You are on page 1of 34

ชุดที่ ๒

ข้อสอบมาตรฐานชัน
้ ปี
กลุุมสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน สุขศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๓

คำาชี้แจง ้ หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐


ข้อสอบมีทัง
คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. บุคคลวัยทอง คือบุคคลทีม
่ ีอายุตามข้อใด
ก. ๔๐ - ๕๐ ปี ข. ๔๕ - ๕๕ ปี
ค. ๔๐ - ๖๐ ปี ง. ๕๐ - ๖๐ ปี

๒. คุณตาสมบัติ อายุ ๗๙ ปี จัดว่าเป็ นผ้้ส้งอายุระดับใด


ก. ระดับต้น ข. ระดับยอด
ค. ระดับกลาง ง. ระดับปลาย

๓. ภาวะความเสือ
่ มของร่างกายมนุษย์น้น
ั สามารถชะลอ
ได้หรือไม่ อย่างไร
ก. ได้ ถ้าร้้จักการปรับตัว

19
ข. ได้ ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียน
ค. ไม่ได้ เพราะร่างกายของมนุษย์ต้องเสือ
่ มลงทุกวัน
ง. ไม่ได้ เพราะเป็ นสัจธรรม เรือ
่ งการเกิด แก่ เจ็บ ตาย

๔. วัยส้งอายุมักจะมีการเปลีย
่ นแปลงทางด้านสังคม ข้อ
ใดเด่นชัดทีส
่ ุด
ก. ขาดการยอมรับจากล้กหลาน
ข. บทบาทผ้้นำาในครอบครัวลดลง
ค. ความรับผิดชอบต่องานอาชีพลดหรือสิน
้ สุดลง
ง. ความสัมพันธ์กับคนอืน
่ ๆ และญาติพีน
่ ้องลดลง

๕. โรคใดถ่ายทอดทางพันธุกรรมไม่ได้
ก. โรคไต ข. โรคจิต
ค. ตาบอดสี ง. โรคมะเร็งตับ

๖. แผนภ้มิแสดงความสัมพันธ์ทีเ่ กีย
่ วข้องและมีผลกระทบ
ต่อการเจริญเติบโต
และพัฒนาการข้อใดถ้กต้อง เมือ
่ ตนเอง คือ ๑
ครอบครัว คือ ๒ สังคมคือ ๓

20
ก. ๑ ๒ ๓ ข. ๑ ๒

ค. ๑ ง. ๑

๒ ๓ ๓ ๒

๗. เพราะเหตุใดวัยส้งอายุจึงมีอัตราการเจ็บป่ วยมากกว่า
วัยอืน
่ ๆ
ก. เพราะกลัวเสียชีวิต
ข. เพราะร่างกายเสือ
่ มลง
ค. เพราะร่างกายสะสมสารพิษไว้มาก
ง. เพราะร่างกายถ้กใช้งานมากและบำารุงน้อย

๘. การทีบ
่ างครอบครัวให้ผ้ส้งอายุไปอย่้บ้านพักคนชรา
นั้น จัดว่าเป็ นปั ญหาตามข้อใด
ก. ปั ญหาเกีย
่ วกับสังคม
ข. ปั ญหาเกีย
่ วกับตนเอง
ค. ปั ญหาเกีย
่ วกับเศรษฐกิจ
ง. ปั ญหาเกีย
่ วกับครอบครัว

๙. ข้อใดที ่ ไม่ใช่ กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ


ก. การพักผ่อน

21
ข. การออกกำาลังกาย
ค. การรับประทานอาหาร
ง. การบริหารจัดการความเครียด

๑๐.พฤติกรรมสุขภาพเมือ
่ เจ็บป่ วยข้อใดเหมาะสมทีส
่ ุด
ก. ไปพบแพทย์
ข. พักผ่อนอย่้ทีบ
่ ้าน
ค. ทำางานหรือเรียนตามปกติ
ง. รอสอบถามคนในครอบครัว

ว่าจะทำาอย่างไร

๑๑.วงจรสุขภาพของวัยส้งอายุคือระยะใด
ก. ระยะซ่อม ข. ระยะแซม
ค. ระยะสร้าง ง. ระยะเสริม

๑๒. วงจรสุขภาพระยะการซ่อม ให้คุณค่าต่อบุคคล


อย่างไรเด่นชัดทีส
่ ด

ก. ช่วยปล้กฝั งค่านิยม

22
ข. ชะลอความเสือ
่ มของอวัยวะต่างๆ
ค. ทำาให้โครงสร้างและร้ปร่างสมส่วน
ง. ช่วยให้ดำารงชีวิตในช่วงบัน
้ ปลายชีวิตได้

๑๓.Sexual feelings หมายถึงข้อใด


ก. อารมณ์ทางเพศ
ข. ฮอร์โมนเพศชาย
ค. ความต้องการทางเพศ
ง. ความร้้สึกเมือ
่ มีการกระตุ้นทางเพศ

๑๔. ฮอร์โมนใดทีก
่ ระตุ้นให้เริม
่ มีประจำาเดือน
ก. ออดิโอล ข. เอสโตรเจน
ค. โปรเจสเตอโรน ง. เทสโตสเตอโรน

๑๕.อารมณ์ทางเพศจะเกิดขึ้นเมือ
่ ใด
ก. มีสิง่ เร้ามากระตุ้น
ข. หลังจากนอนหลับ ๑ คืน
ค. หลังจากได้พักผ่อนอย่างเต็มที ่
ง. ร่างกายสมบ้รณ์ ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียน

๑๖.การจัดการกับอารมณ์ทางเพศข้อใดเหมาะสมทีส
่ ุด
ก. คุยกับเพือ
่ น

23
ข. ด้หนัง ฟั งเพลง
ค. เล่นกีฬาหรือออกกำาลังกาย
ง. สำาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง

๑๗. คำาว่า "สัมพันธภาพ" หมายถึงอะไร


ก. ความรัก ข. ความผ้กพัน
ค. ความหวังดี ง. ความมีมนุษยสัมพันธ์

๑๘. ข้อใดเป็ นการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับพ่อแม่


ก. แสดงกิริยาอ่อนน้อม
ข. ยกย่องชมเชยตามโอกาส
ค. วางตนเสมอต้นเสมอปลาย
ง. ไม่เบียดเบียน เอาเปรียบ อิจฉา ริษยา

๑๙. การพ้ดจาสุภาพ ไพเราะ เป็ นทีช


่ ืน
่ ชอบของผ้้ฟัง
ตรงกับหลักธรรมข้อใด
ก. อริยสัจ ๔ ข. อิทธิบาท ๔
ค. สังคหวัตถุ ๔ ง. พรหมวิหาร ๔

๒๐. การสร้างและรักษาสัมพันธภาพจะดีหรือไม่ ขึ้นอย่้


กับปั จจัยใดเป็ นสำาคัญ
ก. ทักษะการสือ
่ สาร

24
ข. ทักษะการทำางาน
ค. ทักษะการเข้าสังคม
ง. ทักษะการแสดงออก

๒๑. อนามัยเจริญพันธ์ุเป็ นเรือ


่ งสำาหรับบุคคลกลุ่มใด
ก. ทุกกลุ่ม ข. กลุ่มวัยรุ่น
ค. กลุ่มผ้้ใหญ่ ง. กลุ่มวัยทอง

๒๒. อนามัยเจริญพันธ์ุมีองค์ประกอบกีข
่ ้อ
ก. ๗ ข้อ ข. ๘ ข้อ
ค. ๙ ข้อ ง. ๑๐ ข้อ

๒๓. ถ้าให้การวางแผนครอบครัวคือ ๑ การคุมกำาเนิด

คือ ๒ แผนภ้มิข้อใดถ้กต้อง

ก. ๑ ๒ ข. ๑ ๒

ค. ๑ ๒ ง. ๑ ๒

25
๒๔. การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ควรตรวจเมือ
่ ใดจึง
เหมาะสมทีส
่ ุด
ก. ก่อนนอน ข. ขณะอาบนำา

ค. เมือ
่ อย่้ว่างๆ ง. ร้ส
้ ึกเจ็บเต้านม

๒๕. เพือ
่ นลักษณะใดทีค
่ วรเตือนมากทีส
่ ุด
ก. สนใจการเรียนน้อย
ข. มักคบกับเพือ
่ นทีม
่ ีอายุมากกว่า
ค. ชอบเล่นกีฬามากจนผลการเรียนลดลง
ง. เพือ
่ นทีม
่ ีพฤติกรรมเสีย
่ งต่อการมีเพศสัมพันธ์

๒๖. การเตือนเพือ
่ นจะเกิดประโยชน์เบื้องต้นต่อเพือ
่ น
อย่างไร
ก. เป็ นคนน่านับถือ ข. พ้นวัฏจักร โง่ จน เจ็บ
ค. ยับยัง้ พฤติกรรมทีไ่ ม่ดีนัน
้ ง. ช่วยให้มีอนาคตทีด
่ ีกว่านี ้

๒๗. ถ้าเพือ
่ นผ้้หญิงของนักเรียนคนหนึง
่ มักคุยกันกับคน
รักตามลำาพัง นักเรียนควรเตือน ด้วยคำาพ้ดอย่างไร
ก. "ทำาอย่างนัน
้ ไม่อายคนหรือ"
ข. "มาคุยกันในทีเ่ ปิ ดเผยจะดีกว่า"
ค. "ถ้าขืนทำาเช่นนัน
้ สักวันหนึง่ เสร็จแน่"

26
ง. "ถ้าทำาเช่นนีอ
้ ีกเราจะประณามเธอ และบอกให้คนอืน

ร้"้

๒๘. การเตือนเพือ
่ นในขัน
้ ต้นควรเตือนในลักษณะใด
ก. นุ่มนวล ข. รุนแรง
ค. เด็ดขาด ง. ทำาให้ร้สำานึก

๒๙ สถานการณ์ใดทีม
่ ีอัตราเสีย
่ งต่อการมีเพศสัมพันธ์
ส้ง
ก. อย่้ตามลำาพัง
ข. ไปเทีย
่ วกลางคืนตามสถานเริงรมย์
ค. กอด จ้บ สัมผัสร่างกายในทีส
่ ่วนตัว
ง. ดืม
่ เครือ
่ งดืม
่ ทีม
่ ีส่วนผสมของแอลกอฮอล์

๓๐.คำาถามข้อใดทีม
่ ีผลต่อสภาพจิตใจของวัยรุ่นทีช
่ อบมี
เพศสัมพันธ์มากทีส
่ ุด
ก. ถ้าทำาลงไปแล้วไม่เสียใจหรือ
ข. ถ้าจะทำาให้นึกถึงหัวอกพ่อแม่บ้าง
ค. ถ้าทำาเช่นนีไ้ ม่กลัวเสียชือ
่ วงศ์ตระก้ลหรือ

27
ง. ถ้าติดเอดส์หรือตัง้ ครรภ์แล้วจะทำาอย่างไร

๓๑.ผ้้ชายทีม
่ าลวนลามแล้วผ้้หญิงลุกหนีโดยทันที นับว่า
ปฏิบัติได้ถ้กต้องหรือไม่ อย่างไร
ก. ถ้กต้อง เพราะถ้าไม่หนีอาจถ้กล่วงเกินมากกว่านี ้
ข. ถ้กต้อง เพราะจะทำาให้เขาไม่กล้าทำากับคนอืน
่ อีก
ค. ไม่ถ้กต้อง เพราะเป็ นการเสียมารยาท ควรใช้วิธีอืน

ง. ไม่ถ้กต้อง เพราะเขาอาจจะเลิกพฤติกรรมนีเ้ มือ
่ กาล

เวลาเปลีย
่ นไป

๓๒. คาถา ๕ ข้อ เพือ


่ ป้องกันตนเองมิให้ตกอย่้ใน
สถานการณ์เสีย
่ งต่อการมีเพศสัมพันธ์
ข้อใดดีทีส
่ ุด
ก. ต้องมีสติ
ข. ลุกหนีทันที
ค. ร้จ
้ ักปฏิเสธ
ง. วางแผนและตัดสินใจ

28
๓๓. การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่คาดคิด มีโอกาสเกิดขึ้นได้
หรือไม่ เพราะอะไร
ก. ได้ เพราะสภาพสังคมปั จจุบันมีการแข่งขันส้ง
ข. ได้ เพราะบางครัง้ คนเรามีเพศสัมพันธ์แบบอุบัติเหตุ
ค. ไม่ได้ เพราะการมีเพศสัมพันธ์เป็ นไปโดยร้้ตัวว่าทำา
อะไรลงไป
ง. ไม่ได้ เพราะการมีเพศสัมพันธ์ส่วนใหญ่เกิดจากการ

ยินยอมของทัง้ สองฝ่ าย

๓๔. ปั ญหาและผลกระทบทีเ่ กิดจากการมีเพศสัมพันธ์


โดยไม่คาดคิด ข้อใดเป็ นผลกระทบ ทางด้านครอบครัว
ก. เสียใจ วิตกกังวล
ข. พ่อแม่ผิดหวัง และเสียใจ
ค. อาจต้องทำาแท้งเพราะไม่มีผ้รับผิดชอบ
ง. อาจติดโรคทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ได้

๓๕. การป้องกันตนเองจากภาวะความเสีย
่ งต่อการมีเพศ
สัมพันธ์ข้อใดจัดว่าเป็ นการ
รักตนเอง
ก. ฝึ กศิลปป้ องกันตัว

29
ข. ไม่เทีย
่ วเตร่ตามสถานเริงรมย์ต่างๆ
ค. แต่งกายให้สุภาพ รัดกุม ไม่ล่อแหลม
ง. ไม่มีเพศสัมพันธ์แบบง่ายๆ หรือเป็ นคนใจง่าย

๓๖. การป้องกันการถ้กล่วงละเมิดทางเพศภายในบ้าน
ของตนเองควรปฏิบัติตามข้อใด
ก. คิดถึงวิธีป้องกันตนเองถ้าเกิดเหตุการณ์ร้ายขึน

ข. ไม่ติดต่อสือ
่ สารกับคนแปลกหน้าทางอินเทอร์เน็ต
ค. ควรปิ ดรัว
้ บ้าน ปิ ดประต้บ้านให้มิดชิด อย่าประมาท
ง. ติดหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินไว้บริเวณใกล้ๆ

โทรศัพท์

๓๗. จุดหมายปลายทางของการมีพฤติกรรมสุขภาพทีด
่ ี
คืออะไร
ก. การมีสุขภาพดี ข. การมีจิตใจเข้มแข็ง
ค. การปฏิบัติตนเพือ ่ ี ง.
่ สุขภาพทีด การมีพฤติกรรม

สุขภาพทีถ
่ ้กต้อง

30
๓๘. การรักษาศีล ๕ ในข้อใดทีจ
่ ัดเป็ นพฤติกรรมการ
ป้องกันโรค
ก. ข้อ ๑ และข้อ ๓
ข. ข้อ ๒ และข้อ ๕
ค. ข้อ ๓ และข้อ ๔
ง. ข้อ ๓ และข้อ ๕

๓๙. การประเมินพฤติกรรมการป้องกันโรคสามารถ
ปฏิบัติได้โดยวิธีใด
ก. การปฏิบัติ
ข. การสังเกต
ค. การทำาแบบทดสอบ
ง. การตรวจร่างกายโดยแพทย์

๔๐.ข้อใดจัดเป็ นพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุ
ก. การไม่ดืม
่ สุรา
ข. การไม่ส้บบุหรี ่
ค. ทำาบุญใส่บาตร
ง. การมีมนุษยสัมพันธ์ทีด
่ ี

31
๔๑. รัฐธรรมน้ญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๔๐ มาตราใดกล่าวถึงอำานาจ หน้าทีข
่ ององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน
่ เพือ
่ รักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม
ก. มาตรา ๒๘๐ ข. มาตรา ๒๘๙
ค. มาตรา ๒๙๐ ง. มาตรา ๒๙๙

๔๒. ความตืน
่ ตัวในวิกฤตการณ์ด้านสิง่ แวดล้อมของโลก
เริม
่ ขึ้นอย่างจริงจังทีป
่ ระเทศใด
ก. สวีเดน ข. อังกฤษ
ค. ฝรัง่ เศส ง. สหรัฐอเมริกา

๔๓. วันสิง่ แวดล้อมโลกตรงกับวันใด


ก. ๑ เมษายนของทุกปี ข. ๕ มิถุนายนของทุกปี
ค. ๑๒ สิงหาคมของทุกปี ง. ๒๗ พฤศจิกายนของทุกปี

๔๔. กิจกรรมการด้แลปรับปรุงสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน


กิจกรรมใดต้องมีการสะสมคะแนน
ก. โครงการท้ตตาวิเศษ
ข. โครงการรักษ์โรงเรียน
ค. โครงการธนาคารความดี

32
ง. โครงการโรงเรียนสร้างสรรค์สิง่ แวดล้อม

๔๕. การแบ่งประเภทของโรคเบาหวานใช้อะไรเป็ น
เกณฑ์ในการแบ่งประเภท
ก. อาการและสาเหตุ
ข. อาการ สาเหตุ และความรุนแรง
ค. อาการ สาเหตุ ความรุนแรง และวิธก
ี ารรักษา
ง. อาการ สาเหตุ ความรุนแรง วิธก
ี ารรักษา และ

พันธุกรรม

๔๖. ถ้าพ่อเป็ นโรคธาลัสซีเมีย แต่แม่ไม่เป็ น ล้กจะมี


โอกาสเป็ นโรคธาลัสซีเมียอย่างไร
ก. ล้กทุกคนจะมียีนแฝง
ข. ร้อยละ ๕๐ ปกติ ร้อยละ ๕๐ มียีนแฝง
ค. ร้อยละ ๕๐ มียีนแฝง ร้อยละ ๕๐ เป็ นโรค
ง. ร้อยละ ๒๕ ปกติ ร้อยละ ๕๐ มียีนแฝง ร้อยละ ๒๕

เป็ นโรค

๔๗. ถ้าค่าความดันโลหิตเท่ากับ ๑๔๐/๙๐ หมายถึงข้อใด


ก. ค่าส้ง ค่าตำ่า ข. ค่าบน ค่าล่าง

33
ค. ค่ามาก ค่าน้อย ง. ถ้กทัง้ ข้อ ก และ ข

๔๘. ข้อใดเป็ นปั จจัยสำาคัญอันดับแรกทีเ่ ป็ นสาเหตุของ


การเกิดโรคหัวใจขาดเลือด
ก. พันธุกรรม ข. ขาดการออกกำาลังกาย
ค. รับประทานอาหรทีม
่ ีไขมันมาก ง. ไม่ร้จก

ควบคุมนำา
้ หนักของตนเอง

๔๙. ภาวะทุพโภชนาการแบ่งออกเป็ น ๓ ระดับ การแบ่ง


นีใ้ ช้อะไรเป็ นเกณฑ์ในการแบ่ง
ก. การสังเกตตนเอง
ข. อาหารทีร
่ ับประทาน
ค. การตรวจร่างกายโดยแพทย์
ง. ความรุนแรงของการขาดสารอาหาร

๕๐.โรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับข้อใดมากทีส
่ ุด
ก. อายุ ข. นำา
้ หนัก
ค. ส่วนส้ง ง. สารอาหาร

๕๑.โรคโลหิตจางเกิดจากร่างกายขาดสารอาหารชนิดใด
ก. โปรตีน ข. ธาตุเหล็ก

34
ค. วิตามิน บี ๑ ง. วิตามิน บี ๒

๕๒. อาหารกลุ่มใดทีส
่ ามารถป้องกันโรคคอพอกได้
ก. ผักทุกชนิด ข. ผลไม้ทุกชนิด
ค. เนือ
้ สัตว์ทุกชนิด ง. อาหารทะเลทุกชนิด

๕๓. ข้อใดจัดเป็ นการบริโภค


ก. กวาดบ้าน
ข. รดนำา
้ ต้นไม้
ค. ตักบาตรอาหารแห้ง
ง. โดยสารรถประจำาทาง

๕๔. การถ้กบังคับ ยัดเยียดให้ซ้ือสินค้าและบริการ จัด


ว่าเป็ นการละเมิดสิทธิผ้บริโภค
ตามข้อใด
ก. สิทธิทีจ
่ ะได้รับข่าวสาร
ข. สิทธิทีจ
่ ะได้รับความปลอดภัย
ค. สิทธิทีจ
่ ะได้รับการชดเชยค่าเสียหาย
ง. สิทธิทีจ
่ ะมีอิสระในการเลือกซือ
้ สินค้า

๕๕. คำาว่า "ผ้้บริโภค" หมายถึงบุคคลใด


ก. คนทุกคน ข. ผ้้ทีม
่ ีรายได้

35
ค. ผ้้ทีจ
่ ับจ่ายใช้สอย ง. ผ้้ทีก
่ ำาลังกิน กำาลังใช้

๕๖. ข้อใดจัดเป็ นผลิตภัณฑ์สุขภาพ


ก. สมุด ปากกา ข. นำา
้ ปลา ยาเม็ด
ค. จาน ชาม ช้อน ส้อม ง. ทีน
่ อน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม

๕๗. พุทธภาษิตทีว
่ ่า "อโรคยา ปรมา ลาภา" หมายถึง
อะไร
ก. คนทีแ
่ ข็งแรงจะไม่มีโรค
ข. ความไม่มีโรค เป็ นลาภอันประเสริฐ
ค. การขยันทำางาน เหมือนกับการได้ลาภ
ง. คนทีไ่ ม่มีโรคมีความสุขกว่า

คนทีม
่ ีลาภ

๕๘. การปฏิบัตต
ิ ามข้อใดถือว่าดีทีส
่ ุด
ก. กายนำาจิต
ข. จิตนำากาย
ค. จิตวิญญาณนำากายและจิต
ง. กายนำาจิตวิญญาณและจิต

๕๙. อาหารทางจิตและจิตวิญญาณ หมายถึงอะไร

36
ก. การพักผ่อน
ข. อาหารหลัก ๕ หม่้
ค. ศาสนาและพระธรรม
ง. กิจกรรมนันทนาการทุกประเภท

๖๐.การเป็ นคนทีม
่ ีจิตใจดีงาม เจริญเพิม
่ พ้นด้วยคุณธรรม
เป็ นคุณสมบัติด้านใดของจิต
ก. คุณภาพจิต ข. สุขภาพจิต
ค. จิตวิญญาณ ง. สมรรถภาพจิต

๖๑.คนทีอ
่ ารมณ์ร้อน เอาจริงเอาจังทุกเรือ
่ ง เอาแต่ใจ
ตนเอง มักจะเกิดผลกระทบอย่างไร
ก. เกิดความสุข ข. เกิดความทุกข์
ค. เกิดความท้อแท้ ง. เกิดความล้มเหลว

๖๒. การกระทำาเช่นไรทีจ
่ ะลดภาวะของความเครียดได้ดี
ทีส
่ ด

ก. การตัง้ ใจทำางาน
ข. การรีบทำางานให้เสร็จโดยเร็ว
ค. การวางแผนกิจกรรมของตนเอง
ง. การร้จ
้ ักคาดการณ์ล่วงหน้าถึงสิง่ ทีจ
่ ะเกิดขึน

37
๖๓. กิจกรรมใดในชีวิตประจำาวันใช้เวลามากทีส
่ ุด
ก. นอน ข. ทำางาน
ค. ทำาภารกิจส่วนตัว ง. การพ้ดคุยกับคนอืน

๖๔. กิจกรรมใดทีค
่ วรปฏิบต
ั ิก่อนเข้านอนเป็ นประจำา
ก. ดืม
่ นม ข. สวดมนต์
ค. ทบทวนภารกิจ ง. ฟั งเพลง ด้โทรทัศน์

๖๕. การใช้กลไกป้องกันทางจิตข้อใดเหมาะสมทีส
่ ุด
ก. การโยนความผิดออกจากตนเอง
ข. การเก็บกดความคิดและความร้้สึก
ค. การสร้างจินตนาการเพือ
่ ชดเชยความผิดหวัง
ง. การใช้สติปัญญาหลีกเลีย
่ งต่อเหตุการณ์ทีไ่ ม่ดี

๖๖. การออกกำาลังกายสัปดาห์ละ ๓ วัน จัดเป็ นหลักใน


ข้อใด
ก. ความบ่อย ข. ความหนัก
ค. ความนาน ง. ความเข้มข้น

๖๗. คนทีอ
่ อกกำาลังกายอย่้เสมอจะไม่ค่อยเจ็บป่ วย จัด
เป็ นประโยชน์ทางด้านใด
ก. ทางด้านสุขภาพ ข. เพือ
่ การประเมินผล

38
ค. เพือ
่ สร้างแรงจ้งใจ ง. เพือ
่ กำาหนดทิศทางใน

อนาคต

๖๘. ข้อใดจัดว่าเป็ นการประเมินผลการออกกำาลังกาย


ก. การทดสอบทักษะกีฬา
ข. การทดสอบการเล่นกีฬา
ค. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ง. การทดสอบความร้้เรือ
่ งการออกกำาลังกาย

๖๙. การออกกำาลังกายควรกระทำาหลังการรับประทาน
อาหารว่างกีช
่ ว
ั่ โมง
ก. ๑ - ๒ ชัว
่ โมง ข. ๒ - ๓ ชัว
่ โมง
ค. ๓ - ๔ ชัว
่ โมง ง. ๔ - ๕ ชัว
่ โมง

๗๐. อาหารประเภทใดทีเ่ หมาะสมกับการออกกำาลังกาย


และเล่นกีฬา
ก. เครือ
่ งดืม
่ เกลือแร่
ข. เครือ
่ งดืม
่ บำารุงกำาลัง
ค. อาหารเสริมและวิตามิน
ง. อาหารทีค
่ รบ ๕ หม่้ และปริมาณพอดี

39
๗๑. ขณะออกกำาลังกายควรหยุดทันทีเมือ
่ เกิดอาการใด
ก. เหนือ
่ ยหอบ
ข. กระหายนำา

ค. เจ็บแน่นทีห
่ น้าอก
ง. หายใจแรง หัวใจเต้นเร็ว

๗๒. การปฐมพยาบาลผ้้ป่วยทีไ่ ด้รับบาดเจ็บโดยใช้หลัก


"RICE หรือ PRICED"
ควรทำาในช่วงกีช
่ ว
ั่ โมงหลังได้รับบาดเจ็บ
ก. ๒๔ - ๗๒ ชัว
่ โมง ข. ๔๘ - ๘๔ ชัว
่ โมง
ค. ๖๐ - ๗๒ ชัว
่ โมง ง. ๖๐ - ๘๔ ชัว
่ โมง

๗๓. สมรรถภาพทางกายหมายถึงอะไร
ก. ความสามารถในการเล่นกีฬา
ข. ความสามารถในการทำางานประจำาวัน
ค. ความสามารถในการทำางานของร่างกาย
ง. ความสามารถในการควบคุมส่วนต่างๆ ของร่างกาย

๗๔. รายการทดสอบสมรรถภาพทางกายใดทีอ
่ ย่้ในแบบ
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย AAHPER ICSPFT และ
JASA

40
ก. ดึงข้อ
ข. ยืนกระโดดไกล
ค. วิง่ เร็ว ๕๐ เมตร
ง. นัง่ งอตัวหรือยืนก้มตัว

๗๕. การวางฝ่ ามือทั้งสองบนโต๊ะ แขนเหยียดตรง งอขา


ทัง
้ สองข้างขึ้นด้านหลัง ยุบแขนลง และดันขึ้นจนแขน
เหยียดตรงโดยเข่าไม่ถ้กพื้น ต้องทำาให้ได้กีค
่ รั้งจึงจะอย่้ใน
เกณฑ์ ปานกลาง
ก. ชายทำาได้ ๔ ครัง้ หญิงทำาได้ ๒ ครัง้
ข. ชายทำาได้ ๕ ครัง้ หญิงทำาได้ ๓ ครัง้
ค. ชายทำาได้ ๑๐ ครัง้ หญิงทำาได้ ๕ ครัง้
ง. ชายทำาได้ ๑๒ ครัง้ หญิงทำาได้ ๖ ครัง้

๗๖. ข้อใดกล่าวถ้กต้องเกีย
่ วกับเรือ
่ งสมรรถภาพทางกาย
ก. สมรรถภาพทางกายเป็ นพรสวรรค์
ข. สมรรถภาพทางกายเป็ นสิง่ ทีค
่ งทนถาวร
ค. สมรรถภาพทางกายเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่สามารถจะรักษาไว้ได้

41
ง. สมรรถภาพทางกายเป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึน
้ ได้และก็หายไปได้

ถ้าไม่รักษาไว้

๗๗. คำาว่า "สุขภาพสิง่ แวดล้อม" มีความหมายตรงกับข้อ


ใด
ก. สุขภาพชุมชน ข. การสุขาภิบาล
ค. อนามัยสิง่ แวดล้อม ง. การจัดการสิง่ แวดล้อม

๗๘. ข้อใดไม่จัดเป็ นการควบคุมด้แลสิง่ แวดล้อมให้


ปราศจากมลพิษ
ก. การบำาบัดนำา
้ เสีย
ข. การจัดหานำา
้ ดืม
่ นำา
้ ใช้
ค. การสุขาภิบาลทีพ
่ ักอาศัย
ง. การควบคุมแมลงและสัตว์นำาโรค

๗๙. โรคใดทีไ่ ม่ได้เกิดจากมลพิษของสิง่ แวดล้อม


ก. โรคท้องร่วง
ข. โรคหอบหืด
ค. โรคธาลัสซีเมีย
ง. โรคปอดอักเสบเรือ
้ รัง

42
๘๐.ข้อใดจัดว่าเป็ นพฤติกรรมเสีย
่ งต่อสิง่ แวดล้อม
ก. ดืม
่ นำา
้ อัดลมเป็ นประจำา
ข. ส้บบุหรีใ่ นทีห
่ ่างไกลผ้้คน
ค. ส้ดดมอากาศทีม
่ ีเขม่าควัน
ง. ทิง้ ขยะสิง่ ปฏิก้ลลงในแม่นำา
้ ลำาคลอง

๘๑. อาชีพใดมีอัตราความปลอดภัยทีส
่ ุด
ก. ขับรถแท็กซี ่
ข. ตำารวจจราจร
ค. ขับรถจักรยานยนต์ส่งเอกสาร
ง. พนักงานขายของในห้างสรรพสินค้า

๘๒. อาชีพใดน่าจะมีอัตราการเสีย
่ งอันตรายส้งทีส
่ ุด
ก. ช่างแอร์
ข. ช่างซ่อมรถยนต์
ค. ขับรถจักรยานยนต์รับจ้าง
ง. ช่างเครือ
่ งในโรงงานอุตสาหกรรม

๘๓. โรคเลปโตรสไปโรซิสมักเกิดกับบุคคลกลุ่มอาชีพใด
ก. เกษตรกร ข. ผ้้บริหาร

43
ค. พนักงานขาย ง. ช่างอุตสาหกรรม

๘๔. เหตุใดเพือ
่ นจึงมีอิทธิพลส้งต่อการเสพสารเสพติด
ก. เกรงใจเพือ
่ น
ข. ถ้กเพือ
่ นบังคับ
ค. มักทำาตามอย่างเพือ
่ น
ง. คิดว่าเพือ
่ นแนะนำาในสิง่ ทีด
่ ี

๘๕. หน่วยของสังคมหน่วยใดทีส
่ ามารถช่วยป้องกันการ
ใช้สารเสพติดของวัยรุ่นได้ดีทีส
่ ุด
ก. สังคม ข. ชุมชน
ค. โรงเรียน ง. ครอบครัว

๘๖. หน่วยงานใดทีใ่ ห้บริการบำาบัดรักษาผ้ต


้ ิดยาเสพติด
โดยเฉพาะ
ก. โรงพยาบาลเลิดสิน กรุงเทพฯ
ข. โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพฯ
ค. โรงพยาบาลศรีธัญญา นนทบุรี
ง. สถาบันธัญญารักษ์ ปทุมธานี

๘๗. เหตุการณ์ในข้อใดทีจ
่ ัดเป็ นความรุนแรงหลาย
ประเภท

44
ก. นักเรียนยกพวกตีกัน
ข. พ่อเลีย
้ งข่มขืนทุบตีล้กเลีย
้ ง
ค. การวางระเบิดในบริเวณสนามบิน
ง. โจรบุกเข้ามาปล้นในบ้านและข่มขืนเจ้าทรัพย์

๘๘. การใช้ความรุนแรงในครอบครัวมักจะมาจากสาเหตุ
ใด
ก. ความเครียด ข. ความคาดหวังส้ง
ค. ความรักทีม
่ ีมากเกินไป ง. ความวิตกกังวล เศร้า

หมอง

๘๙. ธรรมะข้อใดทีส
่ ามารถแก้ปัญหาความรุนแรงได้ดี
ทีส
่ ด

ก. ขันติ ข. เมตตา
ค. ปิ ยวาจา ง. อัตถจริยา

๙๐. เหตุการณ์ใดจัดว่าเป็ นความรุนแรงภายใน


ครอบครัว
ก. คนในครอบครัวยากจน
ข. คนในครอบครัวมักเจ็บป่ วยบ่อย
ค. คนในครอบครัวมักพ้ดจาก้าวร้าวต่อกัน

45
ง. คนในครอบครัวมักต่างคนต่างอย่้พ้ดคุยกันน้อย

๙๑. การทีส
่ ามีไปมีภรรยาน้อยและถ้กภรรยายิงตาย ล้ก
จึงขาดทัง
้ พ่อและแม่ จัดว่าเป็ น
การใช้ความรุนแรงอย่างไร
ก. ภรรยาใช้ความรุนแรงต่อสามี ข. สามีใช้ความ
รุนแรงต่อภรรยา
ค. ภรรยาใช้ความรุนแรงต่อสามีและล้ก ง. ทัง้ สามี
และภรรยาใช้ความรุนแรงต่อกัน

๙๒. การทีพ
่ ีน
่ ้องวัยรุ่นตอนต้นชกต่อยกันจนได้รับบาด
เจ็บ จัดว่าเป็ นการใช้ความรุนแรง หรือไม่ เพราะเหตุใด
ก. เป็ นการใช้ความรุนแรง เพราะทำาร้ายร่างกายต่อกัน
ข. เป็ นการใช้ความรุนแรง เพราะเป็ นพีน
่ ้องกันแล้วไม่รัก
กัน
ค. ไม่เป็ นการใช้ความรุนแรง เพราะเป็ นพีน
่ ้องกันเดีย
๋ วก็
ดีกัน
ง. ไม่เป็ นการใช้ความรุนแรง เพราะเป็ นพีน
่ ้องกันย่อม

ทะเลาะกันบ้าง

46
๙๓. ความปลอดภัยในชีวิตประจำาวันส่วนมากจะ
เกีย
่ วข้องกับเรือ
่ งใด
ก. การทำางาน ข. การเดินทาง
ค. ความขัดแย้งกัน ง. การลอบทำาร้ายกัน

๙๔. การข้ามถนนตามข้อใดปลอดภัยทีส
่ ุด
ก. รีบวิง่ ข้าม
ข. ข้ามบนทางม้าลาย
ค. ข้ามบนถนนทีไ่ ม่มีรถวิง่
ง. ข้ามบนสะพานลอยทีม
่ ักมีพวกมิจฉาชีพอย่้

๙๕. ถ้าเกิดเพลิงไหม้ในต่างจังหวัด จะโทรศัพท์แจ้งทีใ่ ด


ก. โทร. ๑๙๙
ข. ศาลากลางจังหวัด
ค. สถานีดับเพลิงใกล้บ้าน
ง. สถานีวิทยุ สวพ. ๙๑ หรือ ๑๖๔๔

๙๖. ขั้นตอนสุดท้ายของการมีส่วนร่วมในกระบวนการ
สร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
คืออะไร
ก. การกำาหนดสาเหตุของปั ญหา

47
ข. การประเมินผลงานของกิจกรรม
ค. การค้นหาแนวทางในการแก้ปัญหา
ง. การตัดสินใจและวางแผนแก้ไขปั ญหา

๙๗. ระดับของการมีส่วนร่วมของประชาชนในข้อใดทีจ
่ ัด
ว่ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
มากกว่าข้ออืน
่ ๆ
ก. ร่วมรับร้้ข้อม้ล
ข. เข้าร่วมให้คำาปรึกษา
ค. เข้าร่วมแสดงความคิดเห็น
ง. เป็ นตัวแทนเข้าร่วมตัดสินใจ

๙๘. ถ้าถ้กตะขาบกัดควรปฐมพยาบาลอย่างไรเป็ นลำาดับ


แรก
ก. ใช้ผ้ารัดเหนือแผล
ข. บีบเลือดบริเวณแผลออกมา
ค. ทาแผลด้วยแอมโมเนียหอม
ง. ใช้นำา
้ แข็งประคบบนบาดแผล

48
๙๙. ถ้าถ้กต่อรุมต่อยจนมีอาการหายใจไม่สะดวก ควร
ให้การช่วยเหลืออย่างไร
ก. รับประทานยาแก้ปวด
ข. ใช้นำา
้ แข็งประคบบนแผล
ค. ทาแผลด้วยแอมโมเนียหอม
ง. รีบนำาส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว

๑๐๐. สารเคมีในบ้านข้อใดทีค
่ วรระวังอย่าให้สัมผัส
ผิวหนังโดยตรง
ก. โซดาไฟ
ข. นำา
้ ป้นซีเมนต์
ค. แอมโมเนียหอม
ง. นำา
้ ยาขัดห้องนำา

ชุดที่ ๒

49
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั
มาตรฐานชัน้ ปี
กลุุมสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน สุขศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปีที่ ๓

คำาชี้แจง ้ หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐


ข้อสอบมีทัง
คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. ค. ๒. ง. ๓. ก. ๔. ค. ๕. ง.
๖. ข. ๗. ข. ๘. ง. ๙. ค. ๑๐.ก.
๑๑.ง. ๑๒. ข. ๑๓. ก. ๑๔. ข.
๑๕. ก
๑๖.ค. ๑๗. ข. ๑๘. ก. ๑๙. ค.
๒๐. ก.
๒๑. ก. ๒๒. ง. ๒๓. ค. ๒๔. ข.
๒๕. ง.
๒๖. ค. ๒๗. ข. ๒๘. ก. ๒๙. ค.
๓๐. ง.

50
๓๑.ก. ๓๒. ก. ๓๓. ข. ๓๔. ข.
๓๕. ง.
๓๖. ค. ๓๗. ก. ๓๘. ง. ๓๙. ข.
๔๐. ก.
๔๑. ค. ๔๒. ก. ๔๓. ข. ๔๔. ค.
๔๕. ค.
๔๖. ก. ๔๗. ง. ๔๘. ค. ๔๙. ง.
๕๐. ข.
๕๑.ข. ๕๒. ง. ๕๓. ง. ๕๔. ง.
๕๕. ก.
๕๖. ข. ๕๗. ข. ๕๘. ค. ๕๙. ค.
๖๐. ก.
๖๑.ข. ๖๒. ค. ๖๓. ก. ๖๔. ข.
๖๕. ง.
๖๖. ก. ๖๗. ก. ๖๘. ค. ๖๙. ก.
๗๐. ง.
๗๑. ค. ๗๒. ก. ๗๓. ค. ๗๔. ข.
๗๕. ข.
๗๖. ง. ๗๗. ค. ๗๘. ข. ๗๙. ค.
๘๐. ง.

51
๘๑. ง. ๘๒. ค. ๘๓. ก. ๘๔. ค.
๘๕. ง.
๘๖. ง. ๘๗. ข. ๘๘. ก. ๘๙. ข.
๙๐. ค.
๙๑. ง. ๙๒. ก. ๙๓. ข. ๙๔. ค.
๙๕. ค.
๙๖. ข. ๙๗. ง. ๙๘. ก. ๙๙. ง.
๑๐๐. ก.

52

You might also like