You are on page 1of 31

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1

ข้ อมูล สารสนเทศและฐานข้ อมูล

นาธนศักดิ ์ แก่นทอง
5013258 co4

http://itcs.elearning.ict.mahidol
9/9/2010 1
Data/Information

• Data และ Information แตกต่างกันอย่างไร?

ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information)


• รู ปแบบเป็ นเศษส่ วน หรื อ • รายการ
ทศนิยม เช่น น้ำไหลด้วยความเร็ ว 10.5 • ตาราง
กม/ชม. • กราฟ
• รู ปแบบที่เป็ นชิ้น หรื อจำนวน เช่น เงาะ • ภาพถ่าย
ได้ผลผลิต 2000 ผล/ต้น • เสี ยง
• รู ปแบบอักษร หรื อรหัส
• ภาพ, เสี ยง

9/9/2010 2
ข้ อมูล (Data)

• สิ่ งที่ได้จากการสังเกต
• ปรากฏการณ์
• การกระทำ
• ลักษณะต่างๆ ของวัตถุ สิ่ งของ คน สัตว์ หรื อพืช
• มีการบันทึกไว้เป็ นตัวเลข หรื อสัญลักษณ์ต่างๆ

9/9/2010 3
สารสนเทศ (Information)

• ข้อมูลที่ได้รับการประมวลผล ด้วยคอมพิวเตอร์ และเสนอ


ออกมาในรู ปที่ผใู ้ ช้รู้ความหมาย

ข้อมูล สารสนเทศ

Data Information

9/9/2010 4
สารสนเทศ (Information)

• เป็ นข้อมูลที่ผา่ นการประมวลผลแล้ว


• มีรูปแบบที่มีประโยชน์ นำไปใช้งานได้
• มีคุณค่าสำหรับใช้ในการดำเนินงาน หรื อตัดสิ นใจ

9/9/2010 5
ลักษณะของการจัดเก็บข้ อมูลในคอมพิวเตอร์
0 หรื อ 1 Bit
00100110 Byte
f Character
female Field
Arunee Srisuk female Record
FName LName Sex
Arunee Srisuk female File
Boonme Niyom Male
…. …. …..
Database
9/9/2010 6
หน่ วยของข้ อมูล

bit หน่วยทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ในการเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์

byte กลุม่ ของ bit ซึง่ 8 bits = 1 byte

field หน่วยเก็บข้อมูลทีกำ
่ หนดขึน้ เพือ่ ใช้เก็บค่าทีต่ อ้ งการ

record กลุม่ ของ fields ทีเ่ กีย่ วข้องกัน

file กลุม่ ของ records

หน่ วยในการเก็บข้ อมูลในคอมพิวเตอร์ 9/9/2010 7


แฟ้มข้ อมูล
File แฟ้ มประวัตินักเรียน

record1 record2 record n


ประวัติ น.ร. คนที่ 1 ประวัติ น.ร. คนที่ 2 ..... ประวัติ น.ร. คนที่ n

รหัสนักเรียน รหัสนักเรียน รหัสนักเรียน


ชื่อ-สกุล ชื่อ-สกุล ชื่อ-สกุล
fields
วันเกิด วันเกิด วันเกิด

ที่อยู่ ที่อยู่ ที่อยู่

9/9/2010 8
ฐานข้ อมูล

• รหัสเลขฐานสอง 1 ตัว เช่น 0 เรี ยกว่า bit (บิต)


• ข้อมูล 1 อักขระ ประกอบด้วย 0, 1 รวมกัน 8 ตัว
เรี ยกว่า Byte (ไบต์)
00000000 = 0 ในเลขฐาน 10
00000001 = 1 ในเลขฐาน 10
• ข้อมูล 1 คำ (Word) ประกอบด้วยอักขระมากกว่า 1 อักขระ
9/9/2010 9
ฐานข้ อมูล
• ชาย ประกอบด้วย “ช” “กา” “ย” เท่ากับ 3 อักขระ
• ปราณี ประกอบด้วยอักขระจำนวน 5 อักขระ
• คำที่มีความหมายในตัวเอง เรี ยกว่า “ข้อมูล” Data
• กลุ่มข้อมูลที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน เรี ยกว่า “รายการ” Record
• เช่น “นายปราณี เพศชาย อายุ 28 ปี ”
• แต่ถา้ กลุ่มข้อมูลเป็ น “สี เทาปราณี 28เครื่ องมือ”

9/9/2010 10
ฐานข้ อมูล
Entity
• ข้อมูลนักศึกษา
– ชื่อ, เพศ, อายุ, ชั้นปี , สาขา
• ข้อมูลครู อาจารย์
– ชื่อ, เพศ, วุฒิ, ภาควิชา, เบอร์โทรศัพท์
• ข้อมูลหนังสื อ
– ชื่อผูแ้ ต่ง, ชื่อเรื่ อง, เลขหมู่, สถานที่พิมพ์, ปี ที่พิมพ์, ที่เก็บ
หนังสื อ

9/9/2010 11
ข้ อมูล (Data)
บัตรประจำตัวประชาชน รหัส
เลขที่ประจำตัวประชาชน
เลขหมายประจำตัวของผูถ้ ือบัตร ชื่อ
1 1234 12345 12 1 นามสกุล
ชื่อ นาย รักไทย เกิดวันที่
ชื่อสกุล นิยมไทย วันออกบัตร
เกิดวันที่ 1 ม.ค. 2512 วันหมดอายุ
ที่อยู่
รหัส 123456 8 ม.ค. 2542 7 ม.ค. 2548
เจ้าพนักงานผูอ้ อกบัตร
วันออกบัตร วันหมดอายุ
ที่อยู่ 123 หมู่ที่ 4 ต. บางสร้อย
อ. บางนิยม จ. สุ ขสวัสติ์
9/9/2010 12
ตัวอย่ างข้ อมูล

เลขหมายประจำตั
เลขหมายประจำตั วของผู
ว ของผู ถ้ ือถ้ บัือตบัรตร
เลขหมายประจำตั
1 1234 12345 วของผู
12 1 ถ้ ือบัตร
เลขหมายประจำตั
1 1234
เลขหมายประจำตั 12345 ว
12 ของผู
ว 1
ของผู ถ้ ือถ้ บัือตบัรตร
1 1234 12345 12ว1ของผูถ้ ือบัตร
เลขหมายประจำตั
ชื่อชื่อนาย รั ก 1 1234
ไทย
เลขหมายประจำตั
1 1234 12345 12345 1212 ว 1ของผู1 ถ้ ือถ้ บัือตบัรตร
นาย
ชื่อลนาย รั ก ไทย
เลขหมายประจำตั
รักไทย 1 1234 12345 12 1 ว ของผู
ชื่อชืสกุ นิ ย
ชื่อชืล่อนาย
่อชืสกุ นิ มไทย
ย รั
มไทย ก ไทย 1 1234 12345 12121 1
1 1234 12345
เกิเกิดวัดน่อวัชืทีสกุ อ1นาย
1ชืล่ ่ม.ค.
่น่อทีสกุ นินาย

ยมไทย
นิ
ม.ค.
รักรัไทย
2512
ย มไทย กไทย
2512
เกิดวัชืน่อชืทีสกุ ชื
่่อสกุ่ อ นาย
1ชืล่ม.ค.
อนิลนาย รักรัไทย
ยนิมไทย
2512 กไทย
8 เกิ
ม.ค. ด วั น
2542 ที ่ 1 ม.ค. 7ยม.ค.
มไทย
2512 2548
รหัรหั
ส ส123456 8 เกิ
ม.ค. ด ชื2542
วัน ่อชืทีสกุ
่ อ่ 1 ล
สกุ นิ
ม.ค.
ล 7ย
นิ มไทย
2512
ม.ค.
ย มไทย 2548
123456 8
วันออกบั เกิ
ม.ค. ด วั น
2542
ตดรวั2542 ที ่ 1 ม.ค.7 2512
ม.ค.
วั่ น1 หมดอายุ 2548
รหัรหั ส ส123456 123456 8
วันวัออกบั เกิ
ม.ค. ต น
ร ที วั ม.ค.
น 7 2512
ม.ค.
หมดอายุ 2548
ที่อทียู่อ่ ยู123 หมู ่
รหัสหมู123456ท่ ี 4 ต. บางสร้ อ ย นวัออกบั8 เกิ
ม.ค. ด วั
ต น ที
2542
ร ่ 1วัม.ค.
น 7 2512
ม.ค.
หมดอายุ 2548
่ 123่ รหั ส ่ ท่ ี
123456
่ 4 ต. บางสร้ อ ย น ออกบั8 ม.ค. ต 2542
ร วัน 7
หมดอายุม.ค. 2548
ที
อ.อ.บางนิ ่ อ ยู 123
ย ม่ จ.รหัหมู สุสข ท่ ี
สวั
123456
่ 4 ต.
ส บางสร้
์ บางสร้
ติ อ ย วัน 8
ออกบั ม.ค. ต 2542
ร วั
น 7 ม.ค.
หมดอายุ 2548
ที
บางนิ ่ อ
ที ยู
่ อ 123

ยูม
่ 123 จ.
รหั หมู สุสข
หมู ท ่
สวัี
123456
่ 4
ท่ ี ต.

4 ติ์ บางสร้
ต. อ ยอ ย วั น 8
ออกบั ม.ค. ต2542
ร วัน 7 ม.ค.
หมดอายุ 2548
อ. บางนิ ที่อยยูม่ย123 จ. สุหมู ขสวั ่ทสวั
่ ี ส4 ติต.์ บางสร้
์ อ ย วันออกบัตร วันหมดอายุ
อ.อ.บางนิ บางนิ ม
ที่อทียู่อ่ยยู123 มจ. จ. สุ ข
หมู สุ ข ่ ท ่
สวัี ส
4 ติ
ต.
ส ติบางสร้
์ อ ย วันออกบัตร วันหมดอายุ
อ. บางนิ่ย123 ม จ.หมู สุ ข่ทสวั ี่ 4 สต.ติบางสร้
์ อย
อ.อ.บางนิ บางนิยมยมจ.จ.สุ ขสุสวั ขสวัสติส์ ติ์
9/9/2010 13
ข้ อมูล จ. พัทลุง

อำเภอ..... อำเภอ..... อำเภอ..... อำเภอกันทรวิชยั อำเภอเมือง

คลังข้อมูลจังหวัด

9/9/2010 14
ข้ อดี-ข้ อเสี ยของการประมวลผลในระบบแฟ้มข้ อมูล


ข้ อดีของการประมวลผลข้ อมูลในระบบแฟ้ มข้ อมูล
1. การประมวลผลข้ อมูลทำได้ อย่ างรวดเร็ว
2. ค่ าลงทุนในเบือ้ งต้ นต่ำ
3. โปรแกรมสามารถควบคุมการใช้ งานในแฟ้ มข้ อมูลของตนเองได้

ข้ อเสี ยของการประมวลผลข้ อมูลในระบบแฟ้ มข้ อมูล


1. มีความซ้ำซ้ อนของข้ อมูล (Redundancy)
2. ยากในการประมวลผลข้ อมูลในแฟ้มข้ อมูลหลายแฟ้มข้ อมูล 
3.
4.
ไม่ มผี ู้ควบคุมหรือรับผิดชอบระบบทั้งหมด
โครงสร้ างแฟ้มข้ อมูลขึน้ อยู่กบั โปรแกรม (Dependency)
9/9/2010
 15
ความซ้ำซ้ อนของข้ อมูล
ฝ่ ายทะเบียนวัดผล ฝ่ ายงานบัญชี


แฟ้ มนักเรียน

 แฟ้ มการลงทะเบียน
แฟ้ มรายวิชา
แฟ้ มผลการเรียน
แฟ้ มนักเรียน
แฟ้ มการเงิน

Redundancy &
Inconsistency
หมวดวิชาคณิ ตศาสตร์ หมวดวิชาคอมพิวเตอร์

 แฟ้ มนักเรียน
แฟ้ มผลการเรียน
แฟ้ มนักเรียน
แฟ้ มผลการเรียน 
9/9/2010 16
ระบบฐานข้ อมูล

ฐานข้ อมูล (Database) คือ ทีอ่ ยู่ของข้ อมูลทีม่ คี วามสั มพันธ์ กนั หรือ
เปรียบได้ ว่า เป็ นคลังของข้ อมูลก็ได้    ข้ อมูลเหล่ านีจ้ ะถูกจัดเก็บร่ วมกันอย่ างมี
ระบบและมีรูปแบบ  ทำให้ ง่ายต่ อการประมวลผลและการจัดการ

โดยปกติแล้ วการใช้ งานจะต้ องมีโปรแกรมเพือ่ จัดการฐานข้ อมูลทีม่ อี ยู่ ซึ่งเรียก


ว่ า DBMS  สำหรับฐานข้ อมูลทีไ่ ด้ รับความนิยมมากทีส่ ุ ดในปัจจุบันจะเป็ นแบบ
Relation  ซึงจะจัดเก็บข้ อมูลอยู่ในรู ปของตาราง (Table)  โดยทีฐ่ านข้ อมูลในแต่ ละ
ตารางจะมีความสั มพันธ์ ซึ่งกันและกัน

9/9/2010 17
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล

ผู้ใช้ (User) ข้ อมูล (Data)

Database
System

ซอฟต์ แวร์ (Software) ฮาร์ ดแวร์ (Hardware)


9/9/2010 18
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล
ข้อมูล (Data)
ฐานข้อมูลเป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ร่วมกันอย่างเป็ นระบบ ซึ่ง
ข้อมูลเหล่านี้ ต้องสามารถมาใช้ประกอบกันได้ (Data Integrated) และ
ต้องสามารถถูกใช้ร่วมกัน (Data Sharing) จากผูใ้ ช้หลายๆ คนได้

คุณสมบัติของข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูล
มีความถูกต้อง ทันสมัย และสมเหตุสมผล
มีความซ้ำซ้อนของข้อมูลน้ อยที่สดุ
มีการแบ่งกันใช้งานข้อมูล
9/9/2010 19
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล

ฮาร์ ดแวร์ (Hardware)

ระบบฐานข้ อมูลทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพควรต้ องมีอุปกรณ์ ต่างๆ ในการอำนวยความ


สะดวกในการบริหารระบบฐานข้ อมูลได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งสิ่ งทีค่ วรคำนึงถึง
คือขนาดของหน่ วยความจำหลัก ความเร็วของหน่ วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์
นำข้ อมูลเข้ าและออกรายงาน รวมถึงความจุของหน่ วยความจำสำรองทีจ่ ะรองรับ
การประมวลผลข้ อมูลในระบบได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ

9/9/2010 20
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล
ซอฟท์ แวร์ (Software)

ในการติดต่ อกับข้ อมูลภายในฐานข้ อมูลของผู้ใช้ จะต้ องกระทำผ่ าน


โปรแกรมทีเ่ รียกว่ า ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management Systems:
DBMS) ซึ่งจะทำหน้ าทีใ่ นการจัดการฐานข้ อมูลโดยจะเป็ นสื่ อกลางระหว่ างผู้ใช้
และโปรแกรมประยุกต์ ต่างๆ ทีม่ อี ยู่ในระบบฐานข้ อมูล เพือ่ จัดการและควบคุม
ความถูกต้ อง ความซ้ำซ้ อน และความสั มพันธ์ ระหว่ างข้ อมูลต่ างๆ ภายในฐาน
ข้ อมูล

9/9/2010 21
องค์ ประกอบของระบบฐานข้ อมูล
ผูใ้ ช้ (Users)
ผูท้ ี่เรียกใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลมาใช้งาน สามารถแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มได้ดงั นี้
1)   ผูใ้ ช้งาน (End User) ได้แก่ ผูท้ ี่นำข้อมูลจากฐานข้อมูลไปใช้งาน
2)   ผูพ้ ฒั นาฐานข้อมูล (Developer)
• Application Programmer ได้แก่ ผูท้ ี่ทำหน้ าที่พฒ ั นาโปรแกรม (Application Program) เพื่อ
เรียกใช้ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลมาประมวลผล
• Database Administrator (DBA) ได้แก่ ผูบ้ ริหารที่ทำหน้ าที่ควบคุมและตัดสินใจในการ
กำหนดโครงสร้างของฐานข้อมูล ชนิดของข้อมูล วิธีการจัดเก็บข้อมูล รูปแบบใน
การเรียกใช้ข้อมูล ความปลอดภัยของข้อมูล และกฎระเบียบที่ใช้ควบคุมความถูก
ต้องของข้อมูลภายในฐานข้อมูล

9/9/2010 22
ระบบแฟ้ มข้ อมูล (File System)


ข้ อมูลรายวิชา
- ข้ อมูลนักเรียน
โปรแกรมการลงทะเบียน - ข้ อมูลการลงทะเบียน


ข้ อมูลรายวิชา
โปรแกรมประมวลผล - ข้ อมูลนักเรียน
การเรียนแต่ ละเทอม - ข้ อมูลผลการเรียน

โปรแกรมจัดการรายวิชา  ข้ อมูลรายวิชา
- ข้ อมูลการลงทะเบียน

9/9/2010 23
ระบบฐานข้ อมูล (Database System)

โปรแกรมการลงทะเบียน

ฐานข้ อมูล

- ข้ อมูลรายวิชา
โปรแกรมประมวลผล
การเรียนแต่ ละเทอม
DBMS - ข้ อมูลนักเรียน
- ข้ อมูลการลงทะเบียน
- ข้ อมูลผลการเรียน
- ฯลฯ

โปรแกรมจัดการรายวิชา

9/9/2010 24
ระบบฐานข้ อมูล (Database System)
ลักษณะของข้ อมูลในระบบฐานข้ อมูล
แสดงข้ อมูลทั้งหมดทีป่ ระกอบอยู่ในฐาน
ข้ อมูล ส่ วนทีแ่ รเงาคือส่ วนของข้ อมูลทีซ่ ้ำ
นักเรี ยน ซ้ อน ซึ่งสามารถเก็บแยกแฟ้ มได้ โดยให้ มี
วิชา
อาจารย์ ห้องเรี ยน ส่ วนชี้แสดงความสั มพันธ์ ถงึ กัน

นักเรี ยน ห้องเรี ยน

อาจารย์ วิชา
9/9/2010 25
ระบบฐานข้ อมูล (Database System)
อาจารย์
01 นภา 111

นักเรี ยน 02 นพ 112
รายวิชา
03 วุฒิชัย 113
001 สมชาย M 02 111 ปาสคาล 2
04 วิทยา 121
002 สมบัติ M 03 112 ซี 1.5
... ... ...
003 สมหญิง F 03 113 จาวา 1.5
004 สมศรี F 01 121 โลโก 1
... ... … ... ... ... ...

โครงสร้ างข้ อมูลในระบบฐานข้ อมูล


9/9/2010 26
ระบบฐานข้ อมูล (Database System)
ขอดีของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูล
1. ข้ อมูลมีการเก็บอยู่รวมกันและสามารถใช้ ข้อมูลร่ วมกันได้
2. ลดความซ้ำซ้ อนของข้ อมูล
3. สามารถหลีกเลีย่ งความขัดแย้ งกันของข้ อมูลทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้
4. การควบคุมความคงสภาพของข้ อมูล (Integrity)
5. การจัดการข้ อมูลในฐานข้ อมูลจะทำได้ ง่าย
6. ความเป็ นอิสระระหว่ างโปรแกรมประยุกต์ และข้ อมูล
7. การมีผู้ควบคุมระบบเพียงคนเดียว
9/9/2010 27
ระบบฐานข้ อมูล (Database System)
ขอเสี ยของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูล
การใช้ งานฐานข้ อมูลจะเสี ยค่ าใช้ จ่ายค่ อนข้ างสู ง
เนื่องจากราคา DBMS ค่อนข้างแพงและต้อง
ใช้คอมพิวเตอร์ที่มีประสิ ทธิภาพค่อนข้างสูง

การสู ญเสี ยข้ อมูลทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้


เพราะข้อมูลถูกเก็บไว้ที่เดียวกัน หากฐานข้อมูลมี
ปัญหาก็อาจทำให้เสี ยข้อมูลบางส่ วนไปได้ ดังนั้นระบบฐาน
ข้อมูลที่ดีตอ้ งมีการป้ องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นนี้ดว้ ย 9/9/2010
28
ระบบฐานข้ อมูล (Database System)
ข้ อแตกต่ าง : ระหว่างระบบการประมวลผลแฟ้มข้อมูลและระบบการประมวลผลฐานข้อมูล
 โปรแกรมประยุกต์ ทสี่ ร้ างขึน้ ในระบบการประมวลผลแฟ้มข้ อมูล จะมีการอ่ านหรือเขียน
ข้ อมูลจากแฟ้มข้ อมูลโดยตรง
 โปรแกรมประยุกต์ ทสี่ ร้ างในระบบประมวลผลฐานข้ อมูล จะต้ องออกคำสั่ งผ่ าน DBMS
ก่ อน

การทำงานผ่ าน DBMS จะทำให้ การเขียนโปรแกรมมีความสะดวกยิง่ ขึน้


เนื่องจากผู้เขียนไม่ ต้องยุ่งเกีย่ วหรือสนว่ าในทางกายภาพ(Physical) ข้ อมูลถูกเก็บอยู่
อย่ างไร เพียงออกคำสั่ งในการเรียกใช้ ข้อมูล (Select) เพิม่ ข้ อมูล (Insert) ปรับปรุง
ข้ อมูล(Update) หรือลบข้ อมูล(Delete) ผ่ าน DBMS แทน
9/9/2010 29
เปรียบเทียบระบบแฟ้มและระบบฐานข้ อมูล
ข้ อแตกต่ าง การประมวลผลในระบบแฟ้ มข้ อมูล การประมวลผลในระบบฐานข้ อมูล
1. ความซ้ำซ้ อนของข้ อมูล -เปลืองเนือ้ ที่ เก็บข้ อมูลที่สัมพันธ์ กนั ไว้ ที่เดียวกัน ทำให้ ลด
-มีปัญหาความขัดแย้ งกันของข้ อมูล ความซ้ำซ้ อนของข้ อมูล

2. การประมวลผลในแฟ้ม ยุ่งยากในการประมวลผล ประมวลผลผ่ าน DBMS


ข้ อมูลหลายแฟ้ม

3. ผู้รับผิดชอบระบบ ข้ อมูลอยู่แยกกัน ผู้เขียนโปรแกรมจะดูแลเฉพาะ ง่ ายในการดูแลระบบทั้งหมด เนื่องจากข้ อมูล


ข้ อมูลที่ตนเกีย่ วข้ อง ทำให้ ไม่ มีผ้ ูดูแลระบบ ถูกเก็บไว้ ที่เดียวกัน
ทั้งหมด

4. ความเป็ นอิสระของ ถ้ ามีการแก้ไขโครงสร้ างแฟ้ มข้ อมูลต้ องตามไป โครงสร้ างของข้ อมูลในฐานข้ อมูลเป็ นอิสระ
ข้ อมูล แก้ไขในโปรแกรมที่เกีย่ วข้ องเสมอ ต่ อโปรแกรมที่เกีย่ วข้ อง

9/9/2010 30
วันเกิด

9/9/2010 31

You might also like