส่ข


ทีส
่ ำาคัญทีส
่ ่ดคือโรคใด
ก. เริม ข. เอดส์
ค. ซิฟิลิส ง. โกโนเรีย

๒๑. การตัง
้ ครรภ์โดยไมุพึงประสงค์แล้วไปทำาแท้ง ถือวุา
ผิดศีลธรรมหรือไมุ เพราะเหต่ใด
ก. ผิด เพราะเป็ นการฆ่าชีวิตคน
ข. ผิด เพราะใช้วิธีทีร
่ ุนแรง
ค. ไม่ผิด เพราะทารกเกิดมาจะมีปัญหา

23
ง. ไม่ผิด เพราะเป็ นการตัง้ ครรภ์ทีไ่ ม่พึงประสงค์

๒๒. คนทีม
่ ีความเชือ
่ มัน
่ ในตนเองส่ง ตรงกับปั จจัยทีม
่ ี
อิทธิพลตุอการตัดสินใจข้อใด
ก. ค่านิยม ข. ความรู้
ค. บุคลิกภาพ ง. เป้ าหมายหรือจุดประสงค์

๒๓. ข้อใดจัดเป็ นขั้นตอนส่ดท้ายในการตัดสินใจ


ก. การประเมินผลการตัดสินใจ
ข. การประเมินข้อดี ข้อเสีย แต่ละทางเลือก
ค. การกำาหนดทางเลือกเพือ
่ การตัดสินใจทีด
่ ี
ง. การตัดสินใจเลือก และระบุเหตุผลของการเลือก

๒๔. การป้องกันไมุให้คนรักลุวงเกินได้ จัดเป็ นวิธีการ


ป้องกันตนเองแบบใด
ก. การปิ ดกัน
้ ตนเอง ข. การปิ ดกัน
้ โอกาส
ค. การปิ ดกัน
้ อารมณ์ ง. การปิ ดกัน
้ การต่อรอง

๒๕. ปั ญหาสำาคัญทีเ่ กิดขึ้นจากการตั้งครรภ์ทีไ่ มุพึง


ประสงค์คืออะไร

24
ก. การถูกทอดทิง้ ข. การทำาแท้ง
ค. การฆ่าตัวตาย ง. การเกิดคดีความ

๒๖. ข้อใดถือเป็ นความเชือ


่ ทีไ่ มุถ่กต้อง
ก. หลังมีเพศสัมพันธ์ผู้ชายต้องรับผิดชอบ
ข. การมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงานถือเป็ นเรือ
่ งปกติ
ค. การมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นเป็ นเรือ
่ งทีไ่ ม่เหมาะสม
ง. การมีเพศสัมพันธ์เพียงครัง้ เดียวก็สามารถตัง้ ครรภ์ได้

๒๗. การหลีกเลีย
่ งจากสิง่ กระต้่นทางเพศจัดเป็ น
พฤติกรรมข้อใด
ก. การต่อรองตนเอง
ข. การร้จ
ู ักปฏิเสธตนเอง
ค. การหลีกเลีย
่ งการมีเพศสัมพันธ์
ง. การปิ ดโอกาสต่อพฤติกรรมเสีย
่ งทางเพศ

๒๘. ข้อใดจัดวุาเป็ นพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือด


ออก
ก. กำาจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุง
ข. การถ่ายอุจจาระลงส้วมทีถ
่ ก
ู สุขลักษณะ
ค. รักษาร่างกายให้แข็งแรงด้วยการออกกำาลังกาย

25
ง. ดืม
่ นำา
้ หรือรับประทานอาหารทีส
่ ะอาดไม่ปนเปื้ อนเชือ

โรค

๒๙ การป้องกันโรคไข้หวัดนก ควรหลีกเลีย
่ งการสัมผัส
สัตว์หรือซากสัตว์กลุ่มใด
ก. นก เป็ ด ไก่ ข. นก หนู เป็ ด
ค. ไก่ แมว นก ง. ไก่ เป็ ด แมลง

๓๐.“ความไมุมีโรคคือลาภอันประเสริฐ” เป็ นคำากลุาวทีม


่ ี
วัตถ่ประสงค์ใด
ก. คนทีไ่ ม่มีโรค เป็ นคนโชคดี
ข. คนทีไ่ ม่มีโรค จะสามารถทำางานได้เงินมาก
ค. คนทีไ่ ม่มีโรค จะมีความสุขทัง้ ร่างกายและจิตใจ
ง. คนทีไ่ ม่มีโรค ไม่ต้องเสียค่ารักษาพยาบาล เปรียบ

เสมือนได้เงินทอง

๓๑.อาชีพใดทีม
่ ีโอกาสเสีย
่ งกับมลพิษทางอากาศมากทีส
่ ่ด
ก. ช่างตัดผม ข. ช่างซ่อมรถยนต์

26
ค. ผู้ขับรถจักรยานยนต์รับจ้าง ง. เจ้าหน้าทีร
่ ักษา

ความปลอดภัย

๓๒. ข้อใดจัดวุาเป็ นมลพิษทางนำ้า


ก. คลืน
่ ยักษ์สึนามิ ข. นำา
้ ท่วมหลายจังหวัด
ค. คนจมนำา
้ ตายทีว ้ วน ง. นำา
่ ังนำา ้ เน่าเสียจนทำาให้ปลา

ตาย

๓๓. การทีโ่ รงงานอ่ตสาหกรรมมีบุอบำาบัดนำ้าเสียกุอน


ปลุอยลงสุ่แหลุงนำ้า จัดเป็ นการแก้ปัญหาตามข้อใด
ก. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ข. การแก้ปัญหาเชิงเทคนิค
ค. การแก้ปัญหาด้วยการจัดการง. การควบคุมโดย

หน่วยงานทีเ่ กีย
่ วข้อง

๓๔. แผนภ่มิวัฏจักรแหุงความชัว
่ ร้ายข้อใดถ่กต้อง เมือ

กำาหนดให้ ๑ คือ ความยากจน
๒ คือ ความไมุร้่ ๓ คือ ความเจ็บปุ วย

27
ก. ๑ ๒ ๓ ข. ๑

๓ ๒

ค. ๑ ง. ๑

๒ ๓ ๒ 0

๓๕. โรคเอดส์ เกิดจากเชื้อโรคชนิดใด


ก. ไวรัส ข. เชือ
้ รา
ค. แบคทีเรีย ง. ริกเกตเซีย

๓๖. ปั จจัยทีท
่ ำาให้เกิดโรคไมุติดตุอข้อใดถ่กต้องทีส
่ ่ด
ก. กรรมพันธ์ุและสิง่ แวดล้อม
ข. กรรมพันธ์ุและพฤติกรรมสุขภาพ
ค. กรรมพันธ์ุ พฤติกรรมสุขภาพ และสิง่ แวดล้อม
ง. กรรมพันธ์ุ สิง่ แวดล้อม และการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

โรค

28
๓๗. หากมีอาการปวดศีรษะทีร
่ ่นแรง ควรปฏิบัตต
ิ น
อยุางไร
ก. ผ่อนคลาย ข. ไปพบแพทย์
ค. การออกกำาลังกาย ง. การรับประทานยา

๓๘. ผ้ท
่ ีม
่ ีประจำาเดือนแล้ว เกิดอาการปวดท้องเนือ
่ งมา
จากสาเหต่ใด
ก. เสียเลือดมาก
ข. มดลูกมีการบีบตัว
ค. พิษทีเ่ กิดจากเลือดเสีย
ง. ผนังมดลูกจะบางกว่าปกติขณะมีประจำาเดือน

๓๙. ถ้าเศษผงเข้าตาและฝั งบริเวณเนื้อของตา ควร


ปฐมพยาบาลอยุางไร
ก. ขยีต
้ าแรงๆ
ข. หยอดยาหยอดตา
ค. พยายามเขีย
่ เอาเศษผงออก
ง. ใช้สำาสีวางบนตาทีห
่ ลับแล้วปิ ดด้วยผ้าก๊อซ

๔๐.หนุวยงานทีใ่ ห้บริการส่ขภาพหนุวยงานใดทีเ่ ป็ น
องค์กรขนาดเล็ก

29
ก. สถานีอนามัย
ข. ศูนย์สุขภาพชุมชน
ค. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน
ง. ศูนย์บริการสาธารณสุขประจำาหมู่บ้าน

๔๑. โรงพยาบาลของรัฐทีต
่ ้ง
ั อยุ่ในเขตอำาเภอมีเตียง
คนไข้ ๓๕๐ เตียง จัดเป็ นโรงพยาบาลประเภทใด
ก. โรงพยาบาลศูนย์ ข. โรงพยาบาลทัว
่ ไป
ค. โรงพยาบาลระดับอำาเภอ ง. โรงพยาบาลระดับจังหวัด

๔๒. ข้อใดเป็ นสาเหต่ทีท


่ ำาให้คนสุวนใหญุมาใช้บริการ
โรงพยาบาลใหญุๆ
ก. อยู่ใกล้บ้าน ข. เสียค่าใช้จ่ายน้อย
ค. ความเชือ ่ ในการรักษา ง. คนส่วนใหญ่มีบัตรประกัน
่ มัน

สุขภาพ

๔๓. รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติค้่มครองผ้่
บริโภคขึ้นเมือ
่ ใด
ก. ๓๐ เมษายน ๒๕๒๒ ข. ๓๐ มิถุนายน ๒๕๒๓
ค. ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๒๔ ง. ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๒๕

30
๔๔. อาหารกลุ่มใดไมุได้ห้ามการใช้สีผสมอาหาร
ก. กะปิ แหนม ลูกชิน
้ ข. นำา
้ ปลา นำา
้ หวาน
ไอศกรีม
ค. กุนเชียง อาหารทารก ทอดมัน ง. บะหมีก
่ งึ่

สำาเร็จรูป ข้าวเกรียบ ผักดอง

๔๕. การโฆษณายาในข้อใดทีไ่ มุผิดกฎหมาย


ก. เกินความจริง
ข. มีของแจกของแถม
ค. ไม่แสดงสรรพคุณยาอันตราย
ง. ทำาให้เข้าใจว่าเป็ นยาบำารุงทางเพศหรือยาคุมกำาเนิด

๔๖. เด็กทารกควรเริม
่ รับประทานข้าวบดเมือ
่ อาย่เทุาใด
ก. ๔ เดือน ข. ๕ เดือน
ค. ๖ เดือน ง. ๗ เดือน

๔๗. ผักใบเขียวท่กชนิด ตับ ไขุแดง ฟั กทอง ถัว


่ แดง
ข้าวซ้อมมือ ให้สารอาหารชนิดใด
ก. สังกะสี ข. ไนอาซิน
ค. โปรตัสเซียม ง. โฟลิคแอซิด

31
๔๘. บ่คคลใดทีว
่ ินิจฉัยแล้ววุามีโอกาสเป็ นโรคเบาหวาน
ก. พูนชัย ตรวจพบนำา
้ ตาลในเลือด ๑๒๕ มิลลิกรัม/
เดซิลิตร ๓ ครัง้
ข. พูนศักดิ ์ ตรวจพบนำา
้ ตาลในเลือด ๑๓๕ มิลลิกรัม/
เดซิลิตร ๒ ครัง้
ค. พูนเกียรติ ตรวจพบนำา
้ ตาลในเลือด ๑๗๕ มิลลิกรัม/
เดซิลิตร ๑ ครัง้
ง. พูนบดินทร์ ตรวจพบนำา
้ ตาลในเลือด ๒๐๕ มิลลิกรัม/

เดซิลิตร ๑ ครัง้

๔๙. เครือ
่ งหมาย ๑๒-๒-๐๐๒๔๔-๒-๐๐๙๙

หมายเลขกลุ่มใดทีห
่ มายถึงสถานทีท
่ ีต
่ ้ง
ั ของสถานที ่
ผลิตอาหารหรือนำาเข้าอาหาร
ก. ๒ ข. ๑๒
ค. ๐๐๙๙ ง. ๐๐๒๔๔

๕๐.ข้อใดเป็ นชือ
่ ของอาหาร
ก. ตราเป็ ด ข. นำา
้ ปลาแท้
ค. ตราข้าวโพด ง. ตราว่านหางจระเข้

32
๕๑.ปริมาณส่ทธิในฉลากข้อใดทีไ่ มุถ่กต้อง
ก. ๓๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตรข. ๔๕๐ กรัม
ค. ๕๐๐ ลูกบาศก์เซนติเมตรง. ๖๒๕ ลูกบาศก์ฟุต

๕๒. รุางกายคนเราจะหลัง
่ สารเอนดอร์ฟินส์ออกมาเมือ

มีอารมณ์ใดเกิดขึ้น
ก. ดีใจ ข. โกรธ
ค. เศร้า ง. วิตกกังวล

๕๓. อาหารในข้อใดไมุควรชิมกุอนการปร่งรส
ก. ราดหน้า ข. บัวลอยนำา
้ ขิง
ค. ผัดซีอิว้ ใส่ไข่ ง. ก๋วยเตีย
๋ วต้มยำา

๕๔. No Smoking เกีย


่ วข้องกับสารเสพติดชนิดใด
ก. สุรา ข. บุหรี ่
ค. ยาบ้า ง. สารระเหย

๕๕. ข้อใดเป็ นจ่ดมุ่งหมายสำาคัญของการพักผุอน


ก. การฝึ กจิตให้มีสมาธิ
ข. ความสนุกสนาน รืน
่ เริง

33
ค. การผ่อนคลายความตึงเครียด
ง. การเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ได้ดี

๕๖. ข้อใดจัดเป็ นการปฏิบต


ั ิตนทีเ่ หมาะสมกุอนจะเข้า
นอน
ก. ดืม
่ นำา
้ ข. ดืม
่ นม
ค. อ่านหนังสือ ง. ทำาจิตใจให้สบาย

๕๗. อิริยาบถในการฝึ กปฏิบัตก


ิ ารผุอนคลายควรใช้ทุาใด
ก. ยืนอย่างสบายๆ ข. นัง่ ด้วยท่าสบายๆ
ค. นัง่ บนเก้าอีส
้ บายๆ ง. นอนในทีเ่ หมาะสมอย่าง

สบายๆ

๕๘. ขั้นตอนที ่ ๒ ของการวางแผนการออกกำาลังกายคือ


อะไร
ก. ตัง้ วัตถุประสงค์ ข. เลือกกิจกรรมทีเ่ หมาะสม
ค. ศึกษาความต้องการของตนเอง ง. กำาหนดตาราง

เวลาในการปฏิบัติ

๕๙. ขั้นตอนส่ดท้ายของการวางแผนการพักผุอนคือ
อะไร

34
ก. การประเมินผล ข. การดำาเนินการตามแผน
ค. เลือกวิธก
ี ารปฏิบัติทีเ่ หมาะสม ง. การติดตาม

ผลและการปรับปรุง

๖๐.การฝึ กความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต ควรใช้


กิจกรรมข้อใด
ก. วิง่ ๕๐ เมตร ๒ เทีย
่ ว
ข. วิง่ เหยาะๆ ๓๐ นาที
ค. ยกนำา
้ หนักชุดละ ๑๐ ครัง้ รวม ๓ ชุด
ง. ยืดเหยียดข้อต่อให้มากทีส
่ ุดเท่าทีจ
่ ะปฏิบัติได้

๖๑.วัชรา อาย่ ๒๐ ปี เขาจะออกกำาลังกายในชีพจรเป้า


หมายที ่ ๗๐% ดังนั้นชีพจรส่งส่ดทีค
่ วรเต้นในระหวุาง
ออกกำาลังกาย ควรเป็ นเทุาใด
ก. ๑๒๐ ครัง้ / นาที ข. ๑๓๐ ครัง้ / นาที
ค. ๑๔๐ ครัง้ / นาที ง. ๑๕๐ ครัง้ / นาที

๖๒. กุอนการฝึ กกีฬาควรปฏิบัตต


ิ นอยุางไรเป็ นอันดับ
แรก
ก. อบอุ่นร่างกาย ข. คลายอุ่นร่างกาย

35
ค. ฝึ กซ้อมอย่างเต็มที ่ ง. วางแผนการออกกำาลัง

กาย

๖๓. ข้อใดเป็ นประโยชน์ส่งส่ดของสมรรถภาพทางกาย


ก. มีทักษะดีขึน
้ ข. ทำาให้ทรวดทรงดี
ค. การตัดสินใจดีขึน
้ ง. ร่างกายแข็งแรง

ต้านทานโรคได้ดี

๖๔. ความสามารถในการรักษาสมด่ลของรุางกายใน
ขณะอยุ่กับที ่ และเคลือ
่ นทีค
่ ืออะไร
ก. การทรงตัว ข. ความคล่องตัว
ค. การประสานสัมพันธ์ ง. ปฏิกิริยาตอบสนอง

๖๕. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ICSPFT ควร


ทำาการทดสอบทัง
้ สิน
้ กีว
่ ัน
ก. ๑ วัน ข. ๒ วัน
ค. ๓ วัน ง. ๑ หรือ ๒ วันก็ได้

๖๖. การบันทึกผลรายการใดทีใ่ ช้หนุวยเป็ นกิโลกรัม


ก. ดึงข้อ ข. นัง่ งอตัว
ค. แรงบีบมือ ง. ลุก - นัง่ ๓๐ วินาที

36
๖๗. ยาแก้ปวด ลดไข้ ยาแก้แพ้ และยาปฏิชีวนะ จัด
เป็ นยาประเภทใด
ก. ยาอันตราย ข. ยาแผนปั จจุบัน
ค. ยาสามัญประจำาบ้าน ง. ยาทีต
่ ้องควบคุมการใช้

เป็ นพิเศษ

๖๘. ข้อม่ลใดในฉลากยาทีม
่ ีความสำาคัญทีส
่ ่ด
ก. ราคา ข. ปริมาณ
ค. ส่วนผสม ง. สรรพคุณ

๖๙. โครงการ To be number one เป็ นโครงการป้องกัน


การใช้สารเสพติด โดยวิธีใด
ก. ให้ความรู้ ข. ส่งเสริมสถาบันครอบครัว
ค. ส่งเสริมสถาบันการศึกษา ง. ส่งเสริมสถาบัน

สังคมและชุมชน

๗๐. การรณรงค์ในเรือ
่ งเมาขับ มีจ่ดมุ่งหมายสำาคัญ
อยุางไร
ก. ไม่ให้คนดืม
่ สุรา

37
ข. ลดการเกิดอุบัติเหตุ
ค. ลดการจราจรให้น้อยลงในวันหยุดพิเศษ
ง. เพือ
่ ให้คนลดละการดืม
่ สุราในวันสำาคัญทางศาสนา

๗๑. ชุวงเทศกาลใดทีจ
่ ะมีการเกิดอ่บัติเหต่จากการ
จราจรทางบกน้อยทีส
่ ่ด
ก. วันมาฆบูชา ข. วันสงกรานต์
ค. วันเข้าพรรษา ง. วันขึน
้ ปี ใหม่

๗๒. ถ้ามีระดับแอลกอฮอล์ในเลือด ๑๐๐มก.% จะมี


โอกาสเกิดอ่บัติเหต่เป็ นกีเ่ ทุาของคนปกติ
ก. ๓ เท่า ข. ๔ เท่า
ค. ๕ เท่า ง. ๖ เท่า

๗๓. กิจกรรมข้อใดทีไ่ มุจัดวุาเป็ นกิจกรรมนันทนาการ


ก. หนุ่ยเล่นฟุตบอลกับเพือ
่ น
ข. แบ๊งค์รอ
้ งเพลงคาราโอเกะ
ค. โจเล่นดนตรีประจำาทีร
่ ้านอาหาร
ง. โบว์ไปเทีย
่ วกับเพือ
่ นๆ ในวันหยุดสุดสัปดาห์

๗๔. กิจกรรมในข้อใดจัดเป็ นกีฬากึง


่ นันทนาการ
ก. ว่ายนำา
้ ข. สเก็ตนำา
้ แข็ง

38
ค. บาสเกตบอล ง. เซปั กตะกร้อ

๗๕. อ่ปกรณ์สำาคัญในการวิง่ เพือ


่ ส่ขภาพ คืออะไร
ก. รองเท้า ข. ชุดทีใ่ ส่วงิ ่
ค. นาฬิกาจับเวลา ง. ผ้าเย็นและขวดนำา
้ ดืม

๗๖. ภัยชนิดใดทีม
่ ักเกิดกับผ้่หญิงบุอยทีส
่ ่ด
ก. ภัยจากคนโรคจิต ข. ภัยในศูนย์อาหาร
ค. ภัยจากแก๊งยาสลบ ง. ภัยจากการถูกข่มขืน

๗๗. คำาขวัญทีว
่ ุา “ขับรถระวังคน ข้ามถนนระวังรถ” มี
จ่ดประสงค์เตือนใจในเรือ
่ งใด
ก. การใช้รถใช้ถนน
ข. พฤติกรรมเสีย
่ งต่างๆ
ค. การดืม
่ สุราแล้วขับรถ
ง. การข้ามถนนโดยใช้สะพานลอย

๗๘. พฤติกรรมใดทีม
่ ีความเสีย
่ งตุอภัยทีไ่ มุคาดคิดมาก
ทีส
่ ด

ก. คุยกับคนแปลกหน้า
ข. ขับยานพาหนะขณะมึนเมา
ค. สวมใส่เครือ
่ งประดับของมีค่ามาก

39
ง. วัยรุ่นหญิงแต่งกายใส่เสือ
้ ทีร
่ ัดรูป

๗๙. การตุอวุาหยาบคาย จัดเป็ นการใช้ความร่นแรงหรือ


ไมุ เพราะอะไร
ก. เป็ น เพราะเป็ นการทำาร้ายทางจิตใจ
ข. เป็ น เพราะอาจก่อการทะเลาะวิวาทได้
ค. ไม่เป็ น เพราะยังไม่ได้มก
ี ารทำาร้ายร่างกาย
ง. ไม่เป็ น เพราะยังไม่นับว่ารุนแรงเนือ
่ งจากเพียงแค่

ต่อว่าเท่านัน

๘๐.การถ่กขุมขุ่และกรรโชกทรัพย์ จัดวุาเป็ นการถ่ก


กระทำาด้วยความร่นแรงหรือไมุ เพราะอะไร
ก. เป็ น เพราะต้องเสียเงิน
ข. เป็ น เพราะถูกทำาร้ายทางจิตใจ
ค. ไม่เป็ น เพราะอาจจะไม่ได้เงินก็ได้
ง. ไม่เป็ น เพราะยังเป็ นแค่เพียงการข่มขู่เท่านัน

๘๑. ปั ญหาความร่นแรงในวัยรุ่นข้อใดเกิดขึ้นบุอยทีส
่ ่ด
ก. ชกต่อยกัน ข. ยกพวกตีกัน
ค. ดักรอบทำาร้ายกัน ง. ใช้อาวุธทำาร้ายร่างกาย

40
๘๒. ข้อใดเป็ นการดำารงชีวิตเพือ
่ การมีส่ขภาพทีด
่ ี
ก. เทีย
่ วให้สนุก ข. ครำ่าเคร่งกับการเรียนมาก
ค. ออกกำาลังกายอย่างสมำ่าเสมอ ง. การรับ

ประทานอาหารตามใจชอบ

๘๓. วิธีการใดจัดเป็ นความส่ขทางปั ญญา


ก. มีสมาธิ ข. มีความเมตตา
ค. มีอิสระทางความคิด ง. มีร่างกายแข็งแรง

ปราศจากโรค

๘๔. ความส่ขทีแ
่ ท้จริงและส่งส่ดคือข้อใด
ก. มีเงินมาก ข. ไม่เจ็บป่ วย
ค. มีงานทีด
่ ีทำา ง. ความสงบสุขของตนเอง

๘๕. หลัก ๓ E ข้อใดทีน


่ ักเรียนสามารถปฏิบัติได้งุาย
ทีส
่ ด

ก. Education ข. Environment
ค. Engineering ง. Enforcement

41
๘๖. การขับขีร
่ ถจักรยาน ข้อใดมีความปลอดภัยทีส
่ ่ด
ก. ต้องรู้จก
ั กฎจราจรพอควร ข. ขับขีช
่ ิดถนนด้าน
ซ้ายมือ
ค. ขับขีบ
่ นถนนทีไ่ ม่มียวดยาน ง. ฝึ กทักษะการขับขี ่

ให้เกิดความชำานาญ

๘๗. ข้อควรปฏิบัตท
ิ ีส
่ ำาคัญในการใช้รถไฟฟ้ า คือข้อใด
ก. ยืนจับราวในขณะรถวิง่
ข. เมือ
่ รถจอดไม่ควรรีบขึน

ค. เมือ
่ เหลืออีก ๑ สถานีจะลงให้เตรียมตัว
ง. ขณะยืนรอรถบนชานชาลา ให้ยืนหลังเส้นเหลือง

๘๘. การวินิจฉัยความขัดแย้ง คืออะไร


ก. การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ข. การหาสาเหตุของความขัดแย้ง
ค. การพิจารณาว่ามีประโยชน์หรือมีโทษ
ง. การใช้เทคนิควิธีการในการบริหารความขัดแย้ง

๘๙. พฤติกรรมทีแ
่ สดงความขัดแย้งร่นแรงทีส
่ ่ดคือข้อใด
ก. การพูดตะคอก ข. การทำาร้ายร่างกาย

42
ค. การพูดเสียงดังมาก ง. การแสดงความก้าวร้าว

ข่มขู่

๙๐. ข้อใดไมุจัดวุาเป็ นการสือ


่ สาร
ก. การยิม
้ ให้กัน ข. การพยักหน้าให้กัน
ค. การเดินอย่างรวดเร็ว ง. การใช้ภาษามือของคนที ่

พูดไม่ได้

๙๑. จ่ดมุ่งหมายปลายทางของกระบวนการสร้างเสริม
ความปลอดภัยในช่มชนคืออะไร
ก. ช่วยเหลืองานตำารวจ ข. ลดปั ญหาในชุมชน
ค. ประชาชนมีสุขภาพทีด
่ ี ง. รักษาทรัพย์สินของ

ประชาชน

๙๒. การสร้างเสริมความปลอดภัยในช่มชนเป็ นการ


ทำางานในเชิงร่กหรือเชิงรับ เพราะอะไร
ก. เชิงรุก เพราะเป็ นการป้ องกัน
ข. เชิงรุก เพราะชุมชนร่วมมือร่วมใจ
ค. เชิงรับ เพราะต้องอาศัยความร่วมมือของคนในชุมชน

43
ง. เชิงรับ เพราะต้องอาศัยความร่วมมือของเจ้าหน้าที ่

ภาครัฐ

๙๓. การคาดคะเนมีประโยชน์ตามข้อใด
ก. ฝึ กสมองประลองปั ญญา ข. บอกให้คนรู้ตัวล่วงหน้า
ค. เป็ นการเตือนภัยให้แก่ชุมชน ง. ความปลอดภัยของ

ตนเองและทรัพย์สิน

๙๔. การทีบ
่ ่คคลสามารถจัดการกับอารมณ์และ
ความเครียดของตนเองอยุ่เสมอนัน
้ จัดวุาเป็ น
พฤติกรรมในด้านใด
ก. จิตพิสัย ข. พุทธิพิสัย
ค. ทักษะพิสัย ง. สมรรถภาพพิสัย

๙๕. ถ้าฝุ ายหญิงกำาลังจะถ่กแฟนหนุ่มลุวงละเมิดทางเพศ


คำาพ่ดใดนุาจะได้ผลทีส
่ ่ด
ก. “ไม่ดีหรอก ยังไม่ถึงเวลา”
ข. “อย่านะ ถ้าไม่เชือ
่ ฉันจะเลิกคบกับเธออย่างเด็ด
ขาด”

44
ค. “ถ้ารักฉันจริง อย่าบังคับใจฉัน ฉันไม่อยากให้เธอทำา
อย่างนี”้
ง. “เธอเป็ นผู้ชายทีฉ
่ ันรัก อย่าทำาให้ฉันเสียหายเลยนะ

เธอคงจะอดใจได้”

๙๖. การแจกแผุนพับใบปลิวเกีย
่ วกับการขายหรือราคา
สินค้า เราเรียกแผุนพับใบปลิวนัน
้ วุาอะไร
ก. สือ
่ โฆษณา ข. สือ
่ นอกสถานที ่
ค. สือ
่ การตลาดทางตรง ง. การโฆษณาเคลือ
่ นทีถ
่ ึง

บ้าน

๙๗. กุอนตัดสินใจเชือ
่ ตามคำาโฆษณาสินค้า ควรปฏิบต
ั ิ
อยุางไรจึงเหมาะสมทีส
่ ่ด
ก. ใช้วิจารณญาณในการเลือกซือ

ข. ถามคนขายเพือ
่ ความแน่ใจอีกครัง้
ค. ปรึกษาคนในครอบครัวว่าจะซือ
้ หรือไม่
ง. ตรวจสอบข้อเท็จจริงและหาข้อมูลทีถ
่ ูกต้องก่อน

45
๙๘. การโฆษณาวุา ถ้าใช้ยาชนิดนีท
้ าบริเวณท้องและ
รอบเอวจะทำาให้เอวลดได้สัปดาห์ละ ๑ นิว
้ เป็ นการ
โฆษณาทีน
่ ุาเชือ
่ ถือหรือไมุ เพราะเหต่ใด
ก. น่าเชือ
่ ถือ เพราะคนอืน
่ ๆ ก็ซือ
้ ใช้
ข. น่าเชือ
่ ถือ เพราะคนขายมีสถานทีข
่ ายทีค
่ นรู้จัก
ค. ไม่น่าเชือ
่ ถือ เพราะการโฆษณาปั จจุบันนีม
้ ักมีการ
หลอกลวงกัน
ง. ไม่น่าเชือ
่ ถือ เพราะเป็ นไปไม่ได้แน่นอนทีจ
่ ะทำาให้เอว

ลดได้สัปดาห์ละ ๑ นิว้

๙๙. การขอความชุวยเหลือเมือ
่ เกิดสถานการณ์คับขัน
ควรพิจารณาสิง่ ใดเป็ นอันดับแรก
ก. หน่วยงานทีจ
่ ะขอความช่วยเหลือ
ข. ความจำาเป็ นทีจ
่ ะขอความช่วยเหลือ
ค. เรือ
่ งทีจ
่ ะบอกเพือ
่ ขอความช่วยเหลือ
ง. ทีต
่ ัง้ ของสถานทีท
่ ีจ
่ ะขอความช่วยเหลือ

๑๐๐. หนุวยงานใดทีม
่ ีกระจายอยุ่ทว
ั่ ประเทศและพร้อมที ่
จะชุวยเหลือประชาชน เมือ
่ เกิดสถานการณ์คับขัน
ก. สถานีตำารวจ ข. ทีว
่ ่าการอำาเภอ

46
ค. ทีท
่ ำาการหรือบ้านของกำานัน ง. ทีท
่ ำาการหรือบ้าน
ของผู้ใหญ่บ้าน

ชุดที่ ๒

ข้อสอบมาตรฐานชัน
้ ปี
กลุุมสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน สุขศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๒

คำาชี้แจง ้ หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐


ข้อสอบมีทัง
คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. ค. ๒. ง. ๓. ข. ๔. ง. ๕. ก.
๖. ก. ๗. ค. ๘. ง. ๙. ก. ๑๐.ง.
๑๑.ค. ๑๒. ค. ๑๓. ข. ๑๔. ข.
๑๕. ก.

47
๑๖.ข. ๑๗. ก. ๑๘. ค. ๑๙. ง.
๒๐. ข.
๒๑. ก. ๒๒. ค. ๒๓. ก. ๒๔. ข.
๒๕. ข.
๒๖. ข. ๒๗. ง. ๒๘. ก. ๒๙. ก.
๓๐. ค.
๓๑.ค. ๓๒. ง. ๓๓. ข. ๓๔. ง.
๓๕. ก.
๓๖. ค. ๓๗. ข. ๓๘. ก. ๓๙. ง.
๔๐. ค.
๔๑. ข. ๔๒. ค. ๔๓. ก. ๔๔. ข.
๔๕. ค.
๔๖. ก. ๔๗. ค. ๔๘. ง. ๔๙. ข.
๕๐. ข.
๕๑.ง. ๕๒. ก. ๕๓. ข. ๕๔. ข.
๕๕. ค.
๕๖. ง. ๕๗. ค. ๕๘. ก. ๕๙. ง.
๖๐. ข.
๖๑.ค. ๖๒. ก. ๖๓. ง. ๖๔. ก.
๖๕. ง.

48
๖๖. ค. ๖๗. ข. ๖๘. ง. ๖๙. ค.
๗๐. ข.
๗๑. ก. ๗๒. ง. ๗๓. ค. ๗๔. ข.
๗๕. ก.
๗๖. ง. ๗๗. ก. ๗๘. ข. ๗๙. ก.
๘๐. ข.
๘๑. ก. ๘๒. ค. ๘๓. ค. ๘๔. ง.
๘๕. ก.
๘๖. ค. ๘๗. ง. ๘๘. ข. ๘๙. ข.
๙๐. ค.
๙๑. ค. ๙๒. ก. ๙๓. ง. ๙๔. ค.
๙๕. ข.
๙๖. ก. ๙๗. ง. ๙๘. ง. ๙๙. ข.
๑๐๐. ก.

49

You might also like