You are on page 1of 11

การพิจารณาคดีล้มละลาย

แนวทางศึกษา กฎหมายล้มละลาย (ขอบคุณเจ้าของบทความขออภัยไม่ได้แจ้งชื่อ)


สรุป วิชา กฎหมายล้มละลาย

การพิจารณาคดีล้มละลาย
บทนิ ยาม (มาตรา 6)
คำาว่า “เจ้าหนี้ มีประกัน” หมายความว่า “เจ้าหนี้ ผ้มีสิทธิเหนื อทรัพย์สินของล้กหนี้
ในทางจำานอง จำานำา หรือสิทธิยึดหน่ วง หรือเจ้าหนี้ ผ้มีบุริมสิทธิท่ีบังคับได้ทำานอง
เดียวกับเจ้าหนี้ จำานำา”
- ดังนั้น หากมีสิทธิเหนื อทรัพย์สินของบุคคลอื่นไม่ใช่เหนื อทรัพย์สน ิ ของล้กหนี้ ไม่
ถือเป็ นเจ้าหนี้ มีประกัน (ฎ.737/2542)
- สิทธิเหนื อทรัพย์สินของล้กหนี้ ต้องเป็ นสิทธิในทางจำานองหรือจำานำาหรือสิทธิยึด
หน่วงหรือบุริมสิทธิท่ีบังคับได้ทำานองเดียวกับผ้้รับจำานำา (ฎ.175/2529,
ฎ.3293/2544)
- ถ้าสิทธิเหนื อทรัพย์สินระงับ ก็ไม่ใช่เจ้าหนี้ มีประกัน (ฎ.2517/2534)
คำาว่า “มติ” หมายความว่า “มติของเจ้าหนี้ ฝ่ ายที่มีจำานวนหนี้ ข้างมาก ซึ่งได้เข้า
ประชุมด้วยตนเองหรือมอบฉันทะให้ผ้อ่ ืน เข้าประชุมแทนในที่ประชุมเจ้าหนี้ และได้
ออกเสียงลงคะแนนในมติน้ัน”
- มติตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย ถือเอาจำานวนหนี้ ข้างมากของเจ้าหนี้ เป็ นสำาคัญ
- มติของเจ้าหนี้ ฝ่ายที่มีจำานวนหนี้ ข้างมาก เจ้าหนี้ น้ันได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรือ
มอบฉันทะ
ให้ผ้อ่ ืนเข้าประชุมแทนในที่ประชุมเจ้าหนี้ และ เจ้าหนี้ น้ันได้ ออกเสียงลงคะแนน
ในมติน้ัน
- มติ นี้ ใช้สำาหรับการลงมติในหัวข้อการประชุมเจ้าหนี้ ท่ัวไป ไม่ใช้ในการลงมติใน
การประชุมเจ้าหนี้ เพื่อพิจารณาคำาขอประนอมหนี้ ไม่ว่าก่อนหรือหลังล้มละลาย ซึ่ง
มาตรา 43 วรรคสาม และมาตรา 63 วรรคหนึ่ ง บัญญัติให้ใช้มติพิเศษ
คำาว่า “มติพิเศษ” หมายความว่า “มติของเจ้าหนี้ ฝ่ายข้างมากและมีจำานวนหนี้
เท่ากับสามในสี่แห่ง จำานวนหนี้ ท้ังหมดของเจ้าหนี้ ซึ่งได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรือ
มอบฉันทะให้ผ้อ่ ืนเข้าประชุมแทนในที่ประชุมเจ้าหนี้ และได้ออกเสียงลงคะแนนใน
มติน้ัน”
- มติพิเศษนี้ ใช้เฉพาะการลงมติในการประชุมเจ้าหนี้ ครั้งแรกเพื่อปรึกษาว่าจะ
ยอมรับคำาขอประนอมหนี้ หรือไม่ตาม มาตรา 45 วรรคสาม และการลงมติเพื่อ
พิจารณาคำาขอประนอมหนี้ หลังล้มละลายตามมาตรา 63 วรรคหนึ่ ง เท่านั้น
1. ม้ลเหตุแห่งการฟ้ องคดีล้มละลาย ( มาตรา 7 )
มีบัญญัติไว้ใน มาตรา 7 ว่า “ล้กหนี้ ท่ีมีหนี้ สินล้นพ้นตัวอาจถ้กศาลพิพากษาให้ล้ม
ละลายได้ ถ้าล้กหนี้ น้ันมีภ้มิลำาเนาในราชอาณาจักร หรือประกอบธุรกิจในราช
อาณาจักรไม่ว่าด้วยตนเอง หรือโดยตัวแทนในขณะที่มีการขอให้ล้กหนี้ ล้มละลาย
หรือภายในกำาหนดเวลาหนึ่ งปี ก่อนนั้น” ดังนั้น ม้ลเหตุแห่งการฟ้ องคดีล้มละลาย
จึงประกอบด้วย

1.1 ล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัว


- หนี้ สนิ ล้นพ้นตัว หมายความว่า ล้กหนี้ มีหนี้ สินมากกว่าทรัพย์สน ิ หรือ อีกนัย
หนึ่ งก็คือ มีทรัพย์สินไม่พอชำาระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ น่ันเอง แต่การจะพิส้จน์ว่าบุคคล
ใดมีหนี้ สินล้นพ้นตัวนั้นเป็ นการยาก กฎหมายจึงบัญญัติบทสันนิ ษฐานไว้ว่า ล้กหนี้
มีหนี้ สินล้นพ้นตัวไว้ในมาตรา 8
- เจ้าหนี้ จะฟ้ องล้กหนี้ ให้ล้มละลายได้ต้องประกอบด้วยเหตุใน มาตรา 9 ส่วน
มาตรา 8 เป็ นเพียงบทสันนิ ษฐานไว้ก่อนว่าล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัวเพื่อประโยชน์
แก่เจ้าหนี้ ท่ีไม่สามารถนำาสืบให้ศาลเห็นได้ว่า ล้กหนี้ มีหนี้ สน
ิ ล้นพ้นตัว โจทก์ไม่
จำาเป็ นต้องบรรยายมาในฟ้ องว่าล้กหนี้ ได้กระทำาการอย่างใดอย่างหนึ่ งตามมาตรา
8 เพียงแต่บรรยายว่า ล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัวก็เพียงพอแล้ว
- บทสันนิ ษฐานว่าล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัว ตามมาตรา 8 ที่สำาคัญ มีดังนี้
(1). ถ้าล้กหนี้ โอนทรัพย์สินหรือสิทธิจัดการทรัพย์สินของตนให้แก่บุคคลอื่นเพื่อ
ประโยชน์แห่งเจ้าหนี้ ท้ง ั หลายของตน ไม่ว่าได้กระทำาการนั้นในหรือนอกราช
อาณาจักร
(2). ถ้าล้กหนี้ โอนหรือส่งมอบทรัพย์สินของตนไปโดยการแสดงเจตนาลวงหรือ
โดยการฉ้อฉล ไม่ว่าได้กระทำาการนั้นในหรือนอกราชอาณาจักร
- คำาว่า “การแสดงเจตนาลวง” นี้ มีความหมายว่า การที่ล้กหนี้ แสดงเจตนาไม่
ตรงกับความจริงโดยสมร้้กับค่้กรณีอีกฝ่ ายหนึ่ ง เพื่อลวงคนอื่น ซึ่งตรงกับ ความ
หมายของการแสดงเจตนาลวงใน ป.แพ่ง มาตรา 155 นั่นเอง (ฎ.226/2520)
- ส่วนคำาว่า “การฉ้อฉล” นี้ หมายถึง นิ ติกรรมใดๆอันล้กหนี้ ได้กระทำาลงทั้งร้้อย่้ว่า
จะเป็ นทางให้เจ้าหนี้ เสียเปรียบซึ่งตรงกับความหมายของกลฉ้อฉลใน ป.แพ่ง
มาตรา 237 นั่นเอง (ฎ.1868-1869/2516)
(3). ถ้าล้กหนี้ โอนทรัพย์สินของตนหรือก่อให้เกิดทรัพย์สิทธิอย่างหนึ่ งอย่างใดขึ้น
เหนื อทรัพย์สินนั้น ซึ่งถ้าล้กหนี้ ล้มละลายแล้ว จะต้องถือว่าเป็ นการให้เปรียบ ไม่
ว่าได้กระทำาการนั้นในหรือนอกราชอาณาจักร
(4). ถ้าล้กหนี้ กระทำาการอย่างหนึ่ งอย่างใดดังต่อไปนี้ เพื่อประวิงการชำาระหนี้ หรือ
มิให้เจ้าหนี้ ได้รับชำาระหนี้
ก. ออกไปเสียนอกราชอาณาจักร หรือได้ออกไปก่อนแล้วและคงอย่น ้ อกราช
อาณาจักร
ข. ไปเสียจากเคหะสถานที่เคยอย่้ หรือซ่อนตัวอย่้ในเคหะสถานหรือหลบไป หรือ
วิธีอ่ ืน หรือปิ ดสถานที่ประกอบธุรกิจ (ฎ.534/2504,ฎ.159/2519,
ฎ.4732/2543)
ค. ยักย้ายทรัพย์ไปให้พน ้ อำานาจศาล
ง. ยอมตนให้ต้องคำาพิพากษาซึ่งบังคับให้ชำาระเงินซึง ่ ตนไม่ควรต้องชำาระ
- กรณีตาม มาตรา 8(4) ก ข ค ง นี้ หลัก มีว่า ต้องเป็ นการกระทำาโดยเจตนาที่จะ
ประวิงการชำาระหนี้ หรือมิให้เจ้าหนี้ ได้รับชำาระหนี้ ถ้ากระทำาโดยมีเจตนาอย่างอื่น
เช่น ปิ ดสถานที่ประกอบธุรกิจชั่วคราวเพื่อปรับปรุงให้ดีขึ้น ก็ไม่เข้าข้อนี้
(5). ถ้าล้กหนี้ ถ้กยึดทรัพย์ตามหมายบังคับคดี หรือไม่มีทรัพย์สินอย่างหนึ่ งอย่าง
ใดที่จะพึงยึดมาชำาระหนี้ ได้
- ความหมายในข้อนี้ มี 2 ประการ คือ ประการแรกล้กหนี้ ถ้กฟ้ องตกเป็ นล้กหนี้
ตามคำาพิพากษาในคดีแพ่ง แล้วถ้กยึดทรัพย์ตามหมายบังคับคดี หรืออีกประการ
หนึ่ ง ล้กหนี้ ตกเป็ นล้กหนี้ ตามคำาพิพากษา แล้วไม่มีทรัพย์สินอย่างหนึ่ งอย่างใด ที่
จะพึงยึดมาชำาระหนี้ ได้ ดังกล่าวแล้วแสดงว่าล้กหนี้ มีทรัพย์สน ิ ไม่พอใช้หนี้ เพราะ
ว่าถ้ามีทรัพย์สน ิ พอคงไม่ถก ้ ยึดทรัพย์ (ฎ.887/2535,ฎ.1820/2531,
ฎ.5429/2543)
(6). ถ้าล้กหนี้ แถลงต่อศาลในคดีใด ๆ ว่าไม่สามารถชำาระหนี้ ได้
(7). ถ้าล้กหนี้ แจ้งให้เจ้าหนี้ คนหนึ่ งคนใดของตนทราบว่าไม่สามารถชำาระหนี้ ได้
. ถ้าล้กหนี้ เสนอคำาขอประนอมหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ต้ง ั แต่ ๒ คนขึ้นไป
(9). ถ้าล้กหนี้ ได้รับหนังสือทวงถามจากเจ้าหนี้ ให้ชำาระหนี้ แล้วไม่นอ ้ ยกว่า ๒ ครั้ง
ซึ่งมีระยะเวลาห่างกัน ( ไม่นอ ้ ยกว่า ๓๐ วัน ) และล้กหนี้ ไม่ชำาระหนี้
- คำาว่า “ซึ่งมีระยะเวลาห่างกันไม่นอ ้ ยกว่า 30 วัน” หมายความว่าในระหว่างการ
ทวงถามครั้งแรกกับครั้งที่สอง ต้องมีระยะเวลาอย่างน้อย 30 วัน มิใช่ว่าต้องรอไว้
อีก 30 วันหลังจากทวงถามครั้งที่ 2 แล้วจึงฟ้ องคดีได้ (ฎ.790/2510)
- ข้อเท็จจริงตามอนุมาตรา ต่างๆ ในมาตรา 8 เป็ นเอกเทศของตัวเองหมายความ
ว่า ถ้ามีข้อเท็จจริงเหล่านี้ เกิดขึ้น ในอนุมาตราใดมาตราหนึ่ งแล้ว หรือโจทก์กล่าว
อ้างข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่ งมาแล้วก็เข้าข้อสันนิ ษฐานว่าล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้น
ตัว
- ในการที่ศาลจะมีคำาสั่งให้บค ุ คลใดล้มละลายศาลจะอาศัยลำาพังแต่ข้อเท็จจริงอัน
เป็ นข้อสันนิ ษฐานของกฏหมายว่าล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัวตามมาตรา 8 เพียง
อย่างเดียวไม่ได้ ยังต้องพิเคราะห์เหตุผลอื่นมาประกอบที่พอแสดงให้เห็นว่าจำาเลย
ตกอย่้ในฐานะมีหนี้ สินล้นพ้นตัวจริง เมื่อจำาเลยยังมีทรัพย์สินที่สามารถชำาระหนี้ ให้
โจทก์ได้ก็ยง ั ถือไม่ได้ว่าจำาเลยมีหนี้ สินล้นพ้นตัว (ฎ.508/2536)
1.2. ล้กหนี้ มีภ้มิลำาเนาอย่้ในราชอาณาจักร ล้กหนี้ ท่ีจะถ้กฟ้ องให้ล้มละลายได้จะ
ต้องมีภ้มิลำาเนาอย่้ในราชอาณาจักร เพราะเหตุว่าอำานาจศาลไทย มีเขตอำานาจอย่้
ในราชอาณาจักรเท่านั้น ไม่มีอำานาจไปบังคับกับบุคคลหรือทรัพย์สินซึ่งอย่้นอก
ราชอาณาจักรไทย อีกประการหนึ่ ง ลักษณะของกฏหมายล้มละลายต้องการจะ
รวบรวมทรัพย์สินของล้กหนี้ เพื่อใช้หนี้ เป็ นสำาคัญ ถ้าล้กหนี้ ไม่มีภ้มิลำาเนาอย่้ใน
ราชอาณาจักร โอกาสที่จะรวบรวมทรัพย์สินคงจะไม่มี
อนึ่ ง แม้ว่าล้กหนี้ จะไม่มีภ้มิลำาเนาอย่้ในราชอาณาจักร ก็อาจถ้กศาลพิพากษาให้
ล้มละลายได้ ถ้าล้กหนี้ เคยมีภ้มิลำาเนาอย่้ในราชอาณาจักร หรือประกอบธุรกิจใน
ราชอาณาจักรไม่ว่าโดยตนเองหรือโดยตัวแทนในขณะที่มีการขอให้ล้มละลาย แม้
ล้กหนี้ จะย้ายออกไปนอกราชอาณาจักร ทั้งนี้ หมายความว่า เจ้าหนี้ ยง ั มีเวลาถึง 1
ปี ที่จะติดตามฟ้ องลุกหนี้ ให้ล้มละลายได้ท้ังนี้ นอกจากเพื่อเป็ นการป้ องกันการหลบ
หนี ของล้กหนี้ แล้ว ก็เพื่อผลต่อการรวบรวมทรัพย์ของลุกหนี้ เป็ นสำาคัญ
2. หลักเกณฑ์การฟ้ องคดีล้มละลายของเจ้าหนี้ ธรรมดา (มาตรา 9)
- มาตรา 9 เป็ นหลักเกณฑ์การฟ้ องคดีล้มละลายของเจ้าหนี้ ไม่มีประกันหรือเจ้า
หนี้ ธรรมดา ซึ่งมีอย่้ 3 ประการ คือ
(1) “ล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัว” ข้อนี้ เป็ นหลักเกณฑ์ทีได้กล่าวมาแล้วในหัวข้อม้ล
เหตุแห่งการฟ้ องคดีล้มละลาย คำาว่า ล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัว คือ ล้กหนี้ มี
ทรัพย์สน ิ ไม่พอชำาระหนี้ หรือล้กหนี้ มีหนี้ สินมากกว่าทรัพย์สน ิ นอกจากนี้ หากลุก
หนี้ กระทำาการอย่างหนึ่ งอย่างใดตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 8 ก็สันนิ ษฐานได้ว่า
ล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัว

(2) “ล้กหนี้ ซึ่งเป็ นบุคคลธรรมดาเป็ นหนี้ เจ้าหนี้ ผ้เป็ นโจทก์คนเดียวหรือหลายคน


เป็ นจำานวนไม่นอ ้ ยกว่า 1,000,000 บาท หรือล้กหนี้ ซึ่งเป็ นนิ ติบุคคลเป็ นหนี้ เจ้า
หนี้ ผ้เป็ นโจทก์คนเดียวหรือหลายคน เป็ นจำานวนไม่นอ ้ ยกว่า 2,000,000 บาท ”
- คำาว่า ไม่นอ ้ ยกว่า 1,000,000 บาท หมายความว่า เป็ นหนี้ ต้ังแต่ 1,000,000
ขึ้นไป
- ถ้ามีเจ้าหนี้ หลายคน คนละไม่ถง ึ 1,000,000 บาท แต่เมื่อรวมจำานวนหนี้ กัน
แล้วเป็ นเงินไม่นอ ้ ยกว่า 1,000,000 บาท เจ้าหนี้ เหล่านั้นก็สามารถเข้าชื่อร่วมกัน
เป็ นโจทก์ฟ้องคดีล้มละลายได้ โดยไม่จำาต้องคำานึ งว่า ม้ลหนี้ น้ันเหมือนกันหรือไม่
(ฎ.3242/2543 , ฎ.835/2545)
(3) “หนี้ น้ันอาจกำาหนดจำานวนได้โดยแน่ นอน ไม่ว่าหนี้ น้ันจะถึงกำาหนดชำาระโดย
พลันหรือในอนาคตก็ตาม”
- คำาว่า “หนี้ น้ันอาจกำาหนดจำานวนได้แน่ นอน” หมายความว่า จำานวนหนี้ จะต้อง
แน่นอนหรืออาจ กะคำานวณได้แน่นอน เช่น ล้กหนี้ …้เงินเจ้าหนี้ ไป อัตราดอกเบี้ย
ร้อยละ 10 ต่อปี จำานวนหนี้ ท่ีกำาหนดได้ก็คือ ต้นเงินและดอกเบี้ยที่ค้างชำาระ
สามารถคำานวณได้ว่ามีจำานวนเท่าไร จำานวนหนี้ น้ันถ้าเป็ นหนี้ ตามสัญญาก็ไม่มี
ปั ญหา แต่มีหนี้ บางอย่างซึ่งไม่แน่นอน เช่นค่าเสียหายในม้ลละเมิด หนี้ ค่าอุปการะ
เลี้ยงด้ หรือหนี้ เบี้ยปรับ เป็ นหนี้ ท่ีอาจกำาหนดได้แน่ นอน จนกว่า ศาลจะพิพากษา
ให้มก ี ารชำาระหนี้ แล้ว หรือ เป็ นหนี้ ท่ีตกลงกันโดยการรับสภาพหนี้
- หนี้ ท่ีมีจำานวนไม่แน่ นอนนั้น แม้จะนำาไปฟ้ องเป็ นคดีล้มละลายไม่ได้ แต่เจ้าหนี้ ก็
อาจนำาไปขอรับชำาระหนี้ ในคดีล้มละลายได้ โดยศาลจะสั่งคำาขอรับชำาระหนี้ เองว่า
เห็นสมควรให้ได้รับชำาระหนี้ หรือไม่ เป็ นจำานวนเท่าใด
- คำาว่า “ไม่ว่าหนี้ น้ันจะถึงกำาหนดชำาระโดยพลันหรือในอนาคตก็ตาม” จะเห็นว่า
แตกต่างกับการฟ้ องเป็ นคดีแพ่งสามัญ คือถ้าเป็ นคดีแพ่งสามัญเจ้าหนี้ จะฟ้ องคดี
ได้หนี้ น้ันต้องถึงกำาหนดชำาระ ถ้ายังไม่ถึงกำาหนดชำาระก็บง ั คับให้ลก ้ หนี้ ชำาระไม่ได้
ที่กฎหมายล้มละลายกำาหนดไว้เช่นนั้น ก็โดยถือว่าเมื่อล้กหนี้ มห ี นี้ สินล้นพ้นตัว
แล้วการที่จะรอให้หนี้ ถึงกำาหนดชำาระเสียก่อนแล้วจึงจะฟ้ องได้ ก็อาจจะเกิดความ
เสียหายแก่เจ้าหนี้ ได้
- ทั้งนี้ หนี้ ภาษีอากรที่เจ้าพนักงานประเมิน ประเมินแล้วแต่ยังไม่แจ้งการประเมิน
ให้ล้กหนี้ ทราบ ถือว่าเป็ นหนี้ ท่ีไม่อาจกำาหนดจำานวนได้โดยแน่ นอนเพราะถ้าแจ้ง
ให้ล้กหนี้ ทราบ ล้กหนี้ จะมีสิทธิอ ์ ุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้ และ
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ก็อาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขการประเมินของเจ้า
พนักงานประเมินได้ (ฎ.2459/2544)
- ดังนั้น หากได้แจ้งการประเมินต่อล้กหนี้ แล้ว ล้กหนี้ ไม่อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณ์ภายในระยะเวลาตามที่กฎหมายกำาหนด หรือล้กหนี้ ได้อุทธรณ์
แล้ว แต่คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้ว ถือว่าหนี้ ดังกล่าวนั้น
อาจกำาหนดจำานวนได้แน่ นอน (ฎ.3103/2533)
- ส่วนหนี้ ตามคำาพิพากษาในคดีแพ่ง ถือว่าเป็ นหนี้ ท่ก ี ำาหนดจำานวนได้แน่นอนแล้ว
นำามาฟ้ องเป็ นคดีล้มละลายได้ แม้ว่าคำาพิพากษาดังกล่าวยังไม่ถง ึ ที่สุดก็ตาม ทั้งนี้
เพราะว่าคำาพิพากษานั้นมีผลผ้กพันค่ค ้ วาม ตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 145 (
ฎ.3210/2532) แต่หากว่าคดีแพ่งนั้นยังไม่ถึงที่สุด จะถือว่ามีเหตุท่ีไม่สมควรให้
ล้กหนี้ ล้มละลายหรือไม่น้ันเป็ นอีกประเด็นหนึ่ งซึ่งต้องพิจารณากันต่อไป (
ฎ.177/2531)

ϖหมายเหตุ บุคคลที่มิได้มีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ จะฟ้ องล้กหนี้ เป็ นคดีล้มละลายไม่ได้


(ฎ.1910/2538)
- การฟ้ องล้กหนี้ ตามคำาพิพากษาให้ล้มละลายต้องฟ้ องภายใน 10 ปี นับแต่วันที่คำา
พิพากษาถึงที่สุด โดยไม่ต้องพิจารณาว่าเจ้าหนี้ ตามคำาพิพากษาจะดำาเนิ นการ
ตาม ป.วิแพ่ง ม.๒๗๑ แล้ว ก็ไม่ทำาให้อายุความสะดุดหยุดลง ( ฎ.4604/2542 )
- กรณีโจทก์ฟ้องให้ลก ้ หนี้ ร่วมหลายคนล้มละลายเป็ นคดีเดียวกัน การพิจารณาว่า
ล้กหนี้ มีหนี้ สินล้นพ้นตัวเป็ นเรื่องเฉพาะของล้กหนี้ ร่วมแต่ ( ฎ.4287/2543 )
- หนี้ ตามคำาพิพากษาถือเป็ นหนี้ ท่ีอาจกำาหนดจำานวนได้แน่ นอน ตาม ม.9 (3) แม้
คำาพิพากษานั้นจะยังไม่ถง ึ ที่สุด ( ฎ.4/2536 )
- ตามสัญญาประนี ประนอมได้ตกลงเพียงว่าหากจำาเลยผิดนัดงวดใดยอมที่จะส่ง
มอบรถที่เช่าซื้อคืนในสภาพที่ใช้การได้ เมื่อจำาเลยได้ส่งคืนโจทก์จะนำาราคาที่เช่า
ซื้อมาฟ้ องให้จำาเลยล้มละลายไม่ได้ เพราะเป็ นหนี้ ท่ีไม่อาจกำาหนดได้แน่นอน
3. หลักเกณฑ์การฟ้ องคดีล้มละลายของเจ้าหนี้ มีประกัน ( มาตรา 10 )
หลัก 1. ต้องมีหลักเกณฑ์ตามมาตรา 9
2. มิได้เป็ นผ้้ต้องห้ามมิให้บง ั คับชำาระหนี้ เอาแก่ทรัพย์สินของล้กหนี้ เกินกว่าตัว
ทรัพย์ท่ีเป็ นหลักประกัน
3. กล่าวในฟ้ องว่า ถ้าล้กหนี้ ล้มละลายแล้วจะยอมสละหลักประกัน หรือตีหลัก
ประกันมาในฟ้ อง ซึง ่ เมื่อหักกับจำานวนหนี้ ของตนแล้ว เงินยังขาดอย่้สำาหรับล้กหนี้
ซึ่งเป็ นบุคคลธรรมดาเป็ นจำานวนไม่นอ ้ ยกว่า 1,000,000 บาท ล้กหนี้ ซึ่งเป็ น
นิ ติบคุ คลเป็ นจำานวนไม่นอ ้ ยกว่า 2,000,000 บาท

- ในการฟ้ องคดีล้มละลายของเจ้าหนี้ มีประกันนั้น ก่อนที่จะใช้หลักเกณฑ์ในมาตรา


10 จะต้องได้ความว่า ในขณะที่ย่ ืนฟ้ องนั้นโจทก์มีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ มีประกัน ตาม
มาตรา 6 เสียก่อน คือ เจ้าหนี้ ผ้มีสิทธิเหนื อทรัพย์สินของล้กหนี้ ในทางจำานอง
จำานำา หรือสิทธิยึดหน่ วงหรือเจ้าหนี้ ผ้มีบุริมสิทธิท่ีบังคับได้ทำานองเดียวกับผ้้รับ
จำานำา นั่นเอง (ฎ.545/2504)
หลักเกณฑ์การฟ้ องล้มละลายของเจ้าหนี้ มีประกัน มีดังนี้
(1.) ภายใต้บังคับมาตรา 9 เจ้าหนี้ มีประกันจะฟ้ องล้กหนี้ ให้ล้มละลายได้กต ็ ่อเมื่อ
- ที่มาตรา 10 บอกว่า ภายใต้บังคับมาตรา 9 หมายความว่า ในการฟ้ องคดีล้ม
ละลายของเจ้าหนี้ มีประกันนั้น การฟ้ องนั้นจะต้องประกอบด้วยเงื่อนไขของมาตรา
9 ด้วย กล่าวคือ ล้กหนี้ ต้องมีหนี้ สน
ิ ล้นพ้นตัว เป็ นหนี้ เจ้าหนี้ ผ้เป็ นโจทก์คนเดียว
หรือหลายคนเป็ นจำานวนไม่นอ ้ ยกว่า 1,000,000 บาท หรือ 2,000,000 บาท
แล้วแต่กรณี และหนี้ น้ันอาจกำาหนดจำานวนได้โดยแน่ นอน
- เมื่อผ่านหลักเกณฑ์ตามมาตรา 9 แล้ว เจ้าหนี้ มีประกันจะฟ้ องล้กหนี้ ให้ล้ม
ละลายได้ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ตามมาตรา 10 อีก 2 ประการ คือ

(2.) ตามมาตรา 10(1) มิได้เป็ นผ้้ต้องห้ามมิให้บง ั คับการชำาระหนี้ เอาแก่ทรัพย์สิน


ของล้กหนี้ เกินกว่าตัวทรัพย์ท่ีเป็ นหลักประกัน และ…
- เจ้าหนี้ ท่ต
ี ้องห้ามมิให้บง
ั คับเอาเกินกว่าทรัพย์ท่ีเป็ นหลักประกัน ได้แก่ เจ้าหนี้
จำานองที่ไม่มีข้อยกเว้นป.แพ่ง มาตรา 733 แต่ถ้าเป็ นเรื่องการเอาทรัพย์จำานองตี
ใช้หนี้ แล้ว จะนำามาตรา 733 มาใช้บง ั คับไม่ได้ (ฎ.300/2506(ป.)) หรือ เจ้าหนี้ ท่ี
ต้องห้ามจากข้อตกลงโดยสัญญา เช่นสัญญาจำานำา ถ้ามีข้อตกลงกันว่า เมื่อบังคับ
จำานำาแล้วได้เงินมาชำาระหนี้ ไม่พอ ล้กหนี้ ไม่ต้องรับผิดในหนี้ สว ่ นที่ขาด เป็ นต้น
(3.) และ ตามมาตรา 10(2) กล่าวในฟ้ องว่า ถ้าล้กหนี้ ล้มละลายแล้ว จะยอมสละ
หลักประกันเพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ ท้ง ั หลาย หรือตีราคาหลักประกันมาในฟ้ องซึ่ง
เมื่อหักกับจำานวนหนี้ ของตนแล้ว เงินยังขาดอย่้สำาหรับล้กหนี้ ซึ่งเป็ นบุคคลธรรมดา
เป็ นจำานวนไม่นอ ้ ยกว่า 1,000,000 บาท หรือล้กหนี้ ซึ่งเป็ นนิ ติบุคคลเป็ นจำานวน
ไม่นอ ้ ยกว่า 2,000,000 บาท
- หลักเกณฑ์ตามมาตรา 10 (2) นี้ เจ้าหนี้ จะต้องเลือกบรรยายมาในคำาฟ้ องอย่าง
ใดอย่างหนึ่ ง ว่า จะสละหลักประกันนั้น หรือว่า จะตีราคาหลักประกัน กล่าวคือ
- ถ้ากล่าวในฟ้ องว่า ถ้าล้กหนี้ ล้มละลายแล้วจะยอมสละหลักประกันเพื่อประโยชน์
แก่เจ้าหนี้ ท้ังหลายนั้นหมายความว่า เมื่อ ล้กหนี้ ถ้กพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว เจ้า
หนี้ จะคืนหลักประกันนั้นให้แก่กองทรัพย์สน ิ เพื่อนำาหลักประกันนี้ ไปขายเพื่อนำา
เงินมาแบ่งชำาให้แก่เจ้าหนี้ ท้ง ั หลาย และเจ้าหนี้ ผ้เป็ นโจทก์จะต้องยื่นคำาขอรับชำาระ
หนี้ เข้ามาอย่างเจ้าหนี้ สามัญ
- หรือตีราคาหลักประกันมาในฟ้ องว่าหลักประกันมีราคาเท่าไร หนี้ เท่าไร เมื่อลบ
กันแล้วเหลือหนี้ ไม่นอ ้ ยกว่า 1,000,000.- บาท หรือ 2,000,000.- บาท แล้วแต่
กรณี (ฎ.2399/2538)
- มาตรา 10 เป็ นหลักเกณฑ์การบรรยายคำาฟ้ องขอให้ล้มละลายองเจ้าหนี้ มี
ประกันซึ่งจะต้องบรรยายให้ครบหลักเกณฑ์ตามมาตรา 10 มิฉะนั้นถือเป็ นคำาฟ้ อง
ที่ไม่ชอบ ศาลต้องยกฟ้ อง (ฎ.175/2529, ฎ.3134/2547)
4. การพิจารณาคดีล้มละลาย ( มาตรา 14 )
หลักเกณฑ์
1. ศาลต้องพิจารณาเอาความจริงตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 9 หรือ 10 ถ้าได้
ความจริงให้ศาลมีคำาสั่งพิทก ั ษ์ของล้กหนี้ เด็ดขาด
2. ศาลพิจารณาแล้วไม่ได้ความจริงตามมาตรา 9 หรือ 10 หรือล้กหนี้ นำาสืบได้ว่า
อาจชำาระหนี้ ได้ท้ังหมดหรือมีเหตุอ่ ืนที่ไม่สมควรให้ลก ้ หนี้ ล้มละลาย ให้ศาลยกฟ้ อง
5. อำานาจหน้าที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ( มาตรา 22 )
หลักเกณฑ์ เมื่อศาลมีคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของล้กหนี้ แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
แต่ผ้เดียวมีอำานาจในการจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สน ิ ของล้กหนี้ ซึ่งมีอำานาจดังนี้ .-
1. จำาหน่ ายทรัพย์สินของล้กหนี้ หรือ กระทำาการที่จำาเป็ นเพื่อให้กิจการของล้กหนี้
ที่ค้างอย่้เสร็จไป
2. เก็บรวบรวมเงินทอง หรือ ทรัพย์สินของล้กหนี้
3. ประนี ประนอมยอมความ หรือ ฟ้ องร้อง หรือต่อส้ค ้ ดีใดๆเกี่ยวกับทรัพย์สินของ
ล้กหนี้
6. ศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของล้กหนี้ แล้ว ห้ามมิให้ล้กหนี้ กระทำาการใดๆเกี่ยวกับ
ทรัพย์สน ิ ( มาตรา 24 )
หลักเกณฑ์
1. เมื่อศาลมีคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของล้กหนี้ แล้ว ห้ามล้กหนี้ กระทำาการเกี่ยวกับ
ทรัพย์สน ิ เว้นแต่ได้กระทำาตามคำาสั่งหรือความเห็นชอบของศาล เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์ ผ้้จด ั การทรัพย์ หรือ ประชุมเจ้าหนี้
2. ผลของการฝ่ าฝื นทำาให้นิติกรรมที่ล้กหนี้ กระทำาโดยฝ่ าฝื นนั้นตกเป็ นโมฆะ
7. การเข้าว่าคดีแทนล้กหนี้ ( มาตรา 25 )
หลักเกณฑ์
1. ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้าว่าคดีแพ่งทั้งปวง อันเกี่ยวกับทรัพย์สน ิ ของล้ก
หนี้ ซง ึ่ ค้างพิจารณาอย่้ในศาลในขณะมีคำาสั่งพิทก ั ษ์ทรัพย์
2. การเข้าว่าคดีแทนล้กหนี้ เป็ นดุลพินิจของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ท่ีจะเข้าว่า
คดีต่อไปหรือไม่ก็ได้
3. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้าว่าคดีแทนล้กหนี้ ได้เฉพาะคดีแพ่งเท่านั้น จะเข้าว่า
คดีแทนในคดีอาญาไม่ได้
8. การขอรับชำาระหนี้ ( มาตรา 27 , 91 )
หลักเกณฑ์
1. เมื่อศาลมีคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของล้กหนี้ เด็ดขาดแล้ว เจ้าหนี้ จะขอรับชำาระหนี้ ได้
ก็แต่โดยปฎิบัตต ิ ามวิธีการตามพระราชบัญญัติน้ี ( ม.27)
2. เจ้าหนี้ ต้องยื่นคำาขอรับชำาระหนี้ ต่อเจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์
3. ระยะเวลาในการยื่นคำาขอรับชำาระหนี้
3.1. ภายในกำาหนด 2 เดือนนับแต่วันโฆษณาคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
3.2. กรณีเจ้าหนี้ ซึ่งอย่้นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะขยาย
กำาหนดเวลาให้อีกได้ไม่เกิน 2 เดือน
- กรณีท่ีเจ้าหนี้ อย่้นอกราชอาณาจักรขอรับชำาระหนี้ ม.91 ให้อำานาจเจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์ท่ีจะขยายกำาหนดเวลาขอรับชำาระหนี้ ได้อีกไม่เกิน ๒ เดือน โดยถือเอา
สถานที่อย่้ในช่วงเวลาประกาศให้ขอรับชำาระหนี้ ไม่ได้ถือภ้มิลำาเนาอย่้นอกราช
อาณาจักร
- เจ้าหนี้ ท่ีขอรับชำาระหนี้ เกิน ๒ เดือน และศาลมีคำาสั่งไม่รับคำาขอรับชำาระหนี้ ไป
แล้ว มีสิทธิท่ีจะนำาหนี้ ดง ั กล่าวมาขอรับชำาระหนี้ ในคดีใหม่ได้ เมื่อศาลมีคำาสั่ง
ยกเลิกการล้มละลาย ตาม ม.๑๓๕ (๑) หรือ (๒)
- การขอรับชำาระหนี้ ของเจ้าหนี้ เพื่อเป็ นการรักษาสิทธิเรียกร้องตามสัญญาไว้
9. การฟ้ องล้กหนี้ ท่ีเป็ นนิ ติบุคคลให้ล้มละลาย (มาตรา 88,89)
ในกรณีท่ีล้กหนี้ เป็ นนิ ติบค ุ คล นอกจากเจ้าหนี้ จะฟ้ องขอให้ล้มละลายเหมือนล้กหนี้
บุคคลธรรมดา ตามหลักเกณฑ์ในมาตรา 7,9 และ 10 แล้ว ผ้้ชำาระบัญชีของ
นิ ติบคุ คลนั้นเอง อาจยื่นคำาร้องขอต่อศาลขอให้ส่ง ั นิ ติบคุ คลนั้นล้มละลายได้ ดังที่
บัญญัติไว้ในมาตรา 88 ดังนี้
มาตรา 88 ในกรณีท่ีล้กหนี้ เป็ นห้างห้น ุ ส่วนสามัญซึ่งได้จดทะเบียนห้างห้น ุ ส่วน
จำากัด บริษท ั จำากัด หรือนิ ติบุคคลอื่นนอกจากเจ้าหนี้ จะฟ้ องขอให้ล้มละลายได้ตาม
ความในหมวด 1 แล้ว ผ้้ชำาระบัญชีของนิ ติบุคคลนั้น ๆ อาจยื่นคำาร้องขอต่อศาลขอ
ให้ส่ังให้นิติบุคคลนั้นล้มละลายได้ ถ้าปรากฏว่าเงินลงทุนหรือเงินค่าหุ้นได้ใช้เสร็จ
หมดแล้วสินทรัพย์กย ็ ังไม่พอกับหนี้ สิน
เมื่อศาลได้รับคำาร้องขอแล้ว ให้มีคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของนิ ติบค ุ คลนั้นเด็ดขาดโดย
ทันที และให้ท่ีประชุมเจ้าหนี้ แต่งตั้งเจ้าหนี้ คนหนึ่ งขึ้น ให้มีสิทธิและหน้าที่เสมือน
เจ้าหนี้ ผ้เป็ นโจทก์
- ที่ว่า สินทรัพย์ยง ั ไม่พอกับหนี้ สิน กฎหมายไม่ได้กำาหนดจำานวนไว้ ดังเช่นมาตรา
9 หรือมาตรา 10 แสดงว่า แม้สน ิ ทรัพย์ไม่พอกับหนี้ สินเพียงจำานวนเล็กน้อย ผ้้
ชำาระบัญชีก็ต้องร้องขอให้นิติบค ุ คลนั้นล้มละลายได้ (ฎ.1172/2521)
- เมื่อผ้้ชำาระบัญชีพิจารณาแล้วเห็นว่า เงินลงทุน หรือเงินค่าห้น ุ ได้ใช้เสร็จหมด
แล้วสินหทรัพย์ก็ยังไม่พอกับหนี้ สนิ เป็ นจำานวนมากน้อยเพียงใดก็ตามถือได้ว่าห้าง
นั้นมีหนี้ สินล้นพ้นตัว ตามนัย คำาพิพากษาฎีกาที่ 1172/2521 ผ้้ชำาระบัญชีย่อม
ร้องขอต่อศาลให้นิติบุคคลนั้นล้มละลายได้ทันที โดยศาลไม่จำาต้องกำาหนดวันนั่ง
พิจารณา และไม่จำาต้องพิจารณาให้ได้ความจริงตามมาตรา 14 แต่อย่างใด จะนำา
มาตรา 9 ซึ่งเป็ นหลักเกณฑ์ท่ัวไปมาใช้แก่กรณีน้ี ไม่ได้
- เมื่อศาลได้รับคำาร้องของผ้้ชำาระบัญชีแล้วต้องทำาการไต่สวนก่อนแล้วให้มีคำาสั่ง
พิทักษ์ทรัพย์ของนิ ติบุคคลนั้นเด็ดขาด ดังนั้นในกรณีน้ี การพิทก
ั ษ์ทรัพย์ช่ัวคราว
จึงไม่อาจมีได้

การขอให้หุ้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดล้มละลายตามห้าง ตามมาตรา 89¬


มาตรา 89 เมื่อศาลได้มีคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างห้น ุ ส่วนสามัญซึ่งได้จดทะเบียน
หรือห้างห้นุ ส่วนจำากัดแล้ว เจ้าหนี้ ผ้เป็ นโจทก์หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจมี
คำาขอโดยทำาเป็ นคำาร้องให้บค ุ คลซึง
่ นำาสืบได้ว่าเป็ นหุ้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความ
รับผิดในห้างหุ้นส่วนนั้นล้มละลายได้ โดยไม่ต้องฟ้ องเป็ นคดีขึ้นใหม่
- เหตุผลที่ให้เจ้าหนี้ ผ้เป็ นโจทก์หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ขอให้หน ุ้ ส่วนจำาพวก
ไม่จำากัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียนหรือห้างหุ้นส่วนจำากัดล้ม
ละลายตามห้างนั้น เพราะหุ้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดนั้น จะต้องรับผิดใน
หนี้ ของห้างไม่จำากัดจำานวน ตาม ป.แพ่ง มาตรา 1077

- มาตรา 89 มิใช่บทบังคับที่ห้ามมิให้โจทก์ฟ้องผ้้ถือห้น ุ ชนิ ดไม่จำากัดความรับผิดให้


ล้มละลายพร้อมกับห้างหุ้นส่วนจำากัด ดังนั้น โจทก์อาจฟ้ องผ้้ถือห้น ุ ชนิ ดไม่จำากัด
ความรับผิดให้ล้มละลายพร้อมกับห้างห้น ุ ส่วนจำากัดได้โดยไม่ต้องดำาเนิ นการตาม
มาตรา 89 (ฎ.790/2510, ฎ.79/2547)
- ในการขอให้หุ้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดล้มละลายตามห้างนั้นต้งพิส้จน์
ให้ศาลเห็นเพียงว่า บุคคลที่ถก ้ ขอให้ล้มละลายตามห้างนั้น เป็ นหุ้นส่วนจำาพวกไม่
จำากัดความรับผิดของห้าง ขณะที่มีการฟ้ องขอให้ล้มละลาย ก็เพียงพอแล้ว ไม่ต้อง
พิส้จน์ว่า บุคคลดังกล่าวมีหนี้ สน ิ ล้นพ้นตัว
- ผ้้เป็ นห้นุ ส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดำาม่มีอำานาจต่อส้้คดีและนำาสืบว่าตนมี
ทรัพย์สน ิ พอที่จะชำาระหนี้ ของห้างหรือมิใช่ผ้มีหนี้ สินล้นพ้นตัวตามมาตรา 7 ได้
(ฎ.2645/2538,ฎ.7093/2545)
- ผ้้ท่ีมิใช่หุ้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดของห้างในขณะที่มีการร้องขอให้ล้ม
ละลายตามห้าง ย่อมไม่อาจถ้กร้องขอให้ล้มละลายตามห้างได้ (ฎ.3479/2529)
- ห้นุ ส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดซึ่งออกจากห้างเกิน 2 ปี ไม่ต้องรับผิดในหนี้
ของห้างตาม ป.แพ่ง มาตรา 1068 โจทก์จึงฟ้ องหรือร้องขอให้หุ้นส่วนดังกล่าวล้ม
ละลายโดยอาศัยหนี้ ขอห้างฯ ไม่ได้ (ฎ.467/2537)
10. การขอรับชำาระหนี้ ของเจ้าหนี้ ไม่มีประกัน ( มาตรา 94 )
หลัก เจ้าหนี้ ไม่มีประกันขอชำาระหนี้ ได้ ถ้าม้ลแห่งหนี้ เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำาสั่ง
พิทักษ์ทรัพย์ แม้ว่าหนี้ น้ันยังไม่ถึงกำาหนดชำาระหรือมีเงื่อนไขก็ตาม ยกเว้น
1. หนี้ ท่ีเกิดขึ้นโดยฝ่ าฝื นข้อห้ามตามกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี หรือหนี้ ท่ีจะฟ้ อง
ร้องบังคับคดีไม่ได้ ( ม. 94(1))
2. หนี้ ซึ่งเจ้าหนี้ ยอมให้ลก ้ หนี้ กระทำาขึ้น เมื่อเจ้าหนี้ ให้ร้ถึงการที่ล้กหนี้ มห
ี นี้ สน

ล้นพ้นตัว แต่ไม่รวมถึงหนี้ ท่ีเจ้าหนี้ ยอมให้กระทำาขึ้นเพื่อให้กิจการของล้กหนี้
ดำาเนิ นต่อไปได้

- หนี้ ค่าปรับเป็ นรายวันเนื่ องจากผิดสัญญา ม้ลหนี้ ในเงินค่าปรับที่เกิดขึ้นภายหลัง


ศาลมีคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี้ ไม่มีสิทธิขอรับชำาระหนี้ แต่ส่วนที่เกิดขึ้นก่อนศาล
มีคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เจ้าหนี้ ก็มีสิทธิท่ีจะขอรับชำาระหนี้ ได้
- เช็คลงวันที่ส่ง
ั จ่ายภายหลังวันที่ศาลมีคำาสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ถือว่าม้ลหนี้ ตามเช็ค
เกิดขึ้นภายหลังศาลมีคำาสั่งพิทก ั ษ์ทรัพย์ จะนำามาชำารับชำาระหนี้ ไม่ได้
- เจ้าหนี้ ขอรับชำาระหนี้ ค่าไถ่ถอนจำานองก่อนได้ตาม ม.94 แม้ว่าหนี้ ค่าไถ่จำานอง
ดังกล่าวจะมีเงื่อนไขแลเงื่อนไขยังไม่สำาเร็จก็ตาม

หนี้ ท่ีไม่อาจขอรับชำาระหนี้ ได้


1. หนี้ ตามสัญญาประนี ประนอมยอมความที่ล้กหนี้ ได้ทำาขึ้นหลังจากศาลมีคำาสั่ง
พิทักษ์ทรัพย์ล้กหนี้ เด็ดขาดแล้ว เพราะเกิดขึ้นโดยฝ่ าฝื นข้อห้าม ตามพ.ร.บ.ล้ม
ละลาย ม.94
2. หนี้ ท่ีฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ เช่น หนี้ …้ยืมเงินที่ไม่มีหลักฐานเป็ นหนังสือ ลง
ลายมือชื่อผ้้ยืม
3. หนี้ การพนัน หรือ ขันต่อ
4. หนี้ ท่ีขาดอายุความ

¬ผลของการไม่ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้
1. ล้กหนี้ หลุดพ้นจากหนี้ ดังกล่าว เว้นแต่ต่อมาศาลจะมีคำาสั่งให้ยกเลิกการล้ม
ละลายของล้กหนี้ ตาม ม.135 (1) (2) หรือเป็ นเจ้าหนี้ ตาม ม. 77 (1) (2) ซึ่งไม่
ได้ยินยอมในการประนอมหนี้
2. การไม่ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ ไม่เป็ นเหตุให้เพิกถอนหมายบังคับคดีน้ันได้

11. การเพิกถอนการฉ้อฉล ( มาตรา 113 , 114 )


หลัก 1. ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ร้องขอเพิกถอนการฉ้อฉลซึ่งนิ ติกรรมที่ล้กหนี้
ได้กระทำาลงโดยร้้อย่้ว่าเป็ นทางให้เจ้าหนี้ เสียเปรียบ โดยเจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์
มีภาระในการพิส้จน์
2. กรณีท่ีลก ้ หนี้ กระทำานิ ติกรรมภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนมีการขอให้ล้มละลาย
และภายหลังนั้น หรือ เป็ นการให้โดยเสน่หา หรือล้กหนี้ ได้รับค่าตอบแทนน้อยเกิน
สมควร ให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนว่าเป็ นการกระทำาที่ล้กหนี้ และผ้้ได้ลาภงาอก แต่การ
นั้นร้้อย่้ว่าเป็ นทางให้เจ้าหนี้ เสียเปรียบ
3. เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องขอเพิกถอนการฉ้อฉลภายใน 1 ปี นับแต่วันที่เจ้า
หนี้ ร้ถง
ึ เหตุในการเพิกถอนการฉ้อฉล
4. เจ้าหนี้ อ่ ืนที่เสียเปรียบ ต้องมีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ ในขณะล้กหนี้ กระทำาการอันเป็ น
เหตุให้เพิกถอนได้
5. คำาร้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล เป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์
- อำานาจตาม ม.113 เป็ นอำานาจของเจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์โดยเฉพาะ ซึ่งเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องขอต่อศาลภายใน 1 ปี นับแต่วันที่เจ้าหนี้ ร้ถึงเหตุในการ
เพิกถอนการฉ้อฉล
- การร้องขอเพิกถอนการฉ้อฉล ตาม ม.113 ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ต้องฟ้ องเป็ นคดีใหม่
- การขอเพิกถอนการโอนทรัพย์สินหรือการกระทำาใดๆ ตาม ม.113 , 114
และ 115 เป็ นอำานาจของเจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์โดยเฉพาะ ดังนั้นหากเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่ร้องขอเพิกถอน เจ้าหนี้ ก็ไม่อาจร้องขอเพิกถอนได้ชอบที่
จะยื่นคัดค้านต่อศาลตาม ม. 146 (ฎ.๑๘๕๗/๒๕๔๑)
12. การเพิกถอนการชำาระหนี้ ท่ีเป็ นการให้เปรียบ ( มาตรา 115 )
หลัก 1. ต้องเป็ นการกระทำาของล้กหนี้ หรือ ล้กหนี้ ยน ิ ยอมให้กระทำา
2. ต้องเป็ นการโอนให้แก่เจ้าหนี้ ซึ่งเป็ นหนี้ อย่ก้ ่อนแล้ว และการโอนเช่นนั้นทำาให้
เจ้าหนี้ อ่ ืนของจำาเลยเสียเปรียบ
3. ล้กหนี้ กระทำาการดังกล่าวภายในระยะเวลา 3 เดือนก่อนมีการขอให้ล้มละลาย
หรือ ภายหลังจากมีการขอหรือฟ้ องให้ล้มละลาย แต่ก่อนศาลมีคำาสั่งพิทก ั ษ์ทรัพย์
4. อำานาจในการยื่นคำาร้องตาม ม.115 เป็ นอำานาจของเจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์
โดยเฉพาะ ดังนั้นหากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีความเห็นไม่เพิกถอน เจ้าหนี้ ร้อง
คัดค้านคำาสั่งต่อศาลได้ แต่จะยื่นคำาร้องขอเพิกถอนเองไม่ได้
- การที่ลก ้ หนี้ กระทำาหรือยินยอมให้เจ้าหนี้ กระทำาในระหว่างระยะเวลา 3 เดือน
ก่อนมีการขอให้ล้มละลาย โดยไม่ต้องด้การกระทำาของผ้้รับโอนด้วย ดังนั้นแม้ผ้รับ
โอนจะลงชื่อในฐานะผ้้รับโอนระหว่าง 3 เดือนก่อนมีการขอให้ล้มละลายก็ตาม ก็
ขอเพิกถอนการโอนไม่ได้
- การเพิกถอนการโอนหรือการกระทำาตามมาตรา 115 ไม่กระทบถึงสิทธิของ
บุคคลภายนอกอันได้มาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทนก่อนมีการขอให้ล้มละลาย แต่
เจ้าหนี้ มิใช่บค
ุ คลภายนอก ดังนั้นแม้ได้รับโอนทรัพย์สินดยเสียค่าตอบแทนและ
สุจริตก็ไม่ได้รับความคุ้มครองตาม ม. 116 ( ฎ.๒๖๒๖/๒๕๔๒ )

13. การทวงหนี้ ( มาตรา 119 )


หลัก 1. ในกรณีบุคคลภายนอกรับว่าเป็ นหนี้ ลก ้ หนี้ หรือมีทรัพย์สน ิ ของล้กหนี้ อย่้
ในความครอบครอง เจ้าพนักงานทวงหนี้ ตาม ม.118
2. ในกรณีบุคคลภายนอกไม่ยอมรับว่าเป็ นหนี้ ล้กหนี้ หรือมัทรัพย์สน ิ ของล้กหนี้ อย่้
ในความครอบครอง โดยมีข้ันตอนการทวงหนี้ ตาม ม.119 ดังนี้ .-
2.1.เจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์จะต้องแจ้งความเป็ นหนังสือไปยังบุคคลนั้นให้ชำาระ
เงิน หรือส่งมอบทรัพย์สน ิ และแจ้งไปด้วยว่า ถ้าจะปฎิเสธหนี้ ให้ปฎิเสธเป็ นหนังสือ
มายังเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายใน 14 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ มิฉะนั้น
ถือว่าเป็ นหนี้ กองทรัพย์สน ิ ของล้กหนี้ ตามจำานวนหนี้ ท่ีแจ้ง
2.2.เมื่อมีหนังสือปฎิเสธหนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องทำาการสอบสวนดังนี้ .-
2.2.1.สอบสวนได้ความว่าผ้้ถก ้ ทวงหนี้ เป็ นหนี้ จริง ให้มีหนังสือยืนยันหนี้
2.2.2.สอบสวนไม่ได้ความผ้้ถ้กทวงหนี้ เป็ นหนี้ จริงให้จำาหน่ ายชื่อจากบัญชีล้กหนี้
ซึ่งล้กหนี้ เจ้าหนี้ หรือผ้้มีส่วนได้เสียร้องคัดค้านคำาสั่งดังกล่าวได้ ตาม ม.146
2.3.ผ้้ถก ้ ยืนยันหนี้ จะต้องร้องคัดค้านต่อศาลภายใน 14 วันมิฉะนั้นถือว่าเป็ นหนี้
เด็ดขาด
3. ผ้ถ้ ้กทวงหนี้ มีสิทธิขอขยายระยะเวลาในการปฎิเสธได้
4. การทวงหนี้ ทำาให้อายุความสะดุดหยุดลง
5. การปฎิเสธหนี้ ต้องปฎิเสธต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะปฎิเสธต่อศาลไม่ได้
- เมื่อปรากฏว่าล้กหนี้ มีสิทธิเรียกร้องให้บค ุ คลอื่นชำาระเงิน หรือ ส่งมอบทรัพย์สน ิ
เจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์จะทำาการทวงหนี้ ไปยังบุคคลดังกล่าว โดยแจ้งเป็ น
หนังสือ หากบุคคลดังกล่าวปฎิเสธหนี้ ต่อเจ้านักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์ เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์ต้องทำาการสอบสวนและมีคำาสั่งยืนยันหนี้ หรือจำาหน่ ายชื่อจากบัญชี
ล้กหนี้ หากเจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์มีคำาสั่งจำาหน่ ายชื่อ เจ้าหนี้ หรือล้กหนี้ มส
ี ิทธิ
คัดค้านคำาสั่งดังกล่าวได้ตาม ม.146
- กรณีศาลมีคำาสั่งกลับคำาสั่งจำาหน่ ายชื่อของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ต้องถือว่า
เจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์ เห็นว่าบุคคลนั้นเป็ นหนี้ ล้กหนี้ เจ้าพนักงานพิทก ั ษ์
ทรัพย์จง ึ มีหน้าที่ต้องยืนยันหนี้ ไปยังบุคคลดังกล่าวและแจ้งให้คัดค้านคำาสั่งภายใน
14 วัน
- ในกรณีท่ีบุคคลภายนอกนั้นยื่นคำาร้องคัดค้านตามมาตรา 119 วรรคสาม ศาล
ต้องพิจารณาเป็ นที่พอใจว่าผ้้ร้องเป็ นหนี้ หรือไม่ ซึง ่ การพิจารณาของศาลบุคคลดัง
กล่าวมีสิทธิท่ีจะนำาพยานหลักฐานมานำาสืบให้ศาลเห็นว่าตนมิได้เป็ นหนี้ ลก ้ หนี้ ได้
- การที่บุคคลได้รับหนังสือทวงหนี้ จากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ มิได้ปฎิเสธ
ภายในกำาหนด 14 วันนับแต่วน ั ได้รับแจ้งความ ถือว่าเป็ นหนี้ กองทรัพย์สินของเจ้า
หนี้ เป็ นการเด็ดขาด และถือเสมือนเป็ นล้กหนี้ ตามคำาพิพากษา
- เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ชอบที่จะร้องขอให้ศาลออกหมายบังคับคดี โดยไม่ต้อง
ฟ้ องเป็ นคดีใหม่ เนื่ องจากถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็ นเสมือนล้กหนี้ ตามคำาพิพากษา
14. การยกเลิกการล้มละลาย ( มาตรา 135 , 136 )
หลักเกณฑ์ 1. เจ้าพนักงานพิทก ั ษ์ทรัพย์ไม่อาจดำาเนิ นการให้ได้ผล
2. ล้กหนี้ ไม่ควรถ้กพิพากษาให้ล้มละลาย
3. หนี้ สน ิ ของบุคคลล้มละลายได้ชำาระเต็มจำานวนแล้ว
4. เมื่อไม่มีทรัพย์จะแบ่งให้แก่เจ้าหนี้ แล้ว
5. ผลของการยกเลิกการล้มละลาย ตาม ม.135( 1 ) หรือ ( 2 ) ไม่ทำาให้ลก ้ หนี้
หลุดพ้นหนี้ สน ิ แต่อย่างใด ( ม.136 )
- การสั่งยกเลิกการล้มละลาย ตาม ม.135( 1 ) หรือ ( 2 ) ไม่ทำาให้ลก ้ หนี้ หลุดพ้น
หนี้ สิน แม้ว่าม้ลหนี้ ดังกล่าวเจ้าหนี้ จะมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ ไว้ก็ตาม
15. การปลดจากล้มละลาย ( มาตรา 71 , 81/1 )
หลักเกณฑ์ 1. ศาลมีคำาสั่งปลดจากล้มละลาย เมื่อ
1.1.ได้แบ่งทรัพย์สินชำาระให้แก่เจ้าหนี้ ท่ีได้ขอรับการชำาระหนี้ ไว้แล้ว ไม่นอ ้ ยกว่า
ร้อยละ 50
1.2.ไม่เป็ นบุคคลล้มละลายทุจริต
2. การปลดจากล้มละลายเมื่อพ้นกำาหนดระยะเวลา 3 ปี นับแต่วน ั ที่ศาลได้
พิพากษาให้ล้มละลาย ( มาตรา 81/1 )ซึ่งใช้บง ั คับเฉพาะบุคคลธรรมดา เว้นแต่
2.1.บุคคลนั้นได้เคยถ้กพิพากษาให้ล้มละลายมาก่อนแล้ว และยังไม่พ้นระยะเวลา
5 ปี นับแต่วันที่ศาลได้พิพากษาให้ล้มละลายครั้งก่อนจนถึงครั้งหลังให้ขยายระยะ
เวลาเป็ น 5 ปี
2.2.บุคคลนั้นเป็ นบุคคลล้มละลายทุจริตที่ไม่มีลักษณะตาม ข้อ 3 ให้ขยายระยะ
เวลาเป็ น 10 ปี
2.3.บุคคลนั้นเป็ นบุคคลล้มละลาย อันเนื่ องมาจากหรือเกี่ยวเนื่ องกับการกระ
ทำาความผิดอันมีลักษณะเป็ นการ…้ยืมเงินที่เป็ นการฉ้อโกงประชาชน ตาม
กฎหมายว่าด้วยการ…้ยืมเงินที่เป็ นการฉ้อโกงประชาชน ให้ขยายระยะเวลาเป็ น
10 ปี
3. ผลจากการปลดจากล้มละลาย ( มาตรา 77 ) ทำาให้บค ุ คลล้มละลายหลุดพ้น
จากหนี้ ท้ังปวง อันพึงขอรับชำาระหนี้ ได้ เว้นแต่
3.1.หนี้ เกี่ยวกับภาษีอากร หรือ จังกอบของรัฐบาล หรือเทศบาล
3.2.หนี้ ซงึ่ ได้เกิดขึ้นโดยความทุจริตฉ้อโกงของบุคคลล้มละลาย หรือหนี้ ซึ่งเจ้าหนี้
ได้เรียกร้องเนื่ องจากความทุจริตฉ้อโกง ซึง ่ บุคคลล้มละลายมีส่วนเกี่ยวข้องสมร้้
16. การพ้นจากการเป็ นบุคคลล้มละลาย ( มาตรา 35 )
หลักเกณฑ์ – ให้ลก ้ หนี้ พ้นจากการเป็ นบุคคลล้มละลายเมื่อครบ 3 ปี นับแต่วน ั ที่
ศาลมีคำาพิพากษาให้เป็ นบุคคลล้มละลาย

มาตราที่จะนำามาออกของมสธ.มีอย่2
้ ชุดๆที่1 คือ
มาตรา 6+7+8+9+10+14+150 ชุดที่2 คือมาตรา 92+94+96+101

This entry was posted on วันอังคาร, ตุลาคม 30th, 2007 at 4:04 pm and is filed under
41342 กม.วิธีสบัญญัติ 2. You can follow any responses to this entry through the
RSS 2.0 feed. Responses are currently closed, but you can trackback from
your own site.

• คลังเก็บ
o พฤศจิกายน 2007
o ตุลาคม 2007
• หมวดหมู่
o 40101 ความร้้เบื้องต้น
o 41201 กฎหมายมหาชน
o 41211 กฎหมายแพ่ง 1
o 41212 กฎหมายแพ่ง 2
o 41213 กม.ทรัพย์สิน
o 41231 กฎหมายอาญา 1
o 41232 กฎหมายอาญา 2
o 41311 กฎหมายแพ่ง 3
o 41321 กฎหมายพาณิชย์ 1
o 41322 กฎหมายพาณิชย์ 2
o 41323 กฎหมายพาณิชย์ 3
o 41324 กฎหมายพาณิชย์ 4
o 41341 กม.วิธีสบัญญัติ 1
o 41342 กม.วิธีสบัญญัติ 2
o 41343 กม.วิธีสบัญญัติ 3
o 41451 กม.ระหว่างประเทศ
o ข่าว ประกาศ

Theme Contempt by Vault9.


บลอกที่ WordPress.com .

You might also like