You are on page 1of 32

ชุดที่ ๑

ข้อสอบมาตรฐานชัน
้ ปี
กลุุมสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน สุขศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๓

คำาชี้แจง ้ หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐


ข้อสอบมีทัง
คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. บุคคลใดต่อไปนีท
้ ีจ
่ ัดอย่่ในวัยทอง
ก. ป้ าสายพิณขีบ
้ ่น ข. ป้ าสุดา มีอายุ ๔๕ ปี
ค. ลุงสมาน มีอายุ ๖๐ ปี ง. ลุงสมหวังมักหงุดหงิด

บ่อย

๒. ปรากฏการณ์ใดทีม
่ ักเกิดขึ้นก่อนการหมดประจำาเดือน
ก. อารมณ์เสียบ่อย
ข. มักปวดท้องเมือ
่ มีประจำาเดือน
ค. ประจำาเดือนมาไม่ตรงเวลา
ง. ประจำาเดือนไม่มาเป็ นเวลา ๑ ปี

1
๓. ผู่ส่งอายุมักมีกระด่กทีบ
่ างและเปราะง่าย เนือ
่ งจาก
สาเหตุขูอใด
ก. ขาดวิตามินดี
ข. กระดูกสันหลังโค้งงอ
ค. กล้ามเนือ
้ ไม่แข็งแรง
ง. การดูดซึมของแคลเซียมลดลง

๔. คนวัยส่งอายุมักมีโอกาสเสีย
่ งต่อการเกิดโรคเบาหวาน
เพราะสาเหตุใด
ก. ฮอร์โมนอินซูลินลดลง
ข. ร่างกายสะสมนำา
้ ตาลมากขึน

ค. มักชอบรับประทานอาหารประเภทแป้ งและนำา
้ ตาล
ง. ร่างกายทำางานน้อยลง จึงทำาให้ขับนำา
้ ตาลออกมาได้
น้อย
๕. โรคใดต่อไปนีส
้ ามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมไดู
ก. โรคหัด ข. โรคไข้จับสัน

ค. โรคเบาหวาน ง. โรคมือ เท้า ปากเปื่ อย

๖. ปั จจัยดูานสิง่ แวดลูอมทีม
่ ีผลต่อพัฒนาการของมนุษย์
มีกป
ี ่ ระการ อะไรบูาง
ก. ๒ ประการ ได้แก่ ตนเอง และครอบครัว

2
ข. ๓ ประการ ได้แก่ ตนเอง ครอบครัว และสังคม
ค. ๔ ประการ ได้แก่ ตนเอง ครอบครัว สังคม และ
ชุมชน
ง. ๕ ประการ ได้แก่ ตนเอง ครอบครัว สังคม ชุมชน

และประเทศชาติ

๗. ตามหลักสากลผู่ส่งอายุจะตูองมีอายุเท่าใดขึ้นไป
ก. ๕๙ ปี ขึน
้ ไป ข. ๖๐ ปี ขึน
้ ไป
ค. ๖๑ ปี ขึน
้ ไป ง. ๖๕ ปี ขึน
้ ไป

๘. ปั ญหาดูานสังคมของผู่ส่งอายุในขูอใดมีความรุนแรง
ทีส
่ ด

ก. บทบาทหน้าทีล
่ ดลง
ข. การพบปะสังสรรค์น้อยลง
ค. สมรรถภาพในการทำางานลดลง
ง. มีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ และบุตรหลานทอดทิง้

๙. การเปลีย
่ นแปลงทางดูานอารมณ์ของวัยรุ่นชายและ
หญิงในขูอใดทีต
่ รงกัน
ก. ใจเย็น รอบคอบ
ข. อารมณ์เปลีย
่ นแปลงง่าย

3
ค. มีความคิดเป็ นผู้ใหญ่เกินวัย
ง. มีเหตุผลในการแก้ปัญหามากขึน

๑๐.เมือ
่ วัยรุ่นเกิดปั ญหา ควรแกูไขอย่างไรจึงจะเหมาะสม
ทีส
่ ด

ก. ปรึกษาคนทีไ่ ว้ใจได้
ข. ทำาตัวให้สนุกสนานร่าเริง
ค. พยายามข่มความรู้สึกเอาไว้
ง. ระบายออกตามใจทีต
่ นเอง

อยากจะปฏิบัติ

๑๑.กิจกรรมใดทีว
่ ัยรุ่นควรปฏิบต
ั ิเพือ
่ สรูางเสริมสุขภาพ
ก. เล่นกีฬาเป็ นประจำา
ข. ทำากิจกรรมทีต
่ นเองชอบ
ค. มีความคิดริเริม
่ สร้างสรรค์
ง. ขยัน และตัง้ ใจเรียนหนังสือเสมอ

๑๒. วงจรสุขภาพทีอ
่ ย่่ในช่วงของวัยรุ่น คือระยะใด
ก. ระยะการซ่อม ข. ระยะการแซม
ค. ระยะการสร้าง ง. ระยะการเสริม

4
๑๓.Sexual drive หมายถึงอะไร
ก. ฮอร์โมนเพศ
ข. อารมณ์ทางเพศ
ค. ความตืน
่ ตัวทางเพศ
ง. ความต้องการทางเพศ

๑๔. อารมณ์ทางเพศของมนุษย์เกิดขึ้นมาจากอิทธิพล
ของสิง่ ใด
ก. ธรรมชาติ
ข. ฮอร์โมนเพศ
ค. การกระตุ้นจากสิง่ เร้า
ง. ฮอร์โมนเพศ และการกระตุ้นจากสิง่ เร้า

๑๕. คำาว่า "Sprem" มีความสัมพันธ์กับขูอใด


ก. Extrogen ข. Testosterone
ค. Sexual drive ง. Sexual feelings

๑๖.ขูอใดเป็ นการจัดการกับอารมณ์ทางเพศทีเ่ หมาะสม


ทีส
่ ด

ก. เก็บกดอารมณ์ไว้
ข. เทีย
่ วผู้หญิงขายบริการ

5
ค. ทำากิจกรรมทีส
่ ร้างสรรค์
ง. สำาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง
๑๗. ขูอใดเป็ นความหมายของสัมพันธภาพ
ก. จิบกั
๊ บจอยเป็ นนักร้องเหมือนกัน
ข. แหม่มกับสาวเป็ นนางงามรุ่นเดียวกัน
ค. แมนกับโจเป็ นเพือ
่ นกันมาตัง้ แต่สมัยเด็ก
ง. เหมียวกับหมายเป็ นคนรุ่นราวคราวเดียวกัน

๑๘. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาขูอใดทีน
่ ำาไปใชูกับ
การสรูางสัมพันธภาพไดูดี
ก. พรหมวิหาร ๔
ข. พรหมวิหาร ๔ และสังคหวัตถุ ๔
ค. พรหมวิหาร ๔ สังคหวัตถุ ๔ และอิทธิบาท ๔
ง. พรหมวิหาร ๔ สังคหวัตถุ ๔ อิทธิบาท ๔ และ

อริยสัจ ๔

๑๙. ขูอใดเป็ นความมุ่งหมายหลักของการสรูาง


สัมพันธภาพ
ก. เพือ
่ ให้มีคนรัก
ข. เพือ
่ ลดความเครียด

6
ค. เพือ
่ ความอยู่รอดในสังคม
ง. เพือ
่ การติดต่อสือ
่ สาร และการอยู่ร่วมกัน

๒๐. มนุษยสัมพันธ์ของมนุษย์จะมีจุดเริม
่ ตูนทีใ่ ด
ก. เพือ
่ น ข. ตนเอง
ค. ญาติพีน
่ ้อง ง. พ่อแม่ ผู้ปกครอง

๒๑. บุคคลในวัยเจริญพันธ์ุจะมีอายุอย่่ในช่วงใด
ก. ๑๒ - ๑๓ ปี ข. ๑๓ - ๒๐ ปี
ค. ๑๔ - ๒๕ ปี ง. ๑๕ - ๔๕ ปี

๒๒. การตรวจสุขภาพก่อนการแต่งงานมีประโยชน์
อย่างไร
ก. หาความผิดปกติของร่างกาย
ข. ตรวจความสมบูรณ์ของร่างกาย
ค. ตรวจหาโรคทีถ
่ ่ายทอดทางพันธุกรรม
ง. ตรวจเพือ
่ ดูความสมบูรณ์ของเลือดว่าสามารถมีบุตร
ได้หรือไม่
๒๓. นโยบายอนามัยเจริญพันธ์ุในประเทศไทยประกาศ
ขึ้นเมือ
่ ปี พ.ศ. ใด
ก. ๒๕๔๐ ข. ๒๕๔๑

7
ค. ๒๕๔๒ ง. ๒๕๔๓

๒๔. ผูห
่ ญิงเมือ
่ มีอายุเท่าใดควรเขูารับการตรวจมะเร็ง
ปากมดล่ก
ก. ๓๕ ปี ข. ๓๘ ปี
ค. ๔๐ ปี ง. ๔๒ ปี

๒๕. ทักษะในการเตือนเพือ
่ นขูอใดมีความสำาคัญทีส
่ ุด
ก. การพูด ข. การช่วยเหลือ
ค. การปฏิบัติตน ง. การใช้กร
ิ ิยาท่าทาง

๒๖. คุณสมบัติของบุคคลในขูอใดเหมาะสำาหรับการ
เตือนเพือ
่ น
ก. เรียนดี
ข. มีมารยาทดี
ค. เอือ
้ เฟื้ อเผือ
่ แผ่
ง. มีความกระตือรือร้นในการเตือนเพือ
่ น

๒๗. เพือ
่ นทีม
่ ีลักษณะแบบใดทีค
่ วรเตือนมากทีส
่ ุด
ก. หนิงชอบเล่นเกม
ข. หน่องมักไปเทีย
่ วหลังเลิกเรียน
ค. โหน่งมักย่งุ เกีย
่ วกับสารเสพติด

8
ง. หน่อยมีแฟนแล้วอยู่ชัน
้ ม.๖

๒๘. ช่วงวัยใดทีค
่ วรจะเตือนมากทีส
่ ุด
ก. วัยรุ่น ข. วัยเด็ก
ค. วัยทอง ง. วัยผู้ใหญ่

๒๙. สถานการณ์ใดทีม
่ ีโอกาสเสียงต่อการมีเพศสัมพันธ์
มากทีส
่ ด

ก. อยู่ทีบ
่ ้าน ข. อยู่ในผับ สถานเริงรมย์
ค. อยู่ในรถส่วนตัว ง. อยู่ในหอพักตามลำาพัง

๓๐.สือ
่ ชนิดใดทีม
่ ีส่วนทำาใหูเกิดอาชญากรรมการล่วง
ละเมิดทางเพศมากทีส
่ ุด
ก. วีซีดีลามก
ข. ภาพลามก
ค. หนังสือลามก อนาจาร
ง. ภาพยนตร์ไทยทีม
่ ีฉากไม่เหมาะสม

๓๑.๑ ใน ๕ ของคาถา ๕ ขูอ เพือ


่ ปูองกันตนเองมิใหูตก
อย่่ในสถานการณ์เสีย
่ งต่อการ มีเพศสัมพันธ์ตรงกับขูอใด
ก. มีสมาธิ
ข. ร้จ
ู ักปฏิเสธ

9
ค. ตัดสินใจเด็ดขาด
ง. ไม่ย่อท้อต่อปั ญหาและอุปสรรค

๓๒. ประโยคในขูอใดทีส
่ ือ
่ ความหมายถึง "Just Say No"
ก. "คุณหลอกลวงฉันหรือเปล่า"
ข. "ปล่อยฉันนะ อย่ามาล่วงเกินฉันอีก"
ค. "ถ้าฉันท้องแล้วเธอจะรับผิดชอบหรือไม่"
ง. "อยากให้เธอเป็ นคนทีเ่ ข้าใจฉันมากทีส
่ ุดในโลก"

๓๓. การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่คาดคิดมักก่อใหูเกิดผลเสีย
อย่างไร
ก. การข่มขืน
ข. การลวนลาม
ค. การล่วงละเมิดทางเพศ
ง. การตัง้ ครรภ์ทีไ่ ม่พึงประสงค์

๓๔. วิธีปฏิบัติตนเพือ
่ หลีกเลีย
่ งการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่
คาดคิด ขูอใดเหมาะสมทีส
่ ุด
ก. ระมัดระวังตนเอง
ข. พกพาอาวุธติดตัว
ค. เรียนศิลปการป้ องกันตนเอง

10
ง. แต่งกายรัดกุม ไม่เปิ ดเผยสัดส่วน

๓๕. พฤติกรรมของบุคคลในขูอใดทีจ
่ ัดว่าเป็ นคนไม่รัก
ตนเอง
ก. ตัดสินใจช้า
ข. มีเหตุผลน้อย
ค. ไม่รักนวลสงวนตัว
ง. คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว

๓๖. ขณะเดินทาง วิธีการปูองกันตนเองอย่างไรจึงจะ


ปลอดภัยทีส
่ ุด
ก. ไม่อยู่ในทีเ่ ปลีย
่ ว
ข. นัง่ รถโดยสารประจำาทาง
ค. หลีกเลีย
่ งการอยู่คนเดียว
ง. หลีกเลีย
่ งการเดินทางคนเดียว

๓๗. เมือ
่ ปวดศีรษะ ตัวรูอน ก็ไปซื้อยามารับประทาน
เป็ นพฤติกรรมสุขภาพใด
ก. พฤติกรรมเมือ
่ เจ็บป่ วย
ข. พฤติกรรมการป้ องกันโรค
ค. พฤติกรรมหลังการตรวจรักษาโรค

11
ง. การประเมินพฤติกรรมการป้ องกันโรค

๓๘. การรับประทานอาหารทีม
่ ีไขมันส่ง มีน้ำาตาลมาก
ในช่วงวัยรุ่นจะส่งผลต่อสุขภาพใน วัยผู่ใหญ่หรือไม่
เพราะอะไร
ก. ส่งผล เพราะสุขภาพจะไม่ดีตัง้ แต่วัยรุ่น
ข. ส่งผล เพราะเป็ นการสะสมความเสีย
่ งต่อการเกิดโรค
ค. ไม่ส่งผล เพราะร่างกายของวัยรุ่นจะขับไขมันและ
นำา
้ ตาลได้ดี
ง. ไม่ส่งผล เพราะเมือ
่ เป็ นผู้ใหญ่ไขมันและนำา
้ ตาลจะ

สลายหมดแล้ว

๓๙. การอาบนำ้า แปรงฟั น ตัดเล็บ และสระผม จัดอย่่


ในอนามัยเจริญพันธ์ุขูอใด
ก. อนามัยชุมชน
ข. อนามัยครอบครัว
ค. อนามัยส่วนบุคคล
ง. อนามัยการเจริญพันธ์ุ

๔๐.การไม่ส่บบุหรี ่ ดืม
่ สุรา จัดว่าเป็ นการด่แลสุขภาพ
ตนเองตามขูอใด

12
ก. การดูแลสุขภาพตนเองเมือ
่ เจ็บป่ วย
ข. การดูแลสุขภาพตนเองตามระยะพัฒนาการ
ค. มีความสามารถในการปฏิบัติตนอย่างต่อเนือ
่ ง
ง. การดูแลสุขภาพตนเองเมือ
่ อยู่ในสภาวะสุขภาพทีด
่ ี

๔๑. รัฐธรรมน่ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช


๒๕๔๐ มาตราใดทีก
่ ล่าวถึงสิทธิและ การมีส่วนร่วมใน
การจัดการเกีย
่ วกับสิง่ แวดลูอมของบุคคล
ก. มาตรา ๔๖ ข. มาตรา ๕๖
ค. มาตรา ๖๙ ง. มาตรา ๗๙

๔๒. วันสิง่ แวดลูอมของไทยตรงกับวันใด


ก. ๓ ธันวาคมของทุกปี
ข. ๔ ธันวาคมของทุกปี
ค. ๕ ธันวาคมของทุกปี
ง. ๖ ธันวาคมของทุกปี

๔๓. การด่แลปรับปรุงสิง่ แวดลูอมในโรงเรียนขูอใด


เหมาะสมทีส
่ ุด
ก. ทิง้ ขยะในทีท
่ ิง้ ขยะ
ข. ทำาเวรห้องเรียนอย่างสมำ่าเสมอ

13
ค. ช่วยกันรักษาความสะอาดของโรงเรียน
ง. ร่วมกันจัดกิจกรรม Big Cleaning Day ภาคเรียนละ

๑ ครัง้

๔๔. องค์กรใดเป็ นผู่ริเริม


่ โครงการตาวิเศษ
ก. สมาคมธิงค์เอิร์ธ
ข. มูลนิธิโลกสีเขียว
ค. มูลนิธิสร้างสรรค์ไทย
ง. มูลนิธิพลังงานเพือ
่ สิง่ แวดล้อม

๔๕. ผูท
่ ีเ่ ป็ นโรคเบาหวานควรงดอาหารขูอใด
ก. ขนมปั ง ข. นำา
้ อัดลม
ค. สับปะรด ง. มักกะโรนี

๔๖. ถูาทัง
้ พ่อและแม่มียีนแฝงโรคธาลัสซีเมีย ล่กจะมี
โอกาสเป็ นโรคอย่างไร
ก. ทุกคนมียีนแฝง
ข. ร้อยละ ๕๐ ปกติ ร้อยละ ๕๐ มียีนแฝง

14
ค. ร้อยละ ๕๐ มียีนแฝง ร้อยละ ๕๐ เป็ นโรค
ง. ร้อยละ ๒๕ ปกติ ร้อยละ ๕๐ มียีนแฝง ร้อยละ ๒๕

เป็ นโรค

๔๗. อาการของโรคความดันโลหิตส่งมักแสดงออกมา
อย่างไร
ก. ตัวร้อน ไอบ่อย
ข. เจ็บหน้าอก ตัวบวม
ค. แน่นอึดอัด แขนขาอ่อนแรง
ง. ปวดศีรษะ วิงเวียน นอนไม่หลับ

๔๘. ปั จจุบันโรคชนิดใดทีเ่ ป็ นสาเหตุใหูคนไทยเสียชีวิต


มากทีส
่ ด

ก. โรคเบาหวาน
ข. โรคธาลัสซีเมีย
ค. โรคหัวใจขาดเลือด
ง. โรคความดันโลหิตสูง

๔๙. ขูอใดเป็ นผลเสียทีเ่ กิดจากความอูวนมากทีส


่ ุด
ก. บุคลิกภาพไม่ดี
ข. เกิดความน้อยใจ

15
ค. ขาดความมัน
่ ใจในตนเอง
ง. มีโอกาสเป็ นโรคต่างๆ หลายโรค

๕๐.คนทีเ่ ป็ นโรคคอพอกมักพบมากในบริเวณภาคใด
ก. ภาคใต้ ข. ภาคอีสาน
ค. ภาคกลาง ง. ภาคตะวันออก

๕๑.คนทีเ่ ป็ นโรคตาฟาง เนือ


่ งมาจากขาดสารอาหารชนิด
ใด
ก. วิตามินเอ ข. วิตามินบี
ค. วิตามินซี ง. วิตามินดี

๕๒. ผลไมูชนิดใดสามารถปูองกันโรคเลือดออกตาม
ไรฟั นไดู
ก. ส้ม ข. ชมพู่
ค. กล้วย ง. มะละกอ

๕๓. ขูอใดเป็ นความหมายของคำาว่า "การบริโภค" ทีถ


่ ่ก
ตูองทีส
่ ุด
ก. การกิน
ข. การกินและการใช้
ค. การกิน การใช้ และการใช้บริการ

16
ง. การกิน การใช้ การใช้บริการ และการดูแลสุขภาพ

๕๔. ฉลากสินคูาเกีย
่ วขูองกับสิทธิของผู่บริโภคขูอใดมาก
ทีส
่ ด

ก. สิทธิทีจ
่ ะได้รับข่าวสาร
ข. สิทธิทีจ
่ ะได้รับความปลอดภัย
ค. สิทธิทีจ
่ ะได้รับการชดเชยค่าเสียหาย
ง. สิทธิทีจ
่ ะมีอิสระในการเลือกซือ
้ สินค้าหรือบริการ

๕๕. ขูอใดคือผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ก. เสือ
้ ผ้า ข. ยาสีฟัน
ค. รองเท้า ง. โทรทัศน์

๕๖. ปั จจุบันสือ
่ โฆษณาชนิดใดทีม
่ ีอิทธิพลต่อผู่บริโภค
มากทีส
่ ด

ก. วิทยุ ข. ใบปลิว
ค. โปสเตอร์ ง. โทรทัศน์

๕๗. องค์รวมของสุขภาพประกอบดูวยอะไรบูาง
ก. ร่างกาย จิตใจ และสังคม ข. ร่างกาย อารมณ์
และสังคม

17
ค. ร่างกาย สังคม และจิตวิญญาณ ง. ร่างกาย

จิตใจ และจิตวิญญาณ

๕๘. อาหารทางจิตวิญญาณ หมายถึงพฤติกรรมใด


ก. การฟั งเพลง ข. การฟั งธรรม
ค. การร้องเพลง ง. การไปเทีย
่ วตามสถานที ่

ต่างๆ

๕๙. การปฏิบัตต
ิ นใหูมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตทีด
่ ี จะ
ตูองคำานึงถึงคำา ๓ คำา
ประกอบดูวยอะไร
ก. คิด พูด ทำา ข. ดี ชัว
่ เลว
ค. จิต ใจ กาย ง. ใจ เบิก บาน

๖๐.การปฏิบัติทางจิต คืออะไร
ก. สุขภาพจิต ข. คุณภาพจิต
ค. การพัฒนาจิต ง. สมรรถภาพทางจิต

๖๑.สถานการณ์ใดน่าจะเป็ นสาเหตุใหูบุคคลเกิด
ความเครียดมากทีส
่ ุด
ก. งานน้อย เวลาน้อย ข. งานยาก เวลามาก

18
ค. งานน้อย เวลามาก ง. งานมาก เวลาน้อย

๖๒. สถานการณ์ทีท
่ ำาใหูเกิดความเครียดจากหลัก ๔ ร
คืออะไร
ก. เร่ง รีบ เร็ว ไร้ ข. รู้ รอบ เรือ
่ ง ราว
ค. รับ เรือ
่ ง เร็ว รีบ ง. รัก รวด เร็ว แรง

๖๓. การใชูเทคนิคเฉพาะในการผ่อนคลายความเครียด
ขูอใดเหมาะสมทีส
่ ุด
ก. การพักผ่อน
ข. การทำาจิตใจให้สงบ
ค. การดูกีฬาทีต
่ นเองชืน
่ ชอบ
ง. การเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ

๖๔. วงจรแห่งความไม่ประมาทประกอบดูวยอะไรบูาง
ก. ทาน ศีล ภาวนา ข. ศีล สมาธิ ปั ญญา
ค. วัด บ้าน โรงเรียน ง. สติ สัมปชัญญะ และ

สมาธิ

19
๖๕. การออกกำาลังกายครั้งละ ๓๐ นาที ตรงกับหลักใน
ขูอใด
ก. ความบ่อย ข. ความหนัก
ค. ความนาน ง. ความนุ่มนวล

๖๖. สารทีห
่ ลัง
่ ออกมาในขณะทีอ
่ อกกำาลังกายมีชือ
่ ว่า
อะไร
ก. มอลโตส ข. เอ็นโดฟิ น
ค. เอสโตรเจน ง. โปรเจสเตอโรน

๖๗. การออกกำาลังกายมีประโยชน์ตามขูอใดชัดเจนทีส
่ ุด
ก. ทางด้านสุขภาพ
ข. เพือ
่ สร้างแรงจูงใจ
ค. เพือ
่ การประเมินผล
ง. เพือ
่ เป็ นเกณฑ์การควบคุม

๖๘. การออกกำาลังกายมีส่วนช่วยประหยัดทางดูาน
เศรษฐกิจอย่างไร
ก. ประหยัดค่าทีอ
่ ยู่ ข. ประหยัดค่าอาหาร
ค. ประหยัดค่าเครือ
่ งนุ่งห่ม ง. ประหยัดค่ารักษา

พยาบาล

20
๖๙. การออกกำาลังกายควรกระทำาหลังการรับประทาน
อาหารมื้อหลักกีช
่ ว
ั่ โมง
ก. ครึง่ ถึง ๑ ชัว
่ โมง ข. ๑ - ๒ ชัว
่ โมง
ค. ๓ - ๔ ชัว
่ โมง ง. ๕ - ๖ ชัว
่ โมง

๗๐. ขณะออกกำาลังกายควรมีหลักในการดืม
่ นำ้าอย่างไร
ก. ดืม
่ จนอิม

ข. จิบเล็กน้อย
ค. ดืม
่ อย่างรวดเร็ว
ง. ดืม
่ พอดับความกระหายเท่านัน

๗๑. การบาดเจ็บจากการออกกำาลังกายส่วนมากมักมา
จากสาเหตุใด
ก. สถานทีไ่ ม่พร้อม ข. ดินฟ้าอากาศไม่เอือ

อำานวย
ค. ขาดความรู้เรือ
่ งกฎ กติกา ง. เล่นอย่างประมาท

โลดโผน

๗๒. เมือ
่ พบเพือ
่ นไดูรับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา หลัก
สำาคัญขูอแรกในการปฐมพยาบาล คืออะไร
ก. ควรตัง้ สติ ข. จัดท่าทางผู้บาดเจ็บ

21
ค. คลายเสือ
้ ผ้าให้หลวม ง. รีบปฐมพยาบาลทันที

๗๓. แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายแบบใดทีม
่ ีการ
ทดสอบวิง่ ๕ นาที
ก. JASA ข. SATAT
ค. ICSPFT ง. AAHPER

๗๔. การยืนแอ่นตัวไปดูานหลัง เป็ นการทดสอบ


สมรรถภาพทางกายดูานใด
ก. การทรงตัว ข. ความอ่อนตัว
ค. ความทนทานของกล้ามเนือ
้ ง. ความแข็งแรงของ

กล้ามเนือ

๗๕. การทดสอบดูวยท่ายืนกระโดดขึ้นจากพื้นหลายๆ
ครั้ง ตูองกระโดดใหูไดูกีค
่ รั้ง
จึงจะอย่่ในเกณฑ์ดี
ก. ๕๐ ครัง้ ข. ๑๐๐ ครัง้
ค. ๑๕๐ ครัง้ ง. ๒๐๐ ครัง้

๗๖. การทีค
่ นเราจะมีสมรรถภาพทางกายดีไดูน้ัน ปั จจัย
ใดสำาคัญทีส
่ ุด

22
ก. พรสวรรค์ ข. มีต้นแบบ
ค. การฝึ กฝน ง. มีความพร้อม

๗๗. แผนภ่มิของคำาว่า "สุขภาพสิง่ แวดลูอม" ขูอใดถ่ก


ตูอง เมือ
่ ใหู ก แทนคำาว่า "สุขภาพ" และ ข
แทนคำาว่า "สิง่ แวดลูอม"

ก. ก ข ข. ก ข

ค. ก ข ง. ก ข

๗๘. สารปนเปื้ อนในอาหารทีท


่ ำาใหูคนเราเจ็บป่ วยไดูคือ
อะไร
ก. เชือ
้ โรค ข. สารพิษ
ค. สารพิษและเชือ
้ โรค ง. สารพิษ เชือ
้ โรค และ

อากาศ

๗๙. มลพิษทางอากาศในชุมชนเมืองมักมาจากสาเหตุใด
ก. การจราจร ข. ทีอ
่ ย่อ
ู าศัย
ค. โรงงานอุตสาหกรรม ง. จำานวนประชากรมีมาก

๘๐.สารปนเปื้ อนในดินทำาใหูเกิดโรคใด

23
ก. ท้องร่วง ข. บาดทะยัก
ค. ริดสีดวงตา ง. อหิวาตกโรค

๘๑. ปั จจัยเสีย
่ งทีท
่ ำาใหูเกิดอุบัติเหตุในโรงงาน
อุตสาหกรรมขูอใดเสีย
่ งมากทีส
่ ุด
ก. ทำางานมากไป
ข. วันนัน
้ อารมณ์ไม่ดี
ค. เครือ
่ งใช้และอุปกรณ์เก่า
ง. ไม่คำานึงถึงความปลอดภัยในการทำางาน

๘๒. การทำางานในโรงงานอุตสาหกรรม แลูวหายใจเอา


สารพิษเขูาไป จัดเป็ นปั จจัยทีม
่ ี อิทธิพลต่อการเกิดโรค
ตามขูอใด
ก. ปั จจัยทางเคมี ข. ปั จจัยทางชีวภาพ
ค. ปั จจัยทางกายภาพ ง. ปั จจัยทางจิตสังคม

๘๓. อาชีพใดเสีย
่ งภัยต่อยาปราบศัตร่พืชส่ง
ก. คหกรรม ข. เกษตรกรรม
ค. พาณิชยกรรม ง. อุตสาหกรรม

๘๔. ความเครียดจากการทำางานจัดว่าเป็ นปั ญหาดูานใด


ก. ทางสังคม ข. สุขภาพจิต

24
ค. ทางชีวภาพ ง. ทางกายภาพ

๘๕. สาเหตุสำาคัญทีส
่ ุดทีท
่ ำาใหูวัยรุ่นเสพสารเสพติดคือ
ขูอใด
ก. ขาดความอบอุ่น
ข. ใช้แล้วเกิดความรู้สก
ึ ว่าดี
ค. อยากรู้อยากลองตามเพือ
่ น
ง. เพือ
่ หลีกหนีโลกแห่งความเป็ นจริง

๘๖. การตัดสินใจผิดพลาดในการใชูยาจัดอย่่ในปั จจัยขูอ


ใด
ก. ตัวยา ข. ตัวบุคคล
ค. สิง่ แวดล้อม ง. ผลกระทบของยา

๘๗. บุคคลอายุตำ่ากว่ากีป
่ ี ถูาดืม
่ สุราจะมีความผิดตาม
กฎหมายกำาหนด
ก. ๑๖ ปี ข. ๑๗ ปี
ค. ๑๘ ปี ง. ๑๙ ปี

๘๘. การแกูไขปั ญหายาเสพติดเป็ นหนูาทีข


่ องหน่วยใด
ก. ครอบครัว และโรงเรียน
ข. ครอบครัว โรงเรียน และสังคม

25
ค. ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน
ง. ครอบครัว โรงเรียน สังคม และชุมชน

๘๙. ชนิดของความรุนแรงในขูอใดทีพ
่ บว่าเป็ นปั ญหา
สังคมมากทีส
่ ุด
ก. ความรุนแรงทางเพศ
ข. ความรุนแรงในชุมชน
ค. ความรุนแรงในโรงเรียน
ง. ความรุนแรงในครอบครัว

๙๐. บุคคลใดทีน
่ ่าจะเป็ นผู่ทีใ่ ชูความรุนแรงไดูมากทีส
่ ุด
ก. ถูกข่ก
ู รรโชกบ่อยๆ
ข. พกอาวุธเพือ
่ ป้ องกันตัว
ค. ชอบคบกับเพือ
่ นทีน
่ ิสัยก้าวร้าว
ง. มักใช้การออกกำาลังกายเพือ
่ ระบายอารมณ์โกรธ

๙๑. การทำารูายตนเองจัดว่าเป็ นการใชูความรุนแรงหรือ


ไม่
ก. เป็ น เพราะเป็ นความรุนแรงต่อตนเอง
ข. เป็ น เพราะการทำารายตนเองต้องใช้อาวุธ
ค. ไม่เป็ น เพราะเป็ นการทำาร้ายตนเองมิใช่ผู้อืน

26
ง. ไม่เป็ น เพราะคนทีท
่ ำาร้ายตนเองนัน
้ ไม่ผิดกฎหมาย

๙๒. องค์ประกอบของทักษะชีวิตขูอใดมีคุณค่าต่อคน
มากทีส
่ ด

ก. การแก้ปัญหา
ข. การคิดวิเคราะห์
ค. ความภูมิใจในตนเอง
ง. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

๙๓. ผูท
่ ีม
่ ักเป็ นผู่ใชูความรุนแรงกับบุคคลในครอบครัว
คือใคร
ก. แม่ ข. พ่อ
ค. ลูกชาย ง. ญาติพีน
่ ้อง

๙๔. ปั ญหาความรุนแรงในครอบครัวขูอใดทีเ่ กิดมาก


ทีส
่ ด

ก. การทำาร้ายร่างกาย
ข. การใช้ความรุนแรงทางสังคม
ค. การกระทำาทารุณกรรมทางเพศ
ง. การใช้ความรุนแรงทางเศรษฐกิจ

27
๙๕. การปฏิบัตต
ิ นเพือ
่ ความปลอดภัยขูอใดเกิดขึ้นภาย
หลัง
ก. การคาดเข็มขัดนิรภัยของผู้ขับรถยนต์
ข. การเปิ ดไฟหน้ารถเมือ
่ ขับขีร
่ ถจักรยานยนต์
ค. การสวมหมวกนิรภัยเมือ
่ ขับขีร่ ถจักรยานยนต์
ง. การคาดเข็มขัดนิรภัยเมือ
่ นัง่ เบาะหน้าคู่กับคนขับ

๙๖. พฤติกรรมใดทีก
่ ่อใหูเกิดความเสียหายทั้งชีวิตและ
ทรัพย์สินส่ง
ก. ไม่สวมหมวกนิรภัย
ข. ขับรถโดยไม่มีใบขับขี ่
ค. การดืม
่ สุราจนเมาแล้วขับรถ
ง. การขับรถเร็วเกินกฎหมายกำาหนด

๙๗. ระดับของการมีส่วนร่วมของประชาชนขูอใดส่งกว่า
ขูออืน
่ ๆ
ก. ร่วมร้ข
ู ้อมูล ข. ร่วมให้คำา
ปรึกษา
ค. ตัวแทนเข้าร่วมตัดสินใจ ง. ประชาชนมีอำานาจในการ

ตัดสินใจ

28
๙๘. การทำาประชาพิจารณ์ เป็ นการมีส่วนร่วมตามขูอใด
ก. การปรึกษาหารือ
ข. การร่วมในการตัดสินใจ
ค. การใช้กลไกทางกฎหมาย
ง. การประชุมรับฟั งความคิดเห็น

๙๙. อาการเป็ นลมหนูามืด เกิดจากสาเหตุใด


ก. ปริมาณเลือดไปเลีย
้ งสมองมาก
ข. การสูบฉีดเลือดของหัวใจผิดปกติ
ค. ปริมาณเลือดไปเลีย
้ งสมองน้อยลงโดยฉับพลัน
ง. การไหลเวียนของเลือดทัว
่ ร่างกายเกิดความผิดปกติ

๑๐๐. เมือ
่ ถ่กแมงกะพรุนไฟมาถ่กทีผ
่ ิวหนังจนมีอาการ
บวมแดง ปวดแสบ ปวดรูอน
ควรใหูการปฐมพยาบาลอย่างไร
ก. รีบใช้นำา
้ สะอาดล้างบริเวณทีม
่ ีอาการ
ข. ใช้นำา
้ แอมโมเนียทาบริเวณทีม
่ ีอาการหลายๆ ครัง้
ค. ใช้นำา
้ ส้มหรือนำา
้ มะนาวราดบริเวณทีม
่ ีอาการบ่อยๆ
ง. ใช้ใบผักบุ้งทะเลหลายๆ ใบปิ ดบนบริเวณทีม
่ ีอาการ

29
ชุดที่ ๑

เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั
มาตรฐานชัน้ ปี
กลุุมสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน สุขศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๓

คำาชี้แจง ้ หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐


ข้อสอบมีทัง
คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. ข. ๒. ค. ๓. ง. ๔. ก. ๕. ค.

30
๖. ข. ๗. ข. ๘. ง. ๙. ข. ๑๐.ก.
๑๑.ก. ๑๒. ค. ๑๓. ง. ๑๔. ง.
๑๕. ข.
๑๖.ค. ๑๗. ค. ๑๘. ค. ๑๙. ง.
๒๐. ข.
๒๑. ง. ๒๒. ค. ๒๓. ก. ๒๔. ก.
๒๕. ก.
๒๖. ง. ๒๗. ค. ๒๘. ก. ๒๙. ง.
๓๐. ก.
๓๑.ข. ๓๒. ข. ๓๓. ง. ๓๔. ก.
๓๕. ค.
๓๖. ก. ๓๗. ก. ๓๘. ข. ๓๙. ค.
๔๐. ข.
๔๑. ก. ๔๒. ข. ๔๓. ค. ๔๔. ค.
๔๕. ข.
๔๖. ง. ๔๗. ง. ๔๘. ค. ๔๙. ง.
๕๐. ข.
๕๑.ก. ๕๒. ก. ๕๓. ค. ๕๔. ก.
๕๕. ข.

31
๕๖. ง. ๕๗. ง. ๕๘. ข. ๕๙. ก.
๖๐. ค.
๖๑.ง. ๖๒. ก. ๖๓. ข. ๖๔. ง.
๖๕. ค.
๖๖. ข. ๖๗. ก. ๖๘. ง. ๖๙. ค.
๗๐. ง.
๗๑. ง. ๗๒. ก. ๗๓. ก. ๗๔. ข.
๗๕. ค.
๗๖. ค. ๗๗. ข. ๗๘. ค. ๗๙. ก.
๘๐. ข.
๘๑. ง. ๘๒. ก. ๘๓. ข. ๘๔. ข.
๘๕. ค.
๘๖. ข. ๘๗. ค. ๘๘. ง. ๘๙. ข.
๙๐. ง.
๙๑. ก. ๙๒. ก. ๙๓. ข. ๙๔. ก.
๙๕. ข.
๙๖. ค. ๙๗. ง. ๙๘. ง. ๙๙. ค.
๑๐๐. ข.

32

You might also like