You are on page 1of 5

กฎหมายแพ่ง 2 ที่ผมนำามานี้เป็ นข้อสอบของ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2552 ที่ผ่านมา

คำาถามอาจจะผิดเพี้ยนไปบ้างก็ขออภัย ณ ที่น้ี ด้วย


และถ้าผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วย
ผมเอามาลงเพื่อเป็ นประโยชน์ต่อเพื่อนๆนะครับ
ถ้าเพื่อนๆ คนใดมีความคิดเห็นหรือมีรายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายแพ่ง 2 ก็โปรดช่วยกันนำามาลงด้วยนะครับ

กฎหมายแพ่ง 2
ข้อสอบวิชากฎหมายแพ่ง 2 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2552
1. ดาวยืมรถเดือนไปเที่ยวงานวันลอยกระทง แต่หลังเสร็จงานลอยกระทง ดาวยังไม่ส่งคืนกลับนำาไปใช้ส่วนตัวต่ออีก 1
สัปดาห์ ระหว่างนั้นฝนตกหนักฟ้ าผ่ารถของเดือนพังทั้งคัน ดาวปฏิเสธว่าไม่ใช่ความผิดของตน เป็ นเหตุสุดวิสย
ั เดือน
มาปรึกษาท่าน ๆ จะให้คำาแนะนำาเดือนว่าอย่างไร
ตามหลักกฎหมายกล่าวว่า (มาตรา 203 วรรค 2)ในหนี้ มีกำาหนดชำาระ ถ้าหากกรณีเป็ นที่สงสัย
ท่านให้สันนิ ฐานไว้ก่อนว่าเจ้าหนี้ จะเรียกให้ชำาระหนี ก่อนถึงเวลานั้นหาไห้ไม่ แต่ฝ่ายลูกหนี้ จะชำาระก่อน
กำาหนดก็ได้ (มาตรา 204 วรรค 2)ถ้าได้กำาหนดเวลาชำาระหนี้ ไว้ตามวันแห่งปฎิทินและลูกหนี้ มิได้ชำาระหนี้ ตามกำา
หนดไซร์ ท่านว่าลูกหนี้ ตกเป็ นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้องเตือนเลย วิธเี ดียวกันนี้ ท่านให้ใช้บังคับแก่กรณี ที่ต้องบอกกล่าวล่วง
หน้าก่อนการชำาระหนี้ ซึ่งได้กำาหนดเวลาลงไว้อาจคำานวณนับได้โดยปฎิทินนับแต่เวลาที่ได้บอกกล่าว (มาตรา 217)ลูก
หนี้ จะต้องรับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่เกิดแต่ความประมาทเลินเล่อในระหว่างที่ตนผิดนัด ทั้งจะต้องรับผิดใน
การที่การชำาระหนี้ กลายเป็ นพ้นวิสัยเพราะอุบัตเิ หตุอน
ั เกิดขึ้นในระหว่างที่ผิดนัดด้วย เว้นแต่ความเสียหายนั้นถึงแม้ว่า
ถึงแม้ว่าตนจะได้ชำาระหนี้ ทันเวลากำาหนดก็คงจะต้องเกิดมีอย่น
ู ้ันเอง
ตามเหตุการณ์พอจะอนุมานจากพฤติการณ์ได้ว่าเป็ นหนี้ มีกำาหนดชำาระคือหลังจากเสร็จงาน
ลอยกระทงดาวจะต้องส่งรถคืนในทันทีโดยที่ไม่ต้องเตือนเลย การที่ดาวยังไม่ส่งคืนกลับนำาไปใช้ส่วนตัวต่ออีก 1
สัปดาห์ถือว่าดาวผิดนัด ดังนั้นเมื่อมีเหตุการณ์ฟ้าผ่ารถของเดือนพังทั้งคัน แม้จะเป็ นเหตุสุดวิสัย ดาวก็ต้องรับผิดชอบ
ในความเสียหายบรรดาที่เกิดแต่ความประมาทเลินเล่อในระหว่างที่ตนผิดนัด ทั้งจะต้องรับผิดในการที่การชำาระหนี้
กลายเป็ นพ้นวิสย

ไม่เห็นด้วยกับดาวที่อ้างว่าเป็ นเหตุสุดวิสัย ดาวจะต้องรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้น

2. แดง ขาว นำ้าเงิน ร่วมกันยืมเงินดำา 60,000 บาท ต่อมาดำายกหนี้ ให้น้ ำาเงิน 20,000 บาท และเมื่อถึงกำาหนดชำาระ
ไม่มีใครชำาระ ดำาจึงไปเรียกเอากับนำ้าเงิน นำ้าเงินอ้างว่าดำาได้ยกหนี้ ให้ตนแล้ว ให้ดำาไปเรียกเอาจากแดง และ ขาว ท่าน
เห็นด้วยกับข้ออ้างของนำ้าเงินหรือไม่
ตามหลักกฎหมาย(มาตรา 291)ถ้าบุคคลหลายคนจะต้องทำาการชำาระหนี้ โดยทำานองซึ่งแต่ละคน
จำาต้องชำาระหนี้สิ้นเชิงไซร้ ถึงแม้ว่าเจ้าหนี้ ชอบที่จะได้ชำาระหนี้ สิ้นเชิงได้เพียงครั้งเดียว(กล่าวคือลูกหนี้ ร่วมกัน)ก็ดี เจ้า
หนี้ จะเรียกชำาระหนี้ จากลูกหนี้ แต่คนใดคนหนึ่ งสิ้นเชิงหรือแต่โดยส่วนก็ได้ ตามแต่จะเลือกแต่ลูกหนี้ ท้ังปวงก็ยังคงต้อง
ผูกพันอยู่ท่ัวทุกคนจนกว่าหนี้ น้ันจะได้ชำาระเสร็จสิ้นเชิง (มาตรา 293)การปลดหนี้ ให้แก่ลก
ู หนี้ ร่วมกันคนใดคนหนึ่ งนั้น
ย่อมเป็ นไปเพื่อประโยชน์แก่ลูกหนี้ คนอื่นๆ เพียงเท่าส่วนของลูกหนี้ ท่ีได้ปลดให้ เว้นแต่จะได้ตกลงกันเป็ นอย่างอื่น (มา
ตรา 296)ในระหว่างลูกหนี้
ร่วมกันทั้งหลายนั้น ท่านว่าต่างคนต่างต้องรับผิดเป็ นส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่จะได้กำาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ถ้าส่วนที่ลูกหนี้
ร่วมกันคนใดคนหนึ่ งจะพึงชำาระนั้นเป็ นอันจะเรียกเอาจากคนนั้นไม่ได้ไซร์ ยังขาดจำานวน
อย่เู ท่าไรลูกหนี้ คนอื่นๆ ซึ่งจำาต้องออกส่วนด้วยนั้นก็ตอ
้ งรับใช้ แต่ถ้าลูกหนี้ ร่วมกันคนใดเจ้าหนี้ ได้ปลด ให้หลุดพ้นจาก
หนี้ อันร่วมกันแล้วส่วนที่ลูกหนี้ คนนั้นจะพึงต้องชำาระหนี้ ก็ตกเป็ นพับแก่เจ้าหนี้ ไป
ตามเหตุการณ์การที่แดง ขาว นำ้าเงิน ร่วมกันยืมเงินดำา 60,000 บาท ถือได้ว่าเป็ นลูกหนี้ร่วม ต่างคนต่างต้องรับผิด
เป็ นส่วนเท่าๆ กันคือคนละ 20,000 บาท และการที่ดำายกหนี้ ให้น้ ำาเงิน 20,000 บาทย่อมเป็ น ประโยชน์แก่ลูกหนี้ คน
อื่นๆ เพียงเท่าส่วนของนำ้าเงินคือ 20,000 บาทซึ่งตกเป็ นพับแก่เจ้าหนี้ ไป ดังนั้นยังเหลือหนี้ ท่ีค้างชำาระ 40,000 บาท
ที่แดงและขาวจะต้องชำาระให้แก่ดำาคนละ 20,000 บาท ซึ่งดำาจะมาเรียกกับนำ้าเงินอีกไม่ได้เพราะได้ปลดหนี้ ให้แล้วและ
ไม่ได้ตกลงกันเป็ นอย่างอื่น
เห็นด้วยกับข้ออ้างของนำ้าเงิน ซึ่งดำาจะมาเรียกกับนำ้าเงินอีกไม่ได้ ดำาจะต้องไปเรียกเอาส่วนที่ค้างชำาระ 40,000 บาท
จากแดงและขาวคนละ 20,000 บาท

3. แดงและเหลือง เป็ นเพื่อนกัน แดงฝากสุนัขไว้ให้เหลืองดูแล นำ้าเงินเดินผ่านมา เหลืองแหย่สุนัขให้กัดนำ้าเงิน แต่สุนัข


ตัวเล็กเลยกัดไม่เข้า นำ้าเงินโกรธจึงจะฟ้ อง แดงมาปรึกษาท่าน ๆ จะแนะนำาอย่างไร
ตามหลักกฎหมายกล่าวว่า (มาตรา 420)ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำาต่อบุคคลอื่นโดย
ผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิ อย่างหนึ่ งอย่างใดก็
ดี ท่านว่าผู้น้ันทำาละเมิดจำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
ตามเหตุการณ์การที่เหลืองแหย่สุนัขให้กัดนำ้าเงินเป็ นการที่ดำาทำาละเมิดต่อนำ้าเงินโดยใช้สัตว์เป็ นเครื่องมือถึงแม้ว่าสุนัข
จะกัดนำ้าเงินไม่เข้าก็ตาม ดำาจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้กับนำ้าเงินเพราะ
เป็ นผู้ทำาละเมิด ซึ่งไม่เกี่ยวข้องว่าเจ้าของสัตว์หรือบุคคลผ้ร
ู ับฝากจะเป็ นใคร
แดงไม่เกี่ยวข้องถึงแม้ว่าจะเป็ นเจ้าของสัตว์ ดำาจะต้องช้ค่าสินไหมทดแทนให้กับนำ้าเงิน
เพราะเป็ นผู้ทำาละเมิด

หวัดดีครับ ท่านยิ่ง ผมเห็นด้วยครับ แต่มีข้อแย้ง ข้อ 1


จากคำาถามที่1. ดาวยืมรถเดือนไปเที่ยวงานวันลอยกระทง แต่หลังเสร็จงานลอยกระทง
ดาวยังไม่ส่งคืนกลับนำ าไปใช้ส่วนตัวต่ออีก 1 สัปดาห์ ระหว่างนั ้นฝนตกหนั กฟ้ าผ่ารถ
ของเดือนพังทัง้ คัน ดาวปฏิเสธว่าไม่ใช่ความผิดของตน เป็ นเหตุสุดวิสัย เดือนมา
ปรึกษาท่าน ๆ จะให้คำาแนะนำ าเดือนว่าอย่างไร
ลองตอบด้วยความเคารพ
ปพพ. มาตรา 203
ถ้า เวลา อันจะพึงชำาระหนี้นั้น มิได้กำาหนดลงไว้ หรือ จะอนุมาน จากพฤติการณ์ทัง้ ปวง
ก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่า เจ้าหนี้ ย่อมจะเรียกให้ ชำาระหนี้ได้ โดยพลัน และ ฝ่ ายลูกหนี้ ก็ย่อม
จะ ชำาระหนี้ของตนได้ โดยพลัน ดุจกัน
ถ้า ได้กำาหนดเวลาไว้ แต่หาก กรณี เป็ นที่สงสัย ท่านให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนว่า เจ้าหนี้ จะ
เรียกให้ชำาระหนี้ ก่อนถึงเวลานั ้น หาได้ไม่ แต่ ฝ่ ายลูกหนี้ จะชำาระหนี้ ก่อนกำาหนดนั ้น
ก็ได้
เมื่อเรามาปรับตัวบทใหม่ ตามมาตรา 203 จะได้ความ หากไม่สามารถคาดเดาได้ว่าหนี้
นั ้นเขาจะยืมไปถึงตอนไหน เจ้าหนี้และลูกหนี้ จะเรียกคืนหรือใช้คน ื แก่กันเมื่อใดก็ได้
แต่หากคาดเดาได้ว่าหนี้นั้นมีการยืมเพื่อจุดประสงค์เช่นใดแล้ว ห้ามมิให้เจ้าหนี้เรียก
ชำาระก่อนเวลาอันคาดเดา(อนุมาน)ในการยืมเช่นว่านั ้น
กรณี การอนุมานได้ ถือว่ามีกำาหนดเวลาชำาระที่คาดเดาได้ตามการอนุมาน เช่น กรณี ตาม
โจทย์ ดาวยืมรถเดือนไปเที่ยวงานวันลอยกระทง ย่อมอนุมานได้ว่าถึงกำาหนดชำาระเมื่อ
ลอยกระทงเสร็จ แต่มิได้หมายความว่าหนี้ท่ีถึงกำาหนดเวลาชำาระแล้วนั ้นทำาลูกหนี้
ผิดนั ดทันที เพราะ มาตรา 204 กำาหนดว่า
ปพพ. มาตรา 204
ถ้า หนี้ถึงกำาหนดชำาระแล้ว และ ภายหลังแต่นั้น เจ้าหนี้ ได้ให้คำาเตือน ลูกหนี้ แล้ว ลูก
หนี้ ยังไม่ชำาระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ ได้ช่ ือว่า ผิดนั ด เพราะเขาเตือนแล้ว
ถ้า ได้กำาหนด เวลาชำาระหนี้ ไว้ตาม วันแห่งปฏิทิน และ ลูกหนี้ มิได้ชำาระหนี้ ตาม
กำาหนดไซร้ ท่านว่า ลูกหนี้ ตกเป็ นผู้ผิดนั ด โดยมิพักต้องเตือนเลย วิธีเดียวกันนี้ ท่าน
ให้ใช้บังคับ แก่กรณี ท่ี ต้องบอกกล่าว ล่วงหน้ า ก่อนการชำาระหนี้ ซึ่ง ได้กำาหนดเวลาลง
ไว้ อาจคำานวณนั บได้ โดยปฏิทน ิ นั บแต่ วันที่ได้บอกกล่าว
เห็นกรณี คำาว่า ถ้า หนี้ถึงกำาหนดชำาระแล้ว และ ภายหลังแต่นั้น เจ้าหนี้ ได้ให้คำาเตือน
หมายถึง หากหนี้ท่ีอนุมานได้ตามมาตรา 203 ถึงกำาหนดชำาระ เจ้าหนี้ต้องเตือนก่อน
และ เมื่อเตือนให้ชำาระหนี้ แล้ว ลูกหนี้ ยังไม่ชำาระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ ได้ช่ ือว่า ผิดนั ด เพราะ
เขาเตือนแล้ว หมายถึงลูกหนี้ จะผิดนั ดได้ก็แต่เฉพาะเมื่อหนี้ถึงกำาหนดเวลาชำาระแล้ว
เจ้าหนี้ได้เตือนแล้วว่าให้ใช้ตามเวลาใด
ข้อยกเว้น วิธีเดียวกันนี้ ท่านให้ใช้บังคับ แก่กรณี ท่ี ต้องบอกกล่าว ล่วงหน้ า ก่อนการ
ชำาระหนี้ ซึ่ง ได้กำาหนดเวลาลงไว้ อาจคำานวณนั บได้ โดยปฏิทน ิ นั บแต่ วันที่ได้บอก
กล่าว

หมายความว่า ยกเว้นหากกำาหนดเวลาไว้ตามปฏิทิน ไม่ต้องเตือนก็ผิดนั ดได้ เช่น


กำาหนดว่า ยืมไป จะคืนวันที่ 17 ม.ค.53 เช่นนี้หากเลยกำาหนดลูกหนี้ผิดนั ดทันที่โดย
มิพักต้องเตือน
- วิธีเดียวกันนี้ ท่านให้ใช้บังคับ แก่กรณี ท่ี ต้องบอกกล่าว ล่วงหน้ า ก่อนการชำาระหนี้
ซึ่ง ได้กำาหนดเวลาลงไว้ อาจคำานวณนั บได้ โดยปฏิทิน นั บแต่ วันที่ได้บอกกล่าว
หมายถึง หากกำาหนดระยะเวลาชำาระ ซึ่งอาจคำานวณนั บได้ก็มิพักต้องเตือน เช่น นาย ก
บอกว่าอีก 3 วันให้นำาเงินมาชำาระด้วย ถือว่าอาจคำานวณนั บได้ตามปฏิทินโดยมิพักต้อง
เตือนก็ตกเป็ นผิดนั ด และกรณี เช่นนี้ ให้ร่วมถึง เจ้าหนี้บอกกล่าวการทวงด้วย
ดังนั ้น จึงสรุปได้ว่า มาตรา 203 กำาหนดมาเพื่อห้ามเจ้าหนี้ทวงหนี้ก่อนหากอนุมาน
จากพฤติกรรมได้ และมาตรา 204 คือบทกำาหนดการปฏิบัติของการชำาระหนี้
คราวนี้มาดู ตามโจทย์ ดาวยืมรถเดือนไปเที่ยวงานวันลอยกระทง แต่หลังเสร็จงานลอย
กระทง ดาวยังไม่ส่งคืนกลับนำ าไปใช้ส่วนตัวต่ออีก 1 สัปดาห์ ระหว่างนั ้นฝนตกหนั ก
ฟ้ าผ่ารถของเดือนพังทัง้ คัน ดาวปฏิเสธว่าไม่ใช่ความผิดของตน เป็ นเหตุสุดวิสัย เดือน
มาปรึกษาท่าน ๆ จะให้คำาแนะนำ าเดือนว่าอย่างไร
ตามโจทย์อา้ งมาตราดังนี้
ปพพ. มาตรา 203
ถ้า เวลา อันจะพึงชำาระหนี้นั้น มิได้กำาหนดลงไว้ หรือ จะอนุมาน จากพฤติการณ์ทัง้ ปวง
ก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่า เจ้าหนี้ ย่อมจะเรียกให้ ชำาระหนี้ได้ โดยพลัน และ ฝ่ ายลูกหนี้ ก็ย่อม
จะ ชำาระหนี้ของตนได้ โดยพลัน ดุจกัน
ถ้า ได้กำาหนดเวลาไว้ แต่หาก กรณี เป็ นที่สงสัย ท่านให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนว่า เจ้าหนี้ จะ
เรียกให้ชำาระหนี้ ก่อนถึงเวลานั ้น หาได้ไม่ แต่ ฝ่ ายลูกหนี้ จะชำาระหนี้ ก่อนกำาหนดนั ้น
ก็ได้
ปพพ. มาตรา 204
ถ้า หนี้ถึงกำาหนดชำาระแล้ว และ ภายหลังแต่นั้น เจ้าหนี้ ได้ให้คำาเตือน ลูกหนี้ แล้ว ลูก
หนี้ ยังไม่ชำาระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ ได้ช่ ือว่า ผิดนั ด เพราะเขาเตือนแล้ว
ถ้า ได้กำาหนด เวลาชำาระหนี้ ไว้ตาม วันแห่งปฏิทิน และ ลูกหนี้ มิได้ชำาระหนี้ ตาม
กำาหนดไซร้ ท่านว่า ลูกหนี้ ตกเป็ นผู้ผิดนั ด โดยมิพักต้องเตือนเลย วิธีเดียวกันนี้ ท่าน
ให้ใช้บังคับ แก่กรณี ท่ี ต้องบอกกล่าว ล่วงหน้ า ก่อนการชำาระหนี้ ซึ่ง ได้กำาหนดเวลาลง
ไว้ อาจคำานวณนั บได้ โดยปฏิทน ิ นั บแต่ วันที่ได้บอกกล่าว
ปพพ. มาตรา 217
ลูกหนี้ จะต้องรับผิดชอบ ในความเสียหาย บรรดาที่เกิดแต่ ความประมาทเลินเล่อ ใน
ระหว่างเวลา ที่ตนผิดนั ด ทัง้ จะต้องรับผิดชอบ ในการที่ การชำาระหนี้ กลายเป็ น พ้นวิสัย
เพราะอุบัติเหตุ อันเกิดขึ้น ในระหว่างเวลา ที่ผิดนั ดนั ้นด้วย เว้นแต่ ความเสียหายนั ้น
ถึงแม้ว่า ตนจะได้ชำาระหนี้ ทันเวลากำาหนด ก็คงจะต้อง เกิดมีอยู่นั่นเอง
วินิจฉั ยตามคำาถาม ดาวยืมรถเดือนไปเที่ยวงานวันลอยกระทง ถือว่าเป็ นหนี้ท่ี จะ
อนุมาน จากพฤติการณ์ได้ กล่าวคือหนี้ถึงกำาหนดชำาระเมื่องานลอยกระทงเสร็จ ตาม
มาตรา 203 วรรคแรก แต่หาได้หมายความว่าการที่ หลังเสร็จงานลอยกระทง ดาวยังไม่
ส่งคืนกลับนำ าไปใช้ส่วนตัวต่ออีก 1 สัปดาห์ เป็ นการผิดนั ด เพราะตามมาตรา 204
กำาหนดว่า ถ้าหนี้ถึงกำาหนดชำาระแล้ว และ ภายหลังแต่นั้น เจ้าหนี้ ได้ให้คำาเตือน ลูกหนี้
แล้ว ลูกหนี้ ยังไม่ชำาระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ ได้ช่ ือว่า ผิดนั ด เพราะเขาเตือนแล้ว การที่เดือน
มิได้ทวงถามให้ชำาระตามวันเวลาที่สมควรแม้หนี้ถึงกำาหนดชำาระแล้วก็ตามแต่ยังมิอาจ
ถือว่าเดือนผิดนั ด เพราะมาตรา 203 เป็ นบทกำาหนดห้ามทวงหนี้กอ ่ นการอนุมานได้
เท่านั ้นหาได้หมายถึงการผิดนั ดของลูกหนี้แต่อย่างใด การที่นางเดือนไม่ทวงถามให้
ชำาระจึงยังไม่ถือว่าหนี้ถึงกำาหนดชำาระ แม้ข้อเท็จจริงตามโจทย์จะกล่าวว่า ระหว่างนั ้นฝน
ตกหนั กฟ้ าผ่ารถของเดือนพังทัง้ คัน ก็ไม่ต้องด้วยมาตรา ปพพ. มาตรา 217 ดังที่กล่าว
ว่า ลูกหนี้ จะต้องรับผิดชอบ ในความเสียหาย บรรดาที่เกิดแต่ ความประมาทเลินเล่อ ใน
ระหว่างเวลา ที่ตนผิดนั ดในการที่ การชำาระหนี้ กลายเป็ น พ้นวิสัย เพราะอุบัตเิ หตุ อัน
เกิดขึ้น ในระหว่างเวลา ที่ผิดนั ดนั ้นด้วย เพราะเมื่อเจ้าหนี้ไม่ได้ทวงถามลูกหนี้ให้ชำาระ
หนี้ นางดาวย่อมลูกหนี้ย่อมยังมิตกเป็ นผู้ผิดนั ด ย่อมไม่ต้องรับผิดต่อเหตุทัง้ ปวงตาม
มาตรา 217 เนื่ องจาก มาตรา 217 กำาหนดมาโดยเจตนารมณ์ของกรณี ลก ู หนี้ผิดนั ด
ธงคำาตอบ ดาวไม่ต้องรับผิดเนื่ องจากแม้หนี้ถึงกำาหนดชำาระแต่ ดาวยังมิตกเป็ นผู้ผิดนั ด
เพราะเดือนมิได้เตือนให้ดาวชำาระหนี้แม้รถของเดือนจะเสียหายทัง้ คันจากการที่ดาวยืม
แต่เป็ นเหตุสุดวิสัย ดังนั ้นดาวมิต้องรับผิดในความเสียหายของรถเดือน
คำาถามที่ว่า เดือนมาปรึกษาท่าน ๆ จะให้คำาแนะนำ าเดือนว่าอย่างไร ดังนั ้นคำาถามดัง
กล่าวจึงต้องอิงตัวบทเป็ นหลักในการตีความ หากเป็ นผมตอบคำาถามในกรณี นี้ คงตอบ
ว่าแนะนำ าว่า เดือนคงฟ้ องร้องมิได้ตามการวินิจฉั ยที่กล่าวมาข้างต้น
พี่ไสวครับในการวินิจ พี่ต้องไล่ลำาดับเหตุการณ์ด้วยสิครับพี่ว่าควรใช้มาตราใดก่อนหลังนะครับ ถ้ามาตราที่ใช้ใน
เหตุการณ์ก่อนแล้วสามารถวินิจฉัยเหตุการณ์ก่อนได้ จึงค่อยมาจะใช้มาตราอีกมาตราหนึ่ ง อย่าดูแต่มาตราครับต้องดู
ลำาดับเหตุการณ์แล้วใช้มาตราวินิจฉัยไล่ลำาดับกันไปนะครับ อย่าสับสน

นาย ก จ้างนาย ข ขึน ้ มะพร้าว โดยใช้ลิงของนาย ข เอง พอนาย ข เก็บมะพร้าวนาย ก


เสร็จเรียบร้อยแล้ว
นาย ข มองเห็นมะพร้าวในสวนเพื่อนบ้านนาย ก ยังมีมะพร้าวเหลืออยู่ นาย ข เลยใช้ลิง
ของตัวเองขึ้นไปเก็บมะพร้าวเพื่อนบ้านของนาย ก
ซึ่งต่อมา เพื่อนบ้านของนาย ก ได้มาพบเข้า เพื่อนบ้านนาย ก จึงได้เรียกร้องให้ นาย ก
รับผิด ใช้ค่าเสียหาย
ในฐานะนายจ้าง ได้หรือไม่อย่างไร

ตอบ

มาตรา ๔๒๐ ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสีย


หายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่รา่ งกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่ ง
อย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิดจำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั ้น
มาตรา ๔๒๘ ผู้ว่าจ้างทำาของไม่ต้องรับผิดเพื่อความเสียหายอันผู้รบ ั จ้างได้ก่อให้เกิดขึ้น
แก่บค ุ คลภายนอกในระหว่างทำาการงานที่ว่าจ้าง เว้นแต่ผู้ว่าจ้างจะเป็ นผู้ผิดในส่วนการ
งานที่สัง่ ให้ทำา หรือในคำาสัง่ ที่ตนให้ไว้ หรือในการเลือกหาผู้รับจ้าง
กรณี ตามโจทย์ เป็ นการที่ ข ทำาละเมิดโดยตรงต่อเพื่อนบ้านนาย ก โดยใช้ลิงเป็ น
เครื่องมือในการทำาละเมิด ไม่เกี่ยวกับความเสียหายที่เกิดจากสัตว์ท่ีเจ้าของ ผ้เู ลีย ้ งผู้รับ
รักษาจะต้องรับผิดชอบตาม ม.433 แต่อย่างใด
ส่วนความสัมพันธ์ ของนาย ก กับนาย ข ไม่ใช่นายจ้างกับลูกจ้าง แต่เป็ นผู้ว่าจ้างทำา
ของ กับ ผู้รบ ั จ้างทำาของ ซึ่งนาย ก จะต้องรับผิดก็ต่อเมื่อ เป็ นคนสัง่ ให้ไปเก็บมะพร้าว
ของเพื่อนบ้าน แต่นาย ก ไม่ได้สัง่ นาย ข เห็นว่าสวนเพื่อนบ้านนาย ก มีมะพร้าวเหลือ
อยู่ จึงใช้ลิงขึ้นไปเก็บเอง นาย ก จึงไม่ต้องรับผิดต่อเพื่อนบ้าน ในฐานะผู้ว่าจ้างแต่อย่าง
ใด

You might also like