You are on page 1of 12

การแปลความ

• พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2
525 (2525:540)ให้ความหมายว่า
"แปล"ไว้ว่า "ก.ถ่ายความหมายจากภาษา
หนึ่ ง ทำาให้เข้าใจความหมาย"
สรุปความหมาย"การแปลความ"ได้ว่า หมายถึง การอ่าน

ที่มุ่งให้เกิดความเข้าใจกับเนื้ อหา เริม
่ จากการแปลคำาหรือศัพท์ท่ี
ไม่ร้ความหมาย หรือเป็ นการแปลศัพท์จากภาษาหนึ่ งไปยังอีก
ภาษาหนึ่ ง การถอดคำาประพันธ์ แปลความหมายร้ปภาพ
เครื่องหมายต่างๆ
»การตีความ
หมายถึง การอ่าน
ที่พยายามหา
สิ่งที่ซอ
่ นเร้นอย่้ในข้อเขียนหรือ
อากัปกิรย ิ าท่าทาง สีหน้า แวว
ตา นำ้าเสียง เพื่อทราบความ
หมายหรือเจตนาที่แท้จริง
ทีแ
่ ฝงเร้นอย่้ ถ้าเป็ นการสื่อความ
ธรรมดาก็คงไม่ต้องตีความ แต่
ถ้าอากัปกิรย
ิ าท่าทางกับคำาพ้ดขัด
แย้งกัน ผ้้อ่านจะต้องค้นหา
ความจริงว่า เจตนาทีแ ่ ท้จริง
หมายถึงอะไรแน่
• การขยายความ
คือ การนำารายละเอียดมา
พ้ดหรืออธิบายเสริมความ
คิดหลักหรือประเด็นสำาคัญ
ของเรื่องให้ชัดเจนแจ่ม
แจ้งขึ้น
อาจเป็ นการให้ข้อม้ลเพิ่มเติม ให้
เหตุผลยกตัวอย่างประกอบ หรือ
มีการอ้างอิงเปรียบเทียบให้ได้เนื้ อ
ความกว้างขวางออกไป จนเป็ นที่
เข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น
ความสำาคัญของการอ่านตีความ

ช่วยให้ผอ
้ ่านเข้าใจเรือ
่ งทีอ
่ ่านได้หลายด้านหลายมุม

ทำาให้เห็นคุณค่าและได้รับประโยชน์จากสิง่ ทีอ
่ ่าน

– ช่ ว ยฝึ กการคิ ด
–ไตร่ตรองหาเหตุผล
– ทำ า ให้ ม ี ว จ
ิ ารณญาณในการอ่ า น
• ประเภทของการอ่าน
ตีความ 
แบ่งออกได้เป็ น 2
ประเภท คือ
• 1. การอ่านออกเสียงอย่างตีความ
(การอ่านตีบท) เป็ นการอ่านแบบทำา
เสียงให้สมบทบาท ใส่อารมณ์กับบท
ที่อ่านและความร้ส
้ ึก
ให้เหมาะสม
• 2. การอ่านตีความเป็ นการอ่าน
ทีต ่ ้องศึกษาทำาความเข้าใจงาน
เขียนทุกแง่ทุกมุมเพื่อตีความเป็ น
พื้ นฐานของการอ่านออกเสียง
อย่างตีความ

You might also like