You are on page 1of 104

41323 กฎหมายพาณิชย์ 3: ประกันด้วยบุคคลและ

ทรัพย์ ตัว
๋ เงิน
Commercial Law 3: Surety ship, Mortgage and Bill

หน่วยที่ 1 ลักษณะทัว
่ ไปของสัญญาค้้าประกัน
1. สั ญ ญาค้้ าประกั น เป็ นการประกั น หนี้ ด้ ว ยบุ ค คล ในลั ก ษณะที่ บุ ค คล
ภายนอกเข้ ามาผู กพั นตนกั บเจ้า หนี้ ว่า จะช้า ระหนี้ ใ ห้ใ นเมื่อลูก หนี้ ไม่ ช้า ระ
หนี้ ต ามสั ญ ญาค้้ าประกั น เป็ นหนี้ อุป กรณ์ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย หนี้ ป ระธาน คื อ หนี้
ระหว่างเจ้าหนี้ กับลูกหนี้ เป็ นส้าคัญ
2. ตามหลักทั่วไปผู้ค้ าประกันมีความรับผิดไม่เกินความรับผิดของลูกหนี้
โดยอาจจ้ากัดหรือไม่จ้ากัดความรับผิดก็ได้ และลูกหนี้ ยังมีความผูกพันต้อง
รับผิดในหนี้ อยู่ หากเจ้าหนี้ บังคับช้า ระหนี้ เอาจากผู้ค้ าประกันไม่เพียงพอที่
จะช้าระหนี้ ของลูกหนี้ ได้ท้ังหมด
1.1 สาระส้าคัญของสัญญาค้้าประกัน
1. สั ญ ญาค้้ าประกั น เป็ นสั ญ ญาซึ่ ง บุ ค คลภายนอกเรี ย กว่ า ผู้ ค้ าประกั น
ผูกพันตนเองต่อเจ้าหนี้ ว่าจะช้า ระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ในเมื่อลูกหนี้ ไม่ช้า ระหนี้
นั้น
2. สัญญาค้้าประกันเป็ นสัญญาที่ไม่ต้องท้าตามแบบแต่อย่างใด เพียงแต่
หากจะมีการฟ้ องร้องบังคับคดีเอาแก่ผู้ค้ าประกันตามสัญญาค้้าประกันแล้ว
จะต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่ งอันมีข้อความแสดงว่ามีการ
ค้้าประกันจริงโดยมีลายมือชื่อของผู้ค้ าประกันลงไว้เป็ นส้าคัญด้วย
3. หนี้ ตามสัญญาค้้าประกันเป็ นหนี้ อุปกรณ์ซึ่งต้องอาศัยหนี้ ประธาน คือ
หนี้ ระหว่ างเจ้ าหนี้ กั บลู กหนี้ เ ป็ นส้า คั ญ หนี้ ป ระธานต้ อ งเป็ นหนี้ ท่ี ส มบู รณ์
ซึ่งอาจเป็ นหนี้ ในอนาคตหรือหนี้ มีเงื่อนไขก็ได้ หากไม่มีหนี้ ประธานหรือหนี้
ประธานไม่สมบูรณ์แล้วสัญญาค้้าประกันก็มีขึ้นไม่ได้
4. หนี้ ท่ ีลูกหนี้ กระท้าด้วยเหตุส้าคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์
หรือเพราะเหตุไร้ความสามารถ ก็อาจมีการค้้าประกันอย่างสมบูรณ์ได้ หาก
ผู้ค้ าประกันได้รู้ถึงเหตุบกพร่องดังกล่าวในขณะเข้าท้าสัญญาผูกพันตน
1.1.1 ความหมายของสัญญาค้้าประกัน
สัญญาค้้าประกันคืออะไร ในการท้าสัญญาค้้าประกันนั้นจะต้องให้ลูก
หนี้ รเู้ ห็นยินยอมด้วยหรือไม่
สัญญาค้้าประกันเป็ นสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกผูกพันตนต่อเจ้าหนี้ ใน
การที่ จ ะช้า ระหนี้ ในเมื่ อลู ก หนี้ ไม่ ช้า ระเป็ นเรื่ องที่ มี ห นี้ ผู ก พั น กั น อยู่ ใ น
ระหว่ า งเจ้ า หนี้ และลู ก หนี้ อยู่ ช้ั น หนึ่ งแล้ ว เป็ นหนี้ ประธานแล้ ว จึ ง มี ห นี้
2
ระหว่างผู้ค้ าประกันกับเจ้าหนี้ อีกชั้นหนึ่ งเป็ นหนี้ อุปกรณ์ ความรับผิดของผู้
ค้้าประกันเป็ นความรับผิดโดยตรงต่อเจ้าหนี้ ท่ีจะช้าระหนี้ เมื่อลูกหนี้ ไม่ช้าระ
และในฐานะที่ เ ป็ นผู้ เ ป็ นผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในการที่ จ ะต้ อ งรั บ ผิ ด เพื่ อลู ก หนี้ จึ ง
อาจช้า ระหนี้ โดยขื น ใจลู ก หนี้ ได้ ต ามหลั ก ในมาตรา 314 อยู่ แ ล้ ว การท้า
สัญญาค้้าประกันจึงไม่ต้องอาศัยความรู้เห็นยินยอมของลูกหนี้ เลย และเมื่อ
ผู้ค้ าประกันช้า ระหนี้ ให้เจ้าหนี้ ไปแล้ ว ก็ย่อ มรั บช่ วงสิท ธิข องเจ้ าหนี้ ไ ล่เ บี้ย
เอาจากลูกหนี้ ได้ด้วยอ้านาจของกฎหมายซึ่งบัญญัติรับรองไว้โดยไม่ต้องได้
รับความยินยอมจากลูกหนี้
1.1.2 สัญญาค้้าประกันต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือ
ที่ว่า “สัญญาค้้าประกันต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้ า
ประกัน จึงจะฟ้ องร้องบังคับคดีให้ผู้ค้ าประกันรับผิดได้” นั้นหมายความว่า
ค้ากล่าวนั้นหมายความว่า สัญญาค้้าประกันเป็ นสัญญาที่กฎหมายไม่
ได้บังคับว่าต้องท้า ตามแบบ ดังนี้ แม้คู่สัญญาอาจจะตกลงกันด้วยวาจาก็มี
ผลท้า ให้ สั ญ ญาค้้ าประกั น สมบู ร ณ์แ ล้ ว เพี ย งแต่ ห ากว่ า จะมี ก ารฟ้ องร้ อ ง
บั ง คั บ คดี ใ ห้ ผู้ ค้ าประกั น รั บ ผิ ด จะต้ อ งมี ห ลั ก ฐานแห่ ง การค้้ าประกั น เป็ น
หนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้ าประกันไว้เป็ นส้า คัญ หากไม่มีหลักฐานดังกล่าวก็
จะฟ้ องร้ อ งบั ง คั บ เอาแก่ ผู้ ค้ าประกั น ไม่ ไ ด้ หลั ก ฐานเป็ นหนั ง สื อ นั้ น ผู้ ค้ า
ประกันจะท้าไว้อย่างไรก็ได้และจะมีรูปลักษณ์เป็ นหนังสือ จดหมาย บันทึก
หรืออะไรก็ได้ เพียงแต่ให้มีข้อความแสดงว่ามีการค้้าประกัน และมีลายมือ
ชื่อผู้ค้ าประกันก็เป็ นการเพียงพอแล้ว
นายด้า ท้า สั ญ ญากู้ เ งิ น จากนางแดง โดยมี น ายขาวเขี ย นบั น ทึ ก ลง
ลายชื่อตนเองถึงสามีของนางแดงมีข้อความว่าตนยอมรับจะชดใช้หนี้ ท่ีนาย
ด้า กู้เงิ นไปจากนางแดงให้ หากนายด้า ไม่ ย อมช้า ระ ต่ อ มานายด้า ไม่ ย อม
ช้าระหนี้ เงินกู้ให้นางแดง นางแดงจึงฟ้ องให้นายขาวช้าระหนี้ ในฐานะที่เป็ น
ผู้ค้ าประกัน นายขาวเถียงว่าตนไม่ใช่ผู้ค้ าประกันเพราะบันทึกที่ตนเขียนนั้น
เขียนไปถึงสามีของนางแดงก็ไม่ใช่เจ้าหนี้ ของนายด้า นายขาวจึงไม่มีความ
ผูกพันจะต้องช้าระหนี้ ให้นางแดงแต่อย่างใด
ให้ วิ นิ จ ฉัย นายขาวปฏิ เ สธความรั บ ผิ ด ตามค้า กล่ า วอ้ า งได้ ห รื อ ไม่
เพราะเหตุใด
นายขาวปฏิเสธความรับผิดไม่ได้ เพราะหลักฐานแห่งการค้้าประกัน
นั้น ผู้ค้ าประกันไม่จ้าต้องท้าต่อหน้าเจ้าหนี้ โดยตรง แม้จะท้า กับลูกหนี้ หรือ
บุ ค คลอื่ นใด หากมี ข้ อ ความแสดงการค้้ าประกั น หนี้ แ ละมี ล ายมื อ ชื่ อผู้ ค้ า
ประกันแล้วก็ใช้เป็ นหลักฐานฟ้ องร้องบังคับผู้ค้ าประกันได้ ดั งนั้ น แม้ นาย
ขาวจะท้าบันทึกแสดงการค้้าประกันดังกล่าวไว้กับสามีของนางแดงซึ่งเป็ น
เจ้าหนี้ มิได้ท้ากับนางแดงโดยตรง นางแดงก็น้าบันทึกนั้นมาเป็ นหลักฐาน
ฟ้ องร้ อ งให้ น ายขาวรั บ ผิ ด ในฐานะเป็ นผู้ ค้ าประกั น ได้ แ ล้ ว ตามนั ย แห่ ง ฎ
887/2476
1.1.3 หนี้ ประธานต้องเป็ นหนี้ ท่ีสมบูรณ์
3
“การค้้าประกันจะมีได้เฉพาะแต่เพื่อหนี้ อันสมบูรณ์” หมายความว่า
อย่างไร
หนี้ ตามสัญญาหนี้ ค้ าประกันเป็ นหนี้ อุปกรณ์ซึ่งต้องอาศัยหนี้ ระหว่าง
เจ้ า หนี้ กั บ ลู ก หนี้ อั น เป็ นหนี้ ประธาน ดั ง นั้ น หนี้ ประธานจึ ง ต้ อ งเป็ นหนี้ ที่
สมบูรณ์มีผลบังคับผูกพันกันได้ตามกฎหมาย สัญญาค้้าประกันอันเป็ นหนี้
อุ ป กรณ์จึ ง จะมี ผลบั ง คั บตามไปด้ ว ย หากหนี้ ป ระธานไม่ มี ห รื อ ไม่ ส มบู ร ณ์
ด้วยเหตุอ่ ืนตามบทบัญญัติของกฎหมาย การค้้าประกันก็จะเกิดขึ้นไม่ได้
เหตุใดจึงมีการค้้าประกันหนี้ ในอนาคตหรือหนี้ มีเงื่อนไขได้
บทบัญญัติของกฎหมายวางหลักทั่วไปไว้ว่า การค้้าประกันจะมีได้แต่
เฉพาะเพื่ อหนี้ อั นสมบู รณ์ แต่ ท้ังนี้ มิไ ด้ห มายความว่ า หนี้ ท่ี จ ะค้้ าประกั น ได้
และเป็ นหนี้ สมบูรณ์น้ัน จะต้องเป็ นหนี้ ท่ีมีอยู่แล้วหรือเกิดขึ้นพร้อมกับการ
ค้้าประกันหนี้ ในอนาคตหรือหนี้ มีเงื่อนไขซึ่งในขณะท้าสัญญาค้้าประกัน แม้
หนี้ จะยังไม่เกิด และจะเกิดหรือไม่ก็อาศัยเหตุการณ์ในอนาคตอันไม่แน่ นอน
ก็ต าม แต่ถ้ าหากจะเกิ ด ในอนาคตหรื อ เมื่ อเงื่ อนไขส้า เร็ จ แล้ ว จะเป็ นหนี้ ท่ี
สมบูรณ์ ก็อาจมีการค้้าประกันได้ การให้มีการค้้าประกันหนี้ ในอนาคตหรือ
หนี้ มี เ งื่ อนไขได้ ก็ เ พื่ อเป็ นการรัก ษาประโยชน์แ ละป้ องกั น ความเสี ย หายที่
อาจเกิ ด แก่ เ จ้ า หนี้ ในกิ จ การที่ ลู ก หนี้ ได้ ก่ อ ขึ้ น หรื อ จะได้ ก่ อ ขึ้ น ในอนาคต
นั่นเอง
1.2 ความรับผิดของผู้รับประกัน
1. ผู้ค้ าประกันมีความรับผิดที่จะต้องช้าระหนี้ ในเมื่อลูกหนี้ ไม่ช้าระ โดยผู้
ค้้าประกันอาจจ้ากัดหรือไม่จ้ากัดความรับผิดไว้ก็ได้
2. หากมี ได้ มีก ารตกลงกั นไว้เ ป็ นอย่ างอื่น โดยปกติลู ก หนี้ มี ค วามรั บ ผิ ด
ตามมูลหนี้ ประธานอยู่อย่างไร ผู้ค้ าประกันย่อมไม่ต้องรับผิดเกินกว่าความ
รับผิดของลูกหนี้ น้ัน
3. ในหนี้ ร ายเดี ย วกั น อาจมี ผู้ ค้ าประกั น หลายคนก็ ไ ด้ และผู้ ค้ าประกั น
เหล่านั้นต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้ อย่างลูกหนี้ ร่วมกัน แม้ว่าจะมิได้เข้าค้้าประกัน
หนี้ รายนั้นในเวลาเดียวกันก็ตาม
4. หนี้ รายหนึ่ งๆ อาจมีผู้ค้ าประกันของผู้ค้ าประกัน อีก ชั้น หนึ่ งก็ ได้ เรียก
ว่าผู้รับเรือน
5. เมื่อเจ้าหนี้ บังคับช้าระหนี้ เอาจากผู้ค้ าประกันไม่เพียงพอที่จะช้า ระหนี้
ของลูกหนี้ ได้ท้ังหมด ลูกหนี้ ยังคงต้องรับผิดในส่วนที่เหลือนั้น
1.2.1 หลักทั่วไปเกี่ยวกับความรับผิดของผู้ค้ าประกัน
โดยลักษณะของสัญญาค้้าประกัน มีหลักเกณฑ์ท่ัวไปเกี่ยวกับความ
รับผิดของผู้ค้ าประกันไว้อย่างไร
หลักทั่วไปเกี่ยวกับความรับผิดของผู้ค้ าประกันตามสัญญาค้้าประกัน
คือ
ผู้ค้ าประกันมีหนี้ ท่ีจะต้องช้า ระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ในเมื่อลูกหนี้ ไม่ช้า ระ
หนี้ น้ั น เมื่อหนี้ ถึงก้า หนดช้า ระแล้วลูก หนี้ ไม่ ช้า ระหนี้ ลูกหนี้ ย่อ มตกเป็ นผู้
4
ผิ ด นั ด ซึ่ ง มี ผ ลให้ เ จ้ า หนี้ มี สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งให้ ผู้ ค้ าประกั น ช้า ระหนี้ ไ ด้ ต้ั ง แต่
เวลาที่ ลู ก หนี้ ผิ ด นั ด นั้ น ส่ ว นในเรื่ องความรั บ ผิ ด ชอบของผู้ ค้ าประกั น จะมี
มากน้อยเพียงใดนั้นก็ต้องเป็ นไปตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญาค้้าประกัน ทั้งนี้
เพราะประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ของไทยเรานั้น มิได้มีบทบัญญัติ
จ้ากัดความรับผิดของผู้ค้ าประกันไว้แน่ นอน โดยปกติหากมิได้มีการตกลง
กันไว้เป็ นอย่างอื่นตามหลักของสัญญาค้้าประกันซึ่งผู้ค้ าประกัน เป็ นผู้ต้อง
เสียในมูลหนี้ อยู่แล้ว ผู้ค้ าประกันจึงไม่ต้องรับผิดเกินไปกว่าความรับผิดของ
ลูกหนี้ อย่างไรก็ตามผู้ค้ าประกันอาจตกลงจ้า กัดความรับผิดของตนเองไว้
มากน้อยเพียงใดก็ได้ คืออาจจ้ากัดขอบเขตความรับผิดไว้น้อยกว่าความรับ
ผิดของลูกหนี้ ก็ได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องก้า หนดเวลา หรือในเรื่องก้า หนด
ขอบเขตของความเสียหายที่เจ้าหนี้ ได้รับก็ได้ หรืออาจตกลงยอมรับผิดเกิน
กว่าความรับผิดของลูกหนี้ ก็ได้ ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 150 อย่างไรก็ตาม
หากสัญญาค้้าประกันนั้ นมีข้อความไม่แจ้งชัดว่า ผู้ค้ าประกันจะต้องรับผิด
เพี ย งใด เมื่ อมี ก รณี ต้ อ งตี ค วาม ก็ ต้ อ งตี ค วามโดยเคร่ ง ครั ด เพื่ อมิ ใ ห้ ผู้ ค้ า
ประกันต้องรับผิดชอบเกิดไปกว่าที่เขามีเจตนาจะรับรองไว้
1.2.2 ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ าประกัน
การค้้ าประกั น อย่ า งจ้า กั ด หรื อ ไม่ จ้า กั ด ความรั บ ผิ ด ท้า ให้ ข อบเขต
ความรับผิดของผู้ค้ าประกันต่างกันอย่างไร
การค้้าประกันอย่างจ้ากัดความรับผิด ท้าให้ผู้ค้ าประกันต้องรับผิดแต่
เพียงในขอบเขตที่ตนจ้ากัดความรับผิดไว้เท่านั้น โดยอาจจะเป็ นการจ้า กัด
จ้า นวนหนี้ ที่ รั บ ผิ ด จ้า กั ด เวลาที่ รั บ ผิ ด หรื อ จ้า กั ด เงื่ อนไขในการรั บ ผิ ด
อย่างไรก็ได้ แต่การจ้ากัดความรับผิดนี้ จะต้องตกลงแสดงไว้อย่างแจ้งชัดใน
สั ญ ญาค้้ าประกั น เพราะหากไม่ ร ะบุ ไ ว้ ชั ด อาจต้ อ งรั บ ผิ ด โดยไม่ จ้า กั ด ได้
การค้้าประกันโดยไม่จ้ากัดความรับผิดอาจเป็ นเรื่องที่ผู้ค้ าประกันตกลงรับ
ผิดโดยไม่จ้ากัดเอง หรืออาจเป็ นกรณีท่ีสัญญาค้้าประกันไม่ปรากฏชัดว่ารับ
ผิ ด จ้า กั ด อย่ า งไรก็ ไ ด้ การค้้ าประกั น โดยไม่ จ้า กั ด ความรั บ ผิ ด ท้า ให้ ผู้ ค้ า
ประกันต้องรับผิดในหนี้ ทุกอย่างที่ลูกหนี้ จะต้องใช้คือนอกจากเงินต้นของหนี้
แล้ว ยังรวมถึงดอกเบี้ย และค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการไม่ช้า ระหนี้
ซึ่งลูกหนี้ ค้างช้าระ ตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็ นอุปกรณ์แห่งหนี้ ด้วย
แต่ไม่ว่าจะเป็ นการค้้าประกันจ้ากัดหรือไม่จ้ากัดความรับผิดก็ตามผล
ที่สุดผู้ค้ าประกันก็ไม่ต้องรับผิดเกินความรับผิดของลูกหนี้ ท้ังสิ้น เว้นแต่จะมี
การตกลงพิ เ ศษยอมรั บ ผิ ด เกิ น กว่ า ที่ ลู ก หนี้ จะต้ อ งรั บ ซึ่ ง เป็ นเรื่ องที่ ผู้ ค้ า
ประกันยอมตกลงชดใช้เกินไปเอง
และไม่ว่าจะเป็ นการค้้าประกั นจ้า กั ดหรือ ไม่ จ้า กัด ความรับ ผิด ผู้ค้ า
ประกันก็ยังคงต้องรับผิดในค่าฤชาธรรมเนี ยมความซึ่งลูกหนี้ จะต้องใช้ให้แก่
เจ้ าหนี้ ด้ วย เว้ นแต่เ จ้าหนี้ จ ะฟ้ องคดี โ ดยมิ ไ ด้ เ รี ยกให้ ผู้ค้ าประกั น ช้า ระหนี้
ก่อน

แบบประเมินผลหน่วยที่ 1
5
1. สัญญาค้้าประกันคือ สัญญาที่บุคคลภายนอกตกลงกับเจ้าหนี้ ว่าจะใช้หนี้ เมื่อลูก
หนี้ ไม่ใช้
2. สัญญาค้้าประกัน ต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้ าประกันจึงจะฟ้ อง
ร้องให้บังคับคดีกันได้
3. หนี้ ท่ีไม่อาจมีการค้้าประกันได้คือ หนี้ ท่ีลูกหนี้ กระท้าโดยส้าคัญผิดในสาระส้าคัญ
ของนิ ตก
ิ รรม
4. หลักการทั่วไปเกี่ยวกับความรับ ผิด ชอบของผู้ค้ าประกันมีดังนี้ (ก) ผู้ค้ าประกัน
ต้องช้าระหนี้ แก่เจ้าหนี้ เมื่อลูกหนี้ ไม่ช้าระ (ข) ผู้ค้ าประกันรับผิดไม่เกินความรับผิดของ
ลูกหนี้ (ค) การตีความเกี่ยวกับความรับผิดของผู้ค้ าประกันต้องตีความโดยเคร่งครัด
5. การค้้าประกัน อย่างไม่จ้า กัดความรับผิดครอบคลุมถึงหนี้ เงินต้น ดอกเบี้ย ค่า
ขนส่ง เบี้ยปรับ ค่าฤชาธรรมเนี ยมความ ของลูกหนี้
6. การค้้ าประกั น อย่ า งจ้า กั ด ความรั บ ผิ ด ได้ แ ก่ ค้้ าประกั น โดยจ้า กั ด เวลาหรื อ
จ้า นวนหนี้ ไว้น้อยกว่าหรือมากกว่าความรับ ผิด ของลูก หนี้ หรื อโดยมีเ งื่ อนไขอย่ างไร
ก็ได้
7. ผู้รบ
ั เรือนคือ ผู้ค้ าประกันของผู้ค้ าประกัน
8. ผู้ค้ าประกันหลายคนในหนี้ รายเดียวกันต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้ รับผิดอย่างลูกหนี้
ร่วม
9. การที่เจ้าหนี้ บังคับช้า ระหนี้ เอาจากผู้ค้ าประกันไม่เพียงพอที่จะช้า ระหนี้ ของลูก
หนี้ ได้ท้ังหมด จะมีผลทางกฎหมายคือ ลูกหนี้ ยังคงต้องรับผิดในหนี้ ส่วนที่เหลือทั้งหมด
10. หนั ง สือ สัญ ญากู้ ยื ม เงิ น ซึ่ง ลงลายมื อชื่ อผู้ ค้ าประกั น ในช่ อ งผู้ ค้ าประกั น โดย
ไม่มีข้อความแสดงการค้้าประกัน ก็เพียงพอที่จะใช้เป็ นหลักฐานฟ้ องร้องให้ผู้ค้ าประกัน
รับผิดแล้ว

หน่วยที่ 2 ผลและความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาค้้าประกัน
1. เมื่อลูกหนี้ ผิดนัดไม่ช้าระหนี้ เจ้าหนี้ ย่อมมีสิทธิทวงถามให้ผู้ค้ าประกัน
รับผิดตามสัญญาค้้าประกัน ทันที แต่ผู้ค้ าประกันอาจใช้สิทธิยกข้อต่อสู้หรือ
เบี่ยงบ่ายให้เจ้าหนี้ ไปบังคับช้าระหนี้ เอาจากลูกหนี้ ก่อนได้
2. ผู้ค้ าประกันซึ่งได้ช้าระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไปแล้วย่อมมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจาก
ลูกหนี้ และรั บช่ วงสิท ธิของเจ้ าหนี้ ใ นมู ลหนี้ น้ั นได้ ต ลอดถึ ง ประกั นแห่ ง หนี้
แต่มีบางกรณี ท่ีผู้ค้ าประกันอาจเสียสิทธิไล่เบี้ยลูกหนี้ หรือไม่อาจเข้ารับช่วง
สิทธิของเจ้าหนี้ ได้เช่นกัน
3. สัญญาค้้าประกันย่อมระงับไปเช่นเดียวกับการระงับของสัญญาธรรม
ดาทั่วๆไป หรือเมื่อหนี้ ของลูกหนี้ ระงับลงไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ในบางกรณีผู้ค้ า
6
ประกั น อาจหลุ ด พ้ น ความรั บผิ ด เพราะเหตุ ส้า คั ญ อั น เกิ ด จากการกระท้า
ของเจ้าหนี้ ได้
2.1 ผลของสัญญาค้้าประกันก่อนช้าระหนี้

1. ความรับผิดของผู้ค้ าประกันตามสัญญาค้้าประกันเกิดขึ้นทันทีท่ีลูกหนี้
ผิดนัดไม่ช้าระหนี้
2. ถ้าลูกหนี้ มิได้ผิดนัด ผู้ค้ าประกันก็ยังไม่มีความรับผิดที่จะต้องช้าระหนี้
แก่เจ้า หนี้ แม้ ตัวลู กหนี้ เองอาจต้อ งช้า ระหนี้ ก่อ นถึ งเวลาก้า หนดเพราะไม่
อาจถือเอาประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาได้
3. เมื่อถูกเจ้าหนี้ ทวงถามให้ช้าระหนี้ ผู้ค้ าประกันอาจใช้สิทธิเบี่ยงเบนให้
เจ้าหนี้ ไปบังคับช้าระหนี้ เอาจากลูกหนี้ ก่อนได้ เว้นแต่ในกรณีท่ีมีข้อตกลงให้
ผู้ค้ าประกันต้องรับผิดร่วมกันกับลูกหนี้
4. เมื่อลูกหนี้ รับสภาพหนี้ หรือเมื่อเจ้าหนี้ ฟ้องคดีหรือท้าการอย่างอื่นอันมี
ผลอย่างเดียวกัน เป็ นเหตุให้อายุความฟ้ องคดีสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ลูก
หนี้ การนั้นย่อมตกเป็ นโทษแก่ผู้ค้ าประกันด้วย
2.1.1 ก้าหนดเวลาช้าระหนี้ ตามสัญญาค้้าประกัน
ด้าก้เู งินจากแดง โดยสัญญาจะใช้ให้ภายในก้าหนด 1 ปี มีขาวเป็ นผู้
ค้้าประกัน ครั้นเมื่อใกล้จะครบก้าหนด มีกฎหมายใหม่ออกมายกเลิกระบบ
เงินตราที่ใช้อยู่ในขณะนั้น โดยให้ใช้ธนบัตรชนิ ดใหม่ ซึ่งทางการยังพิมพ์
ออกมาให้ใช้กันได้ไม่ท่ัวถึง ด้าจึงไม่สามารถน้าเงินไปใช้หนี้ ให้แดงได้ครบ
ถ้วนตามเวลาที่ก้าหนด แดงจึงมาฟ้ องเรียกร้องเอาจากขาวในฐานะผู้ค้ า
ประกัน ให้วน ิ ิ จฉัยว่าแดงจะเรียกร้องเอาเช่นนั้นได้หรือไม่
ตามหลักมาตรา 686 ผู้ค้ าประกันจะต้องรับผิดตามสัญญาค้้าประกัน
เมื่อลูกหนี้ ผิดนัด กรณีตามปั ญหามีพฤติการณ์ท่ีด้ายังไม่สามารถช้าระหนี้
ได้ครบถ้วน โดยด้าไม่ต้องรับผิด เป็ นเหตุยกเว้นตามมาตรา 205 ด้ายังไม่ได้
ชื่อว่าผิดนัด แดงจึงจะมาเรียกร้องเอาแก่ขาวผู้ค้ าประกันไม่ได้
มาตรา 686 ลูกหนี้ ผิดนัดลงเมื่อใด ท่านว่าเจ้าหนี้ ชอบที่จะเรียก ให้ผู้ค้ าประกัน
ช้าระหนี้ ได้แต่น้ัน
มาตรา 205 ตราบใดการช้าระหนี้ น้ันยังมิได้กระท้าลงเพราะพฤติการณ์อันใด
อันหนึ่ ง ซึง
่ ลูกหนี้ ไม่ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ ยังหาได้ช่ ือว่าผิดนัดไม่
2.1.2 กรณีท่ล
ี ูกหนี้ ไม่อาจถือประโยชน์แห่งเงื่อนเวลา
การที่ผู้ค้ าประกันไม่จ้าต้องช้าระหนี้ ก่อนถึงก้าหนดช้าระ แม้ว่าลูกหนี้
จะไม่อาจถือเอาประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาได้แล้วก็ตาม มีเหตุผลอย่างไร
ประโยชน์แห่งเงื่อนเวลานั้ นปกติก้า หนดไว้เพื่อประโยชน์ของลูกหนี้
เพื่อให้ลกู หนี้ มีเวลาส้าหรับเตรียมการช้าระหนี้ แก่เจ้าหนี้ ได้ ดังนั้น การที่หนี้
มีก้าหนดเวลาช้าระจึงจึงได้ประโยชน์ไปถึงผู้ค้ าประกันด้วยในฐานะเป็ นลูก
หนี้ ช้ันที่ สอง ซึ่ งความรับผิด โดยตรงในการช้า ระหนี้ เ ป็ นของลู กหนี้ ไม่ใ ช่
7
ของผู้ค้ าประกัน ผู้ค้ าประกันจะมีความผิดก็ต่อเมื่อลูกหนี้ ผิดนัดไม่ช้าระหนี้
เท่านั้น หากไม่ใช่กรณีท่ีลูกหนี้ ผิดนัดแล้ว เจ้าหนี้ ไม่อาจใช้สิทธิเรียกร้องให้ผู้
ค้้าประกันรับผิดก่อนหนี้ ถึงก้าหนดได้ แม้ตัวลูกหนี้ เองอาจถูกฟ้ องบังคับให้
ต้ อ งช้า ระหนี้ ก่ อ นถึ ง ก้า หนดเพราะเหตุ ท่ี ต นไม่ อ าจถื อ เอาประโยชน์แ ห่ ง
เงื่อนเวลาตามกรณีใน มาตรา 193 ก็ตาม
มาตรา 193 ในกรณีดังต่อไปนี้ ฝ่ายลูกหนี้ จะถือเอาประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาเริ่ม
ต้นหรือเงื่อนเวลาสิ้นสุดมิได้
(1) ลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดตามกฎหมายว่าด้วย ล้มละลาย
(2) ลูกหนี้ ไม่ให้ประกันในเมื่อจ้าต้องให้
(3) ลูกหนี้ ได้ท้าลาย หรือท้าให้ลดน้อยถอยลงซึ่งประกันอันได้ให้ไว้
(4) ลูกหนี้ น้าทรัพย์สินของบุคคลอื่นมาให้เป็ นประกันโดยเจ้าของ ทรัพย์สินนั้น
มิได้ยินยอมด้วย

2.1.3 สิทธิเบี่ยงบ่ายของผู้ค้ าประกัน


ในฐานะที่ผู้ค้ าประกันมีความรับผิดเป็ นลูกหนี้ ช้ันที่ 2 เมื่อถูกเจ้าหนี้
ทวงถามให้ช้าระหนี้ ผู้ค้ าประกันมีสิทธิเบี่ยงบ่ายอย่างไรบ้าง
ผู้ค้ าประกันมีสิทธิดังนี้ คือ
1. มีสิทธิขอให้เจ้าหนี้ เรียกให้ลูกหนี้ ช้าระหนี้ ก่อน เว้นแต่ลูกหนี้ จะถูก
ศาลพิ พากษาให้เ ป็ นคนล้ มละลายหรื อ ไม่ ป รากฏว่ า ลู ก หนี้ ไ ปอยู่ แ ห่ ง ใดใน
ราชอาณาจักร (มาตรา 688)
2. มี สิ ท ธิ ใ ห้ เ จ้ า หนี้ บั ง คั บ ช้า ระหนี้ เอาจากทรั พ ย์ สิ น ของลู ก หนี้ ก่ อ น
หากผู้ค้ าประกันพิสูจน์ได้ว่าลูกหนี้ มีทางที่จะช้า ระหนี้ ได้และการที่จะบังคับ
เอาจากลูกหนี้ น้ันไม่เป็ นการยาก (มาตรา 689)
3. มีให้เจ้าหนี้ เอาช้าระหนี้ จากทรัพย์ของลูกหนี้ ท่ีเจ้าหนี้ ยึดถือไว้เป็ น
ประกันก่อน (มาตรา 690)
อย่างไรก็ตาม หากผู้ค้ าประกันมิได้เข้าค้้าประกันอย่างธรรมดา แต่
ได้ยน
ิ ยอมตกลงรับผิดร่วมกับลูกหนี้ ผู้ค้ าประกันย่อมไม่อาจใช้สิทธิต่างๆ ดัง
กล่าวข้างต้นมาเกี่ยงงอนเจ้าหนี้ ได้
มาตรา 688 เมื่อเจ้าหนี้ ทวงให้ผู้ค้ าประกันช้าระหนี้ ผู้ค้ าประกัน จะขอให้เรียก
ลูก หนี้ ช้า ระก่อนก็ได้ เว้น แต่ลูก หนี้ จ ะถูก ศาลพิพ ากษา ให้เป็ นคนล้ม ละลายเสี ยแล้ว
หรือไม่ปรากฏว่าลูกหนี้ ไปอยู่แห่งใดใน พระราชอาณาเขต
มาตรา 689 ถึงแม้จะได้เรียกให้ลูกหนี้ ช้าระหนี้ ด่ังกล่าวมาใน มาตรา ก่อนนั้น
แล้ ว ก็ ต าม ถ้ า ผู้ ค้ าประกั น พิ สู จ น์ไ ด้ ว่ า ลู ก หนี้ น้ั น มี ท าง ที่ จ ะช้า ระหนี้ ไ ด้ แ ละการที่ จ ะ
บังคับให้ลูกหนี้ ช้าระหนี้ น้ันจะไม่เป็ นการ ยากไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ จะต้องบังคับการช้าระ
หนี้ รายนั้นเอาจาก ทรัพย์สินของลูกหนี้ ก่อน
มาตรา 690 ถ้าเจ้าหนี้ มีทรัพย์ของลูกหนี้ ยึดไว้เป็ นประกันไซร้ เมื่อผู้ค้ าประกัน
ร้องขอ ท่านว่าเจ้าหนี้ จะต้องให้ช้าระหนี้ เอาจาก ทรัพย์ซึ่งเป็ นประกันนั้นก่อน
2.1.4 อายุความสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ผู้ค้ าประกัน
8
เหตุในกฎหมายจึงบัญญัติให้อายุความสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่ลูก
หนี้ เป็ นโทษแก่ผู้ค้ าประกันด้วย
สัญญาค้้าประกันเป็ นสัญญาอุปกรณ์ ซึ่งต้องขึ้นอยู่กับสัญญาประธาน
เมื่ อมี พ ฤติ ก ารณ์ท่ี เ ป็ นคุ ณ แก่ ลู ก หนี้ ในสั ญ ญาประธาน ผู้ ค้ าประกั น ใน
สัญญาอุปกรณ์ย่อมได้รับประโยชน์ด้วย ในกรณี ท่ีหนี้ ของลูกหนี้ ระงับสิ้นไป
ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ผู้ค้ าประกันย่อมหลุดพ้นความผิดไปด้วย เช่น ถ้าเจ้าหนี้
ละเลยไม่ฟ้องร้องให้ลูกหนี้ ช้าระหนี้ ตามมูลหนี้ ภายในก้าหนดอายุความ ลูก
หนี้ ย่ อมได้ รั บประโยชน์จ ากการที่ สิ ท ธิ เรี ย กร้ อ งของเจ้ า หนี้ ข าดอายุ ค วาม
คือไม่ต้องช้าระหนี้ ให้เจ้าหนี้ อีกต่อไป หากเจ้าหนี้ น้าคดีมาฟ้ องร้อง ลูกหนี้ ก็
ยกเรื่องขาดอายุความขึ้นต่อสู้ได้ และผู้ค้ าประกันก็ย่อมได้รับประโยชน์ใน
การหลุ ด พ้ น ความผิ ด และต่ อ สู้ เ จ้ า หนี้ ได้ ไ ด้ เ ช่ น เดี ย วกั บ ลู ก หนี้ แต่ ใ นทาง
กลั บ กั น เมื่ อมี เ หตุ ท้า ให้ อ ายุ ค วามสะดุ ด หยุ ด ลงเป็ นโทษแก่ ลู ก หนี้ ตาม
เหตุผลและความยุติธรรม เมื่อลูกหนี้ ในหนี้ ประธานยังต้องถูกผูกพันได้รับ
โทษจากการที่อายุความสะดุดหยุดลง ผู้ค้ าประกันก็ควรต้องได้รับโทษเช่น
เดี ย วกั น นั้ น ด้ ว ย เว้ น แต่ จ ะจ้า กั ด ความรั บ ผิ ด ในการเข้ า ค้้ าประกั น ไว้ ไ ม่
ให้ ก ารที่ อ ายุ ค วามสะดุ ด หยุ ด ลง อั น เป็ นโทษแก่ ลู ก หนี้ น้ั น เป็ นโทษแก่ ต น
ด้วย
2.2 ผลของสัญญาค้้าประกันภายหลังช้าระหนี้
1. เมื่อเจ้าหนี้ เรียกร้องให้ผู้ค้ าประกันช้า ระหนี้ ผู้ ค้ าประกั นมี สิทธิ ยกข้ อ
ต่อสู้เจ้าหนี้ ได้ ทั้งที่เป็ นข้อต่อสู้ของตนเองและที่เป็ นข้อต่อสู้ของลูกหนี้
2. โดยปกติผู้ค้ าประกันซึ่งได้ช้า ระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไปแล้ว ย่อมมีสิทธิไล่
เบี้ ย เอาจากลู ก หนี้ แ ละเข้ ารั บช่ ว งสิ ท ธิ ข องเจ้ า หนี้ ใ นมู ล หนี้ น้ั น ได้ ต ลอดถึ ง
ประกันแห่งหนี้ ในนามของตนเอง
3. ในบางกรณี ผู้ค้ าประกันซึ่งได้ช้าระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ แล้วอาจเสียสิทธิไล่
เบี้ยเอาจากลูกหนี้ ได้ เพราะผู้ค้ าประกันละเลยไม่ยกข้อต่อสู้ของลู กหนี้ ขึ้ น
ต่อสู้เจ้าหนี้ หรือเพราะช้าระหนี้ ไปโดยไม่บอกกล่าวลูกหนี้ ลูกหนี้ ไม่รู้จึงไป
ช้าระหนี้ ซ้ าอีก หรือเพราะมีข้อตกลงพิเศษรับผิดเกินกว่าความรับผิดของลูก
หนี้
4. หากเจ้าหนี้ เป็ นต้นเหตุให้ผู้ค้ าประกันไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้
ในสิทธิจ้านอง จ้าน้าหรือบุริมสิทธิซึ่งลูกหนี้ ให้ไว้แก่เจ้าหนี้ ก่อนหรือในขณะ
ท้าสัญญาค้้าประกันได้ ผู้ค้ าประกันย่อมหลุดพ้นความรับผิดต่อเจ้าหนี้ เท่าที่
ตนต้องเสียหายไป

2.2.1 สิทธิของผู้ค้ าประกันที่จะยกข้อต่อสู้เจ้าหนี้


เหตุใดกฎหมายจึงบัญญัติให้ผู้ค้ าประกันยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ ขึ้นต่อสู้
ผู้ค้ าประกันได้
9
ตามหลัก ของสั ญ ญาค้้ าประกั น ผู้ ค้ าประกั น ไม่ ใ ช่ ลู ก หนี้ ช้ั น ต้ น แต่
เป็ นบุคคลภายนอกที่เข้ามาค้้าประกันลูกหนี้ อีก ทีห นึ่ ง เป็ นความรั บผิ ดใน
ฐานะลูกหนี้ ช้ันที่ 2 เมื่อมีพฤติการณ์ใดที่เป็ นคุณและโทษแก่ลูกหนี้ ย่อมตก
เป็ นคุณและโทษแก่ลูกหนี้ ย่อมตกเป็ นคุณและโทษแก่ผู้ค้ าประกันด้วย ดัง
นั้น ในระหว่างเจ้าหนี้ และลูกหนี้ ในมูลหนี้ ลูกหนี้ มีข้อต่อสู้เจ้าหนี้ อยู่อย่างไร
ที่จะยกขึ้นต่อสู้ได้ ผู้ค้ าประกันก็ชอบที่จะยกข้อต่อสู้น้ันขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ ได้ด้วย
หากลู ก หนี้ เองไม่ ย กขึ้ น ต่ อ สู้ ห รื อ ไม่ อ าจยกข้ อ ต่ อ สู้ ไ ด้ เช่ น ลู ก หนี้ ตาย
เป็ นต้น เพราะแม้เป็ นกรณี ท่ีผู้ค้ าประกันมิได้ย กข้ อต่ อสู้ ของลู กหนี้ ขึ้นต่ อสู้
เจ้ า หนี้ แต่ ลู ก หนี้ เ องเป็ นผู้ ย กขึ้ น ต่ อ สู้ ก็ ย่ อ มเป็ นประโยชน์แ ก่ ผู้ ค้ าประกั น
ด้วยอย่แ ู ล้ว
2.2.2 สิทธิไล่เบี้ยและรับช่วงสิทธิ
ผู้ค้ าประกันซึ่งได้ช้าระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไปแล้ว มีสิทธิไล่เบี้ยเอาจาก
ใครได้บ้าง
ผู้ค้ าประกันมีสิทธิไล่เบี้ยดังนี้
1) ไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ ในต้นเงินกับดอกเบี้ย ตลอดจนความเสียหาย
อย่างใดที่เกิดขึ้นเนื่ องจากการค้้าประกันนั้น และได้รับช่วงสิทธิจ์ ากเจ้าหนี้
บรรดามีเหนื อลูกหนี้ ด้วย
2) ในกรณีท่ ีมีผู้ค้ าประกันหลายคนในหนี้ รายเดียวกัน ผู้ค้ าประกันคน
หนึ่ งซึ่งได้ช้า ระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไปแล้วยังมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากผู้ค้ าประกัน
คนอื่นๆ ได้อีกตามบทบัญญัติในมาตรา 682 วรรคสอง ประกอบมาตรา 229
(3) และมาตรา 296
มาตรา 682 ท่านว่าบุคคลจะยอมเข้าเป็ นผู้รับเรือน คือเป็ นประกัน ของผู้ค้ า
ประกันอีกชั้นหนึ่ ง ก็เป็ นได้
ถ้าบุคคลหลายคนยอมตนเข้าเป็ นผู้ค้ าประกันในหนี้ รายเดียวกันไซร้ท่านว่าผู้
ค้้าประกัน เหล่านั้ น มีค วามรับ ผิดอย่างลูก หนี้ ร่ว มกั น แม้ถึง ว่ ามิ ได้เ ข้า รับ ค้้ าประกัน
รวมกัน
มาตรา 229 การรับ ช่วงสิทธิย่อมมี ขึ้น ด้ว ยอ้า นาจกฎหมาย และ ย่ อมส้า เร็จ
เป็ นประโยชน์แก่บุคคลดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) บุคคลซึ่งเป็ นเจ้าหนี้ อยู่เอง และมาใช้หนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ อีก คนหนึ่ งผู้มีสิทธิจะ
ได้รับใช้หนี้ ก่อนตน เพราะเขามีบร ุ ิมสิทธิ หรือมี สิทธิจ้าน้า จ้านอง
(2) บุค คลผู้ ไ ด้ ไ ปซึ่ง อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ ด และเอาเงิ น ราคาค่ า ชื้ อใช้ ใ ห้ แ ก่ ผู้ รั บ
จ้านองทรัพย์น้ันเสร็จไป
(3) บุคคลผู้มีความผูกพันร่วมกับผู้อ่ ืน หรือเพื่อผู้อ่ ืนในอันจะต้อง ใช้หนี้ มีส่วน
ได้เสียด้วยในการใช้หนี้ น้ัน และเข้าใช้หนี้ น้ัน
มาตรา 296 ในระหว่างลูกหนี้ ร่วมกันทั้งหลายนั้น ท่านว่าต่างคน ต่างต้องรับ
ผิดเป็ นส่วนเท่า ๆ กัน เว้นแต่จะได้ก้าหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ถ้าส่วนที่ลูกหนี้ ร่วมกันคนใด
คนหนึ่ งจะพึงช้าระนั้น เป็ นอันจะเรียก เอาจากคนนั้นไม่ได้ไซร้ ยังขาดจ้านวนอยู่เท่าไร
ลูกหนี้ คนอื่น ๆ ซึ่งจ้าต้องออกส่วนด้วยนั้นก็ต้องรับใช้ แต่ถ้าลูกหนี้ ร่วมกันคนใด เจ้าหนี้
10
ได้ปลดให้หลุดพ้นจากหนี้ อันร่วมกันนั้นแล้ว ส่วนที่ลก
ู หนี้ คนนั้นจะพึงต้องช้าระหนี้ ก็
ตกเป็ นพับแก่เจ้าหนี้ ไป
2.2.3 การเสียสิทธิไล่เบี้ยของผู้ค้ าประกัน
ผู้ค้ าประกันจะเสียสิทธิไ์ ล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ ในกรณีใดบ้าง
ผู้ค้ าประกันอาจต้องเสียสิทธิไ์ ล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ ได้ในกรณีต่อไปนี้
1) เมื่อผู้ค้ าประกันละเลยไม่ยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ ขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ ผู้ค้ า
ประกันย่อมไม่มีสิทธิไ์ ล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ เท่าที่ไม่ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู้ เว้นแต่
จะพิ สู จ น์ไ ด้ ว่ า ตนไม่ รู้ ว่ า มี ข้ อ ต่ อ สู้ เ ช่ น นั้ น และการที่ ไ ม่ รู้ น้ั น ไม่ ใ ช่ เ พราะ
ความผิดของตน
2) เมื่อผู้ค้ าประกันช้าระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไปโดยไม่บอกกล่าวให้ลูกหนี้
ทราบและลูกหนี้ ไม่รู้ความเช่นนั้น จึงไปช้าระหนี้ อีก
3) เมื่อผู้ค้ าประกันยอมผูกพันตนรับผิดโดยสละข้อต่อสู้ของลูกหนี้ หรือ
ตกลงพิเศษยอมรับผิดเกินกว่าความรับผิดของลูกหนี้
2.2.4 เจ้าหนี้ ท้าให้ผู้ค้ าประกันไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิผู้ค้ าประกัน
หลุดพ้น
เหตุใดกฎหมายในมาตรา 697 จึงบัญญัติให้ผู้ค้ าประกันที่ไม่อาจเข้า
รับช่วงสิทธิจ์ ากเจ้าหนี้ ได้เพราะการกระท้าของเจ้าหนี้ หลุดพ้นจากความรับ
ผิดต่อเจ้าหนี้ ไปเท่าที่ตนต้องเสียหาย
เนื่ องจากความผิดของผู้ค้ าประกันเป็ นความผิดอย่างลูกหนี้ ช้ันที่สอง
เมื่อได้ช้าระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไปแล้ว กฎหมายยังให้สิทธิท่ีจะรับช่วงสิทธิข ์ อง
เจ้ า หนี้ ไล่ เ บี้ ย เอาจากลู ก หนี้ ไดตามมาตรา 693 ดั ง นั้ น ถ้ า มี เ หตุ ใ ห้ ผู้ ค้ า
ประกันเข้ารับช่วงสิทธิไม่ได้เพราะเจ้าหนี้ เป็ นต้นเหตุย่อมท้าให้ผู้ค้ าประกัน
เสียหาย โดยเหตุผลของหลักกฎหมายและความเป็ นธรรม ผู้ค้ าประกันจึง
ควรหลุดพ้นความรับผิดต่อเจ้าหนี้ ไปเท่าที่ตนต้องเสียหายไปนั้น กฎหมาย
จึงบัญญัติทางออกให้แก่ผู้ค้ าประกันไว้ดังกล่าว
มาตรา 697 ถ้าเพราะการกระท้าอย่างใดอย่างหนึ่ งของเจ้าหนี้ เองเป็ นเหตุให้
ผู้ค้ าประกัน ไม่อาจเข้ารับช่วงได้ท้ังหมดหรือแต่บางส่วน ในสิทธิก็ดีจ้านองก็ดี จ้าน้าก็
ดี และบุริมสิทธิอันได้ให้ไว้แก่เจ้าหนี้ แต่ก่อนหรือในขณะท้าสัญญาค้้าประกันเพื่อช้าระ
หนี้ น้ั น ท่ า นว่ า ผู้ ค้ าประกั น ย่ อ มหลุ ด พ้ น จากความรั บ ผิ ด เพี ย งเท่ า ที่ ต นต้ อ งเสี ย หาย
เพราะการนั้น
2.3 ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาค้้าประกัน
1. หนี้ ตามสัญญาผู้ค้ าประกันเป็ นเพียงหนี้ อุปกรณ์ ต้องอาศัยหนี้ ของลูก
หนี้ ซึ่งเป็ นหนี้ ประธานเป็ นหลัก ดังนั้น เมื่อมีกรณี ท่ีท้า ให้หนี้ ประธานระงับ
สิ้นไป ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ย่อมมีผลท้า ให้ความผูกพันตามสัญญาค้้าประกัน
ระงับสิ้นไปด้วย
11
2. การค้้ าประกั น เพื่ อ กิ จ การต่ อ เนื่ องกั น ไปหลายคราวไม่ จ้า กั ด เวลา
นั้น ผู้ค้ าประกันอาจบอกเลิกส้าหรับคราวอนาคตได้ ซึ่งมีผลให้ผู้ค้ าประกัน
ไม่ต้องรับผิดในกิจการที่ลูกหนี้ กระท้าลงภายหลังการบอกเลิกนั้น
3. ในหนี้ ท่ ีมีก้าหนดเวลาช้า ระแน่ นอน ถ้าเจ้าหนี้ ผ่อนเวลาช้า ระให้แก่ลูก
หนี โดยมิได้รับความตกลงยินยอมจากผู้ค้ าประกัน ผู้ค้ าประกันย่อมหลุดพ้น
จากความรับผิด
4. ผู้ค้ าประกันย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด หากได้ขอช้าระหนี้ แก่เจ้าหนี้
แล้ ว ตั้ ง แต่ เ มื่ อหนี้ ถึ ง ก้า หนดช้า ระ และเจ้ า หนี้ ไ ม่ ย อมรั บ ช้า ระหนี้ โ ดยไม่ มี
เหตุอันสมควร
5. สั ญ ญาค้้ าประกั น อาจระงั บ ลงด้ ว ยเหตุ ป ระการอื่ นอี ก นอกจากเหตุ ท่ ี
เกี่ยวกับหนี้ ของลูกหนี้ เป็ นส้าคัญ เช่น เมื่อหนี้ ระหว่างเจ้าหนี้ กับผู้ค้ าประกัน
ระงั บ สิ้ น ไป หรื อเมื่ อผู้ ค้ าประกั น ไม่ อ าจรั บ ช่ ว งสิ ท ธิ จ
์ ากเจ้ า หนี้ ไ ด้ ท้ั ง หมด
เป็ นต้น
2.3.1 หนี้ ประธานระงับสิ้นไป
เหตุใดสัญญาค้้าประกันจึงระงับไปเมื่อหนี้ ตามสัญญาประธานระงับ
และระงับไปได้ในกรณีใดบ้าง
สั ญ ญาค้้ าประกั น เป็ นแต่ เ พี ย งสั ญ ญาอุ ป กรณ์ ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย สั ญ ญา
ประธาน เมื่อหนี้ ระหว่างเจ้าหนี้ และลูกหนี้ อันเป็ นหนี้ ประธานระงับหนี้ ตาม
สั ญ ญาค้้ าประกั น ก็ ต้ อ งระงั บ ตามไปด้ ว ย เหตุ ท่ี ท้า ให้ ห นี้ ประธานระงั บ มี
หลายสาเหตุด้วยกัน ทั้งเหตุท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ ป.พ.พ. บรรพ 2 คือ การ
ช้าระหนี้ ปลดหนี้ หักกลบลบหนี้ แปลงหนี้ ใหม่ และหนี้ เกลื่อนกลืนกัน และ
ยังมีสาเหตุในประการอื่นที่เกี่ยวกับหนี้ ประธานนั้นเอง ที่ท้าให้ลูกหนี้ ไม่ต้อง
รับผิดในหนี้ อีกต่อไป ซึ่งท้าให้ผู้ค้ าประกันหลุดพ้นไปด้วย เช่นหนี้ ท่ีขาดอายุ
ความ เหตุตามกฎหมายล้มละลายในเรื่องการยกเลิกการประนอมหนี้ ท่ีมีผู้
ค้้าประกัน และหนี้ ท่ีลก ู หนี้ ไม่ต้องรับผิดในสาเหตุต่างๆ
2.3.2 ผู้ค้ าประกันบอกเลิกค้้าประกัน
ตามมาตรา 699 ผู้ค้ าประกันอาจบอกเลิกสัญญาค้้าประกันได้ในกรณี
ผู้ค้ าประกันอาจบอกเลิกสัญญาค้้าประกันได้ ส้า หรับการค้้าประกัน
กิจการที่ต่อเนื่ องไปหลายครั้งหลายคราวโดยไม่มีเวลาจ้า กัด โดยบอกเลิก
การค้้าประกันส้าหรับกิจการหรือหนี้ ในอนาคตที่ยังไม่เกิด ส่วนหนี้ ท่ีเกิดขึ้น
แล้ ว ก่ อ นการบอกเลิ กก็ ยั ง ต้ องรั บ ผิ ด อยู่ กรณี ดั ง กล่ า วนี้ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ องการค้้ า
ประกันหนี้ โดยผู้ค้ าประกันจ้ากัดขอบเขตของความรับผิดในเรื่องสัญญาค้้า
ประกัน และไม่ใช่กรณีการค้้าประกันหนี้ ท่ีมีก้าหนดระยะเวลาช้าระด้วย ซึ่ง
ตามกรณีท่ก ี ล่าวมา ไม่ใช่กรณีท่ีจะปรับเข้าตามหลักกฎหมายมาตรา 699
มาตรา 699 การค้้ าประกันเพื่อกิจการเนื่ องกันไปหลายคราวไม่มี จ้า กัดเวลา
เป็ นคุณแก่เจ้าหนี้ น้ัน ท่านว่าผู้ค้ าประกันอาจเลิกเสียเพื่อ คราวอันเป็ นอนาคตได้ โดย
บอกกล่าวความประสงค์น้ันแก่เจ้าหนี้
12
ในกรณี เ ช่น นี้ ท่านว่าผู้ค้ าประกัน ไม่ต้องรับ ผิดในกิจการที่ ลูก หนี้ กระท้า ลง
ภายหลังค้าบอกกล่าวนั้นได้ไปถึงเจ้าหนี้
2.3.3 เจ้าหนี้ ผ่อนเวลาช้าระหนี้ ให้แก่ลูกหนี้
เหตุใดการที่เจ้าหนี้ ผ่อนเวลาช้า ระหนี้ ให้แก่ลูกหนี้ ในหนี้ ท่ีมีก้า หนด
เวลาช้า ระโดยผู้ค้ าประกันมิได้ตกลงยินยอมด้วย จึงท้า ให้ผู้ค้ าประกันหลุด
พ้นความรับผิด
ผู้ค้ าประกันมีความรับผิดที่จะต้องช้า ระหนี้ เมื่อลูกหนี้ ไม่ช้า ระ การที่
เขาเข้าค้้าประกันหนี้ ให้ใคร เขาย่อมทราบดีว่าจะต้องผูกพันให้มีความรับผิด
เมื่อใด และจะพ้นความผูกพันไปเมื่อใด การที่ยอมเข้าค้้าประกันก็เพื่อที่ว่า
หากต้องช้า ระหนี้ ให้เจ้าหนี้ แทนลูกหนี้ ไปแล้ว ตนจะได้ใช้สิ ทธิ ไล่เ บี้ย ได้ ใน
เวลาที่คาดหมายได้ว่าลุกหนี้ ยังคงมีหลักฐานดีมีทรัพย์สินเพียงพอที่จะช้าระ
หนี้ ได้ หากเจ้าหนี้ ผ่อนเวลาช้า ระหนี้ ให้แก่ลูกหนี้ ผู้ค้ าประกันอาจต้องเสีย
หายเพราะต้องมีความรับผิดยืดเยื้อเนิ่ นนานออกไปอีก ซึ่งถ้าลูกหนี้ ยากจน
ลงในเวลาต่อมานั้นจะไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะช้าระหนี้ ผู้ค้ าประกันที่ต้อง
ใช้หนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ แทนไป อาจไล่เบี้ยเอาอะไรจากลูกหนี้ อีกไม่ได้ เพราะเหตุ
ที่เจ้าหนี้ ผ่อนเวลาให้เนิ่ นนานออกไปนั้น กฎหมายจึงต้องบัญญัติทางออกให้
ผู้ ค้ าประกั น หลุ ด พ้ น ความรั บ ผิ ด หากเจ้ า หนี้ ผ่ อ นเวลาให้ ลู ก หนี้ โดยผู้ ค้ า
ประกันมิได้ตกลงยินยอมด้วยในหนี้ ท่ีมก ี ้าหนดช้าระเวลาแน่ นอน
การผ่อนเวลาต้องมีลก ั ษณะอย่างไร
การผ่อนเวลา ต้องเป็ นกรณี ท่ีเจ้าหนี้ ตกลงยินยอมผูกมัดตัวเองว่าใน
ระหว่างเวลาที่ยืดออกไปนั้น เจ้าหนี้ จะใช้สิทธิเ์ รียกร้องหรือฟ้ องร้องเอาจาก
ลูกหนี้ ไม่ได้
2.3.4 เจ้าหนี้ ไม่ยอมรับช้าระหนี้ จากผู้ค้ าประกัน
เหตุ ใ ดกฎหมายจึ ง บั ญ ญั ติ ใ ห้ ผู้ ค้ าประกั น ซึ่ ง ขอช้า ระหนี้ เมื่ อหนี้ ถึ ง
ก้าหนดแล้ว และเจ้าหนี้ ไม่ยอมรับช้าระโดยไม่มีเหตุผลสมควร หลุดพ้นจาก
ความรับผิดตามสัญญาค้้าประกันไป
ผู้ค้ าประกันเป็ นแต่เพียงบุคคลภายนอกที่เข้ามาค้้าจุนหนี้ ของลูกหนี้
ไม่มีความรับผิดโดยตรงที่จะต้องช้า ระหนี้ แก่เจ้าหนี้ เหมือนอย่างลูกหนี้ ช้ัน
ต้ น เมื่ อหนี้ ถึ ง ก้า หนดช้า ระผู้ ค้ าประกั น อาจพิ จ ารณาเห็ น ว่ า หากหนี้ ถึ ง
ก้าหนดช้าระแล้วลูกหนี้ ไม่ช้าระ ผู้ค้ าประกันก็ต้องรับผิดช้า ระหนี้ ให้เจ้าหนี้
อยู่แล้ว ซึ่งหากปล่อยระยะเวลาให้เนิ่ นนานออกไป ในที่สุดภาระในหนี้ สน ิ ซึ่ง
อาจเป็ นดอกเบี้ยหรือค่าใช้จ่ายอย่างอื่นอาจต้องตกหนั ก แก่ผู้ค้ าประกั นใน
ที่สุด ดังนั้นถ้าตนช้าระหนี้ แทนลูกหนี้ ไปเสียแต่ต้น ก็จะได้หลุดพ้นความรับ
ผิดชอบไปโดยตนไปไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ ได้ภายหลัง กฎหมายจึงบัญญัติให้
สิทธิผู้ค้ าประกันขอช้า ระหนี้ แก่เจ้าหนี้ ได้ต้ังแต่เวลาที่หนี้ ถึงก้า หนดที่เดียว
แล้วเจ้าหนี้ จะไม่ยอมรับช้าระหนี้ โดยไม่มีเหตุอันควรไม่ได้ ในกรณี เช่นนี้ ผู้
ค้้าประกันจึงหลุดพ้นจากความรับผิดไปเลยทีเดียว เป็ นทางออกที่กฎหมาย
บัญญัติเพื่อคุ้มครองให้ความเป็ นธรรมแก่ผู้ค้ าประกันซึ่งอยู่ในฐานะเนื้ อไม่
13
ได้กิน หนังไม่ได้รองนั่ง ซึ่งจะไม่ต้องผูกพันอีกต่อไปเหมือนอย่างลูกหนี้ ช้ัน
ต้น
2.3.5 เหตุอ่ ืนๆ ที่ท้าให้สัญญาค้้าประกันระงับสิ้นไป
สัญญาค้้าประกันอาจระงับลงได้ด้วยเหตุอ่ ืนอื่ นนอกจากเหตุ ท่ีเกี่ ยว
หนี้ ของลูกหนี้ ในกรณีใดได้บ้าง
สัญญาค้้าประกันอาจระงับลงได้ในเหตุประการอื่นนอกจากที่เกี่ยวกับ
หนี้ ของลูกหนี้ ดังต่อไปนี้
1. เมื่อหนี้ ระหว่างเจ้าหนี้ กับผู้ค้ าประกันระงับ
2. เมื่อผู้ค้ าประกันไม่อาจเข้ารับช่วงสิทธิข
์ องเจ้าหนี้ ได้ท้ังหมด
3. เมื่อผู้ค้ าประกันตายในขณะที่หนี้ ของลูกหนี้ ยังไม่เกิดขึ้น
แบบประเมินผลหน่วยที่ 2
1. ความรับผิดของผู้ค้ าประกันตามสัญญาค้้าประกันเกิดขึ้นเมื่อ ลูกหนี้ ผิดนัดไม่
ช้าระหนี้
2. เมื่อถูกเจ้าหนี้ ทวงถามให้ช้าระหนี้ ผู้ค้ าประกันมีสิทธิคือ (1) มีสิทธิขอให้เจ้าหนี้ ไป
เรียกให้ลูกหนี้ ช้าระหนี้ ก่อน (2) มีสิทธิจกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ ขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ (3) มีสิทธิขอ
ให้เจ้าหนี้ ไปบัง คับ ช้า ระหนี้ เ อาจากทรัพ ย์สิน ของลูก หนี้ ท่ี เ จ้ าหนี้ ยึ ด ถื อไว้เ ป็ นประกัน
ก่อน (4) มีสิทธิยกข้อต่อสู้ของตนเองขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ ได้
3. เมื่อลูกหนี้ รับสภาพหนี้ ท้าให้อายุความของหนี้ ประธานสะดุดหยุดลงเป็ นโทษแก่
ผู้ค้ าประกัน
4. โดยหลักแล้วผู้ค้ าประกันเมื่อได้ช้าระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไปแล้ว มีสิทธิ (1) มีสิทธิไล่
เบี้ ย เอาจากลู ก หนี้ (2) มี สิ ท ธิ รั บ ช่ ว งสิ ท ธิ จ ากเจ้ า หนี้ (3) มี สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย เอาจากผู้ ค้ า
ประกัน รายอื่นที่เข้าค้้ าประกัน หนี้ รายเดียวกัน แล้วไล่เ บี้ ยจากลูก หนี้ ไม่ได้ หรือได้ไม่
ครบ
5. ผู้ค้ าประกันอาจเสียสิทธิไล่เบี้ยในกรณี เมื่อผู้ค้ าประกันช้า ระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไป
โดยไม่บอกกล่าวลูกหนี้ ลูกหนี้ ไม่รู้จง ึ ไปช้าระซ้้าอีก
6. ผู้ค้ าประกันอาจหลุดพ้นความรับผิดตามสัญญาค้้าประกันไปโดยสิ้นเชิงในกรณี
เมื่อผู้ค้ าประกันของช้าระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ เมื่อหนี้ ถึงก้าหนดช้า ระ แต่เจ้าหนี้ ไม่ยอมรับ
ช้าระโดยไม่มีเหตุอันสมควร
7. กรณี ท่ีถือว่าเป็ นการที่เจ้าหนี้ ผ่อนเวลาช้า ระหนี้ ให้แก่ลูกหนี้ คือ เจ้าหนี้ ตกลงยืด
เวลาช้าระหนี้ ให้แก่ลูกหนี้ ในหนี้ ท่ีมีก้าหนดเวลาช้าระแน่ นอนโดยจะยังใช้สิทธิเรียกร้อง
ต่อลูกหนี้ ในระหว่างเวลาที่ยืดออกไปไม่ได้
8. ผู้ค้ าประกันอาจไม่มีสิทธิเบี่ยงบ่ายให้เจ้าหนี้ ไปบังคับช้าระหนี้ เอาจากลูกหนี้ ก่อน
เมื่อถูกเจ้าหนี้ ทวงถามให้ช้าระหนี้ ในกรณี เมื่อผู้ค้ าประกันต้องร่วมรับผิดกับลูกหนี้
9. กรณี ท่ี ท้า ให้ สั ญ ญาค้้ าประกั น ระงั บ สิ้ น ไปคื อ เมื่ อหนี้ ใ นระหว่ า งเจ้ า หนี้ กั บ ผู้ ค้ า
ประกันเกลื่อนกลืนกัน
10. ผู้ค้ าประกันมีสิทธิไล่เบี้ยจากลูกหนี้ เมื่อได้ช้าระหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ ไปแล้ว ได้แก่ (1)
เงินต้นและดอกเบี้ย (2) ดอกเบี้ยเงินกู้ซึ่งผู้ค้ าประกันต้องกู้มาช้า ระหนี้ แทนลูกหนี้ (3)
ค่าจ้างทนายซึ่งผู้ค้ าประกันจ้างมาต่อสู้คดีท่ีเจ้าหนี้ ฟ้องให้ช้าระหนี้ น้ัน
14

หน่ วยที่ 3 ลักษณะทั่วไปของสัญญาจ้านอง


1.สัญญาจ้า นองเป็ นสัญญาซึ่งผู้จ้า นองเอาทรัพย์สินตราไว้ให้แก่บุคคล
อีกคนหนึ่ ง คือผู้รับจ้า นองเพื่อเป็ นประกันการช้า ระหนี้ โดยไม่ต้องส่งมอบ
ทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจ้านอง และผู้รับจ้านองมีสิทธิท่ีจะได้รับช้าระหนี้ จาก
ทรัพย์สินที่จ้านองก่อนเจ้าหนี้ สามัญเมื่อลูกหนี้ ไม่ช้าระหนี้ โดยไม่ต้องค้านึ ง
ว่ากรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินที่น้ามาประกันการช้าระหนี้ น้ันจะได้โอนไปยังผู้ใด
และสัญญาจ้านองต้องท้าตามแบบ คือ ต้องท้า เป็ นหนังสือ และจดทะเบียน
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
2. สิ ท ธิ จ้า นองครอบไปถึ ง ทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง จ้า นองหมดทุ ก สิ่ ง และทุ ก ส่ ว น
ตลอดจนครอบไปถึงทรัพย์อันติดอยู่กับทรัพย์สินที่จ้านอง
3.1 สาระส้าคัญของสัญญาจ้านอง
1. สัญญาจ้านองเป็ นการประกันการช้าระหนี้ ด้วยทรัพย์ โดยผู้จ้านองเอา
ทรั พย์สิน ตราไว้ ให้ แก่ ผู้รั บจ้า นอง เพื่อประกั นการช้า ระหนี้ โดยไม่ต้ องส่ ง
มอบทรัพย์สินนั้นแก่ผู้รับจ้านอง และผู้รับจ้านองชอบที่จะได้รับช้าระหนี้ จาก
ทรัพย์สินที่จ้านองก่อนเจ้าหนี้ สามัญ โดยไม่ค้า นึ งว่ากรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สิน
จะได้โอนไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือไม่
2. สัญญาจ้า นองต้องท้า ตามแบบโดยท้า เป็ นหนั งสือ และจดทะเบีย นแก่
พนักงานเจ้าหน้าที่มิฉะนั้นย่อมตกเป็ นโมฆะ
3. อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ทุ ก ประเภท สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ช นิ ด พิ เ ศษ ที่ ก ฎหมาย
บัญญัติให้ต้องจดทะเบียนเป็ นทรัพย์สินที่จ้านองได้
4. ผู้จ้านองทรัพย์สินนั้น ต้องเป็ นบุคคลผู้เป็ นเจ้าของทรัพย์ในขณะจ้านอง
บุคคลอื่นจ้านองไม่ได้
5. ข้อความในสัญญาจ้า นอง ต้องระบุทรัพย์สินที่จ้า นองและระบุจ้า นวน
เงิ น เป็ นเงิ น ไทย เป็ นจ้า นวนแน่ น อนตรงตั ว หรื อ จ้า นวนสู ง สุ ด ที่ ไ ด้ เ อา
ทรัพย์สิน จ้านองนั้นตราเป็ นประกันก่อนหนี้ ถึงก้าหนดช้าระ หากมีข้อความ
ได้ตกลงกันไว้ว่า ถ้าไม่ช้า ระหนี้ แล้วผู้รับจ้า นองเข้าเป็ นเจ้าของทรัพย์สินที่
จ้า นอง หรื อ จั ด การแก่ ท รั พ ย์ สิ น นั้ น เป็ นอย่ า งอื่ น นอกจากบทบั ญ ญั ติ ท้ั ง
หลายอันว่าด้วยจ้านองแล้ว ข้อตกลงนั้นไม่สมบูรณ์
6. ผู้ จ้า นองสามารถจ้า นองทรั พ ย์ สิ น ภายในบั ง คั บ แห่ ง เงื่ อนไข หรื อ
จ้านองทรัพย์หลายสิ่งประกันหนี้ รายเดียวได้
3.1.1 ความหมายและแบบของสัญญาจ้านอง
สัญญาจ้านองคืออะไร
15
เป็ นสั ญ ญาซึ่ ง บุ ค คลสั ญ ญากั บ เจ้ า หนี้ เอาทรั พ ย์ สิ น ตราไว้ เ ป็ น
ประกันการช้า ระหนี้ โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สิน และผู้รับจ้า นองมีสิทธิได้
รับช้าระหนี้ จากทรัพย์สินที่จ้านองก่อนเจ้าหนี้ สามัญ (มาตรา 702)
ด้าและแดงท้าสัญญาซื้อขายอาวุธสงคราม โดยมีขาวจ้า นองที่ดินของ
ตนแปลงหนึ่ ง เพื่ อเป็ นประกั น การช้า ระราคาของด้า ต่ อ มาแดงได้ ส่ ง มอบ
อาวุธให้ด้าครบตามจ้านวนที่ตกลงกัน แต่ด้าปฏิเสธไม่ยอมช้าระราคา แดง
จะฟ้ องศาลบังคับจ้านองที่ดินที่ขาวน้ามาจ้านองแก่ตนตนได้หรือไม่
สัญญาจ้า นองจะมีได้ก็แต่เฉพาะเพื่อหนี้ ท่ีสมบูรณ์ เมื่อหนี้ ตามสัญญา
จ้า นองเป็ นหนี อุปกรณี ซึ่งต้องอาศัยความสมบูรณ์ของหนี้ ประธาน ในกรณี
หนี้ ประธานคือสัญญาซื้อขายโมฆะตามมาตรา 150 เพราะมีวัตถุท่ีประสงค์
เป็ นการต้องห้ามตามกฎหมายสัญญาจ้านองซึ่งเป็ นหนี้ อุปกรณ์จึงมีขึ้นไม่ได้
ดังนี้ แดงจะฟ้ องศาลบังคับจ้านองที่ดินของขาวซึ่งน้ามาจ้านองไว้แก่ตนไม่ได้
มาตรา 702 อันว่าจ้า นองนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ ง เรียกว่า ผู้จ้า นองเอา
ทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ ง เรียกว่าผู้รับจ้านอง เป็ นประกันการช้าระหนี้ โดย
ไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจ้านอง
ผู้รับจ้านองชอบที่จะได้รับช้าระหนี้ จากทรัพย์สินที่จ้านองก่อน เจ้าหนี้ สามัญมิพัก
ต้องพิเคราะห์ว่ากรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินจะได้โอน ไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือหาไม่
มาตรา 150 การใดมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ป็ นการต้ อ งห้ า มชั ด แจ้ ง โดย กฎหมาย
เป็ นการพ้ น วิ สั ย หรื อ เป็ นการขั ด ต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ย หรื อ ศี ล ธรรมอั น ดี ข อง
ประชาชน การนั้นเป็ นโมฆะ
ก. ท้าสัญญากู้เงินจาก ข. ไป 20,000 บาท โดยมอบโฉนดให้ ข. ยึดถือไว้
ต่อมา ก. ไม่ช้าระหนี้ เงินกู้ ข. จะมีสิทธิบังคับช้าระหนี้ จาก ก. ได้อย่างไรหรือ
ไม่
ข. บังคับช้า ระหนี้ เงินกู้จาก ก. ได้อย่างเจ้าหนี้ สามัญเท่านั้นเพราะหนี้
ประธานสมบู ร ณ์ ส่ ว นสั ญ ญาจ้า นองตกเป็ นโมฆะเนื่ องจากมิ ไ ด้ ท้า เป็ น
หนังสือและจดทะเบียนกับพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา 714) จึงบังคับจ้านอง
ไม่ ไ ด้ เ พราะไม่ มี สั ญ ญาจ้า นองต่ อ กั น แม้ ห นี้ อุ ป กรณ์จ ะไม่ ส มบู ร ณ์ หนี้
ประธานซึ่งสมบูรณ์อย่ก ู ็ใช้บังคับได้ตามหนี้ ประธาน อย่างไรก็ดี ข. มีสิทธิยึด
หน่ วงโฉนดนั้นไว้ได้จนกว่าจะได้รับช้าระหนี้
มาตรา 714 อัน สัญญาจ้า นองนั้ น ท่านว่าต้องเป็ นหนั ง สื อและ จดทะเบี ยนต่ อ
พนักงานเจ้าหน้าที่
3.1.2 ทรัพย์สินที่จ้านองได้
ก. มีท่ีดินมือเปล่าอยู่แปลงหนึ่ ง ได้มาขอท้าสัญญาจ้านองที่ดินแปลงนี้
แก่ ข. ข. มาปรึกษาท่านจะรับจ้า นองที่ดินแปลงนี้ ได้หรือไม่ ให้อธิบายและ
ให้เหตุผลว่า ข. จะรับจ้านองได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณีน้ี ต้องพิจารณาว่าที่ดินมือเปล่านี้ เป็ นที่ดินมือเปล่าที่มี น.ส.3 หรือ
ไม่ ข. รับจ้า นองที่ดินแปลงนี้ ไม่ได้ถ้าเป็ นที่ดินมือเปล่าที่ไม่มี น.ส. 3 เพราะ
16
ที่ดินตามมาตรา 703 เป็ นอสังหาริมทรัพย์ก็จริง แต่ต้องเป็ นที่ดินมือเปล่า
ที่มี น.ส. 3 จึงจะจ้านองได้
ข. รั บจ้า นองที่ดิ นแปลงนี้ ได้ถ้ าเป็ นที่ดิ นมื อเปล่ า ซึ่ ง มี น.ส. 3 (มาตรา
703 ประกอบกับ พ.ร.บ. ให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 9)
มาตรา 703 อันอสังหาริมทรัพย์น้ันอาจจ้านองได้ไม่ว่าประเภท ใด ๆ
สังหาริมทรัพย์อันจะกล่าวต่อไปนี้ ก็อาจจ้านองได้ดุจกัน หากว่าได้จดทะเบียนไว้
แล้วตามกฎหมายคือ
(1) เรือก้าปั นหรือเรือมีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไปเรือกลไฟหรือเรือยนต์มีระวาง
ตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป
(2) แพ
(3) สัตว์พาหนะ
(4) สังหาริมทรัพย์อ่ ืน ๆ ซึ่งกฎหมายหากบัญญัติไว้ให้จดทะเบียน เฉพาะการ
3.1.3 ผู้จ้านองต้องเป็ นเจ้าของทรัพย์
ที่กล่าวว่าผู้จ้านองต้องเป็ นเจ้าของทรัพย์ ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
มาตรา 705 บั ญ ญั ติ ว่ า “ การจ้า นองทรั พ ย์ สิ น นั้ น นอกจากผู้ เ ป็ น
เจ้ า ของในขณะนั้ น แล้ ว ท่ า นว่ า ใครอื่ นจะจ้า นองหาได้ ไ ม่ ” ดั ง นั้ น ผู้ ท่ี จ ะ
จ้า นองได้ ต้ อ งเป็ นเจ้ า ของทรั พ ย์ สิ น ในขณะจ้า นอง ถ้ า เป็ นบุ ค คลอื่ นเอา
ทรัพย์สินไปจ้า นอง สัญญาจ้า นองไม่ผูกพันเจ้าของทรัพย์ ค้า ว่าเจ้าของนั้น
หมายรวมถึง เจ้าของรวมตามมาตรา 1361 และตัวแทนผู้ได้รับมอบอ้า นาจ
ตามมาตรา 798 ด้วย แต่ก็มีบางกรณีแม้ว่าผู้จ้านองไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่
จ้านองก็ตาม สัญญาจ้านองก็มีผลผูกพันทรัพย์สินของผู้เป็ นเจ้าของดังกรณี
ต่อไปนี้ เจ้าของทรัพย์ประมาทเลินเล่อ เจ้าของทรัพย์สินมีส่วนรู้เห็นยินยอม
ในการจ้านอง หรือตัวแทนของผู้รับจ้านองท้าเกินขอบอ้านาจ
ด้า เป็ นผู้ ค รอบครองที่ ดิ น มื อ เปล่ า ที่ มี น.ส. 3 โดยมี ช่ ื อด้า เป็ นผู้ ค รอบ
ครอง แดงซึ่งเป็ นบุตรของด้าได้ท้ามาหากินในที่ดินดังกล่าวเกิน 10 ปี แดงมี
สิทธิจะจ้านองที่ดินแปลงนี้ ได้หรือไม่เพราะเหตุใด
แดงไม่ มี สิ ท ธิ จ้า นองที่ ดิ น เพราะด้า เป็ นผู้ ค รอบครองที่ ดิ น มื อ เปล่ า มี
น.ส.3 ผู้ ท่ี ครองครองที่ ดิ น ประเภทนี้ มี เ พี ย งสิ ท ธิ ค รอบครองและไม่ มี
กรรมสิ ทธิ ์ (พรบ. ให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน ) แดงแม้จะครองครองที่ ดิน
นั้ น มาเกิ น 10 ปี ก็ ไ ม่ ไ ด้ ก รรมสิ ท ธิ ์ เมื่ อแดงมิ ไ ด้ เ ป็ นเจ้ า ของทรั พ ย์ ต าม
มาตรา 705 แดงไม่มีสิทธิจ้านองที่ดินแปลงนี้
มาตรา 705 การจ้า นองทรัพ ย์สินนั้ น นอกจากผู้เป็ นเจ้าของใน ขณะนั้ น แล้ว
ท่านว่าใครอื่นจะจ้านองหาได้ไม่
3.1.4 ข้อความในสัญญาจ้านอง
“สัญญาจ้านองต้องระบุจ้านวนเงินไทยแน่ นอน” ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
สัญญาจ้านองต้องระบุจ้า นวนเงินไทยแน่ นอน เป็ นข้อความในสัญญา
จ้า นองซึ่ ง กฎหมายตามมาตรา 708 ก้า หนดให้ ต้ อ งระบุ จ้า นวนแน่ น อนใน
17
สัญญาจ้านอง มีปัญหาว่าเมื่อระบุจ้านวนเงินแน่ นอนแล้ว ต้องระบุไว้เป็ น
เงินสกุลไทยหรืออาจระบุเป็ นเงินสกุลอื่นก็ได้ในกรณีน้ี นักกฎหมายพวกหนึ่ ง
เห็ น ว่ า ต้ อ งเป็ นสกุ ล ไทยเท่ า นั้ น ถ้ า ระบุ เ งิ น สกุ ล อื่ นสั ญ ญาจ้า นองตกเป็ น
โมฆะ อีกความเห็นหนึ่ งเห็นว่าอาจระบุเป็ นเงินสกุลอื่นก็ได้
มาตรา 708 สัญญาจ้า นองนั้ นต้องมีจ้า นวนเงินระบุไว้เป็ นเรือน เงินไทยเป็ น
จ้า นวนแน่ ต รงตั ว หรื อ จ้า นวนขั้ น สู ง สุ ด ที่ ไ ด้ เ อาทรั พ ย์ สิ น จ้า นองนั้ น เป็ นตราไว้ เ ป็ น
ประกัน
3.1.5 ลักษณะของการจ้านอง
นายบุ ญ กู้ เ งิ น นายชู 500,000 บาท โดยมี น ายสมเอาที่ ดิ น มาจ้า นอง
ประกั น หนี้ เงิ น กู้ 300,000 บาท นายจิ ต เอาบ้ า นมาจ้า นองเป็ นประกั น หนี้
200,000 บาท การตกลงกันจ้านองเช่นนี้ มีผลบังคับหรือไม่
ตามมาตรา 710 ทรัพย์หลายสิ่งของเจ้าของหลายคนสามารถจ้า นอง
เป็ นประกันหนี้ รายเดียวได้ และอาจตกลงให้ทรัพย์แต่ละสิ่งเป็ นประกันหนี้
เฉพาะส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดที่ร ะบุ ไ ว้ ก็ ไ ด้ ฉะนั้ น การที่ น ายสมและนายจิ ต เอา
ที่ดินกับบ้านของตนเองมาจ้านองประกันหนี้ ของนายบุญ โดยตกลงให้ท่ีดิน
เป็ นประกันหนี้ 300,000 บาท และบ้านเป็ นประกันหนี้ 200,000 บาท ย่อมมี
ผลบังคับได้ตามกฎหมาย
มาตรา 710 ทรัพย์สินหลายสิ่งมีเจ้าของคนเดียวหรือหลายคนจะ จ้า นองเพื่อ
ประกั น การช้า ระหนี้ แต่ ร ายหนึ่ ง รายเดี ย ว ท่ า นก็ ใ ห้ ท้า ได้ และในการนี้ คู่ สั ญ ญาจะ
ตกลงกันดั่งต่อไปนี้ ก็ได้ คือว่า
(1) ให้ผู้รับจ้านองใช้สิทธิบังคับเอาแก่ทรัพย์สิน ซึ่งจ้านองตาม ล้าดับอันระบุ
ไว้
(2) ให้ถือเอาทรัพย์สินแต่ละสิ่งเป็ นประกันหนี้ เฉพาะแต่ส่วนหนึ่ ง ส่วนใดที่
ระบุไว้
3.2 ขอบเขตของสิทธิจ้านอง
1. ทรัพย์สินซึ่งจ้านองย่อมเป็ นประกันช้าระหนี้ ประธานกับทั้งค่าอุปกรณ์
อั น ได้ แ ก่ ดอกเบี้ ย ค่ า สิ น ไหมทดแทนในการไม่ ช้า ระหนี้ และค่ า ฤชา
ธรรมเนี ยมในการบังคับจ้านอง
2. จ้า นองครอบไปถึ ง ทรั พ ย์ สิ น ที่ จ้า นองหมดหมดทุ ก สิ่ งและแม้ ว่ า
ทรัพย์สินที่จ้านองจะแบ่งออกเป็ นหลายส่วนจ้านองก็ครอบไปทุกส่วน แต่ถ้า
หากผู้รับจ้านองยินยอมด้วย การโอนทรัพย์สินส่วนหนึ่ งส่วนใดไปโดยปลอด
จากการจ้า นองก็ท้า ได้ แต่ความยินยอมนั้นต้องได้จดทะเบียนจึงจะยกเป็ น
ข้อต่อสู้บุคคล ภายนอกได้
3. สิทธิ จ้า นองครอบถึ งทรัพ ย์ท้ ั งปวงอัน ติด อยู่กั บทรัพ ย์ท่ ี จ้า นอง เว้นแต่
กรณี ดั ง ต่ อ ไปนี้ คื อ โรงเรื อ นซึ่ ง ปลู ก สร้ า งในที่ ดิ น จ้า นองภายหลั ง จ้า นอง
จ้านองโรงเรือนซึ่งอยู่บนที่ดินของผู้อ่ ืนหรือจ้านองที่ดินแต่มีโรงเรือนคนอื่น
ปลูกอย่แ ู ละดอกผลของทรัพย์สินที่จ้านอง
18
3.2.1 ทรัพย์สินซึ่งจ้านองย่อมเป็ นประกันหนี้ ประธานและค่า
อุปกรณ์
ทรัพย์สินที่จ้านองประกันหนี้ อะไรบ้าง
ทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง จ้า นองย่ อ มเป็ นประกั น หนี้ ประธานและค่ า อุ ป กรณ์ หนี้
ประธานก็ แ ล้ ว แต่ ว่ าเป็ นหนี้ อะไร เช่ น หนี้ กู้ ยื ม หนี้ ล ะเมิ ด หนี้ สั ญญาบั ญ ชี
เดิ น สะพั ด จ้า นองย่ อ มเป็ นประกั น หนี้ ประธานทั้ ง หมดและยั ง รวมถึ ง ค่ า
อุ ป กรณ์ ใ นหนี้ ประธานนั้ นด้ ว ย ซึ่ ง กฎหมายก้า หนดไว้ 3 ประการคื อ
ดอกเบี้ย ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ช้าระหนี้ และค่าฤชาธรรมเนี ยมในการ
บังคับช้าระหนี้ เรื่องดอกเบี้ยจะมีหรือไม่แล้วแต่จะก้าหนดกันแต่ต้องไม่เกิน
อัตราที่กฎหมายก้า หนด ค่าสินไหมทดแทนต้องเป็ นเรื่องค่าเสียหายที่เกิด
ขึ้นโดยปกติหรือโดยพฤติการณ์พิเศษจากการไม่ช้าระหนี้ ของลูกหนี้ ส่วนค่า
ฤชาธรรมเนี ยมในการบังคับจ้านองคือค่าธรรมเนี ยมศาลและค่าธรรมเนี ยม
ชั้นบังคับคดีด้วย
3.2.2 สิทธิจ้านองครอบทรัพย์ทุกสิ่งและทุกส่วนที่จ้านอง
ก. จ้า นองที่ ดิ น มี โ ฉนดจ้า นวน 5 ไร่ เพื่ อประกั น การช้า ระหนี้ เงิ น กู้
จ้านวน 20,000 บาท ต่อมาแบ่งแยกโฉนดออกเป็ นแปลงย่อย 5 แปลงแต่ละ
แปลงมีราคา 10,000 บาท สิทธิจ้านองครอบที่ดินแปลงนี้ เพียงใด
ที่ดินมีโฉนดจ้านวน 5 ไร่ เป็ นทรัพย์สินจ้านองแบ่งแยกเป็ นหลายส่วน
แม้ต่อมาจะแบ่งแยกออกเป็ นส่วนๆ ก็มิใช่เป็ นเรื่องจ้านองทรัพย์สินหลายสิ่ง
แม้ว่าที่ดินขอแบ่งแยกในภายหลังเพียง 2 แปลงจะมีราคาเท่ากับหนี้ ท่ีมีอยู่
ก็ตาม การจ้า นองก็ครอบไปทั้งหมดในที่ดิน 5 ไร่ ซึ่งถ้า ก. ลูกหนี้ ช้า ระหนี้
ผู้รับจ้านองคือ ข. ยังไม่ครบจ้านวนจะมาขอปลดทรัพย์บางส่วนออกจากการ
จ้านองไม่ได้ถ้า ข. ไม่ยินยอม
3.2.3 สิทธิจ้านองครอบถึงทรัพย์ท้ังปวงอันติดอยู่กับทรัพย์ท่ีจ้านอง
สิทธิจ้านองย่อมครอบคลุมไปถึงทรัพย์ท่ีติดพันอยู่กับทรัพย์จ้านองท่าน
เข้าใจว่าอย่างไร
ตามมาตรา 718 นั้นหมายความว่าเมื่อจ้านองทรัพย์สินใด สิทธิจ้านอง
ย่อมครอบไปทุกส่วนของทรัพย์ท่ีจ้านองและครอบไปถึงทรัพย์ท่ีติดพันอยู่กับ
ทรัพย์ท่ีจ้า นองด้วย ทรัพย์ท่ีติดพันกับทรัพย์ท่ีจ้า นองนั้ นต้อ งพิ จารณาเป็ น
เรื่องๆ ไปว่าอะไรเป็ นอะไรไม่เป็ น ถ้าหากสิ่งใดเป็ นส่วนควบก็เป็ นทรัพย์ท่ี
ติดพันกับทรัพย์จ้านอง จ้านองย่อมครอบไปทั้งหมดแต่กฎหมายก้า หนดข้อ
ยกเว้นไว้ 3 กรณี ซึ่งแม้ทรัพย์น้ันติดพันกับทรัพย์สินที่จ้านอง สิทธิจ้านองก็
ไม่ครอบไปถึง
มาตรา 718 จ้านองย่อมครอบไปถึงทรัพย์ท้ังปวงอันติดพันอยู่กับทรัพย์สินซึ่ง
จ้านอง แต่ต้องอยู่ภายในบังคับซึ่งท่านจ้ากัดไว้ใน สาม มาตรา ต่อไปนี้
มาตรา 719 จ้า นองที่ดินไม่ครอบไปถึงเรือนโรงอันผู้จ้า นอง ปลูก สร้างลงใน
ที่ดินภายหลังวันจ้านอง เว้นแต่จะมีข้อความกล่าวไว้ โดยเฉพาะในสัญญาว่าให้ครอบ
ไปถึง
19
แต่กระนั้นก็ดี ผู้รับจ้า นองจะให้ขายเรือนโรงนั้ นรวมไปกับที่ดินด้วยก็ได้แต่
ผู้รบ
ั จ้านองอาจใช้บุริมสิทธิของตนได้เพียงแก่ราคาที่ดิน เท่านั้น
มาตรา 720 จ้า นองเรือนโรงหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่งได้ท้า ขึ้น ไว้บนดิน
หรือใต้ดิน ในที่ดินอันเป็ นของคนอื่นเขานั้นย่อมไม่ครอบ ไปถึงที่ดินนั้นด้วยฉันใดกลับ
กันก็ฉน
ั นั้น
มาตรา 721 จ้า นองไม่ครอบไปถึงดอกผลแห่ง ทรัพ ย์สิน ซึ่ง จ้า นอง เว้น แต่ใ น
เมื่อผู้รับจ้านองได้บอกกล่าวแก่ผู้จ้านองหรือผู้รับโอนแล้วว่าตนจ้านงจะบังคับจ้านอง
ด้า จ้า นองที่ดินกับแดงเพื่อประกันหนี้ เงินกู้ ต่อมาขาวมาเช่ าที่จ้า นอง
ปลู ก สร้ า งโรงงาน ต่ อ มา ข บั ง คั บ จ้า นองโดนขายทอดตลาดทั้ ง ที่ ดิ น และ
โรงงานเพราะราคาที่ดินตกต้่า บังคับจ้านองที่ดินได้เงินไม่พอช้า ระหนี้ แดง
จะท้าได้หรือไม่เพราะเหตุใด
แดงท้า ได้แต่เพียงขายทอดตลาดที่ดินบังคับช้า ระหนี้ เท่านั้ น โรงงาน
เป็ นของขาว ซึ่งแม้จะปลูกสร้างในที่ดินจ้านองก็ไม่ตกเป็ นส่วนควบของที่ดิน
จ้านองตามหลักมาตรา 720 สิทธิจ้านองไม่ครอบไปถึงโรงงานของขาว แดง
บังคับจ้านองโรงงานด้วยไม่ได้
มาตรา 720 จ้า นองเรือนโรงหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่งได้ท้า ขึ้น ไว้บนดิน
หรือใต้ดิน ในที่ดินอันเป็ นของคนอื่นเขานั้นย่อมไม่ครอบ ไปถึงที่ดินนั้นด้วยฉันใดกลับ
กันก็ฉน
ั นั้น
แบบประเมินผลหน่วยที่ 3
1. สัญญาจ้านองคือ การประกันการช้าระหนี้ ด้วยทรัพย์ โดยผู้จ้า นองเอาทรัพย์สิน
ตราไว้ให้แก่ผู้รับจ้านองเพื่อเป็ นการประกันการช้าระหนี้
2. ท รั พ ย์ สิ น ที่ จ้า น อ ง ไ ด้ คื อ ท รั พ ย์ สิ น (1) อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท (2)
สังหาริมทรัพย์ทุกประเภท (3) สังหาริมทรัพย์ชนิ ดพิเศษที่ต้องจดทะเบียน
3. บุคคลต่อไปนี้ สามารถจ้า นองทรัพย์สินได้ คือ (1) ผู้เป็ นเจ้าของทรัพย์สินในขณะ
จ้านอง (2) ผู้เป็ นเจ้าของรวมของทรัพย์สินในขณะจ้านอง (3) ตัวแทนเจ้าของทรัพย์สิน
ในขณะจ้านอง (4) ตัวแทนผู้รับมอบอ้านาจโดยชอบของเจ้าของทรัพย์สินในขณะจ้านอง
4. สัญญาจ้านอง ต้องท้าเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
5. สัญญาจ้านองซึ่งมีลายมือชื่อผู้จ้านองแต่เพียงฝ่ ายเดียวมีผล สัญญาเป็ นโมฆะ
6. ข้ อ ความที่ ต้ อ งระบุ ไ ว้ ใ นสั ญ ญาจ้า นองได้ แ ก่ (1) ลายมื อ ชื่ อผู้ จ้า นองและผู้ รั บ
จ้านอง (2) ทรัพย์สินที่จ้านอง (3) จ้านวนเงินแน่ นอนหรือจ้านวนสูงสุด (4) เงินตราเป็ น
เงินไทย
7. ทรัพย์สินที่จ้านองย่อมเป็ นประกัน หนี้ ประธานและหนี้ อุปกรณ์
8. จ้า นองช้ าง 4 เชื อก ไว้กับ เจ้า หนี้ เ พื่ อประกัน เงิน กู้จ้า นวนสี่ ห มื่ นบาท โดยผ่ อ น
ช้าระแล้วสองหมื่อนบาทเหลือหนี้ อีกสองหมื่นบาท โดยไม่ได้ตกลงล้างจ้านองเป็ นงวด
ๆ หรือปลดจ้านอง จ้านองย่อมจะครอบไปถึงทรัพย์ ช้างทั้ง 4 เชือก
9. ก. กู้เงิน ข. ไปเพื่อซื้อรถซึ่งถูกขโมยมา โดย ก. เอาโฉนดที่ดินแปลงหนึ่ งมาเป็ น
ประกั น การช้า ระหนี้ เงิ น กู้ และได้ ท้า สั ญ ญาจ้า นองเป็ นหนั ง สื อ และจดทะเบี ย นต่ อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ ผลทางกฎหมายคือ เป็ นโมฆะทั้งสัญญากู้ยืมและสัญญาจ้านอง
20
10. ที่งอกออกไปจากที่ดินจ้า นอง โดยผู้จ้า นองมิได้สงวนสิทธิในที่งอกไว้ จึงเป็ น
ทรัพย์ท่ี สิทธิจ้านองครอบไปถึง

หน่ วยที่ 4 สิทธิและหน้าที่ของผู้จ้านอง ผู้รับจ้านอง และผู้รับโอน


ทรัพย์สินซึ่งจ้านอง
1. เนื่ องจากจ้า นองไม่มีการโอนกรรมสิทธิห ์ รือสิทธิครอบครองในทรัพย์
ซึ่ ง จ้า นอง ฉะนั้ น ผู้ จ้า นองจึ ง มี สิ ท ธิ โ อนหรื อ จ้า นองทรั พ ย์ น้ั น อี ก ได้ ทั้ ง จะ
ไถ่ถอนจ้านองหรือยอมให้บังคับจ้านอง แล้วเรียกร้องเอาเงินที่เหลือจากการ
บังคับจ้านอง ก็ชอบที่จะท้าได้และในกรณี จ้านองเป็ นประกันหนี้ ของผู้อ่ ืน ผู้
จ้านองมีสิทธิช้าระหนี้ แทนลูกหนี้ แล้วไล่เบี้ยเอากับลูกหนี้ ได้ นอกจากนั้นก็
ยังอาจหลุดพ้นจากความรับผิดเพราะการกระท้าของเจ้าหนี้ ในบางกรณีได้
2. เพราะเหตุท่ ีจ้า นองยังมีกรรทสิทธิแ ์ ละครอบครองทรัพย์ซึ่งจ้า นองอยู่
ผู้จ้า นองก็สามารถโอนหรือจ้านองต่อทรัพย์น้ัน หรือจดทะเบียนทรัพย์สิทธิ
อื่นๆ เหนื อทรัพย์น้ันภายหลังอีกได้ กฎหมายจึงต้องให้หลักประกันแก่ผู้รับ
จ้านองในอันที่จะได้รับช้าระหนี้ ก่อนเจ้าหนี้ สามัญ ทั้งสามารถติดตามบังคับ
จ้านองจากทรัพย์น้ันเสมอ ตลอดจนมีสิทธิขอให้ลบทรัพยสิทธิอันจดทะเบียน
ภายหลังการจ้านองได้
3. ผู้ รั บ โอนทรั พ ย์ สิน ซึ่ ง จ้า นองเป็ นบุ ค คลภายนอก มิ ไ ด้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ ง
กับหนี้ จ้านองแต่ประการใด จึงไม่มีความผูกพันจะต้องช้าระหนี้ น้ัน ด้วยเหตุ
นี้ กฎหมายจึ ง ให้ สิ ท ธิ แ ก่ ผู้ รั บ โอนทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง จ้า นองที่ จ ะไถ่ ถ อนทรั พ ย์
จ้านองนั้นเมื่อใดก็ได้ โดยการเสนอชดใช้เงินตามราคาทรัพย์ ไม่ต้องชดใช้
หนี้ ท้ังหมดอันทรัพย์น้ันเป็ นประกันอยู่ แต่ผู้รับโอนก็มีหน้าที่ต้องดูแลรักษา
ทรัพย์น้ันมิให้เสียหาย มิฉะนั้นผู้รับโอนอาจต้องรับผิดถ้าท้าให้ทรัพย์น้ันเสีย
หาย
4.1 สิทธิของผู้จ้านอง
1. จ้า นองไม่ มี ก ารโอนครอบครองและกรรมสิ ท ธิ ใ์ นทรั พ ย์ ซึ่ ง จ้า นอง ทั้ ง
กฎหมายที่ประสงค์ท่ีจะให้เจ้าของแห่งทรัพย์ของตนได้เต็มที่ จึงให้สิทธิแก่ผู้
จ้านองในอันที่จะเอาทรัพย์ซึ่งจ้านองไว้ไปจ้าหน่ ายจ่ายโอนหรือจ้านองต่อได้
และให้สิทธิท่ีจะผ่อนช้าระหนี้ จ้านองเป็ นงวดๆได้ เพื่อลกภาระจ้านองของตัว
ทรัพย์ อันจะท้าให้ผู้จ้านองสามารถจ้าหน่ ายหรือจ้านองต่อได้สะดวกขึ้น
2. ในเรื่องจ้านองกฎหมายเปิ ดโอกาสให้ผู้จ้านองสงวนทรัพย์ซึ่งจ้านองไว้
ได้เสมอ จึงให้สิทธิแก่ผู้จ้า นองที่จะไถ่ถอนจ้า นอง หรือเข้าช้า ระหนี้ แทนลูก
หนี้ แล้วไล่เบี้ยเอากับลูกหนี้ และหากจ้าเป็ นต้องมีการบังคับจ้านองขายทอด
ตลาดทรัพย์ซึ่งจ้านองถ้ามีเงินเหลือจากการบังคับจ้านองก็ชอบที่จะตกเป็ น
ของผู้จ้านองซึ่งเป็ นเจ้าของทรัพย์
21
3. การที่ผู้จ้านองหลายคนต่างคนต่างจ้านองทรัพย์เป็ นประกันหนี้ ราย
เดีย วกั น ไม่ ว่ าจะระบุ ล้า ดั บ จ้า นองไว้ ห รื อ ไม่ ผู้ จ้า นองเหล่ า นั้ น มิ ใ ช่ ลู ก หนี้
ร่วม จึงไม่มสี ิทธิไล่เบี้ยแก่กัน คงมีสิทธิไล่เบี้ยลูกหนี้ เท่านั้น
4. การจ้านองหลายรายซึ่งต่างจ้านองนั้น หากได้ระบุล้าดับการจ้านองไว้
ถ้าเจ้าหนี้ ปลดจ้านองให้ผู้จ้านองคนหนึ่ ง ผู้จ้านองคนหลังย่อมมีสิทธิหลุดพ้น
ความรับผิดเท่าที่ต้องเสียหาย
5. ในกรณีบุคคลเดียวจ้านองทรัพย์เป็ นประกันหนี้ ของผู้อ่ ืน ผู้จ้านองนั้นมี
ฐานะคล้ายผู้ค้ าประกัน กฎหมายจึงให้ผู้จ้านองมีสิทธิเหมือนผู้ค้ าประกันใน
กรณี ต่อ ไปนี้ คื อ สิ ทธิท่ี จะหลุ ดพ้ นความรับ ผิด เท่ า ที่ เ สี ย หาย เพราะไม่ อ าจ
เข้ารับช่วงสิทธิ สิทธิท่ีจะหลุดพ้น ความรับผิด เมื่อเจ้าหนี้ ผ่อนเวลาให้ลูกหนี้
และสิทธิท่ีจะหลุดพ้นความรับผิดเมื่อเจ้าหนี้ ไม่ยอมช้าระหนี้ นอกเหนื อจาก
นี้ แล้วผู้จ้านองไม่มีสิทธิเหมือนผู้ค้ าประกันอีก
4.1.1 สิทธิจะเอาทรัพย์สินซึ่งจ้านองไว้ไปโอนต่อหรือจ้านองต่อ
ก. กู้เงิน ข. 100,000 บาท มีก้าหนดช้าระคืนใน 1 ปี โดย ค. จ้านองที่ดิน
เป็ นประกันหนี้ รายนี้ ให้แก่ ข. ระหว่างอายุสัญญาจ้านอง ค. ต้องการเงินไป
ลงทุนท้าธุรกิจ จึงเอาที่ดินที่จ้านอง ข. ไว้น้ันไปท้าอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อ
ไปนี้
1. ขายฝากแก่ ง. เป็ นเงิน 200,000 บาท หรือ
2. จ้านองแก่ ง. เพื่อประกันการที่ ค. ก้เู งิน ง. มา 200,000 บาท
ทั้งสองกรณีน้ี เจ้าหนี้ จ้านองจะคัดค้านได้หรือไม่
ทั้งสองกรณี เป็ นสิท ธิของผู้จ้า นอง คือ กรณี แ รกเป็ นสิ ทธิต ามมาตรา
702 วรรคสอง ที่ผู้จ้า นองจะโอนทรัพย์ซึ่งจ้า นองให้แก่ผู้ใดก็ได้ ส่วนกรณี ท่ี
สอง เป็ นสิ ท ธิ ต ามมาตรา 712 ซึ่ ง ผู้ จ้า นองจะน้า ทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง จ้า นองไว้ ไ ป
จ้านองต่อ ฉะนั้นเจ้าหนี้ จ้านองย่อมไม่มีสิทธิคัดคานการกระท้าของผู้จ้านอง
ทั้งสองกรณี
มาตรา 702 อันว่าจ้านองนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ งเรียกว่า ผู้จ้านองเอา
ทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ ง เรียกว่าผู้รับจ้านอง เป็ นประกันการช้าระหนี้ โดย
ไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจ้านอง
ผู้รับจ้า นองชอบที่จะได้รับช้า ระหนี้ จากทรัพย์สินที่จ้า นองก่อน เจ้าหนี้ สามัญมิ
พัก ต้ อ งพิเ คราะห์ ว่ า กรรมสิ ท ธิ ใ์ นทรั พ ย์ สิ น จะได้ โ อน ไปยั ง บุ ค คลภายนอกแล้ ว หรื อ
หาไม่
มาตรา 712 แม้ถึงว่ามีข้อสัญญาเป็ นอย่างอื่นก็ตาม ทรัพย์สินซึ่ง จ้านองไว้แก่
บุคคลคนหนึ่ งนั้น ท่านว่าจะเอาไปจ้านองแก่บุคคลอีก คนหนึ่ งในระหว่างเวลาที่สัญญา
ก่อนยังมีอายุอยู่ก็ได้
4.1.2 สิทธิช้าระหนี้ ล้างจ้านองเป็ นงวดๆ
การช้าระหนี้ ล้างหนี้ จ้านอง ต่างจากการช้าระหนี้ ท่ัวไปอย่างไร
22
ปกติการช้าระหนี้ ท่ัวๆไปนั้น ต้องช้าระคราวเดียวให้เสร็จสิ้นเว้นแต่
เจ้าหนี จะยินยอมให้ผ่อนช้าระ แต่การช้าระหนี้ จ้านองนั้น ลูกหนี้ มีสิทธิช้าระ
ล้ า งหนี้ จ้า นองเป็ นงวดๆ ได้ ไม่ ต้ อ งช้า ระให้ เ สร็ จ สิ้ น ในงวดเดี ย ว เว้ น แต่
สัญญาจ้านองจะก้าหนดว่าต้องช้า ระให้เสร็จสิ้นในงวดเดี่ยวก็ต้องบังคับกัน
ตามสัญญา ผู้จ้านองไม่มีสิทธิผ่อนช้าระหนี้ จ้านองได้
4.1.3 สิทธิไถ่ถอนจ้านอง
อธิบายสิทธิไถ่ถอนจ้านองของผู้จ้านอง
สัญญาจ้านองเป็ นสัญญาที่ผู้จ้านองเอาทรัพย์สินไปตราไว้เป็ นประกัน
การช้า ระหนี้ แก่ ผู้ รั บ จ้า นองโดยไม่ ต้ อ งส่ ง มอบทรั พ ย์ สิ น และไม่ ต้ อ งโอน
กรรมสิทธิ ์ (มาตรา 702) ผู้จ้านองจึงยังมีสิทธิจ์ ้าหน่ ายจ่ายโอนทรัพย์สินของ
ตนเพื่อหาประโยชน์จากทรัพย์น้ัน เช่น ให้เช่า ขาย ขายฝาก หรือจ้านองต่อ
ดังนี้ สัญญาจ้า นองจึงเป็ นเพียงการที่ ผู้จ้า นองให้ สัญ ญาต่อ เจ้ าหนี้ ว่ า หาก
ไม่มีการช้าระหนี้ ก็ยอมให้บังคับจ้านองเอาเงินช้าระหนี้ ได้ และกฎหมายก็ให้
สิทธิแ ก่ผู้จ้า นองที่ จ ะเข้ าช้า ระหนี้ แ ทนลู ก หนี้ เพื่ อมิ ใ ห้ ท รั พ ย์ สิ น ของตนถูก
บั ง คั บ จ้า นอง (มาตรา 724) หากเจ้ า หนี้ ไม่ ย อมรั บ ผู้ จ้า นองก็ อ าจหลุ ด พ้ น
ความรั บ ผิ ด ไปเลย ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ว่ า กฎหมายมุ่ ง ที่ จ ะให้ ผู้ จ้า นองมี สิ ท ธิ
สงวนทรัพย์สินของตนไว้ได้เสมอหากประสงค์เช่นนั้น ด้วยเหตุน้ี ผู้จ้านองจะ
ไถ่ถอนจ้านองโดยช้าระหนี้ ท่ีค้างอยู่ให้แก่ผู้รับจ้านองสิ้นเชิง (ฎ. 1298/2512)
เพื่อภาระจ้านองจากทรัพย์สินของตนก็ย่อมเป็ นสิทธิของผู้จ้านองที่จะท้า ได้
นอกจากนี้ มาตรา 736 ผู้รับโอนมีสิทธิไถ่ถอนจ้า นองได้ ผู้จ้า นองย่อมมีสิทธิ
ไถ่ถอนจ้า นองได้ เพราะผู้รับเงินย่อมไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน และมาตรา 711
ห้ า มตกลงกั น ไว้ ก่ อ นเวลาหนี้ ถึ ง ก้า หนดช้า ระว่ า ถ้ า ไม่ ช้า ระหนี้ ให้ ผู้ รั บ
จ้านองเข้าเป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งจ้านองหรือให้จัดการแก่ทรัพย์สินนั้นเป็ น
ประการอื่ นนอกจากการบั ง คั บ จ้า นองโดยการขายทอดตลาดเมื่ อหนี้ ถึ ง
ก้า หนดช้า ระ ผู้ จ้า นองมี สิ ท ธิ ไ ถ่ ถ อนจ้า นองจนวาระสุ ด ท้ า ยก่ อ นที่ ท รั พ ย์
จ้านองจะถูกขายทอดตลาดโดยเจ้าพนักงานคะไม้ให้แก่ผู้สู้ราคาสูงสุด ถ้าผู้
จ้านองหาเงินมาวางต่อศาล หรือจ้าพนักงานบังคับคดีให้ครบตามจ้านวนหนี้
ค่าธรรมเนี ยมศาลและค่าธรรมเนี ยมบังคับคดีก่อนเคาะไม้ เจ้าพนักงานก็จะ
ถอนการบังคับคดีทันที
อย่ า งไรก็ ดี ม.ร.ว. เสนี ย์ ปราโมช เห็ น ว่ า ผู้ จ้า นองไม่ ว่ า จ้า นองเป็ น
ประกันหนี้ ของตัวเองหรือหนี้ ท่ีผู้อ่ ืนต้องช้าระก็ตาม ไม่มีสิทธิไถ่ถอนจ้านอง
เพราะสั ญ ญาจ้า นองผู ก พั น อยู่ ใ นตั ว ว่ า ถ้ า ไม่ ช้า ระหนี้ ผู้ รั บ จ้า นองบั ง คั บ
จ้า นองขายทอดตลาดเอาเงิ น ช้า ระหนี้ ได้ เ ต็ ม จ้า นวน และมาตรา 724
บัญญัติให้ผู้จ้านองช้าระหนี้ ได้ถ้าประสงค์จะมิให้มีการบังคับจ้านองแก่ทรัพย์
ของตน
มาตรา 711 การที่ จ ะตกลงกั น ไว้ เ สี ย แต่ ก่ อ นเวลาหนี้ ถึ ง ก้า หนด ช้า ระเป็ น
ข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ งว่า ถ้าไม่ช้า ระหนี้ ให้ผู้รับจ้า นอง เข้าเป็ นเจ้าของทรัพย์สิน
ซึ่ ง จ้า นอง หรื อ ว่ า ให้ จั ด การแก่ ท รั พ ย์ สิ น นั้ น เป็ นประการอื่ นอย่ า งใดนอกจากตาม
บทบัญญัติท้ังหลายว่าด้วยการ บังคับจ้านองนั้นไซร้ ข้อตกลงเช่นนั้นท่านว่าไม่สมบูรณ์
23
มาตรา 724 ผู้ จ้า นองใดได้ จ้า นองทรั พ ย์ สิ น ของตนไว้ เ พื่ อประกั น หนี้ อั น
บุคคลอื่นจะต้องช้าระแล้ว และเข้าช้าระหนี้ เสียเองแทนลูกหนี้ เพื่อจะปั ดป้ องมิให้ต้อง
บังคับจ้านอง ท่านว่าผู้จ้านองนั้นชอบที่จะได้รับเงินใช้คืนจากลูกหนี้ ตามจ้านวนที่ตนได้
ช้าระไป
ถ้าว่าต้องบังคับจ้า นอง ท่านว่าผู้จ้า นองชอบที่จะได้รับเงินใช้คืนจากลูกหนี้ ตาม
จ้านวนซึ่งผู้รบ
ั จ้านองจะได้รับใช้หนี้ จากการบังคับ จ้านองนั้น
มาตรา 736 ผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจ้านองจะไถ่ถอนจ้านองก็ได้ ถ้า หากมิได้เป็ น
ตัวลูกหนี้ หรือผู้ค้ าประกัน หรือเป็ นทายาทของลูกหนี้ หรือผู้ค้ าประกัน
4.1.4 สิทธิไล่เบี้ยลูกหนี้
แดงกู้ เ งิ น ด้า 1,000,000 บาท มี ข าวและเขี ย วต่ า งจ้า นองที่ ดิ น ของตน
เป็ นประกันหนี้ ของแดง โดยระบุล้า ดับความรับผิดว่า ที่ดินของขาวต้องรับ
ผิดเป็ นล้าดับแรก ส่วนที่ดินของเขียวรับผิดเป็ นล้าดับที่สอง แดงไม่ช้าระหนี้
ให้ด้า ขาวไม่ต้องการให้ท่ีดินของตนถูกบังคับจ้า นอง จึงช้า ระหนี้ ให้ด้า ครบ
จ้านวน ขาวจะมีสิทธิต่อแดงและต่อเขียวอย่างไร
มาตรา 724 วรรคแรก วางหลักไว้ว่า เมื่อผู้จ้านองได้จ้านองทรัพย์สิน
ของตนไว้เพื่อประกันหนี้ อันบุคคลอื่นจะต้องช้า ระแล้ว และเข้าช้า ระหนี้ เสีย
เองแทนลูกหนี้ เพื่อปั ดป้ องมิให้ต้องบังคับจ้านอง ผู้จ้านองชอบที่จะได้รับเงิน
ใช้คน ื จากลูกหนี้ ตามจ้านวนที่ตนช้าระไป
มาตรา 725 วางหลั ก ไว้ ว่ า เมื่ อบุ ค คลสองคนหรื อ กว่ า นั้ น ได้ จ้า นอง
ทรัพย์สินของตนเพื่อประกันหนี้ อันบุคคลอื่นต้องช้าระ และมิได้ระบุล้าดับไว้
ผู้จ้านองซึ่งได้เป็ นผู้ช้าระหนี้ หรือเป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งต้องบังคับจ้านอง
นั้นไม่มีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้จ้านองอื่นๆ ต่อไป
ตามปั ญหา ขาวจ้านองที่ดินของตนเป็ นเป็ นประกันหนี้ แดง แล้วแดงไม่
ช้าระ ขาวผู้จ้านองได้เข้าช้าระหนี้ ให้ด้าจนครบเสียเองแทนแดงลูกหนี้ เพื่อไม่
ให้ท่ีดินของขาวถูกบังคับจ้านอง ขาวจึงมีสิทธิไล่เบี้ยแดงให้ช้า ระเงินตามที่
ตนได้ช้าระแก่ด้าไปแล้วเท่านั้น ตามมาตรา 24 วรรคแรก
แต่ขาวซึ่งจ้านองทรัพย์สินของตนเป็ นประกันหนี้ แดงเช่นกันแม้จะระบุ
ล้า ดั บ ไว้ ผู้ จ้า นองด้ ว ยกั น ทั้ ง ขาวและเขี ย วก็ ไ ม่ มี สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย ซึ่ ง กั น และกั น
เมื่อขาวช้า ระหนี้ แทนแดงแล้วก็ไม่มีสิทธิไล่เบี้ยเอากับเขียวผู้จ้า นองอีกคน
ได้ ตามมาตรา 725
มาตรา 725 เมื่อบุคคลสองคนหรือกว่านั้นต่างได้จ้า นองทรัพย์สิน แห่งตนเพื่อ
ประกัน หนี้ แต่ร ายหนึ่ ง รายเดียวอัน บุคคลอื่นจะต้องช้า ระ และมิได้ร ะบุ ล้า ดับ ไว้ ไซร้
ท่านว่าผู้จ้านองซึ่งได้เป็ นผู้ช้าระหนี้ หรือ เป็ นเจ้าของทรัพย์สินซึ่งต้องบังคับจ้านองนั้น
หามีสิทธิจะไล่เบี้ยเอา แก่ผู้จ้านองอื่น ๆ ต่อไปได้ไม่
4.1.5 สิทธิท่ีจะได้รับเงินที่เหลือจากการบังคับจ้านอง
ม่ ว งกู้ เ งิ น แสด 200,000 บาท โดยจ้า นองเรื อ ยนต์ เ ป็ นประกั น ม่ ว งไม่
ช้าระหนี้ และค้างดอกเบี้ยอีก 50,000 บาท จึงถูกแสดบังคับจ้านอง ขายทอด
ตลาดเรือยนต์ได้เงินสุทธิ 300,000 บาท ม่วงและแสดจะได้รับเงินจากค่าขาย
ทอดตลาดทรัพย์คนละเท่าใด
24
ขายทอดตลาดเรือยนต์ได้เงินสุทธิ 300,000 บาท เอาช้าระหนี้ เงินต้น
และดอกเบี้ยให้แสดก่อนแสดจะได้รับเงินไป 250,000 บาท เหลืออีก 50,000
บาท เป็ นสิทธิของม่วงผู้จ้านองที่จะได้รับตามมาตรา 732
มาตรา 732 ทรัพ ย์สิน ซึ่ง จ้า นองขายทอดตลาดได้เ งิน เป็ นจ้า นวน สุท ธิเ ท่า ใด
ท่านให้จัดใช้แก่ผู้รับจ้านองเรียงตามล้าดับ และถ้ายังมี เงินเหลืออยู่อีก ก็ให้ส่งมอบแก่
ผู้จ้านอง
4.1.6 สิทธิท่ีจะหลุดพ้นจากความรับผิด
เล็ ก กู้ เ งิ น ใหญ่ 200,000 บาท ก้า หนดช้า ระคื น ภายใน 2 ปี โดยมี อ้ ว น
และผอมต่างจ้านองที่ดินเป็ นประกันและระบุล้าดับไว้ว่า ที่ดินของอ้วนรับผิด
ในล้า ดั บ แรก ที่ ดิ น ของผอมรั บ ผิ ด ในล้า ดั บ ที่ ส อง ต่ อ มาอี ก 1 ปี ใหญ่ ป ลด
จ้า นองให้ อ้ ว น เพราะเห็ น ว่ า ที่ ดิ น ของอ้ ว นมี ร าคาน้ อ ยเพี ย ง 20,000 บาท
ครั้ น หนี ถึ ง ก้า หนดช้า ระ เล็ ก ไม่ ช้า ระหนี้ ผอมเกรงว่ า ที่ ดิ น ของตนจะถู ก
บั ง คั บ จ้า นองจึ ง น้า เงิ น 180,000 บาท ไปช้า ระแทนเล็ ก แต่ ใ หญ่ ป ฏิ เ สธไม่
ยอมรับช้า ระหนี้ อ้างว่าผอมต้องน้า เงินมาช้า ระให้ ครบ 200,000 บาท จึงจะ
ยอมรับ ผอมมาปรึกษาท่าน ท่านจะให้ค้าแนะน้าแก่ผอมอย่างไร
การที่ใ หญ่ ปลดจ้า นองให้ อ้ว น ย่อ มท้า ให้ผอมมีสิ ทธิ หลุ ดพ้ นความรั บ
ผิด เท่ าที่ ต้อ งเสียหาย คื อเท่าราคาที่ ดิ น ของใหญ่ 20,000 บาท ตามมาตรา
726 ผอมจึงเอาความเสียหายนี้ ไปหักหนี้ กับใหญ่ได้ คงเหลือหนี้ ท่ี ผอมต้ อง
รับผิดอยู่อีก 180,000 บาท
เมื่อหนี้ ถึงก้าหนดช้าระ ผอมน้าเงิน 180,000 บาท ไปช้าระแทนเล็ก แต่
ใหญ่ ไ ม่ ย อมรั บ ก็ ห าท้า ให้ ผ อมหลุ ด พ้ น จากความรั บ ผิ ด ไป เพราะกรณี ไ ม่
ต้องตามมาตรา 727 และ 701 เนื่ องจากหนี้ ร ายนี้ มี ผู้ จ้า นองสองคน มิ ใ ช่ ผู้
จ้านองคนเดียว ฉะนั้นผอมจึงต้องรับผิดต่อใหญ่อยู่ 180,000 บาท การที่ใหญ่
ยืนยันจะให้ผอมช้าระหนี้ ให้ตน 200,000 บาท ก็ไม่ถก ู ต้อง
มาตรา 701 ผู้ค้ าประกันจะขอช้าระหนี้ แก่เจ้าหนี้ ต้ังแต่เมื่อถึง ก้าหนดช้าระก็ได้
ถ้าเจ้าหนี้ ไม่ยอมรับช้าระหนี้ ผ้ค
ู ้ าประกันก็เป็ นอันหลุดพ้นจาก ความรับผิด
มาตรา 726 เมื่อบุคคลหลายคนต่างได้จ้า นองทรัพ ย์สินแห่ง ตนเพื่อประกัน หนี้
แต่รายหนึ่ งรายเดียว อันบุคคลอื่นจะต้องช้าระและได้ระบุล้าดับไว้ด้วยไซร้ท่านว่าการ
ที่ผู้รับจ้านองยอมปลดหนี้ ให้แก่ผู้จ้านองคนหนึ่ งนั้นย่อมท้าให้ผู้จ้านองคนหลังๆได้หลุด
พ้นด้วย เพียงขนาดที่เขาต้องรับความเสียหายแต่การนั้น
มาตรา 727 ถ้าบุคคลคนเดียวจ้านองทรัพย์สินแห่งตนเพื่อ ประกันหนี้ อันบุคคล
อื่นจะต้องช้า ระ ท่านให้ใช้บทบัญญัติ มาตรา 697 , 700 และ 701 ว่าด้วยค้้าประกัน
นั้นบังคับอนุโลมตามควร
4.2 สิทธิของผู้รับจ้านอง
1. เนื่ องจากผู้ จ้า นองสามารถที่ จ ะโอนหรื อ เอาทรั พ ย์ ซึ่ ง จ้า นองไว้ ไ ป
จ้านองต่ออีกได้ กฎหมายจึงต้องให้หลักประกันที่ม่ันคงแก่ผู้รับจ้า นอง โดย
ให้ผู้รับจ้านองมีสิทธิบังคับช้าระหนี้ จากทรัพย์ซึ่งจ้านองได้ก่อนเจ้าหนี้ สามัญ
ทั้งมีสิทธิท่ีจะติดตามบังคับจ้า นองจากทรัพย์ได้เสมอไม่ว่าจะโอนไปกี่ทอด
25
และในระหว่างผู้รับจ้า นองด้วยกันกฎหมายก็ให้ผู้รับจ้า นองก่อนมีสิทธิดี
กว่าผู้รับจ้านองทีหลัง
2. ทรั พ ย์ ซึ่ ง จ้า นองนั้ น ย่ อ มเป็ นหลั ก ประกั น ในการช้า ระหนี้ ของผู้ รั บ
จ้า นอง ฉะนั้นหากภายหลังจดทะเบียนจ้า นองแล้ว ผู้จ้า นองไปจดทะเบียน
ทรัพย์สิทธิอ่ ืนอีกเหนื อทรัพย์น้ั น อันยังผลให้ทรัพย์ซึ่งจ้า นองไว้เสื่อมราคา
ผู้รับจ้านองสามารถขอให้ลบทรัพยสิทธิอันจดทะเบียนภายหลังนั้นได้
3. จ้านองเป็ นการให้สัญญาว่า ถ้าลูกหนี้ ไม่ช้าระหนี้ ก็ยอมให้ผู้รับจ้านอง
บั ง คั บ จ้า นองได้ ผู้ รั บจ้า นองจึ ง มี สิ ท ธิ บั ง คั บ จ้า นองต่ อ เมื่ อลู ก หนี้ ผิ ด นั ด ไม่
ช้าระหนี้ นอกจากนั้นในกรณี ท่ีผู้จ้านองท้าให้ทรัพย์ซึ่งจ้า นองบุบสลายหรือ
สู ญ หายจนไม่ พ อเป็ นประกั น ผู้ รั บ จ้า นองก็ ส ามารถบั ง คั บ จ้า นองได้ ทั น ที
โดยไม่ต้องรอให้หนี้ ถึงก้าหนดช้าระ
4.2.1 สิทธิท่ีจะได้รับช้าระหนี้ ก่อน
ก. กู้เงิน ข. 100,000 บาท โดยไม่มีประกัน แล้วไปกู้เงิน ค. อีก 100,000
บาท โดยจ้านองที่ดินเป็ นประกันจากนั้นก็เอาที่ดินไปจ้า นองเป็ นประกัน ง.
50,000 บาท และสุด ท้ายจ้า นองเป็ นประกัน แก่ จ. 30,000 บาท ก. ไม่ ช้า ระ
หนี้ ข. เจ้าหนี้ สามัญฟ้ องบังคับคดี และยึดที่ดิน แปลงนั้ นขายทอดตลาดได้
เงินสุทธิ 300,000 บาท ค. ง. จ. ผู้รับจ้า นองขอให้เอาเงินช้า ระหนี้ แก่ตนด้วย
ดังนั้นจะต้องจัดสรรเงินช้าระหนี้ กันอย่างไร
ต้อ งเอาช้า ระหนี้ ผู้รั บจ้า นองก่ อ นตามล้า ดั บ จดทะเบี ย นก่ อ นหลั ง คื อ
ช้า ระให้ ค. 100,000 บาท ให้ ง. 50,000 บาท และให้ จ. 30,000 บาท รวม
180,000 บาท
ส่วนที่เหลืออีก 120,000 บาท เอาช้าระให้ ข. เจ้าหนี้ สามัญเสีย 100,000
บาท ส่วนอีก 20,000 บาท ต้องคืนให้ ก. ลูกหนี้
4.2.2 สิทธิท่ีจะขอให้ลบทรัพย์สิทธิท่ีจดทะเบียนภายหลัง
ก. สิทธิของผู้รับจ้านองที่จะขอให้ลบทรัพย์สิทธิซึ่งจดทะเบียนภายหลัง
การจดทะเบียนจ้านองนั้น มีขอบเขตเพียงใด
การลบสิ ท ธิ จ ากทะเบี ย น กฎหมายให้ ล บได้ เ ฉพาะ ภารจ้า ยอมหรื อ
ทรัพยสิทธิอย่างอื่นเท่านั้ น ภารจ้า ยอมก็เป็ นทรัพยสิทธิ อย่ างหนึ่ ง ถ้าเป็ น
บุคคลสิทธิแล้วก็จะขอลบไม่ได้ กฎหมายให้สิทธิแก่ผู้รับจ้านองที่จะขอให้ลบ
ทรัพยสิทธิท่ีจดทะเบียนภายหลังได้
ข. แดงจ้า นองที่ ดิ น ไว้ กั บ ด้า แล้ ว เอาไปจ้า นองซ้ อ นให้ ข าวอี ก ต่ อ มา
แดงเอาที่ ดิ น แปลงนั้ น ให้ เ ขี ย วเช่ า ปลู ก ตึ ก แถว มี ก้า หนด 20 ปี และจด
ทะเบียนการเช่าด้วย ด้า มีสิทธิขอให้ลบสิทธิของขาวและของเขียวออกจาก
ทะเบียนได้หรือไม่
ด้าไม่มีสิทธิขอให้ลบจ้านองของขาว จากทะเบียนได้ เพราะมาตรา 712
ให้ผู้จ้านองเอาทรัพย์ท่ีจ้านองไว้แล้วไปจ้านองซ้อนได้
ส่วนสิทธิในการเช่าของเขียวซึ่งได้จดทะเบียนไว้น้ั น เป็ นเพีย งบุ คคล
สิทธิมิใช่ทรัพยสิทธิ ผู้รับจ้านองไม่มีสิทธิขอให้ลบทะเบียนเช่นกัน
26
มาตรา 712 แม้ถึงว่ามีข้อสัญญาเป็ นอย่างอื่นก็ตาม ทรัพ ย์สินซึ่ง จ้า นองไว้
แก่บุค คลคนหนึ่ ง นั้ น ท่า นว่ าจะเอาไปจ้า นองแก่บุค คลอี ก คนหนึ่ ง ในระหว่ า งเวลาที่
สัญญาก่อนยังมีอายุอยู่ก็ได้
4.2.3 สิทธิในการบังคับจ้านอง
ผู้รับจ้านองมีสิทธิบังคับจ้านองได้เมื่อใด
มีสท ิ ธิบังคับจ้านองได้ 2 กรณีคือ
1. กรณีท่ัวไป เมื่อหนี้ ถึงก้าหนดและลุกหนี้ ไม่ช้าระหนี้
2. กรณีตามมาตรา 723
มาตรา 723 ถ้าทรัพย์สินซึ่งจ้า นองบุบสลาย หรือถ้าทรัพย์สินซึ่ง จ้า นองแต่สิ่ง
ใดหนึ่ ง สูญหายหรือบุบ สลาย เป็ นเหตุให้ไม่เพียงพอแก่ การประกัน ไซร้ ท่านว่าผู้รับ
จ้า นองจะบัง คั บ จ้า นองเสีย ในทัน ที ก็ไ ด้ เว้น แต่เ มื่ อนั้ น มิไ ด้เ ป็ นเพราะความผิ ด ของผู้
จ้านอง และผู้จ้านองก็ เสนอจะจ้านองทรัพย์สินอื่นแทนให้มีราคาเพียงพอ หรือเสนอจะ
รับ ซ่อมแซมแก้ไขความบุบสลายนั้นภายในเวลาอันสมควรแก่เหตุ
4.3 สิทธิและหนูาทีข
่ องผู้รับโอนทรัพย์สินซึง
่ จ้านอง
1. ผู้รับโอน ทรัพย์สินซึ่งจ้านองเป็ นบุคคลภายนอกมิได้เป็ นลูกหนี้ หรือผู้
จ้านองทรัพย์น้ัน กฎหมายจึงให้ผู้รับโอนสามารถไถ่ถอนจ้านองได้โดยเสนอ
ชดใช้เงินตามจ้านวนอันสมควร ของราคาทรัพย์ซึ่งจ้านอง ไม่ต้อขอช้าระหนี้
ทั้งหมด
2. การที่ ผู้ รั บ โอนต้ อ งสู ญ เสี ย กรรมสิ ท ธิ ใ์ นทรั พ ย์ ซึ่ ง จ้า นองเพราะการ
บังคับจ้านองหรือไถ่ถอนจ้านองก็ตาม หามีผลกระทบกระเทือนต่อสิทธิของ
เจ้ า หนี้ จ้า นองหรื อเจ้ า หนี้ บุ ริ ม สิ ท ธิ อั น มี อ ยู่ เ หนื อ ทรั พ ย์ น้ั น ไม่ และสิ ท ธิ ดั ง
กล่าวรายใดหากได้ระงับเพราะเกลื่อนกลืนกันก็จะกลับคืนมาอีก
3. ผู้รับโอนจะต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหาย หากท้าให้ทรัพย์ซึ่งจ้านองเสื่อม
ราคาลง แต่ ใ นทางตรงกั น ข้ า ม ถ้ า ผู้ รั บ โอนท้า ให้ ท รั พ ย์ น้ั น ราคาสู ง ขึ้ น ก็
เรียกให้ชดใช้ได้แต่เพียงเท่าราคาที่สูงขึ้นเมื่อขายทอดตลาดเท่านั้น
4.3.1 สิทธิท่ีจะไถ่ถอนจ้านอง
ผู้รับโอนทรัพย์สน ิ ซึ่งจ้านองมีสิทธิไถ่ถอนจ้านวนได้อย่างไร
ผู้รับโอนทรัพย์สินที่ไม่ได้เป็ นตัวลูกหนี้ ผู้ ค้ าประกั น หรื อเป็ นทายาท
ของลู ก หนี้ ห รื อ ค้้ าประกั น มี สิ ท ธิ ไ ถ่ ถ อนจ้า นอง (มาตรา 736) ผู้ รั บ โอนจะ
ไถ่ ถ อนจ้า นองเมื่ อไรก็ ไ ด้ แต่ ถ้ า ผู้ รั บ จ้า นองได้ บ อกกล่ า วว่ า มี ก ารบั ง คั บ
จ้า นอง ผู้ รั บ โอนต้ อ งไถ่ ถ อนจ้า นองภายใน 1 เดื อ น นั บ แต่ วั น รั บ ค้า บอก
กล่ า ว (มาตรา 737) โดยเสนอชดใช้ เ งิ น ตามราคาทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง จ้า นอง
(มาตรา 738)
ก. กู้ เ งิ น ข. 100,000 บาท โดยมี ค. จ้า นองที่ ดิ น เป็ นประกั น ต่ อ มา ค.
ถึงแก่กรรมที่ดินดังกล่าวตกเป็ นมรดกของ ช. บุตร ค. ช. ประสงค์จะไถ่ถอน
27
จ้า นองในฐานะผู้ รั บ โอน จึ ง เสนอใช้ เ งิ น 50,000 บาท ตามราคาที่ ดิ น ใน
ขณะนั้น ช. มีสท ิ ธิท้าได้หรือไม่
ช. ผู้ รั บ โอนทรั พ ย์ ซึ่ ง จ้า นองเป็ นทายาทของ ค. ผู้ จ้า นองเดิ ม จึ ง ไม่ มี
สิทธิไถ่ถอนจ้านอง โดยวิธีเสนอใช้เงินตามราคาทรัพย์ได้ (มาตรา 736)
มาตรา 736 ผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจ้านองจะไถ่ถอนจ้านองก็ได้ ถ้าหากมิได้เป็ น
ตัวลูกหนี้ หรือผู้ค้ าประกัน หรือเป็ นทายาทของลูกหนี้ หรือผู้ค้ าประกัน
มาตรา 737 ผู้ รั บ โอนจะไถ่ ถ อนจ้า นองเมื่ อใดก็ ไ ด้ แต่ ถ้ า ผู้ รั บ จ้า นอง ได้ บ อก
กล่าวว่ามีจ้า นงจะบังคับจ้า นองไซร้ ผู้รับโอนต้องไถ่ถอนจ้า นอง ภายในเดือนหนึ่ งนับ
แต่วันรับค้าบอกกล่าว
มาตรา 738 ผู้รับโอนซึ่งประสงค์จ ะไถ่ถอนจ้า นองต้องบอกกล่าวความประสงค์
นั้นแก่ผู้เป็ นลูกหนี้ ช้ันต้น และต้องส่งค้าเสนอไปยัง บรรดาเจ้าหนี้ ท่ีได้จดทะเบียน ไม่ว่า
ในทางจ้านองหรือประการอื่นว่าจะรับใช้เงินให้เป็ นจ้านวนอันสมควรกับราคาทรัพย์สิน
นั้นค้าเสนอนั้นให้แจ้งข้อความทั้งหลายต่อไปนี้ คือ
(1) ต้าแหน่ งแหล่งที่และลักษณะแห่งทรัพย์สินซึ่งจ้านอง
(2) วันซึ่งโอนกรรมสิทธิ ์
(3) ชื่อเจ้าของเดิม
(4) ชื่อและภูมิล้าเนาของผู้รับโอน
(5) จ้านวนเงินที่เสนอว่าจะใช้
(6) ค้า นวณยอดจ้า นวนเงิน ที่ ค้างช้า ระแก่ เ จ้า หนี้ ค นหนึ่ ง ๆ รวมทั้ ง อุ ป กรณ์
และจ้านวนเงินที่จะจัดเป็ นส่วนใช้แก่บรรดาเจ้าหนี้ ตาม ล้าดับกัน
อนึ่ ง ให้ คั ด ส้า เนารายงานจดทะเบี ย นของเจ้ า พนั ก งานในเรื่ อง ทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง
จ้านองนั้น อันเจ้าพนักงานรับรองว่าเป็ นส้าเนาถูกถ้วน สอดส่งไปด้วย
4.3.2 สิทธิของผู้รับโอนในกรณีทรัพย์ซึ่งจ้านองหลุดมือไป
ก. จ้า นองที่ดินเป็ นประกันเงินกู้แก่ ข. ค. ง. รายละ 200,000 บาท ตาม
ล้า ดับ ต่ อมา ก. ขายที่ ดินแกลงนั้ นให้เ หลื อง เหลื องจ้า งด้า ปลูก บ้า นราคา
100,000 บา ยังไม่ได้ช้าระค่าจ้าง จึงจดทะเบียนบุริมสิทธิไว้ เหลืองเอาที่ดิน
ไปขายฝาก ค. แล้วไม่ไถ่คืน ที่ดินจึงตกเป็ นกรรมสิทธิข ์ อง ค. ในที่สุด ค. ขอ
ไถ่ถอนจ้า นองจาก ข. และ ง. โดยเสนอใช้เงิน 300,000 บาท ตามราคาที่ดิน
ข. ปฏิเสธ และฟ้ องศาลขายทอดตลาดที่ดินได้เงิน 400,000 บาท หักค่าฤชา
ธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่ายในการขายทอดตลาดแล้วเหลือ เงิ นสุท ธิ 390,000
บาท ให้ท่านจัดสรรเงินจ้านวนนี้ ช้าระหนี้ รายต่างๆ
ตามมาตรา 742 วรรคแรก การที่ ท รั พ ย์ ห ลุ ด มื อ ไปจากผู้ รั บ โอนไม่ มี
ผลกระทบกระเทื อ นสิ ท ธิ ข องเจ้ า หนี้ บุ ริ ม สิ ท ธิ ห รื อ เจ้ า หนี้ จ้า นองอั น มี อ ยู่
เหนื อ ทรั พ ย์ น้ั น และมาตรา 742 วรรคสองบั ญ ญั ติ ใ ห้ ห นี้ ของผู้ รั บ โอนซึ่ ง
เกลื่ อนกลืน ไปแล้ ว ขณะได้ ท รั พ ย์ น้ั น มากลั บ คื น ขึ้ น มาอี ก ในเมื่ อทรั พ ย์ น้ั น
หลุดมือไปจากผู้รับโอน ฉะนั้นแม้สิทธิจ้านองของ ค. ย่อมกลับคืนมาอีก เงิน
390,000 บาท จึ ง ต้ อ งจั ด สรรช้า ระดั ง นี้ ช้า ระให้ ด้า เจ้ า หนี้ บุ ริ ม สิ ท ธิ ก่ อ น
28
100,000 บาท ช้า ระให้ ข. ผู้รับจ้า นองรายแรก 200,000 บาท และช้า ระให้
ค. ผู้รับจ้านองรายที่สอง 90,000 บาท ส่วน ง.ไม่ได้รับช้าระหนี้ จากเงินที่ขาย
ทอดตลาด
มาตรา 742 ถ้า การบัง คับ จ้า นองก็ดี ถอนจ้า นองก็ ดี เป็ นเหตุใ ห้ ทรัพ ย์ สิ น ซึ่ ง
จ้า นอง หลุดมือไปจากบุคคลผู้ได้ทรัพ ย์สินนั้ น ไว้แต่ก่อน ไซร้ ท่านว่าการที่ทรัพย์สิน
หลุดมือไปเช่นนั้นหามีผลย้อนหลังไม่ และ บุริมสิทธิท้ังหลายของเจ้าหนี้ แห่งผู้ท่ีทรัพย์
หลุดมือไป อันมีอยู่เหนื อ ทรัพย์สินและได้จดทะเบียนไว้น้ั นก็ย่อมเข้าอยู่ในล้า ดับหลัง
บุริมสิทธิ อันเจ้าหนี้ ของผู้จ้านอง หรือเจ้าของคนก่อนได้จดทะเบียนไว้
ในกรณี เ ช่ น นี้ ถ้าสิ ทธิ ใ ด ๆ อั น มี อยู่ เ หนื อ ทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง จ้า นองเป็ น คุณ หรื อ เป็ น
โทษแก่บุคคลผู้ได้ทรัพย์สิน ซึ่งจ้านองไว้แต่ก่อนได้ระงับไปแล้วด้วยเกลื่อนกลืนกันใน
ขณะที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาไซร้ สิทธิน้ันท่านให้กลับคืนมาเป็ นคุณหรือเป็ นโทษแก่บุคคล
นั้นได้อีก ในเมื่อทรัพย์สิน ซึ่งจ้านองกลับหลุดมือไป
4.3.3 หน้าที่ของผู้รับโอนในการดูแลรักษาทรัพย์สินซึ่งจ้านอง
ในกรณีท่ีผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจ้านองท้าให้ทรัพย์น้ันเสียหาย หรือใน
ทางตรงกันข้ามท้าให้ทรัพย์น้ันมีราคาสูงขึ้นผู้รับโอนจะได้รับผลกระทบใด
มีผลกระทบตามมาตรา 743 คือ
1. ถ้าท้าให้ทรัพย์ซึ่งจ้านองเสียหายก็ต้องชดใช้ความเสียหาย
2. ถ้าท้า ให้ทรัพย์ซึ่งจ้า นองมี ราคาเพิ่ มขึ้ นก็ มีสิ ทธิเ รียกให้ชดใช้เ พีย ง
เท่าราคาที่เพิ่มขึ้นเมื่อขายทอดตลาด
มาตรา 743 ถ้าผู้รับโอนได้ท้า ให้ทรัพย์สินซึ่งจ้า นองเสื่อมราคาลงเพราะการก
ระท้า หรื อ ความประมาทเลิน เล่ อ แห่ ง ตน เป็ นเหตุ ใ ห้ เ จ้ า หนี้ ท้ั ง หลายผู้ มี สิ ท ธิ จ้า นอง
หรือบุริม สิทธิเ หนื อทรั พ ย์ สิน นั้ น ต้ อง เสี ยหายไซร้ ท่า นว่ าผู้ รับ โอนจะต้ องรั บ ผิ ดเพื่ อ
ความเสียหายนั้น อย่างไรก็ดี อันผู้รับโอนจะเรียกเอาเงินจ้านวนใด ๆ ซึ่งตนได้ออกไป
หรือเรียกให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายที่ตนได้ท้าให้ทรัพย์สินดีขึ้นนั้น ท่านว่าหาอาจจะเรียกได้ไม่
เว้นแต่ท่ีเป็ นการท้าให้ทรัพย์สินนั้นงอกราคาขึ้น และจะเรียกได้เพียงเท่าจ้านวนราคา
ที่งอกขึ้น
เมื่อขายทอดตลาดเท่านั้น
แบบประเมินผลหน่วยที่ 4
1. ทรัพย์ท่ีจ้านองเป็ นประกันหนี้ ไว้แล้ว ถ้าเจ้าของทรัพย์เอาไปโอนขายให้ผู้อ่ ืนใน
ระหว่างสัญญาจ้านองยังมีผลบังคับอยู่ สัญญานั้นยังคงมีผลสมบูรณ์
2. สิทธิของผู้จ้านองที่จะท้าสัญญาตกลงกันเป็ นอย่างอื่นไม่ได้คือ สิทธิการเอา
ทรัพย์สินไปจ้านองต่อ
3. ผู้จ้านองเข้าช้าระหนี้ แทนลูกหนี้ ผู้จ้านองมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ ได้เท่า
จ้านวนที่ช้าระไป
4. แดง ด้าและ ขาว ต่างจ้านองทรัพย์เป็ นประกันหนี้ ของเขียวแล้วเขียวผิดนัด ด้า
จึงเข้าช้าระหนี้ แทน ดังนี้ ด้ามีสิทธิ ไล่เบี้ยได้เฉพาะกับเขียวลูกหนี้ เท่านั้น
5. ม่วง แสด ฟ้ า ต่างจ้านองทรัพย์เป็ นประกันหนี้ ของครามโดยไม่ระบุล้าดับจ้านอง
ต่อมาเจ้าหนี้ ปลดหนี้ ให้ แสด ผลตามกฎหมายคือ ผู้จ้านองทุกคนไม่มีใครหลุดพ้น
ความผิด
29
6. ถ้ามีการโอนทรัพย์สินซึง
่ จ้านองให้แก่บุคคลอื่น จะมีผลกับผู้รับจ้านองคือ ผู้รับ
จ้านองติดตามบังคับช้าระหนี้ ได้และมีฐานะดีกว่าเจ้าหนี้ สามัญ
7. ในระหว่างผู้รับจ้านองซึง ่ จดทะเบียนก่อน กับผู้รบั จ้านองซึ่งจดทะเบียนภายหลัง
สิทธิระหว่างกันคือ ผู้รบ ั จ้านองก่อนมีสิทธิได้รบ
ั ช้าระหนี้ ก่อน
8. ภายหลังจดทะเบียนจ้านองแล้ว ถ้าผู้จ้านองจดทะเบียนทรัพย์สิทธิอ่ ืนเหนื อทรัพย์
นั้นอีก ผู้รบั จ้านองมีสิทธิขอให้ลบทะเบียนทรัพย์สิทธิท่ีจดทะเบียนภายหลังได้
9. ผู้รบ
ั โอนทรัพย์จ้านองสามารถไถ่ถอนจ้านองได้เมื่อ เมื่อใดก็ได้
10. ผู้รบ
ั โอนทรัพย์จ้านองต้องไถ่ถอนจ้านองเป็ นจ้านวนเงิน เท่าราคาทรัพย์สินซึ่ง
จ้านอง
11. ทรัพย์ท่ีจ้านองเป็ นประกันหนี้ ไว้แล้ว ในระหว่างสัญญาจ้านองมีผลบังคับอยู่
เจ้าของทรัพย์ขายทรัพย์น้ันให้ผู้อ่ ืน มีสิทธิท้าได้โดยเด็ดขาด
12. ในกรณีสัญญาจ้านองมีข้อตกลงไว้ชัดว่า ระหว่างสัญญาจ้านองมีผลบังคับอยู่
ห้ามผู้จ้านองเอาทรัพย์ไปจ้านองต่อ ข้อตกลงนี้ ไม่มีผลใดๆ เลย
13. ถ้าลูกหนี้ ผิดนัดไม่ช้าระหนี้ ผู้จ้านองซึ่งเข้าช้าระหนี้ แทนลูกหนี้ ดังหนี้ ผู้จ้านองมี
สิทธิต่อลูกหนี้ คือ มีสิทธิไล่เบี้ยลูกหนี้ ได้เท่าจ้านวนที่ช้าระหนี้ แทนไป
14. ชิด ชัย ชอบ ต่างจ้านองทรัพย์เป็ นประกันหนี้ ของชาญ โดยระบุล้าดับจ้านองว่า
ชิดอยู่ล้าดับแรก ชัยอยู่ล้าดับสอง และชอบอยู่ล้าดับสาม ชาญผิดนัดชิดจึงช้าระหนี้
แทน ดังนี้ ชิดไม่มีสิทธิไล่เบี้ยเอากับ ชัยและชอบ
15. แดง ด้า ฟ้ า ขาว ต่างจ้านองทรัพย์เป็ นประกันหนี้ ของเขียว โยระบุล้าดับจ้านอง
ว่า แดงล้าดับแรก ด้าล้าดับที่สอง ฟ้ าล้าดับที่สาม และขาวล้าดับที่ส่ี ต่อมาเจ้าหนี้ ปลด
จ้านองให้ฟ้าผู้จ้านองที่มีสิทธิหลุดพ้นความผิดได้แก่ ขาว เพียงผู้เดียว
16. ทรัพย์ซึ่งจ้านองไว้แล้ว ถ้าผู้จ้านองโอนให้ผู้อ่ ืนไปในภายหลัง ผู้รับจ้านองมีสิทธิ
คือ ติดตามบังคับช้าระหนี้ จากทรัพย์น้ันได้เสมอ
17. ผู้รบ
ั จ้านองก่อนกับผู้รับจ้านองทีหลัง มีสิทธิระหว่างกันคือ ผู้รบ ั จ้านองก่อนมี
สิทธิดีกว่า
18. ด้าจ้านองที่ดินให้แดง ต่อมาด้าจดทะเบียนภารจ้ายอมให้ขาวเดินผ่านที่น้ันได้
ดังนี้ แดงมีสิทธิขอให้ลบทะเบียนภารจ้ายอมได้
19. การไถ่ถอนจ้านอง ผู้รับโอนต้องขอไถ่ถอนจ้านองเป็ นจ้านวน ราคาอันสมควร
ของทรัพย์ซง ึ่ จ้านอง

หน่ วยที่ 5 การบังคับจ้านอง และความระงับสิ้นไปแห่งสัญญา


จ้านอง
1. การบังคับจ้า นองท้า ได้ 2 วิธีคือ การขายทอดตลาดทรัพย์จ้า นองและ
การเอาทรัพย์จ้านองหลุด ซึ่งไม่ว่าจะบังคับโดยวิธีใดจะต้องฟ้ องคดีต่อศาล
ผู้ จ้า นองจะไปยึ ด ทรั พ ย์ ม าโดยพลการไม่ ไ ด้ อย่ า งไรก็ ต าม กฎหมายมิ ไ ด้
บังคับว่า ผู้รับจ้านองจะต้องฟ้ องบังคับจ้า นองเสมอไป อาจฟ้ องในฐานะเจ้า
หนี้ สามัญก็ได้
30
2. จ้า นองระงับได้ 2 ทาง คือ ทางหนึ่ ง ท้า ให้หนี้ ประธานระงับไป เช่น
ช้า ระหนี้ อีกทาง ท้า ให้ตัวสัญญาจ้า นองระงับ เช่นปลดจ้า นอง เมื่อจ้า นอง
ระงับต้องน้าความไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นจะยกขึ้นต่อสู้
บุคคลภายนอกไม่ได้
5.1 การบังคับจ้านอง
1. การบั ง คั บ จ้า นองไม่ ว่ า จะท้า โดยวิ ธี ข ายทอดตลาดหรื อ เอาทรั พ ย์
จ้า นองหลุดก็ตาม จะต้องมีการบอกกล่าวด้ วยหนั งสื อให้ผู้จ้า นองช้า ระหนี้
ภายในเวลาสมควร เมื่ อผู้ จ้า นองไม่ ช้า ระหนี้ จึ ง จะฟ้ องคดี ต่ อ ศาลบั ง คั บ
จ้านองได้
2. ในกรณีขายทอดตลาดทรัพย์สิน เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดจะต้อง
น้า มาช้า ระหนี้ แ ก่ ผู้ รั บ จ้า นองตามล้า ดั บ ก่ อ นหลั ง ผู้ รั บ จ้า นองก่ อ นย่ อ มมี
สิทธิได้รับช้าระหนี้ ก่อน
3. หากบังคับจ้า นองได้เงินต้่ากว่าจ้า นวนหนี้ ท่ีค้างช้า ระ ลูกหนี ก็ไม่ต้อง
รับผิดในเงินที่ขาดอยู่ เว้นแต่จะได้ตกลงกันเป็ นอย่างอื่นในสัญญาจ้านอง
4. หนี้ ร ายเดี ย วที่ มี ก ารจ้า นองทรั พ ย์ ห ลายสิ่ ง เป็ นประกั น โดยไม่ ร ะบุ
ล้า ดับ และจ้า นวนเงิน ที่ท รั พย์ แ ต่ ล ะสิ่ ง จ้า นองเป็ นประกั น ผู้ รั บ จ้า นองอาจ
บังคับจ้านองแก่ทรัพย์เพียงบางสิ่ง หรือแก่ทรัพย์ทุกสิ่งพร้อมกันก็ได้ แต่ใน
กรณีหลังต้องเฉลี่ยภาระแห่งหนี้ ไปตามส่วนราคาทรัพย์จ้านอง
5.1.1 วิธีบังคับจ้านอง
การบังคับจ้านองท้าได้ก่ีวิธี อธิบาย
การบังคับจ้านองท้าได้ 2 วิธี คือ
1) ตามมาตรา 728 คื อ ฟ้ องบั ง คั บ จ้า นองให้ ข ายทอดตลาดทรั พ ย์
จ้านอง โดยผู้รับจ้านองต้องมีจดหมายบอกกล่าวไปยังลูกหนี้ ก่อนว่าใช้ช้าระ
หนี้ ภ ายในเวลาอั น สมควร ซึ่ ง ก้า หนดไว้ ในค้า บอกกล่ า ว และถ้ า ลู ก หนี้ ไ ม่
ปฏิบัติตามค้าบอกกล่าว ผู้รับจ้า นองจะฟ้ องคดีต่อศาลให้พิพากษาสั่งให้ยึด
ทรัพย์สินซึ่งจ้านองขายทอดตลาด
2) ตามมาตรา 729 คือ ผู้รับจ้านองเอาทรัพย์จ้า นองหลุดเป็ นสิทธิ จะ
ต้องอยู่ภายในบังคับของเงื่อนไขดังนี้ คือ
ก. ลูกหนี้ ได้ขาดส่งดอกเบี้ยมาเป็ นเวลาถึง 5 ปี
ข. ผู้ จ้า นองมิ ไ ด้ แ สดงให้ ศาลพอใจว่ า ราคาทรั พ ย์ สิ น ที่ จ้า นองนั้ น
ท่วมจ้านวนเงินที่ค้างช้าระ และ
ค. ไม่มีการจ้านองรายอื่น หรือบุริมสิทธิอ่ ืนได้จดทะเบียนไว้เหนื อ
ทรัพย์สินอันเดียวกันนั้น
การบังคับจ้านองโดยวิธีเอาทรัพย์จ้านองหลุดเป็ นสิทธิน ์ ้ันจะต้องเข้า
เงื่อนไขทั้งสามข้อตามมาตรา 729 และอย่างไรก็ตามต้องมีการบอกกล่าวลูก
31
หนี้ ใ ห้ ช้า ระหนี้ ต ามมาตรา 728 ก่ อ นและฟ้ องบั ง คั บ จ้า นองเพื่ อเอาหลุ ด
เป็ นสิทธิอ ์ ีกด้วย มิใช่ยึดทรัพย์จ้านองมาเป็ นของตนโดยพลการ
แดงกู้เงินด้า โดยขาวจ้านองที่ดินเป็ นประกันหนี้
แนะน้า ให้ฟ้องบังคับจ้า นองโดยขายทอดตลาดที่ดินตามมาตรา 728
จะเอาทรั พ ย์ จ้า นองหลุ ด เป็ นสิ ท ธิ ไ ม่ ไ ด้ เพราะเป็ นกรณี ท่ี บุค คลอื่ นจ้า นอง
นองทรัพย์เป็ นกระกันหนี้ ของลูกหนี้ และผู้ขาดส่งดอกเบี้ยคือตัวลูกหนี้ ไม่ใช่
ผู้จ้านอง
มาตรา 728 เมื่อจะบังคับจ้า นองนั้น ผู้รับจ้า นองต้องมีจดหมาย บอกกล่าวไป
ยังลูกหนี้ ก่อนว่าให้ช้า ระหนี้ ภายในเวลาอันสมควร ซึ่ง ก้า หนดให้ในค้า บอกกล่าวนั้ น
ถ้าและลูกหนี้ ละเลยเสียไม่ปฏิบัติตาม ค้าบอกกล่าวผู้รับจ้านองจะฟ้ องคดีต่อศาล เพื่อ
ให้พิพากษาสั่งให้ ยึดทรัพย์สินซึง ่ จ้านองและให้ขายทอดตลาดก็ได้
มาตรา 729 นอกจากทางแก้ด่ังบัญญัติไว้ใน มาตรา ก่อนนั้น ผู้รบ ั จ้านองยัง
ชอบที่จะเรียกเอาทรัพย์จ้านองหลุดได้ภายในบังคับแห่ง เงื่อนไข ดั่งจะกล่าวต่อไปนี้
(1) ลูกหนี้ ได้ขาดส่งดอกเบี้ยมาแล้วเป็ นเวลาถึงห้าปี
(2) ผู้จ้านองมิได้แสดงให้เป็ นที่พอใจแก่ศาล ว่าราคาทรัพย์สิน นั้นท่วมจ้านวน
เงินอันค้างช้าระ และ
(3) ไม่มีการจ้านองรายอื่น หรือบุริมสิทธิอ่ ืนได้จดทะเบียนไว้ เหนื อทรัพย์สินอัน
เดียวกันนี้ เอง
5.1.2 ล้าดับในการช้าระหนี้
ทรัพย์สินอันเดียวกันที่มีจ้านองหลายราย เมื่อมีการบังคับจ้านองโดย
ขายทอดตลาดจะต้องน้าเงินมาช้าระหนี้ แก่ผู้รับจ้านองอย่างไร
ทรัพย์สินอันเดียวกันได้จ้า นองแก่ผู้รับจ้า นองหลายคนด้วยกัน ต้อง
เอาช้า ระหนี้ แก่ ผู้ รั บ จ้า นองเรี ย งตามล้า ดั บ ก่ อ นหลั ง ตามวั น เวลาที่ จ ด
ทะเบี ย น และผู้ รั บ จ้า นองคนก่ อ นจะได้ รั บ ใช้ ห นี้ ก่ อ นตามมาตรา 730 และ
ทรัพย์สินที่ขายทอดตลาดให้จัดใช้แก่ผู้รับจ้านองเรียงตามล้าดับ และหากยัง
มีเงินเหลือจากการขายทอดตลาด ให้มอบแก่ผู้จ้านองตามมาตรา 732
เหล็กกู้เงินทอง 200,000 บาท โดยจ้านองที่ดินเป็ นประกัน ต่อมาก็เอา
ที่ดินแปลงเดิมไปจ้านองไว้แก่เพชรอีก 100,000 บาท และสุดท้ายจ้า นองกับ
นิ ล 50,000 บาท เมื่ อหนี้ ข องทองถึ ง ก้า หนดเหล็ ก ไม่ ช้า ระหนี้ ทองจึ ง ฟ้ อง
บั ง คั บ จ้า นอง ยึ ด ที่ ดิ น ขายทอดตลาดได้ เ งิ น สุ ท ธิ 300,000 บาท ให้ ท่ า น
จัดสรรเงินจ้านวนนี้ ช้าระหนี้ แก่ผู้รับจ้านอง
ช้า ระให้ ท อง 200,000 บาท ให้ เ พชร 100,000 บาท ตามมาตรา 730,
732 ส่วนนิ ลไม่ได้รับช้า ระหนี้ จากการขายทอดตลาด และนิ ลจะติดตามไป
บั ง คั บ จ้า นองแก่ ผู้ ซ้ ื อที่ ดิ น นั้ น ไม่ ไ ด้ อี ก เพราะจ้า นองได้ ร ะงั บ สิ้ น ไปตาม
มาตรา 744(5) คือมีการขายทอดตลาดทรัพย์สินซึ่งจ้านองตามค้าสั่งศาล อัน
เนื่ องมาจกการบังคับจ้านอง
มาตรา 730 เมื่อทรั พย์ สิน อัน หนึ่ งอัน เดี ยวได้ จ้า นองแก่ ผู้รับจ้า นอง หลายคนด้ ว ยกั น ท่ านให้ ถือ ล้า ดับผู้รับ
จ้านองเรียงตามวันและเวลา จดทะเบียน และผู้รับจ้านองคนก่อนจักได้รับใช้หนี้ ก่อนผู้รับจ้านองคนหลัง
มาตรา 732 ทรัพย์สินซึ่งจ้านองขายทอดตลาดได้เงินเป็ นจ้านวน สุทธิเท่าใด ท่านให้จด ั ใช้แก่ผู้รับจ้านองเรียง
ตามล้าดับ และถ้ายังมี เงินเหลืออยู่อีก ก็ให้ส่งมอบแก่ผู้จ้านอง
32
มาตรา 744 อันจ้านองย่อมระงับสิ้นไป
(1) เมื่อหนี้ ท่ีประกันระงับสิ้นไป ด้วยเหตุประการอื่นใดมิใช่เหตุ อายุความ
(2) เมื่อปลดจ้านองให้แก่ผู้จ้านองด้วยหนังสือเป็ นส้าคัญ
(3) เมื่อผู้จ้านองหลุดพ้น
(4) เมื่อถอนจ้านอง
(5) เมื่อขายทอดตลาดทรัพย์สินซึ่งจ้านองตามค้าสั่งศาล อันเนื่ อง มาแต่การบังคับจ้านองหรือถอนจ้านอง
(6) เมื่อเอาทรัพย์สินซึ่งจ้านองนั้นหลุด

5.1.3 ลูกหนี้ ไม่ต้องรับผิดในจ้านวนเงินที่ขาด


ก. กู้ เ งิ น ข. 500,000 บาท โดย ค. จ้า นองที่ ดิ น เป็ นประกั น และมี ข้ อ
ตกลงในสัญญาจ้านองระบุว่า ถ้า ข. บังคับจ้านองขายทอดตลาดที่ดินได้เงิน
ไม่พอช้าระหนี้ ก. และ ค. ยินยอมให้ ข. บังคับช้าระหนี้ จากทรัพย์อ่ ืนของ ก.
และ ค. ได้ ให้วินิจฉัยว่า ข้อตกลงนี้ ขัดต่อกฎหมายหรือไม่
ตามมาตรา 733 วางหลักไว้ในกรณี เอาทรัพย์สินซึ่งจ้า นองขายทอด
ตลาดใช้หนี้ หากได้เงินสุทธิน้อยกว่าจ้า นวนเงินที่ค้างช้า ระกันอยู่ เงินขาด
จ้า นวนอยู่เท่าใด ลูกหนี้ ไม่ต้องรับผิดในเงินนั้น ซึ่งหากคู่กรณี ไม่ได้ตกลง
ไว้ว่าเงินขาดเท่าใด ลูกหนี้ ต้องรับผิดแล้วหรือตกลงกันให้เจ้าหนี้ บังคับช้าระ
หนี้ จากทรั พ ย์ สิ น อื่ นของลู ก หนี้ ได้ ข้ อ ตกลงนี้ ใช้ บั ง คั บ กั น ได้ ไ ม่ ขั ด ต่ อ
กฎหมาย
มาตรา 733 ถ้าเอาทรัพย์จ้านองหลุด และราคาทรัพย์สินนั้นมี ประมาณต้่ากว่าจ้านวนเงินที่ค้างช้าระกันอยู่ก็
ดี หรือถ้าเอาทรัพย์สิน ซึ่งจ้านองออกขายทอดตลาดใช้หนี้ ได้เงินจ้านวนสุทธินอ
้ ยกว่าจ้านวน เงินที่ค้างช้าระกันอยู่น้ันก็ดี
เงินยังขาดจ้านวนอยู่เท่าใดลูกหนี้ ไม่ต้อง รับผิดในเงินนั้น

5.1.4 การจ้านองทรัพย์หลายสิ่งเป็ นประกันหนี้ รายเดียว


แดงกู้เงินด้า 200,000 บาท โดยจ้านองที่ดิน 1 แปลง เรือยนต์ 1 ล้า
และเรือกลไฟ 1 ล้า เป็ นประกันไม่ได้ระบุล้าดับจ้านองและจ้านวนเงินที่
ทรัพย์แต่ละสิ่งจ้านองเป็ นประกัน แดงผิดนัดไม่ช้าระหนี้ ด้าจึงบังคับจ้านอง
แก่ทรัพย์จ้านองทั้งสามสิ่ง พร้อมกัน ขายทอดตลาดที่ดินได้เงิน 200,000
บาท เรือยนต์ 120,000 บาท เรือกลไฟ 80,000 บาท จะจัดสรรช้าระหนี้ เงินกู้
ให้แก่ด้าอย่างไร
ตามมาตรา 734 วรรคสองบั ญ ญั ติ ว่ า ถ้ า ผู้ รั บ จ้า นองใช้ สิ ท ธิ ข องตน
บังคับแก่ทรัพย์สินทั้งหมดพร้อมกันท่านให้แบ่งภาระแห่งหนี้ น้ันกระจายไป
ตามส่วนราคาแห่งทรัพย์สินนั้นๆ เว้นแต่กรณี ท่ีได้ระบุจ้านวนเงินจ้านองไว้
เฉพาะทรั พ ย์ สิ น แต่ ล ะสิ่ ง เป็ นจ้า นวนเท่ า ใด ท่ า นให้ แ บ่ ง กระจายไปตาม
ล้าดับจ้านวนเงินจ้านองที่ระบุไว้เฉพาะทรัพย์สินสิ่งนั้นๆ ตามปั ญหาจึงต้อง
แบ่งภาระแห่งนี้ กระจายไปตามส่วนแห่งราคาทรัพย์จ้า นอง จึงต้องจัดสรร
เงิ น ใช้ ห นี้ ดั ง นี้ ที่ ดิ น 100,000 บาท เรื อ ยนต์ 60,000 บาท เรื อ กลไฟ 40,000
บาท
มาตรา 734 ถ้าจ้านองทรัพย์สินหลายสิ่งเพื่อประกันหนี้ แต่ รายหนึ่ งรายเดียว
และมิได้ระบุล้าดับไว้ไซร้ ท่านว่าผู้รับจ้านองจะ ใช้สิทธิของตนบังคับแก่ทรัพย์สินนั้นๆ
ทั้งหมด หรือแต่เพียงบางสิ่ง ก็ได้ แต่ท่านห้ามมิให้ท้าเช่นนั้นแก่ทรัพย์สินมากสิ่งกว่าที่
จ้าเป็ น เพื่อใช้หนี้ ตามสิทธิแห่งตน
ถ้าผู้รับจ้า นองใช้สิทธิของตนบังคับแก่ทรัพย์สิน ทั้ง หมดพร้อมกัน ท่านให้แบ่ง
ภาระแห่งหนี้ น้ันกระจายไปตามส่วนราคาแห่งทรัพย์สิน นั้นๆ เว้นแต่ในกรณีท่ีได้ระบุ
33
จ้า นวนเงิน จ้า นองไว้ เฉพาะทรั พ ย์ สิน แต่ ล ะสิ่ ง ๆ เป็ นจ้า นวนเท่ า ใด ท่ า นให้ แ บ่ ง
กระจายไปตามจ้านวนเงิน จ้านองที่ระบุไว้เฉพาะทรัพย์สิ่งนั้นๆ
แต่ถ้าผู้รับจ้า นองใช้สิทธิของตน บังคับ แก่ทรัพย์สิน อัน ใดอัน หนึ่ ง แต่เ พียงสิ่ง
เดียวไซร้ ผู้รับจ้านองจะให้ช้าระหนี้ อันเป็ นส่วนของตน ทั้งหมดจากทรัพย์สินอันนั้นก็ได้
ในกรณี เช่นนั้ น ท่านให้ถือว่าผู้รับ จ้า นองคนถัดไปโดยล้า ดับ ย่อมเข้ารับ ช่วงสิทธิของ
ผู้รับจ้านองคนก่อน และจะเข้าบังคับจ้านองแทนที่คนก่อนก็ได้แต่เพียงเท่าจ้านวน ซึ่ง
ผู้รับ จ้านองคนก่อนจะพึงได้รับจากทรัพย์สินอื่น ๆ ตามบทบัญญัติด่ังกล่าว มาในวรรค
ก่อนนั้น
5.2 ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาจ้านอง
1. สั ญ ญาจ้า นองระงั บ ด้ ว ยสาเหตุ ใ หญ่ 2 ประการคื อ เมื่ อท้า ให้ ห นี้
ประธานระงับไปประการหนึ่ งและอีกประการหนึ่ งคือท้าให้ตัวสัญญาจ้านอง
ระงับ เช่น ปลดจ้านอง ไถ่จ้านอง บังคับจ้านอง เป็ นต้น
2. จ้านองเป็ นทรัพย์สิทธิท่ ีตกติดไปกับทรัพย์จ้านองจนกว่าผู้รับจ้านองจะ
ได้ช้าระหนี้ การที่หนี้ ประธานขาดอายุความจึงไม่ท้าให้จ้านองระงับ
3. เมื่ อสัญ ญาจ้า นองระงั บ ต้องน้า ความไปจดทะเบี ยน มิฉะนั้ น จะยกขึ้ น
ต่อสู้บุคคลภายนอกไม่ได้ หลักนี้ ใช้บังคับตลอดถึงการผ่อนช้า ระหนี้ จ้า นอง
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาจ้านองหรือหนี้ อันจ้านองเป็ นประกันด้วย
5.2.1 สาเหตุท่ีท้าให้สัญญาจ้านองระงับ
การจ้านองระงับด้วยเหตุประการใดบ้าง
จ้านองระงับด้วยเหตุมาตรา 744 ดังนี้
1) หนี้ ท่ีประกันระงับสิ้นไป ยกเว้นหนี้ ประธานขาดอายุความไม่ท้าให้
จ้านองระงับ
2) เมื่อปลดหนี้ จ้านองให้แก่ผู้จ้านองด้วยหนังสือเป็ นส้าคัญ

3) เมื่อผู้จ้านองหลุดพ้น
4) เมื่อถอนจ้านอง
5) เมื่อขายทอดตลาดทรัพย์สิน ซึ่งจ้า นองตามค้า สั่งศาลอันเนื่ องมา
จากการบังคับจ้านองหรือถอนจ้านอง
6) เมื่อเอาทรัพย์สน
ิ ซึ่งจ้านองนั้นหลุดเป็ นสิทธิ

แดงกู้เงินด้า 300,000 บาท โดยเขียวจ้า นองที่ดินเป็ นประกัน แดงไม่


ช้าระหนี้ ด้าจึงฟ้ องบังคับคดีจ้านองยึดที่ดินของเขียวขายทอดตลาดแต่เขียว
ยอมชดใช้เงินให้ด้า 150,000 บาท ส่วนอีก 150,000 บาท แดงรับช้า ระให้ด้า
จึงไม่มีการขายทอดตลาดที่ดินต่อมาเขียวขายที่ดินให้เหลืองและไม่ใช้หนี้ ให้
ด้าตามที่ตกลงกันไว้ ด้าจึงฟ้ องบังคับจ้านองเท่าที่ดินซึ่งเหลืองรับโอน เพื่อ
ช้าระหนี้ อีก 150,000 บาท ด้าจะมีสิทธิบังคับจ้านองเอากับเหลืองได้หรือไม่
34
การบั ง คั บ จ้า นองโดยขายทอดตลาดทรั พ ย์ จ้า นองอั น จะท้า ให้
จ้านองระงับตามมาตรา 744 (5) นั้น ต้องมีการขายทอดตลาดกันจริง แม้ด้า
จะฟ้ องบั ง คั บ จ้า นองก็ ต าม แต่ เ มื่ อไม่ มี ก ารขายทอดตลาดที่ ดิ น จ้า นอง
จ้า นองย่อมไม่ระงับไป เหลื องผู้รั บโอนที่ดิ นจ้า นองต้อ งรั บภาระจ้า นองมา
ด้วย แดงจึงมีสิทธิบังคับจ้านองเอากับที่ดินที่เหลืองรับโอนมาได้
5.2.2 สัญญาจ้านองไม่ระงับเพราะอายุความ
ที่ว่า “จ้านองไม่ระงับเพราะอายุความ”นั้นหมายความว่าอย่างไร
สัญญาจ้านองย่อมระงับสิ้นไปตามมาตรา 744(1) คือเมื่อหนี้ ประธาน
ระงั บ ไปด้ ว ยเหตุ ใ ดๆ เช่ น มี ก ารช้า ระหนี้ เงิ น กู้ ยื ม ที่ เ ป็ นหนี้ ประธาน หนี้
จ้า นองซึ่งเป็ นอุปกรณ์ย่อมระงับสิ้นไปด้วย แต่กรณี ท่ีหนี้ ประธานขาดอายุ
ความไม่ให้จ้านองระงับ เพราะการที่หนี้ ขาดอายุความนั้นกฎหมายห้ามมิให้
ฟ้ องร้องบังคับคดีกันตามมาตรา 193/9 เท่านั้น หนี้ มิได้ระงับไปด้วยและสิทธิ
จ้านองเป็ นทรัพย์สิทธิซึ่งตกติดตามไปกับทรัพย์ท่ีจ้านองจนกว่าผู้รับจ้านอง
จะได้ รั บ ช้า ระหนี้ (มาตรา 702 วรรค 2) ฉะนั้ น การที่ ห นี้ ประธานขาดอายุ
ความจึงไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิจ้านอง
มาตรา 193/9 สิทธิเรียกร้องใด ๆ ถ้ามิได้ใช้บังคับภายในระยะเวลา ที่กฎหมาย
ก้าหนด สิทธิเรียกร้องนั้นเป็ นอันขาดอายุความ
มาตรา 702 อันว่าจ้า นองนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ ง เรียกว่า ผู้จ้า นองเอา
ทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ ง เรียกว่าผู้รับจ้านอง เป็ นประกันการช้าระหนี้ โดย
ไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจ้านอง
ผู้รับจ้านองชอบที่จะได้รับช้าระหนี้ จากทรัพย์สินที่จ้านองก่อน เจ้าหนี้ สามัญมิพัก
ต้องพิเคราะห์ว่ากรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินจะได้โอน ไปยังบุคคลภายนอกแล้วหรือหาไม่
5.2.3 สัญญาจ้านองระงับต้องน้าความไปจดทะเบียน
นกกู้ เ งิน หนู 300,000 บาท โดยมี ไก่ จ้า นองที่ ดิ น เป็ นประกั น ครั้ ง หนี้
ครบก้าหนดนกไม่ช้าระหนี้ ไก่จึงเข้าช้าระหนี้ แทนสิ้นเชิง เพื่อมิให้หนูบังคับ
จ้า นอง แต่ห นูขอผลัด ไปไปจดทะเบี ยนระงับ จ้า นองภายหลั ง ต่ อ มาหนู ถู ก
แมวเจ้าหนี้ ฟ้องเรียกหนี้ จ้านวน 500,000 บาท แมวชนะคดีจึงยึดที่ดินของไก่
เพื่อบังคับช้า ระหนี้ ไก่จะต่อสู่แมวได้หรือไม่ว่า จ้า นองระงับแล้วจะยึดที่ดิน
ขายทอดตลาดไม่ได้
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสิทธิในการจ้า นองต้องน้า ไปจดทะเบียนตาม
หลักมาตรา 746 ที่บัญญัติว่า “การช้าระหนี้ ไม่ว่าครั้งใดๆ สิน ้ เชิงหรือแต่บาง
ส่วนก็ดี การระงับหนี้ อย่างใดๆ ก็ดี การตกลงกันแก้ไขเปลี่ยนแปลงจ้า นอง
หรือหนี้ อันจ้านองเป็ นประกันนั้นเป็ นประการใดก็ดี ท่านว่าต้องน้าความไป
จดทะเบี ยนต่ อพนั ก งานเจ้าหน้าที่ ในเมื่ อมี ค้า ขอร้ อ งของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย มิ
ฉะนั้นท่านห้ามมิให้ยกขึ้นเป็ นข้อต่อสู้บุคคลภายนอก”
ดังนั้ น ไก่จ ะต่ อสู้ แ มวว่ าจ้า นองระงั บ สิ้ น ไปแล้ ว แมวจะยึ ด ที่ ดิ น ขาย
ทอดตลาดนั้น ไก่ต่อสู้ไม่ได้ เพราะไก่ช้าระหนี้ แล้วไก่ไม่ได้น้าไปจดทะเบียน
ต่ อ พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ จึ ง ใช้ ต่ อ สู้ แ มว บุ ค คลภายนอกไม่ ไ ด้ เนื่ องจากใน
35
ทะเบียนยังมีรายการว่าไก่เป็ นผู้จ้านองที่ดินเป็ นประกันหนี้ เงินกู้หนูผู้รับ
จ้านองอยู่
มาตรา 746 การช้า ระหนี้ ไม่ว่าครั้งใด ๆ สิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน ก็ดี การระงับ
หนี้ อย่ า งใด ๆ ก็ ดี การตกลงกั น แก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงจ้า นอง หรื อ หนี้ อั น จ้า นองเป็ น
ประกันนั้นเป็ นประการใดก็ดี ท่านว่าต้องน้า ความไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ในเมื่ อมีค้า ขอร้ องของ ผู้มี ส่วนได้ เ สี ย มิฉ ะนั้ น ท่า นห้ ามมิใ ห้ย กขึ้ น เป็ นข้ อ ต่ อ สู้ บุ ค คล
ภายนอก
แบบประเมินผลหน่วยที่ 5
1. การบั งคั บ จ้า นองสามารถกระท้า ได้ โ ดยวิ ธี ฟ้ องศาลให้ เ อาทรั พ ย์ ท่ี จ้า นองขาย
ทอดตลาด หรือฟ้ องศาลให้เอาทรัพย์จ้านองหลุดเป็ นสิทธิ
2. เงื่อนไขในการบังคับจ้า นองมีดังนี้ ต้องมีหนั งสือบอกกล่าวไปยังลูกหนี้ และต้อง
ฟ้ องคดีต่อศาล
3. หนังสือบอกกล่าวบังคับจ้า นองต้องมีสาระส้า คัญคือ บอกให้ลูกหนี้ ช้า ระหนี้ และ
ก้าหนดเวลาอันสมควรให้ช้าระหนี้
4. ถ้าจะบังคับจ้า นองแก่ผู้รับโอนทรัพย์สินจ้า นองกฎหมายบังคับว่าต้องบอกกล่าว
ผู้รบ
ั โอน ล่วงหน้านานก้าหนด 1 เดือน
5. ในกรณี บังคั บจ้า นองโดยการขายทอดตลาดทรั พย์ ซึ่ง ติด จ้า นองหลายราย เงิน
สุทธิท่ีได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์จ้านอง ต้องช้าระให้ผู้รับจ้านองคือ เอาช้าระหนี้
ให้ผู้รับ จ้า นองเรียงตามล้า ดับการจดทะเบียนจ้า นอง ผู้รับ จ้า นองก่อนได้รับ ช้า ระหนี้
ก่อน
6. ถ้าบังคับจ้า นองขายทอดตลาดทรัพย์จ้า นองได้เงินสุทธิต่ ้ากว่าจ้า นวนเงินที่ค้าง
ช้าระ เงินที่ยังขาดอยู่ ลูกหนี้ ไม่ต้องรับผิด
7. สัญญาจ้านองมีข้อตกลงระบุว่า ถ้าผู้รับจ้านองบังคับจ้านองได้เงินไม่พอช้าระหนี้
ลูก หนี้ ยิน ยอมให้ผู้ รับ จ้า นองบัง คับ ช้า ระหนี้ แก่ ทรัพ ย์สิ น อื่ นได้จ นครบจ้า นวนหนี้ ข้อ
ตกลงนี้ มีผลใช้บังคับได้โดยสมบูรณ์
8. กรณีท่ีท้าให้สัญญาจ้านองระงับได้แก่ กรณีผู้รบ ั จ้านองปลดหนี้ ให้ลูกหนี้
9. เมื่อหนี้ ท่ีประกันขาดอายุความ ไม่มีผลท้าให้จ้านองระงับ
10. เมื่อสัญญาจ้านองระงับแล้ว ต้องปฏิบัติคือ น้าความไปจดทะเบียน
11. การที่หนี้ ประธานขาดอายุความ ไม่มีผลต่อหนี้ จ้านอง (จ้านองไม่ระงับ)
12. การไม่จดทะเบียนเมื่อจ้านองระงับมีผลคือ ยกขึ้นต่อสู้บุคคลภายนอกไม่ได้
13. กรณีเจ้าหนี้ ตาย ไม่มีผลท้าให้สัญญาจ้านองระงับ

หน่ วยที่ 6 สัญญาจ้าน้า


1.ทรัพย์ท่ีจ้าน้านอกจากจะต้องเป็ นสังหาริมทรัพย์แล้ว สิทธิท่ีมีตราสาร
ก็อาจน้า มาจ้า น้า ได้โดยวิธีการที่กฎหมายก้า หนด สัญญาจ้า น้า ครอบคลุม
ทั้งหนี้ ต้นเงินและค่าอุปกรณ์ ข้อตกลงบางประการที่คู่สัญญาตกลงกันก่อน
เวลาหนี้ ถึงก้าหนดช้าระ กฎหมายได้ก้าหนดให้ข้อตกลงนั้นไม่สมบูรณ์ อนึ่ ง
36
บทบัญญัติท้ังหลายในเรื่องจ้าน้าให้ใช้กับโรงรับจ้าน้าเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับ
กฎหมาย หรือกฎข้อบังคับของโรงรับจ้าน้า
2. ผู้ รั บ จ้า น้า มี สิ ท ธิ ยึ ด ทรั พ ย์ ท่ี จ้า น้า จนกว่ า จะได้ รั บ ช้า ระหนี้ และค่ า
อุ ป กรณ์ค รบถ้ ว น และมี ห น้าที่ รั ก ษาและสงวนทรั พ ย์ สิ น ที่ จ้า น้า ตลอดจน
ต้องรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายของทรัพย์ท่ีจ้าน้า ส่วนค่าใช้จ่ายใน
การบ้ารุงรักษาทรัพย์สินที่จ้าน้านั้น ผู้จ้าน้ามีหน้าที่ชดใช้ให้แก่ผู้รับจ้าน้า
6.1 สาระส้าคัญของสัญญาจ้าน้า
1. สัญญาจ้า น้า เป็ นการที่ผู้จ้า น้า ส่งมอบสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผู้รับจ้า น้า
เพื่อเป็ นการประกันการช้าระหนี้
2. สัญญาจ้า น้า ย่อมครอบคลุมถึงหนี้ ต้นเงินและค่าอุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่
ดอกเบี้ ย ค่ า สิ น ไหมทดแทนในการไม่ ช้า ระหนี้ ค่ า ฤชาธรรมเนี ย มในการ
บังคับจ้าน้า ค่าใช้จ่ายเพื่อรักษาทรัพย์สินที่จ้าน้า และค่าสินไหมทดแทนเพื่อ
ความเสียหาย อันเกิดแต่ความช้า รุดบกพร่องของทรัพย์สินจ้า น้า ซึ่งไม่เห็น
ประจักษ์
3. สิทธิท่ ีมีตราสารจ้า น้า ได้โดยวิธีส่ งมอบและแจ้ง การจ้า น้า เป็ นหนั งสื อ
แก่ลูกหนี้ แห่งสิทธิ ถ้าสิทธิซึ่งจ้าน้าถึงก้าหนดช้าระก่อนหนี้ ซึ่งประกันไว้ ลูก
หนี้ แ ห่ ง สิ ท ธิ ต้ อ งส่ ง มอบทรั พ ย์ สิ น อั น เป็ นวั ต ถุ แ ห่ ง สิ ท ธิ ใ ห้ ผู้ รั บ จ้า น้า และ
ทรั พย์ สิ น นั้ น กลายเป็ นของจ้า น้า แทนสิ ท ธิ ถ้ า สิ ท ธิ น้ั น มี วั ต ถุแ ห่ ง สิ ท ธิ เ ป็ น
เงิ น ลู ก หนี้ แ ห่ ง สิ ท ธิ ต้ อ งใช้ เ งิ น ให้ แ ก่ ผู้ รั บ จ้า น้า และผู้ จ้า น้า ร่ ว มกั น และผู้
จ้า น้า หรื อ ลู ก หนี้ แ ห่ งสิ ท ธิ จ ะท้า ให้ สิ ท ธิ น้ั นสิ้ น ไป หรื อ แก้ ไ ขสิ ท ธิ น้ั น ให้ เ สี ย
หายแก่ผู้รับจ้าน้าโดยผู้รับจ้าน้าไม่ยินยอมไม่ได้
4. บทบัญญัติท้ังหลายในเรื่องจ้าน้า นี้ ใช้กับสัญญาจ้า น้า ที่ท้า กับผู้ต้ังโรง
รับจ้าน้า โดยได้รับอนุญาตจากรัฐบาลได้เท่าที่ไม่ขัดกับพระราชบัญญัติโรง
รับจ้าน้า
6.1.1 ความหมายของสัญญาจ้าน้า
เด่นกู้เงินเด๋อ 10,000 บาท โดยเด่นน้า ตู้เย็นของตนราคา 15,000 บาท
มาให้เด๋อยึดไว้เป็ นประกัน แต่เนื่ องจากบ้านเด๋อแคบ จึงตกลงกันให้จุ๋มจิม ๋
เพื่ อนบ้ า นเด๋ อ เป็ นผู้ เ ก็ บ รั ก ษาแทน สั ญ ญาดั ง กล่ า วนี้ ให้ วิ นิ จฉั ย ว่ า เป็ น
สัญญาจ้าน้าหรือไม่
สัญญาดังกล่าวเป็ นสัญญาจ้าน้า เพราะลักษณะของสัญญาจ้าน้าคือ
1) ทรัพย์ท่ ีจ้าน้าต้องเป็ นสังหาริมทรัพย์ ในที่น้ี คือตู้เย็น

2) ผู้จ้าน้าต้องเป็ นเจ้าของทรัพย์ ต้เู ย็นเป็ นทรัพย์ของเด่นผู้จ้าน้า


3) ต้ อ งมี ก ารส่ ง มอบทรั พ ย์ ท่ ี จ้า น้า หรื อ คู่ สั ญ ญาอาจตกลงให้ บุ ค คล
ภายนอกเป็ นผู้เก็บรักษาทรัพย์แทนผู้รับจ้า น้า ซึ่งในที่น้ี เด่นและเด๋อตกลง
กันให้นายจุ๋มจิม ๋ รักษาตู้เย็นแทนเด่น
37
6.1.2 ขอบเขตของสัญญาจ้าน้า
ด้า กู้เงินแดง 10,000 บาท โดยน้า ม้าแข่งมาจ้า น้า ไว้กับแดง ระหว่างที่
ม้าอยู่กับแดง แดงเสียค่าดูแลเลี้ยงม้าวันละ 100 บาท เป็ นเวลา 10 วัน ด้า
น้า เงินมาช้า ระแดง 10,000 บาท แต่แดงไม่ยอมคืนม้าให้ด้า เพราะด้า ยังไม่
ช้าระค่าเลี้ยงม้าอีก 1,000 บาท ปั ญหาว่าแดงมีสิทธิยึดม้าหรือไม่
ทรั พย์สิน ที่จ้า น้า ย่ อมเป็ นประกั น หนี้ เ งิ น ต้ นและหนี้ อุป กรณ์ด้ ว ยตาม
มาตรา 748 ในกรณี น้ี ค่ า ใช้ จ่ า ยการดู แ ลรั ก ษาม้ า 1,000 บาท เป็ นหนี้
อุปกรณ์ ดังนั้น แดงมีสิทธิยึดม้าไว้จนกว่าด้าจะช้าระเงิน 1,000 บาท
มาตรา 748 การจ้า น้า นั้นย่อมเป็ นประกันเพื่อการช้า ระหนี้ กับ ทั้งค่าอุปกรณ์
ต่อไปนี้ ด้วย คือ
(1) ดอกเบี้ย
(2) ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ช้าระหนี้
(3) ค่าฤชาธรรมเนี ยมในการบังคับจ้าน้า
(4) ค่าใช้จ่ายเพื่อรักษาทรัพย์สินซึ่งจ้าน้า
(5)ค่า สิน ไหมทดแทนเพื่ อความเสี ยหายอั น เกิ ด แต่ค วามช้า รุ ด บกพร่ อ งแห่ ง
ทรัพย์สินจ้าน้าซึ่งไม่เห็นประจักษ์
6.1.3 การจ้าน้าสิทธิท่ีมีตราสาร
อธิบายวิธีการจ้าน้าสิทธิท่ีมต ี ราสารทั่วไป
วิธีจ้าน้าสิทธิท่ีมีตราสารทั่วไป มีบัญญัตใิ นมาตรา 750 กล่าวคือ
1) ต้องส่งมอบตราสารนั้นให้แก่ผู้รับจ้าน้าและ

2) ต้องบอกกล่าวเป็ นหนังสือแจ้งการจ้าน้าแก่ลูกหนี้ แห่งสิทธิ มิฉะนั้น


การจ้าน้าเป็ นโมฆะ
มาตรา 750 ถ้าทรัพย์สินที่จ้าน้าเป็ นสิทธิซึ่งมีตราสาร และมิได้ ส่งมอบตราสาร
นั้นให้แก่ผู้รับจ้าน้า ทั้งมิได้บอกกล่าวเป็ นหนังสือแจ้ง การจ้าน้าแก่ลูกหนี้ แห่งสิทธิน้ัน
ด้วยไซร้ ท่านว่าการจ้าน้าย่อมเป็ นโมฆะ
ถ้าสิทธิซึ่งจ้าน้าถึงก้าหนดช้าระก่อนหนี้ ซึ่งเป็ นประกัน ลูกหนี้ แห่งสิทธิ
ต้องช้าระหนี้ แก่ใคร
ถ้ า สิ ท ธิ ซึ่ ง จ้า น้า ถึ ง ก้า หนดช้า ระก่ อ นหนี้ ซึ่ ง เป็ นประกั น กฎหมาย
ก้าหนดหลักเกณฑ์ ดังนี้
1) ถ้าวัตถุแห่งสิทธิเป็ นทรัพย์สิน ลูกหนี้ แห่งสิทธิต้องส่งมอบทรัพย์น้ัน
ให้แก่ผู้รับจ้าน้าและทรัพย์น้ันก็กลายเป็ นของจ้าน้าแทนสิทธิซึ่งจ้าน้า
2) ถ้ า วั ต ถุ แ ห่ ง สิ ท ธิ เ ป็ นเงิ น ลู ก หนี้ แ ห่ ง สิ ท ธิ ต้ อ งช้า ระเงิ น ให้ แ ก่ ผู้ รั บ
จ้า น้า และผู้ จ้า น้า ร่ ว มกั น ถ้ า ทั้ งสองตกลงกั น ไม่ ไ ด้ ให้ ว างเงิ น ไว้ ณ
ส้านักงานฝากทรัพย์
6.1.4 การใช้กฎหมายลักษณะจ้าน้าแก่โรงรับจ้าน้า
38
บทบัญญัตเิ รื่องจ้าน้าใน ปพพ. จะน้ามาใช้กับสัญญาจ้าน้าที่ท้ากับผู้
ตั้งโรงรับจ้าน้าได้หรือไม่
บทบัญญัตเิ รื่องจ้าน้าใน ปพพ. น้าไปใช้กับสัญญาจ้าน้าที่ท้ากับผู้ต้ังโรง
รับจ้าน้าได้แต่เท่าไม่ขัดกับพระราชบัญญัติโรงรับจ้าน้า
6.2 สิทธิและหนูาทีข ่ องผู้รับจ้าน้าและผู้จ้าน้า
1. ผู้รับจ้าน้ามีสิทธิยึดทรัพย์ท่ ีจ้าน้าไว้ได้ท้ ังหมดจนกว่าจะได้รับช้า ระหนี้
และค่าอุปกรณ์ครบถ้วน และมีสิทธิในการน้าดอกผลนิ ตินัยที่งอกจากทรัพย์
จ้า น้า มาจัดสรรใช้เป็ นค่าดอกเบี้ยที่ค้างช้า ระ ถ้าไม่มีดอกเบี้ยค้างช้า ระให้
จัดสรรใช้หนี้ เงินต้น
2. ผู้รับจ้า น้า มีหน้าที่ต้องรักษาและสงวนทรัพย์สินจ้า น้า ไว้ เช่นวิญญูชน
จะพึงสงวนทรัพย์สินสุดของตนและต้องรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลาย
ของทรั พ ย์ ท่ี จ้า น้า แม้ จ ะเป็ นเพราะเหตุ สุ ด วิ สั ย เว้ น แต่ จ ะพิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ า ถึ ง
อย่างไร ก็คงต้องสูญหายหรือบุบสลายอยู่น่ันเอง
3. ผู้ จ้า น้า มี สิ ท ธิ ไ ถ่ ถ อนทรั พ ย์ จ้า น้า ได้ เ สมอตราบที่ ยั ง ไม่ มี ก ารบั ง คั บ
จ้า น้า และมี ห น้ า ที่ ช ดใช้ ค่ า ใช้ จ่ า ยอั น ควรแก่ ก ารบ้า รุ ง รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น ที่
จ้าน้าซึ่งผู้รับจ้าน้าได้จ่ายไป
4. อายุความฟ้ องร้องเรียกค่าสินไหมทดแทน เพื่อความบุบสลายซึ่งผู้รับ
จ้าน้าก่อให้เกิดแก่ทรัพย์สินจ้าน้า ฟ้ องเรียกค่าชดใช้ค่าใช้จ่ายเพื่อการบ้ารุง
รักษาทรัพย์หรือฟ้ องเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายที่ผู้รับจ้า น้า
ได้ รับ เพราะความช้า รุด บกพร่ องในทรั พย์ สิ น จ้า น้า ซึ่ ง ไม่ เ ห็ น ประจั ก ษ์ ให้
ฟ้ องภายใน 6 เดือน นับแต่วน ั ส่งคืน หรือขายทอดตลาดทรัพย์สินจ้าน้า
6.2.1 สิทธิและหน้าที่ของผู้รับจ้าน้า
สายกู้ เย็ น เย็น 10,000 บาท โดยน้า แหวนเพชรราคา 8,000 บาท และ
สร้อ ยคอราคา 6,000 บาท มาจ้า น้า ต่อ มาสายน้า เงิ น 5,000 บาท มาช้า ระ
หนี้ เย็น แลขอสร้อยคอคืนจากเย็น เย็นไม่ให้ ถามว่าเย็นมีสิทธิอย่างไร
เย็นมีสิทธิยึดทรัพย์ท่ีจ้า น้า ไว้ได้ท้ังหมดจนกว่าจะได้ รับ ช้า ระหนี้ ค รบ
ตามมาตรา 758
ผอมน้า รถยนต์มาจ้า น้า อ้วนเป็ นประกันหนี้ โดยเก็บไว้ในโรงรถบ้าน
อ้วน ต่อมาอ้วนท้าการซ่อมโรงรถใหม่จึงน้ารถไปฝากไว้ในโรงรถของกลาง
เพื่อนบ้าน เผอิญเกิดไฟไหม้บ้านละแวกนั้น รวมทั้งบ้านอ้วนและกลางด้วย
ดังนี้ อ้วนต้องรับผิดหรือไม่เพียงใด
โดยหลักผู้จ้า น้า ไม่ยินยอม ผู้รับจ้า น้า คือ อ้วนจะเอารถยนต์ให้บุคคล
ภายนอกใช้สอย หรือเก็บรักษาไม่ได้ การที่อ้วนเอารถไปฝากกลาง หากเกิด
ความเสีย หาย มาตรา 760 อ้ว นต้ องรับ ผิด ชอบ แต่ในกรณี ตามข้ อเท็ จ จริ ง
อ้วนสามารถพิสูจน์ได้ว่าถึงอย่างไรก็เสียหายอยู่ดี กล่าวคือ แม้รถจะจอดที่
บ้านอ้วนก็ต้องถูกไฟไหม้เช่นกัน อ้วนจึงไม่ต้องรับผิด
มาตรา 758 ผู้รับจ้าน้าชอบที่จะยึดของจ้าน้าไว้ได้ท้ังหมดจนกว่า จะได้รับช้าระ
หนี้ และค่าอุปกรณ์ครบถ้วน
39
มาตรา 760 ถ้ า ผู้ รั บ จ้า น้า เอาทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง จ้า น้า ออกใช้ เ อง หรื อ เอาไปให้
บุค คลภายนอกใช้ สอย หรื อเก็บ รัก ษาโดยผู้ จ้า น้า มิ ไ ด้ ยิ น ยอม ด้ ว ยไซร้ ท่ า นว่ า ผู้ รับ
จ้าน้าจะต้องรับผิดเพื่อทรัพย์สินจ้าน้านั้นสูญหาย หรือบุบสลายไปอย่างใด ๆ แม้ท้ังเป็ น
เพราะเหตุ สุ ด วิ สั ย เว้ น แต่ จ ะ พิ สู จ น์ไ ด้ ว่ า ถึ ง อย่ า งไร ๆ ก็ ค งจะต้ อ งสู ญ หาย หรื อ บุ บ
สลายอยู่น่ันเอง
6.2.2 สิทธิและหน้าที่ของผู้จ้าน้า
ผู้จ้าน้ามีสิทธิและหน้าที่อย่างไร
ผู้รับจ้าน้ามีสิทธิค
์ ือ
1) ให้ผู้รับจ้าน้าสงวนและรักษาทรัพย์ท่ีจ้าน้า ตามมาตรา 759
2) ได้ รั บค่ าสิน ไหมทดแทนกรณี ท รั พ ย์ท่ี จ้า น้า สู ญ หาย หรื อ บุ บ สลาย
ตามมาตรา 760
3) สิทธิไถ่ถอนทรัพย์ท่ีจ้าน้า
ผู้จ้าน้ามีหน้าที่คือ ชดใช้ค่าใช้จ่ายอันควรแก่การบ้า รุงรักษาทรัพย์สิน
ที่จ้าน้า ตามมาตรา 762
มาตรา 759 ผู้รับจ้าน้าจ้าต้องรักษาทรัพย์สินจ้าน้าไว้ให้ปลอดภัย และต้องสงวน
ทรัพย์สินจ้าน้านั้นเช่นอย่างวิญญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สิน ของตนเอง
มาตรา 762 ค่ า ใช้ จ่ า ยใด ๆ อั น ควรแก่ ก ารบ้า รุ ง รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น จ้า น้า นั้ น ผู้
จ้าน้าจ้าต้องชดใช้ให้แก่ผู้รบ
ั จ้าน้า เว้นแต่จะได้ก้าหนดไว้ เป็ นอย่างอื่นในสัญญา
6.2.3 อายุความเรียกค่าสินไหมทดแทนและค่าใช้จ่าย
ด้ากู้เงินแดง 10,000 บาท โดยน้ารถยนต์มาจ้าน้าเป็ นประกันการข้าระ
หนี้ กั บ แดง และตกลงยิ น ยอมให้ แ ดงใช้ ร ถยนต์ ดั ง กล่ า วได้ เมื่ อแดงน้า
รถยนต์ออกใช้ปรากฏว่ารถเบรกไม่ดี ท้า ให้ชนรถคันอื่นเสียหาย แดงต้อง
เสียเงินค่าสินไหมทดแทนไป 2,000 บาท เมื่อถึงก้า หนดช้า ระหนี้ ด้า น้า เงิน
มาช้าระ 10,000 บาท ด้วยความพลั้งเผลอ แดงส่งมอบรถคืนด้าไปโดยไม่ได้
เรี ย กให้ ด้า ช้า ระอี ก 2,000 บาท เช่ น นี้ ถ้ า ด้า ไม่ ย อมช้า ระ 2,000 บาท แดง
สามารถเรียกร้องได้อย่างไรหรือไม่
กฎหมายก้า หนดให้ ผู้ รับจ้า น้า ต้อ งรั บ ผิด เพื่ อความเสีย หายที่ เกิ ดแก่
ทรั พ ย์ ท่ี จ้า น้า เพราะความช้า รุ ด บกพร่ อ งในทรั พ ย์ สิ น จ้า น้า ซึ่ ง ไม่ เ ห็ น
ประจักษ์ และก้าหนดอายุความฟ้ องเรียกค่าสินไหมทดแทน 6 เดือน นับแต่
วันส่งคืนสินค้าหรือขายทอดตลาดทรัพย์สินจ้า น้า ดังนั้น แดงฟ้ องเรียกค่า
เสี ย หายที่ จ่ า ยไป 2,000 บาท จากด้า ได้ ภายใน 6 เดื อ น นั บ แต่ วั น ส่ ง มอบ
รถยนต์คืน
แบบประเมินผลหน่วยที่ 6
1. ตั ว อย่ า งของการจ้า น้า ได้ แ ก่ ก รณี ม่ ว งกู้ เ งิ น จากส้ ม โดยเอาแหวนเพชรมา
ประกันการช้าระหนี้
40
2. ด้าท้าสัญญากู้เงินแดง 50,000 บาท และน้าม้ามาจ้า น้า เป็ นประกันช้า ระหนี้ 1
เดือน ต่อมาด้า น้า เงินมาช้า ระหนี้ ซึ่งแดงต้องเสียค่าเลี้ยงดูม้าตลอด 1 เดือน เป็ นเงิน
2,000 บาท แดงสามารถเรียกเลี้ยงม้าจากด้าได้ เพราะกฎหมายก้าหนดให้ผู้จ้าน้าเป็ นผู้
ออกค่าใช้จ่าย
3. จากปั ญหาข้างต้น ระหว่า งที่ ม้า อยู่ กับ แดง ม้ าเกิดตกลูก ออกมา 2 ตัว ลูกม้ าจะ
ต้องตกเป็ นของเจ้าของม้าคือด้า
4. สิทธิซง
ึ่ มีตราสารหมายถึง ตราสารซึ่งใช้แทนสิทธิ
5. ส้มกู้ เ งิน องุ่ น 20,000 บาท โดยน้า แหวนเพชรราคา 15,000 บาท และที วี สี ร าคา
9,000 บาท มาประกันช้า ระหนี้ ต่อมาส้มได้น้า เงินเพียง 15,000 บาท มาช้า ระ และขอ
ให้ อ งุ่ น คื น ที วี สี ใ ห้ ต น อง่่ น ไม่ ตู อ งคื น เพราะผู้รับจ้าน้ามีสิทธิยึดทรัพย์ท่ีจ้าน้าไว้
ทั้งหมด จนกว่าจะได้รับช้าระหนี้ ครบจ้านวน
6. คดี ฟ้ องเรี ย กค่ า สิ น ไหมทดแทน เพื่ อความบุ บ สลายอั น ผู้ รั บ จ้า น้า ก่ อ ให้ เ กิ ด แก่
ทรัพย์สินจ้าน้านั้น กฎหมายก้าหนดให้ฟ้องภายใน ระยะเวลา 6 เดือน นับแต่วน ั ส่งคืน
7. แดงได้เช็คผู้ถือมาเป็ นเช็คลงวันที่ล่วงหน้า เมื่อยังไม่ถึงก้าหนดขึ้นเงิน จึงเอาเช็ค
ไปจ้า น้า ขาว กฎหมายก้า หนดวิธีจ้า น้า เช็ค โดย การส่งมอบเช็ค และสลัก หลัง เช็ค ให้
ปรากฏการจ้าน้า
8. สัญญาจ้าน้าที่มีการตกลงกันก่อนเวลาหนี้ ถึงก้าหนดช้าระ เป็ นข้อความว่าถ้าไม่
ช้าระหนี้ ให้ทรัพย์จ้าน้าเป็ นของผู้รับจ้าน้า ข้อตกลงเช่นนี้ ไม่สมบูรณ์
9. การจ้า น้า ย่อมเป็ นประกันเพื่อการช้า ระหนี้ กับทั้งค่าอุปกรณ์ ค่า อุปกรณ์ได้ แก่
ค่าฤชาธรรมเนี ยมในการบังคับจ้าน้า
10. จ้าน้าเป็ นการประกันการช้าระหนี้ ด้วย สังหาริมทรัพย์
11. แสดก้เู งินชมพู โดยเอาตึกแถวทาเป็ นประกันการช้าระหนี้ ไม่ใช่เป็ นการจ้าน้า
12. คดี ฟ้ องเรี ย กค่ า ใช้ จ่ า ยเพื่ อการบ้า รุ ง รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น จ้า น้า ให้ ฟ้ องภายในอายุ
ความ 6 เดือน นับแต่วันขายทอดตลาดทรัพย์สินจ้าน้า
13. ด้ากู้เงินแดง โดยน้ารถยนต์มาประกันการช้าระหนี้ และคู่สัญญาตกลงกันให้แดง
น้ารถยนต์ไปให้บุคคลภาย นอกเช่าได้ แดงให้เช่าได้เงินมา 2,000 บาท เงินค่าเช่านี้ ให้
แดงน้าค่าเช่านี้ ไปจัดสรรใช้ดอกเบี้ยที่ค้างช้าระก่อน
14. จากข้อมูลข้างต้น แดงเห็นว่ารถยนต์คันดังกล่าวเก่ามากและผุ จึงน้า ไปให้ช่าง
ทาสีรถใหม่ สิ้นเงินไป 15,000 บาท ดังนั้นแดงจะมาขอเรียกเก็บเงินค่าท้าสีจากด้าตาม
สัญญาจ้า น้า ไม่ไดู เพราะไม่ใช่ค่าใช้จ่ายอันควรแก่การบ้า รุงรักษาซึ่งผู้จ้า น้า จะต้อง
จ่าย
15. การจ้า น้า ใบหุ้ นชนิ ดระบุ ช่ ือต้ อ งปฏิ บั ติโ ดยการจดทะเบีย นการจ้า น้า ไว้ ใ นสมุ ด
ของบริษท ั เพื่อยันบริษทั หรือบุคคลภายนอก
16. สัญญากู้ ไม่ใช่ตราสารที่จ้าน้ากันได้
17. เมื่อหนี้ ท่ีเอาทรัพย์ไปจ้า น้า ประกันไว้ถึงก้า หนดช้า ระแล้ว คู่สั ญญาจึ งตกลงกัน
ยอมให้ทรัพย์น้ันตกเป็ นของผู้รับจ้าน้า ข้อตกลงนี้ มีผล ใช้ได้
18. การจ้า น้า ย่ อ มเป็ นประกั น เพื่ อการช้า ระหนี้ กั บ ทั้ ง ค่ า อุ ป กรณ์ ส่ ว นเรื่ องค่ า
สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากการให้บุคคลภายนอกใช้ทรัพย์สินจ้า น้า
ไม่ถือว่าเป็ นค่าอุปกรณ์
41

หน่วยที่ 7 การบังคับจ้าน้าและสัญญาบัญชีเดินสะพัด
1. การบังคับจ้าน้าท้าได้วิธีเดียวคือ ขายทอดตลาดทรัพย์จ้าน้าเท่านั้น จะ
เอาทรั พ ย์ จ้า น้า หลุ ด เป็ นสิ ท ธิ ไ ม่ ไ ด้ ยกเว้ น การจ้า น้า ที่ ท้า กั บ โรงจ้า น้า
กฎหมายจึงบังคับให้จ้าน้าโดยเอาทรัพย์หลุดเป็ นสิทธิได้
2. จ้า น้า ย่ อ มระงั บ สิ้ น ไปเมื่ อหนี้ ประธานระงั บ สิ้ น ไปไม่ ว่ า ด้ ว ยเหตุ ใ ดๆ
และถ้าผู้รับจ้าน้ายินยอมให้ทรัพย์จ้าน้ากลับไปอยู่ในความครอบครองของผู้
จ้าน้าแล้ว จ้าน้าระงับสิ้นไปเหมือนกัน
3. สั ญ ญาบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด เป็ นสั ญ ญาที่ บุ ค คลสองคนตกลงให้ หั ก ทอน
บัญชีหนี้ สินระหว่างเขาทั้งสองเป็ นระยะไป และเป็ นสัญญาที่สมบูรณ์บังคับ
กันได้โดยอาศัยล้าพังการตกลง
7.1 การบังคับจ้าน้า
1. การบังคับจ้าน้าท้าได้ด้วยการเอาทรัพย์จ้าน้าออกขายทอดตลาด โดย
ไม่ฟ้องคดีต่อศาล แต่ต้องบอกกล่าวเป็ นหนังสือให้ให้ผู้จ้าน้าช้าระหนี้ ภายใน
เวลาอัน สมควรก่อน และต้องบอกให้ รู้ถึ งวั นเวลาสถานที่ ท่ีข ายทอดตลาด
ด้วย
2. เมื่อบังคับจ้าน้าแล้ว เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดต้องเอามาจัดสรร
ช้า ระหนี้ และอุ ป กรณ์แ ห่ ง หนี้ หากมี เ งิ น เหลื อ แก่ ผู้ จ้า น้า แต่ ถ้ า ขายทอด
ตลาดไม่พอช้าระหนี้ ตัวลูกหนี้ ต้องรับผิดชดใช้เงินที่ขาดอยู่
3. จ้า น้า ย่อมระงับสิ้นไปเมื่อหนี้ ประธานระงับ หรือเมื่อผู้รับจ้า น้า ยอมให้
ทรัพย์จ้าน้ากลับไปอยู่ในความครอบครองของผู้จ้าน้า หรือเมื่อบังคับจ้าน้า
7.1.1 วิธีบังคับจ้าน้า
เข้มกู้เงินข้น 10,000 บาท ก้าหนดช้าระคืนภายใน 2 เดือน โดยไม่ได้ท้า
สัญญากู้กัน แต่เข้มจ้า น้า เข็มขัดทองค้า หนั ก 10 บาท เป็ นประกันหนี้ ให้ข้น
ครั้นหนี้ ครบก้าหนดเข้มผิดนัด ข้นมาขอค้าแนะน้าว่า ถ้าจะเรียกร้องให้เข้ม
ช้าระหนี้ จะต้องท้าอย่างไร
เนื่ องจากหนี้ เงิ น กู้ ร ายนี้ ไม่ ไ ด้ ท้า สั ญ ญากู้ ไ ว้ จึ ง ฟ้ องบั ง คั บ อย่ า งหนี้
สามัญไม่ได้ แนะน้าให้ข้นใช้สิทธิบังคับจ้าน้าเพื่อเอาเงินช้าระหนี้ โดยให้ข้น
มีหนังสือเตือนเข้มก่อนตามมาตรา 764 ถ้าเข้มยังไม่เอาเงินมาช้า ระตามที่
เตือนก็มีหนังสือบอกเข้มว่าจะเอาเข็มขัดทองค้าออกขายทอดตลาดโดยแจ้ง
สถานที่และเวลาขายทอดตลาดไปด้วย แล้วเอาเข็มขัดออกขายทอดตลาด
ต่อไป
การบังคับจ้าน้ากรณีใดที่ไม่ต้องขายทอดตลาด
มีได้ 2 กรณีคือ
42
1) กรณี จ้า น้า ตั๋ว เงิ น ถ้ า ตั๋ว เงิ น ถึ ง ก้า หนดใช้ เ งิ น ก่ อ นหนี้ ที่ ป ระกั น
หรือถึงก้าหนดใช้เงินในเวลาเดียวกันกับหรือกระชั้นชิดกับหนี้ ท่ีประกัน ผู้รับ
จ้าน้าก็เอาตัว
๋ เงินนั้นไปเรียกเก็บเงินได้เลย
2) กรณี จ้า น้า กั บ โรงรั บ จ้า น้า กฎหมายให้ ผู้ รั บ จ้า น้า บั ง คั บ จ้า น้า โดย
เอาทรัพย์จ้าน้าหลุดเป็ นสิทธิ
มาตรา 864 เมื่อคู่สัญญาประกันภัยยกเอาภัยใดโดยเฉพาะขึ้น เป็ นข้อพิจารณา
ในการวางก้าหนดจ้านวนเบี้ยประกันภัย และภัยเช่นนั้นสิ้นไปหามีไม่แล้วท่านว่าภาย
หน้าแต่น้ันไปผู้เอาประกันภัยชอบที่จะได้ลดเบี้ยประกันภัยตามส่วน
7.1.2 ผลของการบังคับจ้าน้า
แสงกู้ เ งิ น สี 20,000 บาท ไม่ ไ ด้ ท้า สั ญ ญากู้ กั น โดยเสี ย งจ้า น้า เปี ยโน
เป็ นประกันหนี้ เมื่อหนี้ ครบก้าหนดช้าระคืน แสงไม่มีเงินมาช้าระสีจึงบังคับ
จ้าน้าขายทอดตลาดเปี ยโนได้เงิน 16,000 บาท หนี้ ยังอยู่อีก 4,000 บาท สีจะ
ฟ้ องให้แสงหรือเสียงช้าระเงินที่ขาดอยู่ได้หรือไม่
ฟ้ องไม่ไดู เพราะการกู้เงินนี้ ไม่มีหลักฐานเป็ นหนังสือ จึงเรียกร้องให้
สีลูกหนี้ ชดใช้เงินที่ขาดไม่ได้ ส้าหรับเสียงซึ่งเป็ นผู้จ้าน้าก็มิได้ตกลงว่า ยอม
ชดใช้เงินที่ขาด ฉะนั้นเสียงจึงไม่ต้องรับผิดในเงินที่ขาดอยู่
7.1.3 ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาจ้าน้า
พาลีกู้เ งินสุ ค รี พ 5,000 บาท เมื่ อวั น ที่ 1 กรกฎาคม 2524 ไม่มี ก้า หนด
ช้า ระคืน โดยในสัญญากู้ท่ีท้า นั้นมีข้อความระบุว่าหนุมาณจ้า น้า กระบี่เป็ น
ประกัน และมีข้อตกลงพิเศษด้วยว่า ถ้าขายทรัพย์ท่ีจ้าน้าได้เงินสุทธิต่ ้ากว่า
จ้านวนหนี้ ท่ีค้างแล้วหนุมาณยอมชดใช้เงินที่ขาดให้จนครบ ต่อมาสุครีพคืน
กระบี่แก่หนุมาณไปเพื่อใช้ป้องกันตัวนั บแต่กู้เงินกันแล้ว พาลีไม่เคยช้า ระ
เงินต้นคืนเลย จนถึงเดือนสิงหาคม 2536 สุครีพจึงทวงเงิน พาลีปฏิเสธสุค
รีพจะบังคับช้าระหนี้ เอาจากใครได้บ้าง
ไม่สามารถบังคับช้า ระหนี้ จากใครได้ กล่าวคือ จะบังคับจ้า น้า เอากับ
หนุ มาณก็ ไ ม่ ไ ด้ เ พราะคื น กระบี่ ใ ห้ ไ ปแล้ ว จ้า น้า จึ ง ระงั บ สิ้ น ไป และจะฟ้ อง
พาลีก็ไม่ได้อีก เพราะหนี้ เงินกู้ล่วงเลยมากว่า 10 ปี ขาดอายุความฟ้ องร้อง
7.2 สัญญาบัญชีเดินสะพัด
1. สั ญ ญาบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด เป็ นสั ญ ญาระหว่ า งบุ ค คลสองคนให้ หั ก ทอน
บัญชีหนี้ สินระหว่างกันเป็ นระยะ ตามที่ตกลงกัน
2. หนี้ ท่ีเกิดจากหักทอนสัญญาบัญชีเดินสะพัด หากผู้เป็ นลูกหนี้ ไม่ช้า ระ
จะต้องเสียดอกเบี้ยนั้น แม้คู่สัญญาจะมิได้ตกลงให้ต้องเสียดอกเบี้ยก็ตาม
3. สัญญาบัญชีเดินสะพัดระงับไปด้วยเหตุต่างๆ คือ เมื่อครบก้า หนดอายุ
สัญญาเมื่อมีการบอกเลิกสัญญา หรือเมื่อคู่สญ
ั ญาฝ่ ายใดตาย
7.2.1 ความหมายของสัญญาบัญชีเดินสะพัด
บัญชีเดินสะพัดมีลก
ั ษณะอย่างไร อธิบาย
43
บัญชีเดินสะพัดมีลก ั ษณะ คือ
1) เป็ นสัญญาระหว่า งบุ คคลสองคน และสมบู ร ณ์โ ดยอาศั ย เพี ย งการ
ตกลง
2) เป็ นสัญญาที่ต้องมีการตกลงให้หักทอนบัญชีหนี้ ระหว่างกัน

3) เป็ นสัญญาที่มีก้าหนดอายุหรือไม่ก็ได้

7.2.2 การหักทอนบัญชีเดินสะพัด
แดงกับด้ามีบัญชีเดินสะพัดต่อกันมีก้าหนด 3 ปี ตกลงหักทอนบัญชีกัน
ทุกๆ 3 เดือน เมื่อหักทอนบัญชีกันครั้งที่ 5 แล้ว ปรากฏว่าแดงเป็ นลูกหนี้ ด้า
อยู่ 5,000 บาท ด้าเรียกให้แดงช้าระเงินสด 5,000 บาท แดงไม่ยอมช้าระ ขอ
ให้ลงบัญชีไว้แล้วไปหักทอนกันในงวดหน้า ดังนี้ ด้า จะฟ้ องให้แดงช้า ระเงิน
5,000 บาท นี้ ได้หรือไม่
ด้า มี สิ ทธิ ท่ี จ ะฟ้ องแดงให้ ช้า ระเงิ น 5,000 บาท ให้ แ ก่ต นได้ เ พราะเงิ น
5,000 บาท นี้ เป็ นเงินที่เหลือจากการหักทอนบัญชีกันแล้ว ซึ่งฝ่ ายที่เป็ นลูก
หนี้ ต้ อ งช้า ระหนี้ ใ ห้ แ ก่ ฝ่ายที่ เ ป็ นเจ้ า หนี้ ฉะนั้ น แดงจึ ง ต้ อ งช้า ระให้ ด้า ถ้ า
หากแดงไม่ช้าระ ด้าก็มีสิทธิฟ้องเรียกให้ช้าระได้ ตามมาตรา 865 ตอนท้าย
ที่ว่า “คงช้าระส่วนที่เป็ นจ้านวนคงเหลือโดยดุลยภาค”
และยิ่งกว่านั ้น ถ้าหากแดงไม่ช้าระเงิน 5,000 บาท แดงต้องเสียดอกเบี้ย
ในจ้า นวนเงิน 5,000 บาทนี้ ด้วยและแดงจะเกี่ยงว่า ขอให้น้า เงิน 5,000 บาท
จดลงบัญชีไว้แล้วไปหักทอนกันในงวดหน้าต่อไปนั้นไม่ได้เช่นกัน
มาตรา 865 ถ้าในเวลาท้า สัญญาประกัน ภัย ผู้เ อาประกัน ภั ยก็ ดี หรือ ในกรณี
ประกันชีวิต บุคคลอันการใช้เงินย่อมอาศัยความทรงชีพ หรือมรณะของเขานั้นก็ดี รู้อยู่
แล้ว ละเว้นเสียไม่เ ปิ ดเผยข้อความจริง ซึ่ง อาจจะได้จู ง ใจผู้ รับ ประกัน ภัย ให้ เ รีย กเบี้ ย
ประกันภัยสูงขึ้นอีก หรือ ให้บอกปั ดไม่ยอมท้า สัญญา หรือว่ารู้อยู่แล้ว แถลงข้อความ
นั้นเป็ น ความเท็จไซร้ท่านว่าสัญญานั้นเป็ นโมฆียะ
ถ้ามิได้ใช้สิทธิบอกล้างภายในก้าหนดเดือนหนึ่ งนับแต่วันที่ผู้รับ ประกันภัยทราบ
มูลอันจะบอกล้างได้ก็ดีหรือมิได้ใช้สิทธิน้ั นภายในก้า หนดห้าปี นั บแต่วันท้า สัญญาก็ดี
ท่านว่าสิทธิน้ันเป็ นอันระงับสิ้นไป
แดง ด้า พ่ อ ค้ า ต่ า งส่ ง ของขายให้ แ ก่ กั น โดยมี ข้ อ ตกลงให้ จ ดบั ญ ชี
ราคาของที่ ไ ด้ ส่ ง ขายกั น ไว้ เ พื่ อหั ก ทอนกั นทุ ก สามเดื อ น ครั้ น ครบก้า หนด
สามเดือนในวันที่ 30 กันยายน ปรากฏว่ายอดเงินตามบัญชีว่าแดงเป็ นเจ้า
หนี้ ด้า อยู่ 3,000 บาท แต่แดงเพิ่งคิดบัญชีเสร็จและบอกไปยังด้า ให้ช้า ระหนี้
จ้า นวนนี้ ก็ต่อเมื่อเวลาได้ผ่านพ้นไปจนถึงวันที่ 15 ตุลาคม ด้า จึงได้รับแจ้ง
ยอดเงินจ้า นวนนี้ จ ากแดง ต่อมาวั น ที่ 31 ตุลาคม ด้า จึง ส่ง เงิ น จ้า นวนนี้ ไ ป
ช้า ระหนี้ แก่ แดง ดั งนี้ ด้า จะต้องเสีย ดอกเบี้ ยในเงิน 3,000 บาท นั้ นหรือ ไม่
ถ้าเสียต้องเสียเท่าไร
ข้อตกลงระหว่างแดงกับด้าพ่อค้ามีว่า ให้จดบัญชีราคาของที่ได้ส่งขาย
ให้แก่กันไว้เพื่อน้าไปหักทอนกันทุก 3 เดือน ข้อตกลงดังกล่าวนี้ เป็ นข้อตกลง
ให้ มีสัญญาบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด ต่ อกั น ซึ่ ง ก่ อ ให้ เกิ ด ผลตามกฎหมายต่ อ ไปว่ า คู่
44
สัญญาจะต้องท้า การหักทอนบัญชีกันทุก 3 เดือน (มาตรา 856 และ 858)
และภายหลั ง จากการหั ก ทอนบั ญ ชี แ ล้ ว หากปรากฏว่ า ฝ่ ายใดเป็ นลู ก หนี้
ฝ่ ายที่เป็ นลูกหนี้ จะต้องช้าระหนี้ ในส่วนที่เป็ นจ้านวนคงเหลือให้แก่เจ้าหนี้ ใน
การหักทอนไป นอกจากนี้ มาตรา 860 ยังได้บัญญัติต่อไปอีกด้วยว่าเงินที่ยัง
ผิดกันอยู่น้ัน ถ้ายังมิได้ช้าระให้คิดดอกเบี้ยนับแต่วันหักทอนบัญชีเสร็จตาม
ความในมาตรา 860 หมายความถึ ง วั น ที่ ก้า หนดไว้ เ พื่ อการหั ก ทอน มิ ไ ด้
หมายถึงวันที่คิดบัญชีเสร็จกันตามความเป็ นจริง
ข้อเท็จจริงฟั งเป็ นที่ยุติว่า ภายหลังจากครบก้า หนดการหักทอนกันใน
วันที่ 30 กันยายน แล้ว ปรากฏยอดเงินตามบัญชีว่าแดงเป็ นเจ้าหนี้ ด้า 3,000
บาท ดังนี้ ด้า จึงต้องเสียดอกเบี้ยในวงเงิน 3,000 บาท ให้แก่แดงตั้งแต่วันที่
30 กันยายน โดยเริ่มคิ ดค้า นวณดอกเบี้ ย ตั้ ง แต่ วั น ถั ด ไป คื อ 1 ตุล าคม ถึ ง
แม้ว่าการหักทอนบัญชีจะกระท้ากันเสร็จจริงและรู้ยอดเงินเหลื่อมล้้ากันอยู่
ในวันที่ 15 ตุลาคมก็ตาม
อนึ่ ง เนื่ องจากมาตรา 860 ไม่ได้ก้า หนดอัตราดอกเบี้ยที่จะต้องเสียให้
แก่กันไว้และคู่กรณี ไม่ได้ท้า ความตกลงกันไว้ จะต้องเสียดอกเบี้ยให้แก่กัน
ในอัตราอย่างไร จึงต้องคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี ตามมาตรา
7
มาตรา 856 อันว่าสัญญาบัญชีเดินสะพัดนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคล สองคนตกลง
กันว่าสืบแต่น้ันไป หรือในชั่วเวลาก้าหนดอันใดอันหนึ่ ง ให้ตัดทอนบัญชีหนี้ ท้ังหมดหรือ
แต่บางส่วนอันเกิดขึ้นแต่กิจการใน ระหว่างเขาทั้งสองนั้นหักกลบลบกัน และคงช้า ระ
แต่ส่วนที่เป็ น จ้านวนคงเหลือโดยดุลภาค
มาตรา 858 ถ้ า คู่ สั ญ ญามิ ไ ด้ ก้า หนดกั น ไว้ ว่ า ให้ หั ก ทอนบั ญ ชี โ ดย ระยะเวลา
อ ย่ า ง ไ ร ไ ซ ร้ ท่ า น ใ ห้ ถื อ เ อ า เ ป็ น ก้า ห น ด ห ก เ ดื อ น

7.2.3 ความระงับสิ้นไปแห่งบัญชีเดินสะพัด
แดงกั บ ด้า มี สั ญ ญาบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด ต่ อ กั น โดยก้า หนดเวลาหั ก ทอน
บัญชีกันทุกเดือนมิถุนายนและธั นวาคม ดั งนี้ แดงจะบอกเลิ กสัญญานี้ ใน
กลางเดื อ นเมษายน แล้ ว เรี ย กให้ ช้า ระหนี้ กั น เสี ย ให้ เ สร็ จ สิ้ น โดยด้า ไม่
ยินยอมด้วยได้หรือไม่
สัญญาบัญชีเดินสะพัดระหว่างแดงกับด้า เป็ นสัญญาบัญชีเดินสะพัดที่
ไม่ มี ก้า หนดระยะเวลาสิ้ น สุ ด ลงเมื่ อใด เพราะตามปั ญหาไม่ ป รากฏว่ า คู่
สั ญ ญาได้ ก้า หนดอายุ ค วามของสั ญ ญาบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด ไว้ เป็ นเพี ย งแต่ ไ ด้
ก้า หนดระยะเวลาหั ก ทอนบั ญ ชี ไ ว้ เ ท่ า นั้ น คื อ ทุ ก เดื อ นมิ ถุ น ายนและ
ธันวาคม ฉะนั้นเมื่อเป็ นสัญญาบัญชีเดินสะพัดที่ไม่มีก้าหนดเวลาจึงต้องปรับ
เข้ากับมาตรา 859 ที่บัญญัติว่า “คู่สัญญาฝ่ ายใดจะบอกเลิกสัญญาบัญชีเดิน
สะพัดและให้หักทอนบัญชีกันเสียในเวลาใดๆก็ได้ ถ้าไม่มีอะไรปรากฏเป็ น
ข้อขัดกับที่กล่าวมานี้ ” ซึ่งการบอกเลิกสัญญาตามมาตรา 859 นี้ แดงมีสิทธิ
ที่จะแสดงเจตนาฝ่ ายเดียวบอกเลิกได้ แม้ว่าด้า จะไม่ยินยอมก็ตามและการ
บอกเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดที่ไม่มีก้าหนดระยะเวลานี้ แดงไม่จ้าเป็ นที่จะ
45
ต้องบอกเลิกให้ตรงกับวันที่หั กทอนบัญ ชีเ ลย ฉะนั้ น การที่แดงบอกเลิก
สัญญาในวันกลางเดือนเมษายน จึงใช้ได้ไม่จ้า ตองรอให้ถึงเดือนมิถุนายน
หรื อเดือ นธัน วาคมซึ่ง เป็ นก้า หนดเวลาหั ก ทอนบั ญ ชี แ ละเมื่ อแดงบอกเลิ ก
สัญญาแล้ว ก็จะมีการหักทอนบัญชีกันในระหว่างแดงกับด้า นั้น ถ้าใครเป็ น
เจ้าหนี้ ลก
ู หนี้ กันเท่าใด ฝ่ ายที่เป็ นเจ้าหนี้ มีสิทธิเรียกให้ช้าระหนี้ ได้
มาตรา 859 คู่สัญญาฝ่ ายใดจะบอกเลิกสัญญาบัญชีเดินสะพัดและ ให้หัก ทอน
บัญชีกันเสียในเวลาใด ๆ ก็ได้ ถ้าไม่มีอะไรปรากฏเป็ น ข้อขัดกับที่กล่าวมานี้
มาตรา 860 เงินส่วนที่ผิดกันอยู่น้ั นถ้ายังมิได้ช้า ระ ท่านให้คิด ดอกเบี้ ยนับ แต่
วันที่หักทอนบัญชีเสร็จเป็ นต้นไป
ธนาคารได้ท้าสัญญาให้กับ ก. กู้เงินในวงเงิน 50,000 บาท โดยวิธีบัญชี
เดินสะพัดซึ่งก้าหนดว่า ก. จะต้องผ่อนช้า ระหนี้ ให้ลดน้อยลงไปเรื่อยๆ และ
จะต้องช้าระหนี้ ให้หมดสิ้นภายในวันที่ 2 มกราคม 2536 ดังนี้ ธนาคารจะเลิก
สัญญานี้ ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2536 โดย ก. ไม่ยน ิ ยอมด้วยจะได้หรือไม่
มาตรา 859 บั ญ ญัติ ว างหลั ก ไว้ ว่ า คู่ สั ญญาฝ่ ายใดจะบอกเลิ ก สั ญ ญา
บัญชีเดินสะพัดและให้หักทอนบั ญชี หนี้ กัน เสียในเวลาใดก็ ได้ ถ้า ไม่ มีอ ะไร
ปรากฏเป็ นข้อขัดกับที่กล่าวมานี้
จากบทบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า วแสดงให้ เ ห็ น ว่ า คู่ สั ญ ญาในสั ญ ญาบั ญ ชี เ ดิ น
สะพัดมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้เสมอถ้าไม่มีอะไรแสดงไว้ ให้เห็นว่าการบอก
เลิ ก สั ญ ญาจะเป็ นการขั ด ต่ อ เจตนาของคู่ สั ญ ญา กรณี ต ามปั ญหา ก. ท้า
สัญญาบัญชีเดินสะพัดกับธนาคารโดยมีข้อตกลงอีกด้วยว่า ก. จะต้องผ่อน
ช้า ระหนี้ ให้ ล ดน้ อ ยลงไปเรื่ อยๆ และต้ อ งช้า ระให้ เ สร็ จ สิ้ น ภายในวั น ที่ 1
มกราคม 2536 ข้อที่จะต้องพิจารณาคือ ข้อตกลงดังกล่าวมีลักษณะอย่างใด
อย่างหนึ่ งที่แสดงให้เห็นว่าคู่สัญญาจะต้องผูกพันจนกว่าจะสิ้นระยะเวลาใด
เวลาหนึ่ งหรือไม่
ในเบื้ องต้ น เห็ น ว่ า สั ญ ญาระหว่ า งธนาคารกั บ ก. เป็ นสั ญ ญาที่ ไ ม่ มี
ก้า หนดเวลา ดังนั้น ธนาคารจึงชอบที่จะบอกเลิกสัญญาเมื่อใดก็ได้ เพราะ
ไม่มีอะไรเป็ นข้อขัดตามมาตรา 859 ส่วนข้อตกลงว่าจะต้องช้าระหนี้ ให้เสร็จ
สิ้นภายในวันที่ 1 มกราคม 2536 นั้นเป็ นเพียงข้อก้าหนดยอมลดละให้ลูกหนี้
ผ่อนช้าระหนี้ อันเกิดจากการหักทอนบัญชีเท่านั้น
ส่วนการหักทอนบัญชีหนี้ จะมีขึ้นเมื่อใดนั้นเป็ นอีกเรื่องหนึ่ ง อย่างกรณี
ตามปั ญหานี้ ถ้าธนาคารใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาตามมาตรา 859 การหักทอน
บัญชีหนี้ ก็จะเป็ นผลที่ตามมา ดังนั้น ธนาคารจึงชอบที่จะบอกเลิกสัญญาได้
เลยทั น ที และถ้ า ปรากฏว่ า ภายหลั ง จากการหั ก บั ญ ชี แ ล้ ว ก. เป็ นลู ก หนี้
เท่าใด ก. มีสิทธิท่ีจะผ่อนช้า ระหนี้ ได้และจะต้องช้า ระให้เสร็จภายในวันที่ 1
มกราคม 2536 ตามข้อตกลงในสัญญา
แบบประเมินผลหน่วยที่ 7
1. การบังคับจ้าน้าโดยทั่วไปท้าได้โดย ขายทอดตลาดทรัพย์จ้าน้า
46
2. การบั ง คั บ จ้า น้า กฎหมายบั ง คั บ ว่ า ต้ อ งมี จ ดหมายบอกกล่ า วลู ก หนี้ ก่ อ น
จดหมายบอกกล่าวต้องมีสาระคือ บอกให้ช้าระหนี้ ภายในระยะเวลาอันสมควร
3. การบังคับจ้า น้า ได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวก่อนในกรณี เมื่อไม่สามารถบอกกล่าว
ได้และหนี้ ค้างช้าระเกิน 1 เดือน
4. ในกรณี จ้า น้า ตัว ๋ เงิน และตัว ๋ เงินถึงก้า หนดช้า ระก่อนหนี้ ประกัน ผู้รับจ้า น้า ต้อง
ปฏิบตั ิคือ เรียกเก็บเงินตามตัว ๋ เงินนั้นทันที
5. ข้ อ ตกลงที่ ผู้ จ้า น้า ตกลงให้ ผู้ รั บ จ้า น้า เอาทรั พ ย์ จ้า น้า หลุ ด เป็ นสิ ท ธิ ก่ อ นหนี้ ถึ ง
ก้าหนดช้าระ ข้อตกลงในสัญญาจ้าน้านี้ ไม่มีผลบังคับ หรือใช้บังคับไม่ได้
6. บัญชีเดินสะพัดหมายถึง ข้อตกลงหักทอนบัญชีหนี้ สินระหว่างกัน
7. ค่ส
ู ัญญาในบัญชีเดินสะพัดมีได้ เพียง 2 คน
8. ถ้า คู่ สั ญ ญาไม่ ไ ด้ ต กลงกั น ก้า หนดระยะเวลาหั ก ทอนบั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด กฎหมาย
บังคับให้หักทอนในระยะเวลา ทุกหกเดือน
9. หนี้ ท่ีเกิดจากการหักทอนบัญชีเดินสะพัด ถ้าคู่สัญญามิได้ตกลงกันว่าต้องเสียด
อกเบี้ย ผู้เป็ นลูกหนี้ จะต้องเสียดอกเบี้ยในอัตรา ดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี
10. เหตุ ท่ีท้า ให้บั ญชี เดิ นสะพั ดระงับ สิ้ น ไปคื อ (1) ครบก้า หนดอายุสั ญญาบั ญ ชี เ ดิ น
สะพัด (2) คู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งตาย (3) คู่สัญญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งบอกเลิกในกรณี
บั ญ ชี เ ดิ น สะพั ด ไม่ มี ก้า หนดอายุ สั ญ ญา (4) คู่ สั ญ ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง ตกเป็ นคนล้ ม
ละลาย

หน่วยที่ 8 ลักษณะทัว
่ ไปของสัญญาตัว
๋ เงิน
1. ตัว
๋ เงินเป็ นชื่อของเอกเทศสัญญาลักษณะหนึ่ งที่ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิ ชย์ บัญญัติขึ้นเพื่อคุ้มครองหนังสือตราสารที่เป็ นหลักฐานแห่งหนี้
ซึ่งบุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตราสารต้องรับผิดใช้เงิน และโอนกันได้ด้วยการ
ส่งมอบที่ผู้รับโอนอาจมีสิทธิบริบูรณ์ โดยไม่ต้องค้า นึ งถึงข้อบกพร่องของผู้
โอน ตั๋ว เงิ น ที่ ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มุ่ ง คุ้ ม ครองมี 3 ประเภท
ได้แก่ ตัว ๋ แลกเงิน ตัว๋ สัญญาใช้เงิน และเช็ค
2. ตั๋ว เงิ น ทั้ ง สามประเภท คื อ ตั๋ว แลกเงิ น ตั๋ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น และเช็ ค มี
บทบั ญ ญั ติ ท่ั ว ไปที่ ใ ช้ บั ง คั บ ร่ ว มกั น คื อ การเขี ย นข้ อ ความอื่ นลงในตั๋ว เงิ น
ความรับ ผิด ของผู้ล งชื่ อในตั๋ว เงิ น การผ่ อนวัน ใช้ เงิ น ผู้ ท รงตั๋ว เงิน ผู้ เ ป็ นคู่
สัญญาในตัว ๋ เงินและใบประจ้าต่อ
8.1 ความรู้เบื้องตูนเกีย
่ วกับตัว
๋ เงิน
1. ประวัติของตัว
๋ เงินนั้นเกิดจากการช้าระหนี้ การค้าระหว่างผู้อยู่ต่างถิ่น
กัน ที่จะไม่ต้องส่งเงินตราไปเพียงแต่เขียนค้าสั่งให้ลูกหนี้ ของตนจ่ายเงินแก่
ผู้ ขายแทนตน ดั ง นี้ ตั๋ว เงิน จึ ง เป็ นประโยชน์ใ นการช้า ระหนี้ การใช้ สิ น เชื่ อ
ระยะสั้น การโอนหนี้ และขนส่งเงิน
47
2. ตั๋วเงินตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิ ชย์ มี 3
ประเภทคือ ตัว ๋ แลกเงิน ตัว
๋ สัญญาใช้เงิน และเช็ค
8.1.1 ประวัติและประโยชน์ของตัว ๋ เงิน
ประโยชน์ของตัว ๋ เงินที่ส้าคัญมีอย่างไรบ้าง
ประโยชน์ของตัว ๋ เงินที่ส้าคัญมีอยู่ 3 ประการคือ
(1) เป็ นเครื่องมือในการช้า ระหนี้ เช่น เราเป็ นหนี้ ใครคนหนึ่ งแทนที่จะ
ต้องเสียเวลานับเงินจ้านวนมาก เราอาจออกเช็คฉบับหนึ่ งระบุจ้านวนเงินที่
ต้องการสั่งธนาคารให้จ่ายเงินจ้านวนนั้นแก่เจ้าหนี้ ของเรา ดังนี้ เป็ นต้น และ
ในกรณี ท่ีมี หนี้ สิ นระหว่างบุ ค คลหลายคนที่ เ กี่ย วข้ อ งกั น เราอาจตกลงกัน
ออกตั๋ว แลกเงิ น ครั้ ง เดี ย ว ระงั บ หนี้ นั้ น ก็ ไ ด้ เ ช่ น เราเป็ นหนี้ ข. 5,000 บาท
ขณะเดียวกัน ค.เป็ นหนี้ เรา 5,000 บาท ด้วย เราอาจออกตั๋วแลกเงินสั่ง ค.
ให้ช้าระเงิน 5,000 บาทแก่ ข. เพื่อระงับหนี้ ท้ังสองรายนี้ โดย ค. ไม่ต้องใช้เงิน
แก่เรา และเราไม่ต้องใช้เงินแก่ ข. ตามหนี้ แต่ละราย
(2) เป็ นเครื่องมือในการให้สินเชื่อระยะสั้น หรือเป็ นการผ่อนเวลาที่ลูก
หนี้ จ ะต้ อ งช้า ระหนี้ เ ป็ นเงิ น สดขณะเดี ย วกั น เจ้ า หนี้ อ าจน้า ตั๋ว เงิ น ออกขาย
โดยเสียส่วนลดในระหว่างเวลาก่อนตัว ๋ ถึงก้าหนด เช่น ก. ขายสินค้าเชื่อ แก่
ข. ข. อาจออกเช็คลงวันที่ล่วงหน้าช้าระค่าสินค้าแก่ ก. เป็ นประโยชน์แก่ ข.
ที่จะไม่ต้องช้าระเงินสดทันที ส่วน ก. ก็อาจน้าเช็คไปขายลดได้เป็ นต้น
(3) เป็ นเครื่ องมื อ ในการโอนหนี้ แ ละการส่ ง เงิ น หมายความว่ า ตั ๋ว เงิ น
เป็ นเอกสารเปลี่ยนมือที่เพียงแต่สงมอบตั๋วแก่กัน ก็โอนกรรมสิทธิ แ ์ ห่ งตั๋ว
เงินและหนี้ ในตัว ๋ เงินไปยังผู้รับโอน เช่น ข. ออกเช็คลงวันที่ล่วงหน้าช้าระค่า
สินค้า แก ก. ก.อาจสลั กหลังโอนส่ ง มอบเช็ ค แก่ ค. เป็ นการช้า ระหนี้ ต่ อ ไป
โดยไม่ต้องช้า ระเงินสดก็ได้ ดังนี้ เป็ นต้น นอกจากนี้ ตั๋วเงินประเทศตั๋วแลก
เงินอาจเป็ นเครื่องมือส่งเงินจากสถานที่แห่งหนึ่ งไปยังอีกแห่งหนึ่ งด้วย เช่น
ก. อยู่ท่ีกรุงเทพขายสินค้าให้แก่ ข. ที่อยู่จังหวัดเชียงใหม่ ข. อาจน้า เอาเงิน
จ้า นวนเท่ า ค่ า สิ น ค้ า ไปซื้ อตั๋ว แลกเงิ น จากธนาคารกรุ ง เทพจ้า กั ด สาขา
เชียงใหม่ ธนาคารกรุงเทพจ้ากัด สาขาเชียงใหม่ก็จะออก “ตัว ๋ แลกเงิน” สั่ง
ธนาคารกรุ ง เทพ จ้า กั ด ส้า นั ก งานใหญ่ ท่ี ก รุ ง เทพ จ่ า ยเงิ น จ้า นวนเท่ า ค่ า
สินค้าแก่ ก. ที่กรุงเทพ ดังนี้ ตัว ๋ แลกเงินจึงเป็ นประโยชน์ท่ีมีการส่งเงินจาก
จัง หวั ดเชีย งใหม่ มากรุ งเทพ โดยมิต้อ งมี การขนย้ ายเงิน โดยแท้จ ริง ซึ่ ง จะ
ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการขนส่งเงินและเสี่ยงภัยด้วย
8.1.2 ประเภทของตัว
๋ เงิน
ข้อแตกต่างระหว่างตัว๋ แลกเงิน กับตัว
๋ สัญญาใช้เงิน

ข้อแตกต่าง ตัว
๋ แลกเงิน ตัว
๋ สัญญาใช้เงิน
1 คู่สญั ญา 3 ฝ่ ายคื อ ผู้ ส่ั ง จ่ า ย ผู้ จ่ า ย 2 ฝ่ ายคื อ ผู้ อ อกตั๋ว และ
หรือผู้รับเงิน ผ้ร
ู ับเงิน
2 ผู้รับเงิน อาจเป็ นตัว ๋ ระบุช่ ือผู้รับเงิน ต้ อ งเป็ นตั๋ว ระบุ ช่ ื อผู้ รั บ
48
หรือผู้ถือตัว
๋ เงิ น เท่ า นั้ น จะออกตั๋ ว ผู้
ถือไม่ได้
3 ข้อสัญญา “ผู้ส่ังจ่าย” สั่งให้ “ผู้จ่าย” “ผู้ อ อ ก ตั๋ ว ” ใ ห้ ค้า มั่ น
จ่ายเงิน สัญญาจะจ่ายเงินเอง
4 ฐานะของผู้ ผู้ส่ังจ่ายอยู่ในฐานะลูกหนี้ ผู้ออกตัว ๋ อยู่ในฐานะลูก
สั่ งจ่ า ยหรื อ ของผู้ รั บ เงิ น ต่ อ เมื่ อผู้ จ่ า ย หนี้ ของผู้รับเงินเสมอ
ผู้ออกตัว ๋ ไม่ใช้เงินหรือไม่รับรอง

8.2 บทเบ็ดเสร็จทัว
่ ไปของตัว
๋ เงิน
1. ตัว
๋ เงินเป็ นตราสารที่เกิดจากความเชื่อถือกันในทางการเงิน กฎหมาย
จึงวางบทบัญญัติไว้เคร่งครัดและมีลักษณะพิเศษของตั๋วเงิน แตกต่ างจาก
สั ญ ญาอื่ นหลายประการคื อ (1) การเขี ย นข้ อ ความอื่ นที่ มิ ไ ด้ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น
ลักษณะตัว ๋ เงิน ไม่มีผลแก่ตัว ๋ เงิน (2) บุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตัว ๋ เงินต้องรับ
ผิ ด ยกเว้ น เขี ย นแถลงว่ าการท้า แทนบุ คคลอี ก คนหนึ่ ง และความสามารถ
ของคู่ สั ญ ญาแห่ ง ตั๋ ว เงิ น ไม่ มี ผ ลถึ ง ความรั บ ผิ ด ของบุ ค คลอื่ น ทั้ ง การลง
เครื่องหมายหาให้เป็ นผลลงลายมือชื่อในตัว ๋ เงินไม่ (3) ในการใช้เงินตามตัว ๋
เงินกฎหมายบัญญัติมิให้ผ่อนวันใช้เงิน
2. ตัว
๋ เงินเป็ นสัญญาที่อาจโอนหนี้ ให้แก่กันได้โดยไม่จ้ากัด คู่สัญญาผู้เป็ น
ฝ่ ายเจ้าหนี้ ในตั๋วเงินเรียกว่าผู้ท รง ส่วนลูกหนี้ ในตั๋วเงินเรียกชื่อต่า งๆ กัน
ตามที่ ได้ล งลายมือชื่อในตั๋ว เงิ นคือ ผู้ รับ รอง ผู้ส่ั งจ่ ายหรื อผู้ อ อกตั๋ว ผู้ ส ลัก
หลัง ผู้รับอาวัล และผู้สอดเข้าแก้หน้า
3. การโอนด้วยการสลักหลังเป็ นทอดๆ อาจจะไม่มีท่ีในตัว
๋ เงินจะสลักหลัง
ได้ต่อไป กฎหมายจึงอนุญาตให้เอากระดาษแผ่นหนึ่ งผนึ กต่อเข้ากับตัว ๋ เงิน
ฉบับเดิมเรียกว่าใบประจ้าต่อ
8.2.1 การเขียนข้อความอื่นลงในตัว ๋ เงิน
ก. สั่งธนาคาร ข. ให้จ่ายเงินเงินตามเช็คแก่ ค. จ้านวนเงิน “หนึ่ งแสน
บาทกับดอกเบี้ยร้อยละห้าต่อปี ” ลงวันที่ส่ังจ่าย 1 มกราคม 2536 ดังนี้ เมื่อ
เช็คถึงก้าหนดธนาคาร ข. จะต้องจ่ายเงินแก่ ค. เป็ นจ้านวนเท่าใด
เช็คไม่มีบทบัญญัติให้ ก. ผู้ส่ังจ่ายเขียนข้อความก้าหนดให้คิดดอกเบี้ย
ไว้ในเช็ค (มาตรา 989 ไม่โยงมาตรา 911 มาบังคับในเรื่องเช็ ค ) ดังนั้ นการ
เขียนข้อความสั่งจ่ายดอกเบี้ยร้อยละห้าต่อปี ลงในเช็คตามปั ญหา จึงหาเป็ น
ผลแก่เช็คไม่ (มาตรา 899) และส้าหรับเช็คนั้น วันที่ 1 มกราคม 2536 ซึ่งลง
ในเช็ ค เป็ นวั น ให้ ใ ช้ เ งิ น (มาตรา 987 เช็ ค เป็ นค้า สั่ ง ธนาคารให้ ใ ช้ เ งิ น เมื่ อ
ทวงถาม) จึงไม่มีช่วงเวลาให้คิดดอกเบี้ยด้วย ดังนั้นธนาคาร ข. จึงเพียงแต่
จ่ายเงินหนึ่ งแสนบาทให้แก่ ค. ไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยแก่ ค. ด้วย
49
มาตรา 899 ข้อความอันใดซึ่งมิได้มีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมาย ลักษณะ
นี้ ถ้าเขียนลงในตัว
๋ เงิน ท่านว่าข้อความอันนั้นหาเป็ นผล อย่างหนึ่ งอย่างใดแก่ตัว
๋ เงิน
นั้นไม่
มาตรา 911 ผู้ส่ังจ่ายจะเขียนข้อความก้า หนดลงไว้ว่าจ้า นวนเงินอันจะ พึงใช้
นั้นให้คิดดอกเบี้ยด้วยก็ได้ และในกรณีเช่นนั้น ถ้ามิได้กล่าวลงไว้เป็ น อย่างอื่น ท่านว่า
ดอกเบี้ยย่อมคิดแต่วน ั ที่ลงในตัว
๋ เงิน
มาตรา 987 อัน ว่าเช็ค นั้ น คือหนั ง สือตราสารซึ่งบุค คลคนหนึ่ ง เรียกว่า ผู้ส่ั ง
จ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจ้านวนหนึ่ งเมื่อทวงถามให้แก่ บุคคลอีกคนหนึ่ งหรือให้ใช้ตาม
ค้าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ งอันเรียกว่า ผู้รับเงิน
มาตรา 989 บทบัญญัติท้ังหลายในหมวด 2 อันว่าด้วยตัว ๋ แลกเงิน ดั่งจะกล่าว
ต่อไปนี้ ท่านให้ยกมาบังคับในเรื่องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับ สภาพแห่งตราสารชนิ ดนี้
คือบท มาตรา 910 , 914 ถึง 923 , 925 , 926 , 938 ถึง 940 , 945 , 946 , 959 , 967
, 971
8.2.2 ความรับผิดของผู้ลงลายมือชื่อในตัว๋ เงิน
นายสุโขทัย ปลอมลายมือชื่อนายธรรมา สั่งจ่ายเช็คหนึ่ งล้านบาทให้
แก่ นายธิราช เมื่อเช็ คถึ งก้า หนด นายธิร าชน้า เช็ ค ไปขึ้ น เงิ น แต่ธ นาคาร
ปฏิเสธการจ่ายเงินอ้างว่า บัญชีของนายธรรมาไม่พอจ่าย ดังนี้ นายธิราชจะ
ฟ้ องใครให้รับผิดตามกฎหมายลักษณะเช็คได้บ้าง
นายธิราชฟ้ องนายธรรมาให้รับผิดตามเช็คไม่ได้เพราะนายธรรมาไม่
ได้ลงลายมือชื่อในเช็คนั้นโดยลายมือชื่อของนายธรรมาที่ส่ังจ่ายเป็ นลายมือ
ชื่อปลอม แต่นายธิราชฟ้ องนายสุโขทัยให้รับผิดตามกฎหมายลักษณะเช็คได้
เพราะนายสุโขทัยเป็ นผู้ลงลายมือชื่อ เป็ นผู้ส่ังจ่ายเช็คฉบับนี้ แม้จะลงเป็ น
ชื่อนายธรรมา ซึ่งไม่ใช่ช่ ือของนายธรรมาเองก็ตาม ตามมาตรา 900
มาตรา 900 บุค คลผู้ลงลายมือชื่อของตนในตั๋ว เงิน ย่อมจะได้รับ ผิด ตามเนื้ อ
ความในตัว ๋ เงินนั้น
ถ้าลงเพียงแต่เครื่องหมายแต่อย่างหนึ่ งอย่างใด เช่น แกงได หรือ ลายพิมพ์นิ้ว
มือ อ้างเอาเป็ นลายมือชื่อในตัว
๋ เงินไซร้ แม้ถึงว่าจะมี พยานลงชื่อรับรองก็ตาม ท่านว่า
หาให้ผลเป็ นลงลายมือชื่อในตัว๋ เงิน นั้นไม่
8.2.3 การผ่อนวันใช้เงิน
นาย เอ ออกตั๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ น ายบี จ่ า ยเงิ น แก่ น าย ซี ในวั น ที่ ท่ี 5
ธันวาคม 2536 ก่อนตัว ๋ ถึงก้าหนด นาย ซี สลักหลังตัว ๋ โอนให้แก่นาย ดี สลัก
หลังโอนให้แก่นาย อี ครั้นถึงวันที่ 5 ธันวาคม 2536 นาย อี ตกลงให้นาย บี
รับรองตัว ๋ ว่าจะใช้เงินให้ในวันที่ 10 ธันวาคม 2536 ดังนี้ การกระท้า ของนาย
อี เป็ นการผ่อนวันใช้เงินหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตั๋ว แลกเงิ น ฉบั บ นี้ ก้า หนดใช้ เ งิ น วั น ที่ 5 ธั น วาคม 2536 การที่ น าย อี
ผู้ ท รงตั๋ ว แลกเงิ น ตกลงยิ น ยอมเลื่ อนก้า หนดเวลาใช้ เ งิ น เป็ นวั น ที่ 10
ธันวาคม 2536 ถือว่านาย อี ผ่านวันใช้เงินแล้วเพราะนาย อี ได้แสดงเจตนา
50
ให้ มี ผ ลผู ก พั น นาย อี มิ ใ ห้ เ รี ย กร้ อ งใช้ เ งิ น ตามตั๋ว แลกเงิ น ก่ อ นวั น ที่ 10
ธันวาคม 2536
8.2.4 ผู้ทรงตัว
๋ เงิน
นายมกราสั่ ง จ่ า ยเช็ ค แก่ น ายกุ ม ภา ระบุ ช่ ื อนายกุ ม ภาเป็ นผู้ รั บ เงิ น
นายกุ ม ภาสลั ก หลั ง ลอยให้ น ายมี น า นายมี น าขึ้ น รถโดยสารประจ้า ทาง
คนร้ายล้วงกระเป๋ าเอาเช็คไป ต่อมานายเมษาเอาเช็คฉบับนี้ สลักหลังโอนให้
แก่นายพฤษภาเพื่อช้า หนี้ เงินกู้ ดังนี้ ท่านจะให้ค้า ปรึกษาแก่นายมีนาเพื่อ
เรียกร้องเช็คฉบับนี้ คืนจากนายพฤษภาได้อย่างไรหรือไม่
ข้าพเจ้าจะให้ค้า ปรึก ษาดัง นี้ คื อ เช็ คฉบั บนี้ มีก ารสลัก หลั งลอยให้แก่
นายมีนาเป็ นรายที่สุด เช็คย่อมโอนให้แก่กันได้ด้วยการส่งมอบโดยไม่ต้อง
สลักหลังตามมาตรา 920 (3) และ 989 เมื่อนายพฤษภาเป็ นผู้ทรงโดยรับสลัก
หลั งโอนจากนายเมษาในการช้า ระหนี้ เ งิ น กู้ ซึ่ ง ไม่ ใ ช่ ไ ด้ ม าโดยทุ จ ริ ต หรื อ
ด้ ว ยความประมาทเลิ น เล่ ออย่ า งร้ า ยแรง นายพฤษภาเป็ นผู้ ท รงโดยชอบ
ด้ว ยกฎหมายตามมาตรา 905 วรรคสอง นายมี น าเรีย กร้ อ งเช็ ค ฉบั บ นี้ คื น
จากนายพฤษภาไม่ได้
มาตรา 905 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติ มาตรา 1008 บุคคลผู้ ได้ตัว ๋ เงินไว้
ในครอบครอง ถ้าแสดงให้ปรากฏสิทธิด้วยการสลักหลัง ไม่ขาดสาย แม้ถึงว่าการสลัก
หลังรายที่สุดจะเป็ นสลักหลังลอยก็ตาม ท่านให้ถือว่าเป็ นผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย
เมื่อใดรายการสลักหลัง ลอยมีสลักหลังรายอื่นตามหลัง ไปอีกท่านให้ถือว่าบุคคลผู้ท่ี
ลงลายชื่อ ในการสลักหลัง รายที่สุด นั้ นเป็ นผู้ได้ซึ่งตัว
๋ เงินด้วยการสลักหลัง ลอย อนึ่ ง
ค้าสลักหลัง เมื่อขีดฆ่าเสียแล้ว ท่านให้ถือว่าเสมือนว่ามิได้มเี ลย
ถ้าบุคคลผู้หนึ่ งผู้ใดปราศจากตัว ๋ เงินไปจากครอบครอง ท่านว่าผู้ ทรงซึ่งแสดง
ให้ปรากฏสิทธิของตนในตัว ๋ ตามวิธีการดั่งกล่าวมาใน วรรคก่อนนั้น หาจ้าต้องสลักตัว ๋
เงินไม่ เว้นแต่จะได้มาโดยทุจริต หรือได้มาด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
อนึ่ ง ข้อความในวรรคก่อนนี้ ให้ใช้บังคับตลอดถึงผู้ทรงตัว ๋ เงินสั่ง จ่ายให้แก่ผู้ถือ
ด้วย
มาตรา 920 อันการสลักหลังย่อมโอนไปซึง ่ บรรดาสิทธิอันเกิดแต่ ตัว
๋ แลกเงิน
ถ้าสลักหลังลอย ผู้ทรงจะปฏิบัติด่ังกล่าวต่อไปนี้ ประการหนึ่ ง ประการใดก็ ได้
คือ
(1) กรอกความลงในที่ ว่า งด้ ว ยเขีย นชื่ อของตนเอง หรื อ ชื่ อบุ ค คลอื่ น ผู้ ใ ดผู้
หนึ่ ง
(2) สลักหลังตัว
๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรือสลักหลังให้ แก่บุคคลอื่นผู้
ใดผู้หนึ่ ง
(3) โอนตัว
๋ เงินนั้นให้ไปแก่บุคคลภายนอก โดยไม่กรอกความลง ในที่ว่าง และ
ไม่สลักหลังอย่างหนึ่ งอย่างใด
8.2.5 ผู้เป็ นคู่สญ
ั ญาในตัว
๋ เงิน
เอกเป็ นผู้จัดการมรดกตามค้า สั่งศาลของโทฟ้ องตรีว่า ตรีออกเช็คสั่ง
จ่ายเงิน 100,000 บาท ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2536 แก่โทเพื่อช้าระค่าสินค้าที่ตรี
สั่งจากโท วันที่ 1 กันยายน 2536 โทถึงแก่กรรม ครั้นเช็คถึงก้าหนด เอกน้า
51
เช็ ค ไปขึ้ น เงิ น ธนาคารปฏิ เ สธการจ่ า ยว่ า คื น ผู้ ส่ั ง จ่ า ย เอกจึ ง มี ห นั ง สื อ
ทวงถามให้ตรีช้าระเงินตามเช็ค ตรีตอบจดหมายว่าที่ได้ส่ังงดจ่ายเช็คฉบับ
ดังกล่าวเป็ นความรอบครอบในกิจการ ขอให้น้า หลักฐานผู้มิสิทธิโดยชอบ
ด้วยกฎหมายไปแสดงตรียินดีจะจ่ายเงินให้ แต่เมื่อเอกน้าค้าสั่งศาลในเรื่อง
ตั้งเอกเป็ นผู้ จัด การมรดกของโทไปแสดง ตรี ก็ ไ ม่ จ่ า ยเงิน ให้ จึ ง ขอให้ ศาล
บังคับ ตรีต่อสู้คดีว่า เช็คลงวันที่ล่วงหน้าไม่เป็ นตัว ๋ เงินเมื่อโทถึงแก่กรรมไป
ก่อนถึงวันที่ลงในเช็ค สิทธิตามเช็คเป็ นอันสูญสิ้นไปแล้ว ดังนี้ เอกมีสิทธิฟ้อง
ตรีให้รับผิดตามเช็คหรือไม่ เพราะเหตุใด
เช็คที่ตรีลงวันที่ล่วงหน้านั้นย่อมสมบูรณ์เป็ นเช็ค (มาตรา 987, 988 (6))
เมื่อตรีลงลายมือชื่อเป็ นผู้ส่ังจ่ายเท่ากับตรีสัญญาว่าจะรับผิดตามเนื้ อความ
แห่ ง ตั๋ว นั้ น เมื่ อถึ ง วั น ที่ ล งไว้ (มาตรา 900) โทซึ่ ง เป็ นผู้ ท รงตั๋ว นั้ น โดยชอบ
ย่อมมีสิทธิเป็ นเจ้าหนี ตามตัว ๋ นั้น แม้หนี้ น้ันจะยังไม่ถึงก้าหนด เมื่อโทถึงแก่
กรรมก่ อ นถึ ง วัน ที่ ล งในเช็ ค เอกซึ่ ง เป็ นผู้ จั ด การมรดกของโทจึ ง เข้ าสรวม
สิทธิของโทได้ตามที่โทมีอยู่เป็ นการโอนโดยผลของกฎหมาย (มาตรา 1599,
1600) ดังนั้นเอกในฐานะผู้จัดการมาดกของโทจึงเป็ นเจ้าหนี้ ในตัว ๋ เงินมีสิทธิ
ฟ้ องตรีให้รับผิดตามเช็คได้
มาตรา 900 บุค คลผู้ลงลายมือชื่อของตนในตั๋ว เงิน ย่อมจะได้รับ ผิด ตามเนื้ อ
ความในตัว ๋ เงินนั้น
ถ้าลงเพียงแต่เครื่องหมายแต่อย่างหนึ่ งอย่างใด เช่น แกงได หรือ ลายพิมพ์นิ้ว
มือ อ้างเอาเป็ นลายมือชื่อในตัว
๋ เงินไซร้ แม้ถึงว่าจะมี พยานลงชื่อรับรองก็ตาม ท่านว่า
หาให้ผลเป็ นลงลายมือชื่อในตัว๋ เงิน นั้นไม่
มาตรา 987 อัน ว่าเช็ค นั้ น คือหนั ง สือตราสารซึ่งบุค คลคนหนึ่ ง เรียกว่า ผู้ส่ั ง
จ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจ้านวนหนึ่ งเมื่อทวงถามให้แก่ บุคคลอีกคนหนึ่ งหรือให้ใช้ตาม
ค้าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ งอันเรียกว่า ผู้รับเงิน
มาตรา 988 อันเช็คนั้น ต้องมีรายการดั่งกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) ค้าบอกชื่อว่าเป็ นเช็ค
(2) ค้าสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินเป็ นจ้านวนแน่ นอน
(3) ชื่อ หรือยี่ห้อและส้านักของธนาคาร
(4) ชื่อ หรือยี่ห้อของผู้รับเงิน หรือค้าจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ
(5) สถานที่ใช้เงิน
(6) วันและสถานที่ออกเช็ค
(7) ลายมือชื่อผู้ส่ังจ่าย
8.2.6 ใบประจ้าต่อ
นายมกราสั่งจ่ายตัว ๋ แลกเงินฉบับหนึ่ งหนึ่ งให้ ก. จ่ายเงินแก่นายกุมภา
ก่อนตัว๋ แลกเงินถึงก้าหนดนายกุมภาสลักหลังโอนให้แก่นายมีนา และมีการ
สลักหลังโอนต่อๆ กันมาจนตัว ๋ แลกเงินตกแก่นายธันวา แต่ปรากฏว่าด้าน
หลังตัว
๋ แลกเงินหมดเนื้ อที่ท่ีจะสลักหลังต่อไป นายธันวาจึงเอากระดาษแผ่น
52
หนึ่ งมาต่อเข้ากับตัว
๋ แลกเงินเดิม แล้วเขี่ยนสลักหลังลงบนกระดาษแผ่นที่
ต่อใหม่ให้แก่นายอาทิตย์ นายอาทิตย์สลักหลังคาบบนตัว ๋ แลกเงินเดิมกับบน
กระดาษแผ่นใหม่ให้แก่นายจันทร์ นายจันทร์สลักหลังลงบนกระดาษแผ่นที่
ต่อให้แก่นายอังคาร ดังนี้ การกระท้า ของนายธันวา นายอาทิตย์ และนาย
จันทร์ เป็ นการสลักหลังลงในใบประจ้าต่อหรือไม่
นายธันวาผู้สลักหลังในใบประจ้า ต่อครั้งแรก ไม่เขียนคาบบนตัว ๋ แลก
เงินเดิมบ้างบนใบประจ้าต่อบ้าง จึงไม่มีผลเป็ นการสลักหลังลงในใบประจ้า
ต่อไม่มีส่วนหนึ่ งของตัว
๋ แลกเงินท้าให้การสลักหลังของนายอาทิตย์และนาย
จันทร์ไม่มีผลเป็ นการสลักหลังลงในใบประจ้าต่อด้วย
แบบประเมินผลหน่วยที่ 8
1. ค้า ว่ า ตั ๋ว เงิ น ตามกฎหมาย หมายความถึ ง สั ญ ญาที่ ท้า เป็ นหนั ง สื อ ตราสารซึ่ ง
บุคคลผู้ลงลายมือชื่อในตราสารต้องรับผิดใช้เงินและโอนเงินกันได้ด้วยการส่งมอบ
2. ความหมายของ “ตัว ๋ เงิน” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มี 3 ประเภท
คือ ตัว๋ สัญญาใช้เงิน เช็ค และตัว ๋ แลกเงิน
3. หนึ่ งออกตัว ๋ แลกเงิน สั่ง สองให้ใ ช้เงิน 50,000 บาท แก่สามและลงชื่อผู้ส่ัง จ่ายว่า
“หนึ่ งผู้จัดการมรดกนายอาทิตย์ ” ในกรณีแรก หรือ “ หนึ่ งกรรมการผู้จัดการ ” และ
ประทับตราของบริษท ั อาทิตย์จ้ากัดในกรณีท่ีสอง ดังนี้ ถ้าสองไม่ใช้เงิน หนึ่ งต้องรับผิด
ใช้เงินแก่สามเฉพาะในกรณีแรกที่ไม่ระบุว่ากระท้าการแทนผู้ใด
4. สวยออกตั ๋ว เงิ น สั่ ง ให้ ส ดจ่ า ยเงิ น 30,000 บาท แก่โ สด โสดสลั ก หลั ง ตั ๋ว แลกเงิ น
ช้าระหนี้ เงินยืมโดยระบุสาว เป็ นผู้รับสลักหลังแล้วเก็บตัว ๋ แลกเงินไว้ในกระเป๋ าถือ ยัง
ไม่ได้ส่งมอบตัว ๋ นั้นให้แก่สาว สายคนใช้ของโสดลักตัว ๋ นั้นไปแล้วปลอมลายมือชื่อสาว
สลักหลังลอยให้แก่สาก เป็ นการช้าระสินค้า ดังนี้ ผู้ทรงตัว ๋ แลกเงินฉบับนี้ ได้แก่ โสด
5. นายเอ ออกตัว ๋ แลกเงิน สั่ง นายบีใ ห้จ่ายเงิน แก่น ายซี นายซีสลัก หลัง โอนให้แก่
นายดี นายดี สลักหลังลอย ให้แก่นายอี นายอีโอนส่งมอบตัว ๋ ให้แก่นายเอฟ นายเอฟ
สลัก หลัง โอนให้แก่น ายจี นายจีสลัก หลั ง โอนให้ แก่ น ายเอช ดัง นั้ น ผู้ท่ี ลงลายมื อชื่ อ
สลักหลังรายล่าสุด ซึง ่ ได้ตัว๋ แลกเงินโดยการสลักหลังลอยได้แก่ นายเอฟ
6. นายอาทิตย์ออกตัว ๋ แลกเงินสั่งนายจันทร์ให้ใช้เงินแก่นายอังคาร นายอังคารสลัก
หลั ง โอนแก่ น ายพุ ธ โดยไม่ รู้ ว่ า นายพุ ธ เป็ นผู้ เ ยาว์ นายพุ ธ สลั ก หลั ง โอนให้ แ ก่ น าย
พฤหัส โดยนายพฤหัสไม่รู้ว่านายพุธเป็ นผู้เ ยาว์อีกเหมือนกัน ดัง นี้ น ายอาทิต ย์ นาย
อังคาร และนายพุธ จะยกข้อต่อสู้ว่านายพุธเป็ นผู้เยาว์จึงขอบอกล้างสัญญา ไม่ต้องรับ
ผิดต่อนายพฤหัส ดังนี้ นายพุธยกข้อต่อสู้ได้แต่นายอาทิตย์และนายอังคารยกข้อต่อสู้
ไม่ได้
7. นายชวดออกตัว ๋ แลกเงินสั่งนายฉลูให้จ่ายเงินแก่นายขาล นายขาลสลักหลังโอน
แก่น ายเถาะ นายเถาะสลัก หลัง ลอยโอนให้แก่น ายมะโรง นายมะเส็ ง ลั ก ตั๋ว แลกเงิน
จากนายมะโรงแล้ ว น้า ไปซื้ อสิ น ค้ า จากนายมะเมี ย ดั ง นั้ น ผู้ ท่ี ไ ม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ตาม
กฎหมายลักษณะตัว ๋ แลกเงินต่อนายมะเมียคือ นายมะเส็ง
8. ใบประจ้าต่อหมายถึง กระดาษแผ่นหนึ่ งที่ผนึ กต่อเข้ากับตัว ๋ เงินเดิมเมื่อไม่มีท่ีใน
ตัว
๋ เงินซึ่งสลักหลังได้ต่อไป
9. นายขาวออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้น ายเขียวใช้เงิน 100,000 บาท เมื่อได้เ ห็น แก่น าย
ด้า นายด้าสลักหลังโอนแก่นายแดง นางแดงสลักหลังโอนแก่นายทอง นายทองยื่นตัว ๋
แก่นายเขียวรับรองตัว ๋ แลกเงินว่าจะจ่ายเงินให้ในอีก 3 วัน ดังนี้ นายทองฟ้ อง นายขาว
53
นายเขียว นายด้า และนายแดงให้รับผิดใช้เงิน โดยนายทองจะฟ้ องเขียวผู้จ่ายได้
คนเดียวเท่านั้น
10. ค้าว่า “ค่ส
ู ัญญาคนก่อนๆ” ในตัว
๋ เงิน หมายถึง ผู้ส่ังจ่ายเช็คผ้ถ
ู ือ
11. นายจั น ทร์ เ ป็ นผู้ รั บ เงิ น ตามตั ๋ว แลกเงิ น ที่ น ายอาทิ ต ย์ ส่ ั ง จ่ า ยให้ ฉ บั บ หนึ่ ง นาย
จันทร์ สลักหลังลอย ให้แก่นายอังคาร นายอังคารส่งมอบตัว ๋ แลกเงินแก่นายพุธ นาย
พุธโอนส่งมอบตัว ๋ แก่นายพฤหัส นายพฤหัสสลักหลังโอนให้แก่นายศุกร์ นายศุกร์สลัก
หลัง โอนให้แก่น ายเสาร์ ผู้ท่ีลงลายมือ ชื่อในการสลัก หลั ง รายที่ สุ ด ซึ่ง ได้ตั๋ว แลกเงิน
ด้วยการสลักหลังลอย มีสิทธิโอนตัว ๋ แลกเงินต่อไปคือ นายพฤหัส
12. บุคคลที่เป็ นคู่สัญญาคนก่อนๆ ตามตัว ๋ เงิน คือ ผู้ออกตัว
๋ สัญญาใช้เงิน
13. นายสิ บ ออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง นายยี่ สิ บ ผู้ จ่ า ยเงิ น 2,000 บาท แก่ น ายสามสิ บ นาย
สามสิบสลักหลังโอนแก่นายสี่สิบ นายสี่สิบ สลักหลังลอย โอนให้แก่นายห้าสิบ นาย
ห้าสิบท้า ตัว ๋ แลกเงินหาย นายหกสิบเก็บได้แล้วน้า ไปซื้อสร้อยคอทองค้า จากนายเจ็ด
สิบ ผู้ท่ีรับต้องรับผิดตามกฎหมายลักษณะตัว ๋ แลกเงินได้แก่ นายสิบและนายสี่สิบ
14. นายมกราสั่งจ่ายเช็คเงิน 10,000 บาทให้แก่นายกุมภา นายกุมภาสลักหลังโอนให้
แก่น ายมีน า นายมีนาสลักหลัง โอนให้แก่น ายเมษา นายเมษาท้า เช็ค หาย มีผู้เ ก็บ ได้
แล้วปลอมลายมือชื่อนายเมษา สลักหลังลอย ให้แก่นายพฤษภา ดังนี้ ผู้ท่ีทรงตัว ๋ โดย
ชอบด้วยกฎหมายคือ นายเมษา
15. นายเขียวเป็ นคนวิกลจริตที่ศาลยังไม่ได้ส่ ังว่าเป็ นคนไร้ความสามารถสั่งจ่ายเช็ค
ให้แก่นายทองโดยนายทองรู้ว่าขณะรับโอนนายเขียววิกลจริต นายทองสลักหลังโอน
เช็คแก่นายด้า โดยนายด้า รู้ขณะรับโอนว่านายเขียวเป็ นคนวิกลจริตอีกเหมือนกัน ต่อ
มานายด้าน้าเช็คไปซื้อสินค้าจากนายขาวซึ่งเป็ นพ่อค้า ดังนี้ นายเขียวสามารถยกข้อ
ต่อสู้ต่อนายทองและนายด้าได้ แต่ยกข้อต่อสู้ต่อนายขาวไม่ได้
16. นายมกราออกตัว ๋ แลกเงินสั่งนายกุมภาให้ใช้เงิน 100,000 บาท แก่นายมีนาผู้รับ
เงิน นายมีนาสลักหลังลอยมอบตัว ๋ แก่นายเมษา นายเมษาลงลายมือชื่อสลักหลังตัว ๋ ว่า
“นายเมษาตัวแทน ” อย่างหนึ่ ง หรือ “นายเมษาผู้จัดการทั่วไปของบริษท ั ก.” อีกอย่าง
หนึ่ ง ดังนี้ นายเมษาจะต้องรับผิดตามตัว ๋ ทั้งสองกรณีเพราะสลักหลังไม่ระบุว่ากระท้า
การแทนผู้ใด
17. นายหนึ่ งออกตัว ๋ แลกเงินสั่งนายสองให้ใช้เงินแก่นายสามก้าหนดสามเดือนนับแต่
ได้เห็นตัว ๋ นายสามจึงน้าตัว ๋ ไปยื่นแก่นายสองให้รับรองแต่ก่อนตัว ๋ ถึงก้าหนด นายสาม
ได้สลักหลังโอนตัว ๋ ให้แก่นายสี่ นายสี่สลักหลังโอนให้แก่นายห้า นายห้าสลักหลังโอน
ให้แก่นายหก ครั้นตัว ๋ ถึงก้า หนดนายหกน้า ตั๋วไปยื่น ให้นายสองรับรองว่าจะใช้เงิน ให้
อย่างแน่ นอนในก้าหนดสามเดือน ดังนี้ นายหกฟ้ องนายสองผู้จ่ายได้ แต่ฟ้องนายหนึ่ ง
นายสาม นายสี่ นายห้าไม่ได้

หน่วยที่ 9 การออกการโอน และการสลักหลังตัว


๋ แลกเงิน
1. ตัว
๋ แลกเงินต้องมีรายการตามที่กฎหมายก้า หนด การออกตัว ๋ แลกเงิน
ขาดรายการที่กฎหมายต้องการย่อมไม่สมบูรณ์เป็ นตัว๋ แลกเงิน ไม่ก่อให้เกิด
สิทธิและความรับผิดตามกฎหมายลักษณะตัว ๋ เงิน
54
2. ตัว
๋ แลกเงินย่อมโอนกันได้เสมอ เว้นแต่มีข้อความห้ามโอน ส่วนการ
สลักหลังเป็ นวิธีการที่ผู้ทรงลงชื่อในตัว
๋ แลกเงินเพื่อเจตนาโอนตัว
๋ อย่างหนึ่ ง
เว้นแต่มีข้อห้ามสลักหลังต่อไป
3. การสลักหลังตัว ๋ แลกเงินแก่ตัวแทนก็ดี การสลักหลังจ้าน้าตัว ๋ แลกเงินก็
ดี ย่ อ มท้า ให้ ผู้ท รงที่ รั บสลั ก หลั ง มี สิ ท ธิ เ รี ย กเก็ บ เงิ น ตามตั๋ว ได้ แต่ จ ะสลั ก
หลังต่อไปอีกได้ในฐานะเป็ นตัวแทนเท่านั้น
9.1 การออกตัว ๋ แลกเงิน
1. ตัว
๋ แลกเงินต้องมีรายการได้แก่ (1) ค้าบอกชื่อว่าเป็ นตัว ๋ แลกเงิน (2) ค้า
สั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้จ่ายเงินเป็ นจ้า นวนแน่ นอน (3) ชื่อหรือยีห้อผู้จ่าย
(4) ชื่อหรือยีห้อผู้รับเงินหรือค้าจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือและ (5) ลายมือชื่อผู้
สั่งจ่ายหากรายการดังกล่าวขาดตกบกพร่ องไปย่อ มไม่ส มบู รณ์เป็ นตั๋วแลก
เงิน
2. วันถึงก้าหนดของตัว ๋ แลกเงิน ก็คือ วันถึงก้าหนดใช้เงินตามตัว ๋ ซึ่งแยก
ได้เป็ น 2 ชนิ ด ได้แก่ (1) ตัว
๋ แลกเงินที่ส่ังให้ใช้เงินเมื่อทวงถามหรือเมื่อได้เห็น
(2) ตัว๋ แลกเงินที่ก้าหนดเวลาให้ใช้เงิน
3. ความรับผิดของผู้ส่ังจ่ายหรือผู้สลักหลังตัว ๋ แลกเงินเกิดขึ้นโดยเงื่อนไข
ว่าผู้ทรงต้องยื่นตัว
๋ ต่อผู้จ่ายก่อน ถ้าผู้จ่ายไม่รับรองหรือไม่จ่ายเงินและผู้ทรง
จัดให้ท้าค้าคัดค้านแล้วผู้ส่ังจ่ายหรือผู้สลักหลังจะใช้เงินแก่ผู้ทรง
4. ข้อก้าหนดลบล้างหรือจ้ากัดความรับผิดและข้อก้าหนดลดหน้าที่ของผู้
สั่งจ่ายและผู้สลักหลังตัว
๋ แลกเงินแยกได้ 2 ประการ ได้แก่ (1) ข้อก้าหนด
ลบล้างหรือจ้ากัดความรับผิดของผู้ส่ังจ่ายและผู้สลักหลังที่มีต่อผู้ทรง (2) ข้อ
ก้าหนดลดหน้าที่ของผู้ทรงที่มีต่อผู้ส่ังจ่ายและผู้สลักหลัง
9.1.1 รายการในตัว๋ แลกเงิน
การเขียนตัว
๋ แลกเงินที่มรี ายการตามตามที่กฎหมายต้องการ
การเขียนตัว๋ แลกเงิน ดังข้อความต่อไปนี้ แล้วผู้ส่ังจ่ายลงลายมือชื่อ

ตัว
๋ แลกเงิน
วันที่ 1 มกราคม 2536
ถึงนางมณฑา
โปรดสั่งจ่ายเงินจ้านวน หนึ่ งล้านบาท ให้แก่นายสังข์ทอง หรือตาม
ค้าสั่ง

.....................................................
(ลามือชื่อท้าวสามลผู้ส่ังจ่าย)
55
9.1.2 วันถึงก้าหนดของตัว ๋ แลกเงิน
ท้าวสามลออกตัว ๋ แลกเงินลงวันที่ 1 กันยายน 2536 สั่งนางมณฑาให้ใช้
เงินจ้านวน หนึ่ งล้านบาทให้แก่นายสังข์ทองก้าหนดสองเดือนนับแต่ได้เห็น
วันที่ 30 ธันวาคม 2536 นางมณฑาได้เห็นและรับรองตัว ๋ แลกเงินฉบับนี้ ดังนี้
นายสังข์ทองต้องน้าตัว ๋ แลกเงินไปยื่นให้นางมณฑาใช้เงินเมื่อใด
วันถึงก้าหนดตัว ๋ แลกเงินฉบับนี้ คือสองเดือนนับแต่ได้เห็น นางมณฑา
ผู้ส่ังจ่ายได้เห็นตัว
๋ เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2535 ครบก้าหนดสองเดือน ในวันที่
30 กุมภาพันธ์ แต่เดือนกุมภาพันธ์ไม่มีวันตรงกันในเดือนสุดท้าย วันสุดท้าย
แห่งเดือนกุมภาพันธ์ คือวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2536 จึงเป็ นวันสุดท้ายอันเป็ น
วันสิ้นระยะเวลาตามมาตรา 193/5 วรรคสอง วันถึงก้า หนดของตัว ๋ แลกเงิน
ฉบับนี้ ท่ีนายสังข์ทองต้องน้า ตัว ๋ แลกเงินไปยื่นให้นางมณฑาใช้เงิน คือวันที่
28 กุมภาพันธ์ 2536
9.1.3 ความรับผิดของผู้ส่ังจ่ายหรือผู้สลักหลังตัว
๋ แลกเงิน
ท้าวสามลออกเช็คลงวันที่ล่วงหน้าสั่งให้ธนาคารมณฑาจ้ากัด จ่ายเงิน
ให้แก่นายสังข์ทองหนึ่ งล้านบาท ก่อนเช็คถึงก้าหนด นายสังข์ทองสลักหลัง
โอนเช็คให้แก่เขยที่หนึ่ ง เขยที่หนึ่ งสลักหลังโอนแก่เขยที่สอง แล้วมีการโอน
แก่เขยที่สาม เขยที่ส่ี เขยที่ห้าจนถึงเขยที่หก ตามล้าดับ ครั้นเช็คถึงก้าหนด
เขยที่หกน้าเช็คไปยื่นแก่ธนาคารมณฑาจ้ากัด เพื่อใช้เงิน แต่ธนาคารมณฑา
จ้า กัด ปฏิเสธการใช้เงิน เขยที่สามได้เข้าใช้เงินแก่เขยที่หก และรับเช็คมา
แล้วดังนี้ เขยที่สามจะเรียกร้องต่อใครให้รับผิดใช้เงินตามเช็คได้บ้าง
เขยที่สามซึ่งเป็ นผู้สลักหลังหลังคนที่ถูกบังคับให้ใช้เงินตามเช็ค ย่อม
เรียกร้องให้ท้าวสามลผู้ส่ังจ่ายนายสังข์ทอง เขยที่หนึ่ งและเขยที่สอง ให้รับ
ผิดใช้เงินตามเช็คได้ ตามมาตรา 914 967 971 และ 989
มาตรา 914 บุคคลผู้ส่ังจ่ายหรือสลักหลังตัว๋ แลกเงินย่อมเป็ นอัน สัญญาว่าเมื่อ
ตัว๋ นั้นได้น้า ยื่นโดยชอบแล้วจะมีผู้รับรอง และใช้เงินตาม เนื้ อความแห่งตัว ๋ ถ้าและตัว ๋
แลกเงินนั้นเขาไม่เชื่อถือโดยไม่ยอมรับรอง ก็ดีหรือไม่ยอมจ่ายเงินก็ดี ผู้ส่ังจ่ายหรือผู้
สลักหลังก็จะใช้เงินแก่ผู้ทรง หรือแก่ผู้สลักหลังคนหลังซึง่ ต้องถูกบังคับให้ใช้เงินตามตัว

นั้น ถ้า หากว่าได้ท้าถูกต้องตามวิธีการในข้อไม่รับรองหรือไม่จ่ายเงินนั้นแล้ว
มาตรา 967 ในเรื่องตัว ๋ แลกเงินนั้ น บรรดาบุคคลผู้ส่ังจ่ายก็ดีรับรอง ก็ดีสลัก
หลังก็ดี หรือรับประกันด้วยอาวัลก็ดี ย่อมต้องร่วมกันรับผิดต่อ ผู้ทรง
ผู้ทรงย่อมมีสิทธิว่ากล่าวเอาความแก่บรรดาบุคคลเหล่านี้ เรียงตัว หรือรวมกัน
ก็ได้ โดยมิพักต้องด้าเนิ นตามล้าดับที่คนเหล่านั้นมาต้อง ผูกพัน
สิทธิเช่นเดียวกันนี้ ย่อมมีแก่บุคคลทุกคนซึ่งได้ลงลายมือชื่อในตัว ๋ เงิน และเข้า
ถือเอาตัว๋ เงินนั้น ในการที่จะใช้บังคับเอาแก่ผู้ท่ีมีความผูกพันอยู่ แล้วก่อนตน
การว่ากล่าวเอาความแก่คู่สัญญาคนหนึ่ ง ซึ่งต้องรับผิดย่อมไม่ตัดหน ทางที่จะ
ว่ากล่าวเอาความแก่คู่สัญญาคนอื่น ๆ แม้ท้ังจะเป็ นฝ่ ายอยู่ใน ล้า ดับภายหลังบุคคลที่
ได้ว่ากล่าวเอาความมาก่อน
56
มาตรา 971 ผู้ส่ังจ่ายก็ดี ผู้รับรองก็ดี ผู้สลักหลังคนก่อนก็ดีซึ่งเขา สลักหลัง
หรือโอนตัว๋ แลกเงินให้อีกทอดหนึ่ งนั้ น หามีสิทธิจะไล่เบี้ยเอา แก่คู่สัญญาฝ่ าย ซึ่งตน
ย่อมต้องรับผิดต่อเขาอยู่กันก่อนแล้วตามตัว ๋ เงินนั้นได้ไม่
มาตรา 989 บทบัญญัติท้ังหลายในหมวด 2 อันว่าด้วยตัว ๋ แลกเงิน ดั่งจะกล่าว
ต่อไปนี้ ท่านให้ยกมาบังคับในเรื่องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับ สภาพแห่งตราสารชนิ ดนี้
คือบท มาตรา 910 , 914 ถึง 923 , 925 , 926 , 938 ถึง 940 , 945 , 946 , 959 , 967
, 971
ถ้าเป็ นเช็คที่ออกมาแต่ต่างประเทศ ท่านให้น้าบทบัญญัติด่ังต่อไปนี้ มาใช้บังคับ
ด้วย คือบท มาตรา 924 , 960 ถึง 964 , 973 ถึง 977 , 980
9.1.4 ข้อก้าหนดลบล้างหรือจ้ากัดความรับผิดและข้อก้าหนดลดหน้าที่
ตามตัว ๋ แลกเงิน
นายอาทิตย์ออกตัว ๋ แลกเงินสั่งนายจันทร์ ให้จ่ายเงินเมื่อครบสามเดือน
นั บแต่ไ ด้เ ห็นเป็ นจ้า นวนเงิน 50,000 บาท แก่นายอั งคาร และนายอาทิต ย์
ระบุไว้ในตัว ๋ ว่า “นายอาทิตย์รับผิดตามตัว ๋ นี้ เพียง 10,000 บาท” นายอังคาร
รับตัว
๋ แล้งลงชื่อสลักหลังโอนแก่นายพุธและนายอังคารระบุไว้ในตัว ๋ ว่า “ ให้
ยื่นตัว
๋ นี้ พร้อมรับรองภายในเจ็ดวันนับจากวันสลักหลังนี้ ” ดังนี้ อธิบายความ
รับผิดของนายอาทิตย์และนายอังคารที่มีต่อนายพุธ
ข้อความที่นายอาทิตย์ผู้ส่ังจ่ายจดลงไว้ในตั๋วแลกเงิน เป็ นข้อก้า หนด
จ้ากัดความรับผิดของนายอาทิตย์ท่ีมีต่อนายพุธผู้ทรงว่า จะรับผิดชดใช้เงิน
ตามตั๋ว เพี ย ง 10,000 บาท ไม่ ใ ช่ 50,000 บาท ตามจ้า นวนเงิ น ในตั๋ว ส่ ว น
ข้อความที่นายอังคารผู้สลักหลังจดลงไว้ในตัว ๋ แลกเงินเป็ นข้อก้า หนดจ้า กัด
เวลายื่นตัว ๋ แลกเงินให้นายจันทร์ผู้จ่ายรับรอง ซึ่งเป็ นข้อก้าหนดจ้ากัดความ
รับผิด อย่ างหนึ่ งที่ ผู้ส ลัก หลั งมี ต่อ ผู้ท รง ดังนี้ ข้อ ก้า หนดทั้ งสองข้อ ดั ง กล่ า ว
ย่อมใช้บังคับได้ นายอาทิตย์และนายอังคารจึงมีค วามรั บผิ ดจ้า กั ดตามข้อ
ก้าหนดที่ระบุไว้ในตัว ๋ แลกเงินนั้น

9.2 การโอนและการสลักหลังตัว
๋ แลกเงิน
1. ตัว๋ แลกเงินย่อมโอนให้แก่กันด้วยสลักหลังและส่งมอบ เว้นแต่ตัว ๋ ผู้ถือ
ย่อมโอนกันได้เพียงแต่ส่งมอบตัว ๋ ให้แก่ผู้รับโอนเท่านั้น แต่ตัว ๋ แลกเงินเป็ น
สัญ ลั ก ษณ์อ ย่ างหนึ่ ง ผู้ ส่ั ง จ่ ายหรื อ ผู้ ส ลั ก หลั ง ย่ อ มระบุ ข้อ ความห้ า มโอนได้
เสมอ
2. สิทธิของผู้รับโอนตัว ๋ แลกเงินมีผู้รับโอนอาจมีสิทธิดีกว่าผู้โอน
3. วิธีโอนตัว ๋ แลกเงินย่อมเป็ นไปตามประเภทของตัว ๋ แลกเงิน หรือตัว ๋ ผู้ถือ
และตัว ๋ ระบุช่ ือ
4. ผู้สลัก หลั งระบุ ข้อ ห้า มสลัก หลั งไปในตั ๋วแลกเงิน ได้ การสลัก หลั งต้อ ง
ไม่ มีเ งื่อ นไขและสลัก หลั งบางส่ว นไม่ไ ด้ การสลัก หลั งเมื่ อสิ้ นเวลาคั ดค้ า น
การไม่รับรองหรือไม่ใช้เงิน ผู้ทรงไล่เบี้ยเอาจากผู้รับรองและคู่สัญญาที่สลัก
57
หลั งภายหลัง ก้า หนดเวลาท้า ค้า คั ด ค้ า นได้ส่ ว นเมื่ อมี ค้า คั ด ค้ า น การไม่
รับรองหรือไม่ใช้เงินแล้วจึงสลักหลัง ผู้ทรงไล่เบี้ยเอาจากผู้รับรองและผู้ส่ัง
จ่ายหรือผู้สลักหลังก่อนเวลาท้าค้าคัดค้านได้เท่านั้น
5. การสลักหลังตัว ๋ แลกเงินระบุช่ ือ ย่อมโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอันเกิดแก่
ตัว ๋ แลกเงิน ได้แก่สิทธิท่ีจะสลักหลังโอนตัว ๋ ต่อไป สิทธิท่ีจะบังคับเอาเงินตาม
ตัว ๋ และสิทธิท่ีจะแสวงคืนการครอบครองตัว ๋ ส่วนการสลักหลังตัว ๋ แลกเงินซึ่ง
สั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ ไม่ท้าให้ผู้สลักหลังรับผิดอย่างผู้สลักหลังแต่มีผลให้รับ
ผิดอย่างผู้รับอาวัลผู้ส่ังจ่าย
6. การสลักหลังตัว ๋ แลกเงินแก่ตัวแทนเพื่อเรียกเก็บเงินหรือให้จัดการแก่
ตัว ๋ แทนตนนั้น ตัวการที่สลักหลังไม่ได้โอนสิทธิอย่างการสลักหลังตามปกติ
ผู้ ท รงที่ ส ลั ก หลั ง มี อ้า นาจกระท้า การเพื่ อให้ ไ ด้ สิ ท ธิ อั น เกิ ด แก่ ตั๋ว นั้ น แทน
ตัวการที่สลักหลัง และผู้ทรงที่รับสลักหลังจะสลักหลังตั๋วแลกเงินนั้นต่อไป
ได้ในฐานะเป็ นตัวแทนเท่านั้น
7. การสลักหลังจ้า น้า ตั๋วแลกเงิน ท้า ให้ผู้ทรงที่รับจ้า น้า มีสิ ทธิ เรี ยกเก็ บ
เงิน ตามตั๋ว ในวันถึ งก้า หนด แต่เมื่ อจั ดสรรช้า ระหนี้ และอุ ปกรณี แ ล้ ว มี เ งิ น
เหลือต้องส่งคืนให้แก่ผู้สลักหลังที่จ้า น้า และผู้ทรงที่รับจ้า น้า และสลักหลัง
ตัว
๋ แลกเงินนั้นต่อไปได้ในฐานเป็ นตัวแทนเท่านั้น
9.2.1 การโอนตัว ๋ แลกเงิน
ก. ออกตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น 100,000 บาท แก่ ข. ข. ประสงค์ จ ะโอนตั๋ ว
สัญญาใช้เงินฉบับนี้ เพื่อใช้หนี้ แก่ ค. ดังนี้ ท่านจะให้ค้าแนะน้าแก่ ข. ว่าจะท้า
อย่างไรจึงจะมีผลการโอนตามกฎหมายลักษณะตัว ๋ เงิน
ให้ ค้า แนะน้า แก่ ข. ดั ง นี้ คื อ ตามบทบั ญ ญั ติ ใ นมาตรา 917 วรรคแรก
ประกอบด้วยมาตรา 985 ตัว ๋ สัญญาใช้เงินย่อมโอนให้กันได้ด้วยสลักหลังและ
ส่งมอบ ดังนี้ ข. จึงต้องลงลายมือชื่อสลักหลังระบุ ค. เป็ นผู้รับประโยชน์ ที่
ด้านหน้าหรือด้านหลังของตัว ๋ ก็ได้ท่ีเรียกว่าเป็ นการสลักหลังเฉพาะ หรือ ข .
เพียงแต่ลงลายมือชื่อของตนที่ด้านหลังของตัว ๋ ที่เรียกว่าสลักหลังลอย ก็ได้
แต่ ไ ม่ ว่ า ข. จะสลั ก หลั ง เฉพาะหรื อ สลั ก หลั ง ลอยก็ ต าม ข. ต้ อ งส่ ง มอบตั๋ว
สัญญาฉบั บ นี้ ใ ห้ แ ก่ ค. ไปด้ว ยจึ งจะมี ผลสมบู ร ณ์เ ป็ นการโอนตั๋ว สัญ ญาใช้
เงินตามกฎหมาย
อนึ่ ง ตัว
๋ สัญญาใช้เงิน ไม่มีตัว ๋ ผู้ถือ การโอนตัว ๋ สัญญาใช้เงินจึงต้องสลัก
หลังและส่งมอบเท่านั้นจะโอนตัว ๋ ให้กันด้วยวิธีส่งมอบอย่างเดียวไม่ได้
มาตรา 917 อันตัว๋ แลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่ส่ังจ่ายให้แก่ บุคคลเพื่อเขา
สั่งก็ตาม ท่านว่าย่อมโอนให้กันได้ด้วยสลักหลังและส่งมอบ
๋ แลกเงินว่า "เปลี่ยนมือไม่ได้" ดั่งนี้ ก็ดี
เมื่อผู้ส่ังจ่ายเขียนลงในด้านหน้าแห่งตัว
หรือเขียนค้าอื่นอันได้ความเป็ นท้านองเช่นเดียวกันนั้นก็ดี ท่านว่าตัว
๋ เงินนั้นย่อมจะโอน
ให้กน
ั ได้แต่โดยรูปการและด้วยผลอย่างการ โอนสามัญ
58
อนึ่ ง ตัว
๋ เงินจะสลักหลังให้แก่ผู้จ่ายก็ได้ ไม่ว่าผู้จ่ายจะได้รับรองตัว๋ นั้ นหรือ
ไม่ หรือจะสลักหลังให้แก่ผู้ส่ังจ่าย หรือให้แก่คู่สัญญาฝ่ ายใด แห่งตัว ๋ เงินนั้นก็ได้ ส่วน
บุคคลทั้งหลายเหล่านี้ ก็ย่อมจะสลักหลังตัว ๋ เงิน นั้นต่อไปอีกได้
มาตรา 985 บทบัญญัติท้ังหลายในหมวด 2 ว่าด้วยตัว ๋ แลกเงิน ดั่งจะกล่าวต่อ
ไปนี้ ท่านให้ยกมาบังคับในเรื่องตัว
๋ สัญญาใช้เงินเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับสภาพแห่งตราสาร
ชนิ ด นี้ คื อ บท มาตรา 911 , 913 , 916 , 917 , 919 , 920 , 922 ถึ ง 926 , 938 ถึ ง
947 , 949 , 950 , 954 ถึง 959 , 967 ถึง 971
๋ สัญญาใช้เงินที่ออกมาแต่ต่างประเทศ ท่านให้น้า บท บัญญัติต่อไปนี้
ถ้าเป็ นตัว
มาใช้บังคับด้วย คือบท มาตรา 960 ถึง 964 , 973 , 974
9.2.2 สิทธิของผู้รับโอนตัว ๋ แลกเงิน
นายมะไฟหลอกนายมะเฟื องให้ ออกเช็ค สั่ ง จ่ า ยเงิ น 500,000 บาท แก่
ตนเมื่อน้า ไปอวดนางสาวมะกรูดสัก 2-3 วัน แล้วจะคืนให้ นายมะเฟื องเห็น
แก่ เ พื่ อนจึ ง ออกเช็ ค ให้ นายมะเฟื องได้ รั บ เช็ ค แล้ ว สลั ก หลั ง โอนต่ อ นาย
มะนาวเพื่อช้าระค่าซื้อรถยนต์ ต่อมานายมะไฟไม่คืนเช็คให้ นายมะเฟื องจึง
อายัดเช็คต่อธนาคารไม่ให้จ่ายเงินนายมะนาวน้าเช็คไปขึ้นเงินจากธนาคาร
ไม่ ได้ จึ งฟ้ องคดี ให้ นายมะเฟื องรั บผิ ดตามเช็ ค ดั งนี้ นายมะเฟื องจะยกข้ อ
ต่อสู้ว่า มีข้อตกลงระหว่างตนกับนายมะไฟได้หรือไม่เพราะเหตุใด
ตามบทบั ญ ญั ติ ใ นกฎหมายลั ก ษณะตั๋ว เงิ น มาตรา 916 ซึ่ ง อนุ โ ลมใช้
บังคับในเรื่อเช็คด้วยมีใจความว่าบุคคลหลังหลายผู้ถูกฟ้ องในมูลตัว ๋ เงิน หา
อาจจะต่ อ สู้ ผู้ ท รงด้ ว ยข้ อ ต่ อ สู้ อั น อาศั ย ความเกี่ ย ว พั น กั น เฉพาะบุ ค คล
ระหว่างตนกับผู้ส่ังจ่ายหรือกับผู้ทรงคนก่อนๆ นั้นได้ไม่ เว้นแต่การโอนจะ
ได้มีขึ้นด้วยคบคิดกันฉ้อฉล
ตามอุทาหรณ์ นายมะเฟื องซึ่งเป็ นผู้ถูกฟ้ องในมูลเช็ค จึงหาอาจจะต่อสู้
นายมะนาวผู้ท รงเช็ คที่ รับสลัก หลั งโอนมาโดยสุ จ ริต ไม่ รู้ ข้อ ตกลงระหว่ า ง
นายมะเฟื องกับนายมะไฟผู้ทรงคนก่อนนั้ นไม่ ดังนั้ นนายมะเฟื องผู้ส่ังจ่าย
เช็คจึงต้องรับผิดใช้เงินตามเช็ค
มาตรา 916 บุ ค คลทั้ ง หลายผู้ ถู ก ฟ้ องในมู ลตั๋ว แลกเงิน หาอาจจะ ต่ อ สู้ ผู้ ท รง
ด้ว ยข้อต่อสู้อัน อาศัยความเกี่ยวพันกัน เฉพาะบุค คลระหว่าง ตนกับ ผู้ส่ัง จ่ายหรือกับ
ผู้ทรงคนก่อน ๆ นั้นได้ไม่ เว้นแต่การโอนจะ ได้มีขึ้นด้วยคบคิดกันฉ้อฉล
9.2.3 วิธโี อนตัว ๋ แลกเงิน
การสลักหลังตัว ๋ เงินมีก่ีประเภทอะไรบ้าง อธิบาย
การสลักหลังตัว ๋ เงินมี 2 ประเภทคือ คือ
(1) สลั ก หลั ง เฉพาะ ได้ แ ก่ สลั ก หลั ง โดยระบุ ช่ ื อผู้ รั บ ประโยชน์ไ ว้ ด้ ว ย
กล่าวคือ ต้องเขียนค้าสลักหลังไว้ในตัว ๋ เงินหรือใบประจ้าต่อที่ด้านหน้าหรือ
ด้านหลังของตัว ๋ เงินหรือใบประจ้าต่อและต้องลงลายมือชื่อผู้สลักหลังไว้ด้วย
เช่น เขียนว่า “จ่ายนายสุโขทัยหรือตามสั่ง” และลงลายมือชื่อผู้สลักหลังไว้ท่ี
ด้านหน้าหรือด้านหลังของตัว ๋ เงินหรือใบประจ้าต่อ
59
สลั ก หลั ง ลอย ได้ แ ก่ สลั ก หลั ง โดยมิ ไ ด้ ร ะบุ ช่ ื อผู้ รั บ ประโยชน์ไ ว้
(2)
เพียงแต่ลงลายมือชื่อผู้สลักหลังไว้ท่ีด้านหลังตัว ๋ เงิน หรือใบประจ้า ต่อ เช่น
ลงลายมื อ ชื่ อผู้ ส ลั ก หลั ง ไว้ ท่ี ด้ า นหลั ง ตั๋ ว เงิ น หรื อ ใบประจ้า ต่ อ โดยไม่ มี
ข้อความใดเลย

9.2.4 หลักเกณฑ์ของการสลักหลังตัว ๋ แลกเงิน


ที่ ก ล่ า ว ว่ า “ ก า ร ส ลั ก ห ลั ง ตั๋ ว แ ล ก เ งิ น จ ะ มี เ งื่ อ น ไ ข ไ ม่ ไ ด้ ” นั้ น
หมายความว่าอย่างไร
ที่ ก ล่ า ว ว่ า “ ก า ร ส ลั ก ห ลั ง ตั๋ ว แ ล ก เ งิ น จ ะ มี เ งื่ อ น ไ ข ไ ม่ ไ ด้ ” นั้ น
หมายความว่า ตามปกติการสลักหลังโอนไปซึ่งสิทธิอันเกิดแต่ตั๋วแลกเงิน
ดั ง นั้ น การที่ ผู้ ส ลั ก หลั ง ก้า หนดข้ อ ความให้ ก ารโอนมี ผ ลหรื อ สิ้ น ผลเมื่ อมี
เหตุการณ์อันใดอันหนึ่ งขึ้นในอนาคตและไม่แน่ นอน จึงท้า ไม่ได้ ถ้าค้า สลัก
หลั ง มี เ งื่ อนไขดั ง กล่ า วกฎหมายถื อ ว่ า การสลั ก หลั ง นั้ น สมบู ร ณ์โ ดยไม่ มี
เงื่อนไขเลย
9.2.5 ผลของการสลักหลังตัว ๋ แลกเงิน
ผลของการสลักหลังตัว ๋ แลกเงินระบุช่ ือกับตัว
๋ ผู้ถือต่างกันอย่างไร
ตัว๋ แลกเงินระบุช่ ือ ย่อมโอนให้กันได้ด้วยสลักหลังและส่งมอบ (มาตรา
917 วรรคแรก) การสลักหลังอาจเป็ นสลักหลังเฉพาะหรือสลักหลังลอยก็ได้
เมื่อสลักหลังโดยชอบแล้ว ย่อมโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอันเกิดแก่ตัว ๋ แลกเงิน
(มาตรา 920) กล่าวคือ สิทธิท่ีจะสลักหลังหรือโอนตัว ๋ นั้นต่อไปอีกสิทธิท่ีจะไล่
เบี้ยบังคับเอาเงินตามตัว ๋ และสิทธิท่ีจะแสวงคืนครองตัว ๋ เมื่อแสดงให้ปรากฏ
สิทธิด้วยการสลักหลังไม่ขาดสาย
ส่วนตัว ๋ ผู้ถือ ย่อมโอนให้แก่กันเพียงด้วยส่งมอบ (มาตรา 918) การสลัก
หลังตัว๋ ผู้ถือ จึงไม่จ้า เป็ นและไม่เป็ นเหตุให้ผู้สลักหลังรับผิดในฐานะผู้สลัก
หลัง แต่กฎหมายให้มีผลว่า การสลักหลังตัว ๋ แลกเงินซึ่งสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ
ย่อมเป็ นประกัน (อาวัล) ส้าหรับผู้ส่ังจ่าย (มาตรา 921)
มาตรา 918 ตัว
๋ แลกเงินอันสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือนั้น ท่านว่าย่อม โอนไปเพียงด้วย
ส่งมอบให้กัน
มาตรา 920 อันการสลักหลังย่อมโอนไปซึง ่ บรรดาสิทธิอันเกิดแต่ ตัว๋ แลกเงิน
ถ้าสลัก หลัง ลอย ผู้ทรงจะปฏิบัติด่ังกล่าวต่อไปนี้ ป ระการหนึ่ ง ประการใดก็ ได้
คือ
(1) กรอกความลงในที่ว่างด้วยเขียนชื่อของตนเอง หรือชื่อบุคคลอื่น ผู้ใดผู้หนึ่ ง
(2) สลักหลังตัว
๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรือสลักหลังให้ แก่บุคคลอื่นผู้
ใดผู้หนึ่ ง
(3) โอนตัว
๋ เงินนั้นให้ไปแก่บุคคลภายนอก โดยไม่กรอกความลง ในที่ว่าง และ
ไม่สลักหลังอย่างหนึ่ งอย่างใด
60
มาตรา 921 การสลักหลังตัว
๋ แลกเงินซึ่งสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือนั้นย่อม เป็ นเพียง
ประกัน (อาวัล) ส้าหรับผู้ส่ังจ่าย
9.2.6 การสลักหลังตัว ๋ แลกเงินแก่ตัวแทน
เอกออกตั๋วแลกเงินสั่ งให้โทให้ จ่ า ยเงิน แก่ ตรี ตรี อ ยู่ จั ง หวั ด สงขลาไม่
สะดวกที่ จ ะยื่ นตั๋ว แก่ โ ทที่ จั ง หวั ด เชี ย งรายเพื่ อใช้ เ งิ น ตรี ม าปรึ ก ษาขอค้า
แนะน้าว่าจะมอบตัว ๋ แลกเงินให้แก่จัตวาคนรู้จักกันให้ท้าการแทนได้อย่างไร
จึ ง จะมี ผ ลตามกฎหมาย และไม่ เ กิ ด ความเสี ย หายแก่ ต นดั ง นี้ ขอให้ ค้า
ปรึกษาแนะน้าตรีในปั ญหาดังกล่าว
ต้องแนะน้า ตรีตามบทบั ญ ญั ติ ม าตรา 925 คือให้ต รีล งลายมื อ ชื่ อสลั ก
หลังตัว ๋ แลกเงินฉบับนี้ แก่จัตวา และเขียนข้อความเหนื อลายมือชื่อตรีท่ีสลัก
หลังมีข้อความว่า “ราคาที่เรียกเก็บ” หรือ “เพื่อเรียกเก็บ” หรือ “ ในฐาน
จัดการแทน” หรือความส้า นวนอื่นใดอันเป็ นปริยายว่าตัวแทน เช่น “จ่ าย
จั ต วาตั ว แทน ” หรื อ “ มอบให้ จั ต วาท้า การแทน ” เป็ นต้ น กั ง นี้ ก็ มี ผ ลตาม
กฎหมายว่าจัตวาเป็ นผู้ทรงในฐานเป็ นตัวแทนตรี มีสิทธิท้ังปวงอันเกิดแต่
ตั๋ว แลกเงิ น ฉบั บนี้ ใ นการจั ด การให้ ไ ด้ เ งิ น จากโท แล้ ว น้า มามอบให้ แ ก่ ต รี
จัตวาจะสลักหลังตัว ๋ แลกเงินต่อไปได้ก็เพียงในฐานเป็ นตัวแทนตรีเท่านั้น ไม่
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ตรีขึ้นมาได้
มาตรา 925 เมื่อใดความที่สลักหลังมีข้อก้าหนดว่า "ราคาอยู่ท่ีเรียก เก็บ" ก็ดี
"เพื่อเรียกเก็บ" ก็ดี "ในฐานจัดการแทน" ก็ดี หรือความส้านวน อื่นใดอันเป็ นปริยายว่า
ตัวแทนไซร้ ท่านว่าผู้ทรงตัว ๋ แลกเงินจะใช้สิทธิ ทั้งปวงอันเกิดแต่ตัว
๋ นั้นก็ย่อมได้ท้ังสิ้น
แต่ว่าจะสลักหลังได้เพียงในฐาน เป็ นตัวแทน
ในกรณีเช่นนี้ คู่สัญญาทั้งหลายซึ่งต้องรับผิดอาจจะต่อสู้ผู้ทรงได้ แต่เพียงด้วย
ข้อต่อสู้อันจะพึงใช้ได้ต่อผู้สลักหลังเท่านั้น
9.2.7 การสลักหลังจ้าน้าตัว ๋ แลกเงิน
นายมกราออกตัว ๋ แลกเงินสั่งนายกุมภาให้ใช้เงิน 400,000 บาท แก่นาย
มีนา นายมีนาประสงค์จะซื้อรถยนต์ราคา 250,000 บาท จากนายเมษา แต่
นายเมษาต้องการให้นายมีนาจ้าน้าตัว ๋ แลกเงินซึ่งยังไม่ถึงก้าหนดที่นายมก
ราออกให้เป็ นประกัน นายมีนาจึงมาปรึกษาท่านให้แนะน้าว่าจะมอบตัว ๋ แลก
เงินฉบับจ้านวนเงิน 400,000 บาท แก่นายเมษาเป็ นประกันหนี้ ได้อย่างไร จึง
จะมี ผ ลตามกฎหมายและไม่ เ กิ ด ความเสี ย หารแก่ ต น ดั ง นี้ ใ ห้ ท่ า นแนะน้า
นายมีนาในปั ญหาข้างต้น
จะต้องแนะน้า นายมีนาตามบทบัญญัติมาตรา 926 คือ ให้นายมีนาลง
ลายมื อ ชื่ อสลั ก หลั ง ตั๋ว แลกเงิ น ฉบั บ นี้ ให้ แ ก่ น ายเมษา และเขี ย นข้ อ ความ
เหนื อลายมือชื่อนายมีนาที่สลักหลังมีข้อความว่า “ราคาเป็ นประกัน” หรือ
“ ราคาเป็ นจ้าน้า ” หรือข้อก้าหนดอย่างอื่นใดอันเป็ นปริยายว่าจ้าน้า เช่น
“จ่ายนายเมษาเป็ นการจ้าน้า ” หรือ “มอบให้นายเมษาเพื่อประกันหนี้ ค่าซื้อ
รถยนต์” เป็ นต้น ดังนี้ ก็จะมีผลตามกฎหมายว่านายเมษาเป็ นผู้ทรงในฐาน
เป็ นผู้รับจ้า น้า เมื่อตั๋วแลกเงินถึงก้า หนดใช้เงินตามตั๋วเพื่อเอามาช้า ระค่ า
61
รถยนต์ เ ป็ นเงิ น 250,000 บาท เงิ น ที่ เ หลื อ 150,000 บาท นายเมษาต้ อ ง
คืนให้แก่นายมีนา และนายเมษาจะโอนสลักหลังตัว ๋ แลกเงินฉบับนี้ ช้าระหนี้
ของตนไม่ได้ เว้นแต่นายมีนาจะมีค้าสั่งดังนี้ ย่อมจะไม่ก่อให้เกิดแก่นายมีนา
ขึ้นมาได้
มาตรา 926 เมื่ อใดความที่ ส ลั ก หลั ง มี ข้ อ ก้า หนดว่ า "ราคาเป็ นประกั น " ก็ดี
"ราคาเป็ นจ้า น้า " ก็ดี หรือข้อก้า หนดอย่างอื่นใดอันเป็ นปริยายว่า จ้า น้า ไซร้ ท่านว่า
ผู้ทรงตัว ๋ แลกเงินจะใช้สิทธิท้ังปวงอันเกิดแต่ตัว
๋ นั้น ก็ย่อมได้ท้ังสิ้น แต่ถ้าผู้ทรงสลักหลัง
ตัว๋ นั้น ท่านว่าการสลักหลังย่อม ใช้ได้เพียงในฐานเป็ นค้าสลักหลังของตัวแทน
คู่สัญญาทั้งหลายซึ่งต้องรับผิดหาอาจจะต่อสู้ผู้ทรงด้วยข้อต่อสู้ อันอาศัยความ
เกี่ยวพันเฉพาะบุคคลระหว่างตนกับผู้สลักหลังนั้นได้ไม่ เว้นแต่การสลักหลังจะได้มีขึ้น
ด้วยคบคิดกันฉ้อฉล

แบบประเมินผลหน่วยที่ 9
1. ด้า ออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง แดงผู้ จ่ า ยว่ า “ ให้ จ่ า ยเงิ น 10,000 บาท ของบริ ษัท สยาม
จ้า กั ด ซึ่ ง อยู่ ท่ี ท่ า น เมื่ อขาวยื่ นตั๋ ว ” ลงชื่ อด้า ผู้ จ่ า ย กรณี น้ี ไม่ ใ ช่ ตั๋ ว แลกเงิ น ตาม
กฎหมาย เพราะมีเงื่อนไขในค้าสั่งให้จ่ายเงิน
2. วันถึงก้าหนดของตัว ๋ แลกเงินคือ เมื่อสิ้นระยะเวลาอันก้าหนดนับแต่วันที่ลงในตัว ๋
นั้น
3. นายมกราออกเช็ ค สั่ ง จ่ า ยเงิ น 200,000 บาทแก่ น ายกุ ม ภา นายกุ ม ภาสลั ก หลั ง
โอนแก่ น ายมีน า นายมีน าเห็น ชื่อนายมกราเป็ นผู้ส่ั ง จ่ ายมีค วามแค้น เป็ นส่ ว นตัว อยู่
แล้วจึงฟ้ องนายมกราให้รับผิดตามฟ้ อง ดังนี้ นายมกราไม่ต้องรับผิด เพราะนายมีนา
ยังไม่ได้น้าเช็คไปยืนและธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงิน
4. ความหมายของ “สลักหลัง” คือ ลงลายมือชื่อผู้ทรงที่ด้านหลังตัว ๋ ระบุช่ ือเพื่อโอน
ตัว๋ เงิน
5. ท้าวสามลออกตัว ๋ แลกเงินสั่งมณฑาให้จ่ายเงินแก่สังข์ทอง สังข์ทองสลักหลังโอน
แก่รจนา รจนาให้มณฑารับรองตัว ๋ แล้วสลักหลังโอนไปให้เขย 1 เขย หนึ่ ง สลักหลังให้
แก่เขย 2 เขย 2 น้า ตัว ๋ ไปให้มณฑาใช้เงินเมื่อถึงก้า หนดแต่ม ณฑาโกรธเขย 2 จึงไม่ใ ช้
เงินให้ เขย 2 ไม่ท้าค้าคัดค้านจนพ้นก้าหนดแล้วจึงสลักหลังโอนให้แก่เขย 3 เขย 3 สลัก
หลังโอนให้เขย 4 เขย 4 สลักหลังโอนให้เขย 5 เขย 5 สลักหลังโอนให้เขย 6 ดังนี้ เขย 6
สามารถไล่เบี้ยเอาจากเขย 2 ถึงเขย 5 ให้รบ ั ผิดได้เท่านั้น
6. ผู้มีสิทธิโอนตัว ๋ แลกเงินได้แก่ ผู้จัดการมรดกของผู้ทรง
7. นายหนึ่ งสั่งจ่ายเช็คเงิน 100,000 บาท แก่นายสองโดยไม่ได้ลงวันที่ส่ ังจ่ายไว้ ต่อ
มานายหนึ่ งตายไป นายสองรีบกรอกวัน เดือน ปี ลงในเช็คแล้วน้าไปขึ้นเงิน ธนาคาร
ไม่ยอมจ่ายเงิน นายสองจึงฟ้ องนายสามทายาทของนายหนึ่ ง ดังนี้ นายสามต่อสู้ว่าเช็ค
ไม่ได้ลงวันที่ส่ังจ่าย จึงไม่ต้องรับผิด ตามกฎหมายแล้วนายสามต่อสู้ไม่ได้ เพราะนาย
สองกระท้าการโดยสุจริต กรอกวันตามที่ถก ู ต้องแท้จริงได้
8. เอ ออกตัว ๋ แลกเงินสั่ง บี ให้จ่ายเงินแก่ ชี น้า ตัว
๋ เงินไปยื่นให้ บี รับรองให้ ชี จึง
สลักหลังโอนให้ ดี ดี สลักหลังโอนให้ อี เมื่อตัว ๋ ถึงก้าหนดใช้เงิน อี น้าตัว ๋ ไปยื่นให้ บี ให้
จ่ายเงิน แต่ บี ปฏิเสธ อี จึงท้า ค้า คัดค้านการไม่ใช้เงิน แล้ว อี สลักหลัง โอนตัว ๋ ให้แก่
เอฟ ดังนี้ เอฟ สามารถเรียกร้องให้ เอ บี ซี ดี รับผิดได้เท่านั้น
62
9. นายชวด ออกตัว
๋ แลกเงินสั่งนายฉลูให้ใช้เงินแก่ นายขาล นายขาล สลักหลัง
โอนแก่ นายเถาะ ให้จัดการแทน นายเถาะ ยื่นตัว ๋ แลกเงินต่อ นายฉลู เพื่อให้รับรองแต่
นายฉลู ไม่ยอมรับรอง ดังนี้ นายขาล มีสิทธิฟ้องนายชวดให้รับผิดได้ เพราะนายขาล
เป็ นตัวการ
10. หนึ่ งออกตัว ๋ สัญญาใช้เงิน 200,000 บาท แก่สอง ก่อนตัว ๋ ถึงก้าหนด สองจึงยืมเงิน
สามและสลักหลังตัว ๋ สัญญาใช้เงินฉบับนี้ จ้าน้าแก่สาม เมื่อถึงก้าหนดสามน้าตัว ๋ สัญญา
ใช้เงินไปยื่นแก่หนึ่ ง แต่หนึ่ งไม่ยอมใช้เงิน ดังนี้ หนึ่ งจะยกข้อต่อสู้ของหนึ่ งที่มีต่อสอง
ขึ้นต่อสู้สามไม่ได้ เพราะสามเป็ นผู้ทรงที่รับจ้าน้า
11. จันทร์ออกตัว ๋ แลกเงินสั่งอังคารให้จ่ายเงินแก่พุธ 100,000 บาท โดยพุธรับรองตัว ๋
นี้ แล้ว อังคารได้สลักหลังโอนให้พฤหัส เมื่อตัว ๋ ถึงก้า หนดใช้เงิน พฤหัสน้า ตัว ๋ ไปยื่นให้
พุธจ่ายเงิน แต่พุธเล่นการพนั น เสีย ไม่มีเ งิน จ่า ยให้ ขอผลั ด ไป 7 วัน พฤหัส จึง ท้า ค้า
คั ด ค้ า นการไม่ ใ ช้ เ งิ น แล้ ว รี บ สลั ก หลั ง โอนตั๋ว ไปให้ ศุ ก ร์ ศุ ก ร์ ส ลั ก หลั ง ต่ อ ไปยั ง เสาร์
เสาร์สลักหลังต่อไปยังอาทิตย์ ดังนี้ อาทิตย์มีสิทธิไล่เบี้ย แก่จันทร์ อังคาร และพุธ ได้
นั้น
12. หนึ่ งออกตัว ๋ แลกเงิน สั่ง สองให้จ่ายเงิน 500,000 บาทแก่สาม สาม สลัก หลัง โอน
แก่ สี่ สี่ สลักหลังโอนแก่ ห้า ห้าให้สองรับรองตัว ๋ แล้วสลักหลังโอนให้แก่ หก หกน้าตัว ๋
ไปยื่นแก่สองแต่สองไม่ยอมใช้เงินให้ หกไม่ท้าค้าคัดค้านจนพ้นก้าหนดแล้วจึงสลักหลัง
โอนให้แก่เ จ็ด เจ็ดสลัก หลัง โอนให้แก่แปด แปดสลัก หลัง โอนให้แก่เ ก้า เก้าสลัก หลัง
โอนแก่สิบ ดังนี้ สิบจะเรียกร้องเงิน 500,000 บาท จากสอง เจ็ด แปดและ เก้า เท่านั้น
13. สามลออกตัว ๋ แลกเงินสั่งมณฑาให้จ่ายเงิน 1 ล้านบาทแก่สังข์ทอง สังข์ทองสลัก
หลัง โอนให้แก่ร จนาโดยข้อความว่า “ราคาอยู่ท่ี เ รียกเก็บ” รจนายื่นตั๋ว ต่อ ให้ ม ณฑา
รับรอง แต่มณฑาโกรธจึงไม่ยอมรับรอง สังข์ทองฟ้ องสามลให้รับผิดได้เพราะสังข์ทอง
เป็ นตัวการ
14. เอกออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้โท จ่ายเงิน 550,000 บาทแก่ตรี ตรียืมเงินจัตวาและสลัก
หลังตัว ๋ จ้าน้าแก่ จัตวา เมื่อตัว ๋ ถึงก้าหนด จัตวาน้าตัว ๋ ไปยื่นแก่โท แต่โทไม่ยอมจ่ายเงิน
โทจะยกข้อต่อสู้ม าต่ อสู้ จัต วา ดั ง นี้ โทยกข้อต่อสู้ของโทที่ มีต่ อตรี ขึ้น ต่อ สู้จั ต วาไม่ไ ด้
เพราะจัตวาเป็ นผู้ทรงที่รับจ้าน้า
15. นายมกราสั่งจ่ายเช็คเงิน 80,000 บาทแก่นายกุมภาโดยลืมลงวันที่ส่ ังจ่าย ต่อมา
อีกสามเดือนนายภุมภาสลักหลังโอนแก่นายมีนา อีก 7 วันนายมกราตาย นายมีนาท
ราบข่าวจึงกรอกวันที่ส่ังจ่ายลงในเช็คและน้าไปขึ้นเงินต่อธนาคาร แต่ธนาคารปฏิเสธ
การจ่ายเงินโดยอ้างว่านายมกราตายแล้ว นายมีนาจึงฟ้ องนายเมษาบุตรของนายมก
ราให้รับผิดใช้เงินตามเช็ค นายเมษาต่อสู้ว่าไม่ต้องรับผิดเนื่ องจากเช็คไม่ลงวันที่ส่ังจ่าย
ข้อต่อสู้ฟังไม่ขึ้น เพราะนายมีนากระท้าการโดยสุจริตกรอกวันตามที่ถูกต้องแท้จริง

หน่วยที่ 10 การรับรอง อาวัลและการใชูเงินตามตัว


๋ แลกเงิน
1. เนื่ องจากผู้จ่ายเป็ นบุคคลที่จะต้องใช้เงินเมื่อตัว
๋ แลกเงินถึงก้า หนดดัง
นั้นเพื่อให้ผู้ทรงมีความมั่น ใจว่าตนจะได้รับเงิน กฎหมายจึงให้ผู้ทรงมีสิทธิ
น้าตัว
๋ แลกเงินไปให้ผู้จ่ายรับรองก่อนถึงก้าหนดใช้เงินได้
63
2.การอาวัลเป็ นการค้้าประกันบุคคลที่เป็ นลูกหนี้ ตามตั๋วแลกเงิ นแต่
กฎหมายได้บัญญัติหลักเกณฑ์เป็ นพิเศษแตกต่างจากสัญญาค้้าประกันหนี้
ทั่วไป
3. ตั๋ว แลกเงิ น เป็ นมู ล หนี้ ท่ี เ จ้ า หนี้ จ ะต้ อ งเป็ นฝ่ ายไปขอให้ ลู ก หนี้ ปฏิ บั ติ
การช้าระหนี้ ซึ่งท้าได้โดยการเอาตัว ๋ แลกเงินไปยื่นในวันที่ตัว ๋ ถึงก้าหนด
10.1 การรับรองตัว ๋ แลกเงิน
1. การรั บ รองตั ๋ ว แลกเงิ น เป็ นการที่ ผู้ ท รงน้า ตั ๋ ว แลกเงิ น ไปให้ ผู้ จ่ า ย
รับรองว่าจะจ่ายเงินให้ผู้ทรง เมื่อตัว ๋ ถึงก้าหนด
2. ผู้ทรงมีสิทธิจะน้าตัว๋ แลกเงินไปให้ผู้จ่ายรับรองหรือไม่ก็ได้
3. การรับรองกระท้าโดยการลงลายมือชื่อที่ด้านหน้าของตัว ๋ แลกเงิน
4. การรั บ รองตั๋ว แลกเงิ น มี 2 ประเภทคื อ รั บ รองตลอดไป และรั บ รอง
เบี่ยงบ่าย
5. ถ้า ผู้ จ่ ายรั บรองตั๋ว แลกเงิ น เพี ย งใด ผู้ จ่ า ยต้ อ งผู ก พั น รั บ ผิ ด ตามที่ ต น
รับรอง
10.1.1 ความหมายของการรับรองตัว ๋ แลกเงิน
การรับรองตัว ๋ แลกเงินคืออะไร
การรั บ รองตั๋ ว แลกเงิ น คื อ การที่ ผู้ ท รงตั๋ ว แลกเงิ น ไปให้ ผู้ จ่ า ยลง
ลายมือชื่อที่ด้านหน้าของตัว
๋ เพื่อรับรองว่าเมื่อตัว ๋ ถึงก้าหนดก็จะใช้เงินให้
10.1.2 หลักเกณฑ์ในการน้าตัว ๋ แลกเงินไปให้รับรอง
แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้เหลือง 10,000 บาท ในวันที่ 1
พฤษภาคม 2536 โดยเขียนข้อก้าหนดไว้ความว่า ห้ามน้าตัว ๋ ไปยื่นให้รับรอง
ก่อนวัน ที่ 15 เมษายน 2536 ต่อมาเหลือ งน้า ตั๋วไปยื่ นให้ด้า รั บรองเมื่ อวั นที่
12 เมษายน 2536 ด้าไม่ยอมรับรอง ดังนี้ เหลืองจะท้า ค้า คัดค้านเพื่อใช้สิทธิ
ไล่เบี้ยได้หรือไม่
เหลืองจะท้าค้าคัดค้านและใช้สิทธิไล่เบี้ยไม่ได้เนื่ องจากแดงผู้ส่ังจ่าย
วางข้ อ ก้า หนดห้ า มน้า ตั๋ ว ไป ยื่ นให้ รั บ รองก่ อ นวั น ที่ 15 เมษายน ดั ง นั้ น
เหลืองจะน้าตัว ๋ ไปยื่นก่อนก้าหนดได้ (มาตรา 927 วรรค 3)
มาตรา 927 อันตัว ๋ แลกเงินนั้นจะน้า ไปยื่นแก่ผู้จ่าย ณ ที่อยู่ของผู้จ่าย เพื่อให้
รับรองเมื่อไร ๆ ก็ได้ จนกว่าจะถึงเวลาก้าหนดใช้เงิน และผู้ทรงจะ เป็ นผู้ย่ ืน หรือเพียง
แต่ผู้ท่ีได้ตวั๋ นั้นไว้ในครอบครองจะเป็ นผู้น้าไปยื่นก็ได้
ในตั๋ ว แลกเงิ น นั้ น ผู้ ส่ั ง จ่ า ยจะลงข้ อ ก้า หนดไว้ ว่ า ให้ น้า ยื่ นเพื่ อรั บ รองโดย
ก้าหนดเวลาจ้ากัดไว้ให้ย่ ืน หรือไม่ก้าหนดเวลาก็ได้
ผู้ส่ังจ่ายจะห้ามการน้า ตัว ๋ แลกเงินยื่น เพื่อรับรองก็ได้ เว้น แต่ในกรณี ท่ีเป็ นตัว ๋
เงินอันได้ออกสั่งให้ใช้เงินเฉพาะ ณ สถานที่อ่ ืนใดอันมิใช่ภูมิล้า เนาของ ผู้จ่าย หรือได้
ออกสั่งให้ใช้เงินในเวลาใดเวลาหนึ่ ง นับแต่ได้เห็น
อนึ่ ง ผู้ ส่ั ง จ่ า ยจะลงข้ อ ก้า หนดไว้ ว่ า ยั ง มิ ใ ห้ น้า ตั๋ว ยื่ นเพื่ อให้ รั บ รองก่ อ น ถึ ง
ก้าหนดวันใดวันหนึ่ งก็ได้
64
ผู้ ส ลั ก หลั ง ทุ ก คนจะลงข้ อ ก้า หนดไว้ ว่ า ให้ น้า ตั๋ ว เงิ น ยื่ นเพื่ อรั บ รองโดย
ก้า หนดเวลาจ้า กัด ไว้ ใ ห้ ย่ ืน หรื อไม่ก้า หนดเวลาก็ ไ ด้ เว้น แต่ ผู้ ส่ั ง จ่ า ยจะได้ ห้ า มการ
รับรอง
10.1.3 วิธร ี ับรองตัว
๋ แลกเงิน
แดงออกตั๋ว แลกเงิน สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท ก้า หนดใช้
เงิน วั น ที่ 10 เมษายน 2536 ต่ อมาวั น ที่ 1 มี น าคม 2536 ขาวเอาตั๋ว ไปให้ ด้า
รับรอง ด้าเขียนลงด้านหลังตัว ๋ เป็ นข้อความว่า รับรองแล้ว และลงลายมือชื่อ
ไว้ ต่อมาวันที่ 10 เมษายน 2536 ขาวเอาตั๋วไปยื่นให้ด้า ใช้เงิน ด้า ไม่ยอมใช้
ดังนี้ ขาวจะฟ้ องด้าให้รับผิดตามตัว ๋ เงินได้หรือไม่
ด้า ลงชื่อเพื่อรับรองตั๋วแต่ท้า ผิดแบบเพราะไปเขียนไว้ด้านหลังย่อม
ไม่มีผลเป็ นการรับรอง และ จะถือว่าเป็ นการสลักหลัง หรืออาวัล หรืออื่นๆ
ก็ไม่ได้ เพราะข้อความเขียนไว้ชัดว่ารับรอง ลายมือชื่อด้าเป็ นอันเสียเปล่าไม่
ก่อความรับผิดใดๆ ดังนั้น ขาวจะฟ้ องด้า ให้รับผิดตามตัว ๋ เงินไม่ได้ (มาตรา
931)
มาตรา 931 การรับรองนั้นพึงกระท้า ด้วยเขียนลงไว้ในด้านหน้า แห่งตัว
๋ แลก
เงินเป็ นถ้อยค้า ส้า นวนว่า "รับรองแล้ ว " หรือความอย่าง อื่นท้า นองเช่น เดีย วกัน นั้ น
และลงลายมือชื่อของผู้จ่าย อนึ่ งแต่เพียง ลายมือชื่อของผู้จ่ายลงไว้ในด้านหน้าแห่งตัว ๋
แลกเงิน ท่านก็จัดว่าเป็ น ค้ารับรองแล้ว

10.1.4 ประเภทของการรับรองตัว ๋ แลกเงิน


แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวน้าตัว ๋ ไป
ยื่ นให้ ด้า รั บ รอง ด้า เขี ย นข้ อ ความด้ า นหน้ า ตั๋ว ว่ า รั บ รอง 4,000 บาท และ
ลงชื่อไว้ เช่นนี้ ขาวจะบอกปั ดไม่ยอมรับการรับรองและใช้สิทธิไล่เบี้ยต่อแดง
ได้เลยหรือไม่
กรณี ด้ารับรองแต่เพียงบางส่วน ซึ่งถือเป็ นการรับรองเบี่ยงบ่ายขาว
ผู้ทรงย่อมบอกปั ดและใช้สิทธิไล่เบี้ยได้ ตามมาตรา 936
มาตรา 936 ค้ารับรองเบี่ยงบ่ายนั้น ผู้ทรงตัว ๋ แลกเงินจะบอกปั ดเสีย ก็ได้ และ
ถ้าไม่ได้ค้ารับรองอันไม่เบี่ยงบ่าย จะถือเอาตัว ๋ เงินนั้นเป็ นอันขาด ความเชื่อถือรับรอง
ก็ได้
ถ้าผู้ทรงรับเอาค้ารับรองเบี่ยงบ่าย และผู้ส่ังจ่ายหรือผู้สลักหลังมิได้ให้ อ้านาจ
แก่ผู้ทรงโดยแสดงออกชัดหรือโดยปริยายให้รับเอาค้ารับรองเบี่ยง บ่ายเช่นนั้นก็ดีหรือ
ไม่ยิน ยอมด้ว ยในภายหลัง ก็ดี ท่านว่าผู้ส่ัง จ่ายหรือ ผู้สลัก หลัง นั้ น ๆย่ อมหลุ ด พ้ น จาก
ความรับผิดตามตัว ๋ เงินนั้น แต่บท บัญญัติท้ังนี้ ท่านมิให้ใช้ไปถึงการรับรองแต่บางส่วน
ซึง
่ ได้บอกกล่าว ก่อนแล้วโดยชอบ
ถ้าผู้ส่ังจ่ายหรือผู้สลักหลังตัว
๋ เงินรับค้าบอกกล่าวการรับรองเบี่ยงบ่าย แล้วไม่
โต้แย้งไปยังผู้ทรงภายในเวลาอันสมควรท่านให้ถือว่าผู้ส่ังจ่ายหรือผู้สลักหลังนั้ นเป็ น
อันได้ยินยอมด้วยกับการนั้นแล้ว
10.1.5 ผลของการรับรองตัว
๋ แลกเงิน
65
แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวน้าตัว ๋
ไปให้ด้ารับรอง ด้ารับรองเพียง 5,000 บาท ต่อมาถึงวันครบก้าหนด ขาวน้า
ตัว
๋ เงินไปยื่นให้ใช้เงิน ด้าไม่ยอมใช้ ดังนี้ ขาวจะให้สิทธิไล่เบี้ยด้าได้เพียงใด
ขาวไล่เบี้ยด้า ได้เพียง 5,000 บาท เพราะด้า ต้องรับผิดตามเนื้ อความที่
ตนรับรอง (มาตรา 937)
มาตรา 937 ผู้จ่ายได้ท้า การรับ รองตั๋ว แลกเงิน แล้ ว ย่ อมต้อ งผู ก พัน ในอั น จะ
จ่ายเงินจ้านวนที่รับรองตามเนื้ อความแห่งค้ารับรองของตน
10.2 การอาวัลตัว
๋ แลกเงิน
1. การอาวัลเป็ นการค้้าลูกหนี้ คนใดคนหนึ่ งตามตัว
๋ แลกเงิน
2. การอาวัลท้าได้โดยเขียนข้อความอาวัลและลงชื่อไว้ด้านหน้าของตัว
แลกเงิน
3. การอาวัลท้าให้ผู้รับอาวัลต้องรับผิดเช่นเดียวกับบุคคลที่ตนรับอาวัล
10.2.1 ความหมายของการอาวัล
แดงออกตั๋ว แลกเงิ น สั่ ง ด้า ให้ จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท เขี ย วและ
ชมพูเข้ารับอาวัลแดง ต่อมาเมื่อตัว ๋ ถึงก้า หนด ด้า ไม่ยอมใช้เงิน ขาวไล่เบี้ย
เอาจากชมพูแล้ว ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ย เขียวให้รับผิด
5,000 บาท ได้หรือไม่
ชมพูไล่เบี้ยเขียวไม่ได้ เพราะกรณี น้ี ไม่น้า หลักเรื่องผู้ค้ าประกันร่วม
ตามมาตรา 682 มาใช้ ต้ อ งบั ง คั บ ตามเรื่ องอาวั ล เนื่ องจากเขี ย วไม่ ใ ช่ ค นที่
ผูกพันรับผิดอยู่ก่อนแดง ชมพูจึงไล่เบี้ยไม่ได้
10.2.2 วิธีอาวัล
แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ผู้ถือ 10,000 บาท แล้ว มอบตัว ๋
ให้ขาว ขาวสลักหลังลอยโอนตัว ๋ ให้เขียวดังนี้ ขาวจะต้องรับผิดในฐานะใด
การสลั ก หลั ง ตั๋ว แลกเงิ น ที่ อ อกแก่ ผู้ ถื อ มี ผ ลเป็ นการอาวั ล ผู้ ส่ั ง จ่ า ย
ขาวจึงต้องรับผิดฐานะผู้รับอาวัลแดง (มาตรา 921)
มาตรา 921 การสลักหลังตัว
๋ แลกเงินซึ่งสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือนั้นย่อมเป็ นเพียง
ประกัน (อาวัล) ส้าหรับผู้ส่ังจ่าย
10.2.3 ผลของการอาวัล
แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลัง
ให้เขียว ชมพูอาวัลเขียว เขียวสลักหลังให้เหลือง เหลืองสลักหลังให้ม่วง และ
ด้าได้รับรองตัว๋ นี้ ต่อมาม่วงน้าตัว๋ ไปยื่นในวันครบก้า หนด ด้า ไม่ยอมใช้เงิน
ม่วงจึงใช้สิทธิไล่เบี้ยชมพู ชมพูยอมจ่ายทั้งหมด ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ยใคร ได้
บ้าง
ชมพูไล่เบี้ยเขียวได้เพราะตนรับอาวัลเขียว และไล่เบี้ยด้า แดง และ
ขาว ได้เพราะเป็ นบุคคลที่ผูกพันรับผิดแทนเขียว (มาตรา 940)
66
มาตรา 940 ผู้รับ อาวัลย่อมต้องผูก พัน เป็ นอย่ างเดี ยวกัน กับ บุค คล ซึ่ง ตน
ประกันแม้ถึงว่าความรับผิดใช้เงินอันผู้รบ ั อาวัลได้ประกันอยู่น้ัน จะตกเป็ น ใช้ไม่ได้ด้วย
เหตุใด ๆ นอกจากเพราะท้า ผิดแบบระเบียบ ท่านว่าข้อ ที่ สัญญารับ อาวัลนั้ น ก็ยังคง
สมบูรณ์
เมื่อผู้รับอาวัลได้ใช้เงินไปตามตัว
๋ แลกเงินแล้ว ย่อมได้สิทธิในอัน จะไล่เบี้ยเอา
แก่บุคคลซึ่งตนได้ประกันไว้ กับทั้งบุคคลทั้งหลายผู้รับ ผิดแทนตัวผู้น้ัน
10.3 การใชูเงินตามตัว
๋ แลกเงิน
1. ผู้ทรงจะต้องน้าตัว
๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงินเมื่อตัว
๋ ถึงก้าหนด
2. ผู้ทรงต้องน้าตัว
๋ แลกเงินไปยื่นต่อผู้จ่ายหรือรับรองเพื่อให้เขาใช้เงิน
3. การยื่นตั๋วแลกเงินตามก้า หนดย่อมท้า ให้ผู้ทรงได้รับการใช้เ งิน หรื อ
ถ้าผู้จ่าย หรือผู้รับรองไม่ยอมใช้เงิน ผู้ทรงก็สามารถไล่เบี้ยเอาจากคู่สัญญา
คนอื่นๆได้
4. ถ้ า ผู้ ท รงไม่ น้า ตั ๋ว แลกเงิ น ไปยื่ นตามก้า หนด ผู้ ท รงย่ อ มเสี ย สิ ท ธิ ท่ ี ไ ล่
เบี้ยคู่สัญญาคนอื่นๆ เว้นแต่ผู้รับรอง
10.3.1 ก้าหนดเวลาน้าตัว ๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงิน
แดงออกตัว ๋ แลกเงินลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2536 สั่งให้ด้าจ่ายเงินให้
ขาว 10,000 บาท ดังนี้ ขาวจะต้องน้าตัว๋ ไปยื่นให้ด้าใช้เงินอย่างช้าเมื่อใด
ขาวต้องน้าตัว๋ ไปยื่นภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่ลงในตัว ๋ จึงต้องยื่นตัว

ภายในวันที่ 1 พฤษภาคม 2536 (ตามมาตรา 944)
มาตรา 944 อันตัว ๋ แลกเงินซึ่งให้ใช้เงินเมื่อได้เห็นนั้น ท่านว่าย่อม จะพึงใช้เงิน
ในวันเมื่อยื่นตัว
๋ ทั้งนี้ ต้องยื่นให้ใช้เงินภายในก้า หนดเวลา ซึ่งบัง คับไว้ เพื่อการยื่นให้
รับรองตัว๋ เงินชนิ ดให้ใช้เงินในเวลาใดเวลาหนึ่ ง ภายหลังได้เห็นนั้น

10.3.2 วิธก ี ารน้าตัว


๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงิน
แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลัง
โอนตั๋ว ให้ เ หลื องต่ อมาด้า รั บรองตั๋ว เมื่ อถึ ง ก้า หนดใช้ เ งิ น เหลื อ งยอมผ่ อ น
เวลาให้ด้า 1 เดือน ดังนี้ เมื่อครบก้าหนดเหลืองจะ
ฟ้ องร้องให้ผู้ใดรับผิดได้บ้าง
เหลืองยอมผ่อนเวลาให้ผู้จ่ายโดยคู่สัญญาอื่นไม่ยินยอม คู่สัญญาอื่น
จึงหลุดพ้นความรับผิด เหลืองฟ้ องให้ด้ารับผิดได้คนเดียว (ตามมาตรา 948)
มาตรา 948 ถ้าผู้ทรงตัว ๋ แลกเงินยอมผ่อนเวลาให้แก่ผู้จ่ายไซร้ท่านว่า ผู้ทรง
สิ้นสิทธิท่ีจะไล่เบี้ยเอาแก่ผู้เป็ นคู่สัญญาคนก่อน ๆ ซึ่งมิได้ตกลงใน การผ่อนเวลานั้น

10.3.3 ผลของการน้าตัว ๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงิน


แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินแก่ผู้ถือ 10,000 บาท แล้วมอบตัว

ให้ขาว ขาวท้าตัว
๋ ตกหาย เหลืองเก็บได้ ครั้นถึงวันก้าหนดใช้เงิน เหลืองเอา
67
ตั๋ว ไปยื่ นให้ ด้า ใช้ เ งิ น ด้า ใช้ เ งิ น ไปโดยสุ จ ริ ต ดั ง นี้ ภายหลั ง ขาวจะฟ้ อง
เรียกตัว๋ คืนและบังคับให้ด้าใช้เงินซ้้าได้หรือไม่
ด้าไม่ต้องใช้เงินซ้้า เพราะด้าใช้เงินไปโดยสุจริตในวันที่ตัว ๋ ถึงก้าหนด
จึงหลุดพ้นจากความรับผิด ตามมาตรา 949
มาตรา 949 ภายในบั ง คั บ แห่ ง บทบั ญ ญั ติ มาตรา 1009 บุ ค คล ผู้ ใ ช้ เ งิ น ใน
เวลาถึงก้าหนดย่อมเป็ นอันหลุดพ้นจากความรับผิด เว้นแต่ตนจะได้ท้าการฉ้อฉลหรือมี
ความประมาทเลินเล่ออย่าง ร้ายแรง
อนึ่ ง บุคคลซึ่งกล่าวนี้ จ้า ต้องพิสูจน์ใ ห้เ ห็น จริงว่าได้มีการ สลักหลัง ติดต่อกัน
เรียบร้อยไม่ขาดสาย แต่ไม่จ้าต้องพิสูจน์ลายมือ ชื่อของเหล่าผู้สลักหลัง
10.3.4 ผลของการไม่น้าตัว ๋ แลกเงินไปยื่นให้ใช้เงิน
แดงออกตั๋วแลกเงิน สั่ งให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท ด้า ยอมรั บ
รองตั๋วเงินนี้ และขาวสลักหลังโอนให้เขียว ครั้นถึงวันครบก้า หนดเขียวไม่
น้าตัว๋ ไปยื่นต่อด้า ดังนี้ ใครจะหลุดพ้นจากความรับผิดตามตัว ๋ ได้บ้าง
บรรดาผู้ส่ังจ่ายและผู้สลักหลังคือ แดง และขาวหลุดพ้น แต่ด้าซึ่งเป็ น
ผู้รับรองไม่หลุดพ้น มาตรา 973
มาตรา 973 เมื่อก้าหนดเวลาจ้ากัดซึ่งจะกล่าวต่อไปนี้ ได้ล่วงพ้นไป แล้วคือ
(1) ก้า หนดเวลาส้า หรับยื่นตัว
๋ แลกเงินชนิ ดให้ใ ช้เงินเมื่อได้เห็น หรือ ในระยะ
เวลาอย่างใดอย่างหนึ่ งภายหลังได้เห็น
(2) ก้าหนดเวลาส้าหรับท้าค้าคัดค้านการไม่รบ
ั รองหรือการไม่ใช้เงิน
(3) ก้า หนดเวลาส้า หรับยื่นตั๋วเพื่อให้ใ ช้เงิน ในกรณี ท่ี มีข้อก้า หนดว่า "ไม่จ้า
ต้องมีค้าคัดค้าน" ท่านว่าผู้ทรงย่อมสิ้นสิทธิท่ีจะไล่เบี้ยเอาแก่เหล่าผู้สลักหลัง ผู้ส่ังจ่าย
และคู่สัญญาอื่น ๆ ผ้ต ู ้องรับผิด เว้นแต่ผู้รับรอง
อนึ่ ง ถ้ า ไม่ ย่ ื นตั๋ว แลกเงิน เพื่ อให้ เ ขารั บ รองภายในเวลาจ้า กั ด ดั่ ง ผู้ ส่ั ง จ่ า ยได้
ก้าหนดไว้ ท่านว่าผู้ทรงย่อมเสียสิทธิท่ีจะไล่เบี้ยทั้งเพื่อการที่เขา ไม่ใช้เงิน และเพื่อการ
ที่ เ ขาไม่ รั บ รอง เว้ น แต่ จ ะปรากฏจากข้ อ ก้า หนดว่ า ผู้ สั่ ง จ่ า ยหมายเพี ย งแต่ จ ะปลด
ตนเองให้พ้นจากประกันการรับรอง
ถ้าข้อก้าหนดจ้ากัดเวลายื่นตัว ๋ แลกเงินนั้นมีอยู่ท่ีค้าสลักหลังท่านว่า เฉพาะแต่ผู้
ส ลั ก ห ลั ง เ ท่ า นั้ น จ ะ อ า จ เ อ า ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ข้ อ ก้า ห น ด นั้ น ไ ด้

แบบทดสอบหน่วยที่ 10
1. แดงออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท การกระท้า ต่ อ ไปนี้ ท่ี
ถือว่าเป็ นการรับรองคือ ด้าลงลายมือชื่อที่ด้านหน้าของตัว ๋ แลกเงิน
2. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ภายใน 3 เดือนนับแต่ได้
เห็น ดังนี้ ขาวจะต้องด้าเนิ นการ ขาวจะต้องน้าตัว ๋ ไปให้ด้ารับรอง
3. แดงออกตั ๋ ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท ขาวน้า ตั ๋ ว ไปให้ ด้า
รับรอง ด้ารับรองเพียง 5,000 บาท ดังนี้ ด้าต้องรับผิดตามตัว ๋ แลกเงินเพียง 5,000 บาท
4. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินแก่ผู้ถือแล้วมอบตัว ๋ ให้ขาว ขาวสลักหลังโอน
ให้เขียว เขียวลงชื่อที่ด้านหน้าแล้วส่งมอบให้เหลือง ดังนี้ ผู้รับ อาวัลแดงคือ ขาวและ
เขียว
68
5. แดงออกตัว
๋ แลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังโอนให้
เขียว ชมพูรบ ั อาวัลเขียว เขียวสลัดหลังตัว ๋ โอนให้เหลือง เหลืองสลักหลังให้ม่วง ครั้นตัว ๋
ถึงก้าหนด ด้าไม่ยอมใช้เงินชมพูจึงช้าระเงินให้ม่วงไป 10,000 บาท ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ย
จากแดงได้
6. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ภายใน 3 เดือนนับแต่ได้
เห็ น ดั ง นี้ ถ้ า ขาวน้า ตั๋ว ไปให้ ด้า รั บ รอง และด้า ลงชื่ อรั บ รองและลงวั น ที่ 30 เมษายน
2535 ดังนี้ ขาวจะต้องน้าตัว ๋ ไปยื่นให้ใช้เงิน ภายใน 31 กรกฎาคม 2535
7. กรณี ต่อไปนี้ ถือว่า ผู้ทรงผ่อนเวลาให้ผู้จ่ายคือ ก่อนวันครบก้า หนด ผู้จ่ายมาขอ
ผลัดการช้าระหนี้ ผู้ทรงยอมให้เวลาอีก 7 วัน นับจากวันที่ตัว ๋ ครบก้าหนด โดยจะยังไม่
เรียกร้องจากผู้จ่ายในระหว่างนี้
8. ถ้าผู้ทรงไม่น้าตัว ๋ ไปยื่นต่อผู้รับรองให้ใช้เงินในวันที่ตัว ๋ ครบก้าหนด ผู้ท่ีจะหลุดพ้น
จากความรับผิดคือ ผู้ส่ังจ่ายและผู้รับอาวัลรับรอง
9. แดงออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น แก่ ข าว 10,000 บาท กรณี ท่ี ถื อ ว่ า เป็ นกา
รอาวัลได้แก่ ชมพูลงลายมือชื่อที่ด้านหน้าของตัว ๋
10. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินแก่ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังโอนตัว ๋ ให้
เขียว ชมพูและม่วงลงลายมือชื่อที่ด้านหน้าของตัว ๋ ต่อมาชมพูใช้เงินให้เขียวไป 10,000
บาท ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ยจากแดงได้ 10,000 บาท
11. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ด้าลงลายมือชื่อของตน
ไว้ท่ีด้านหลังของตัว ๋ ดังนี้ ด้าจะต้องรับผิดในฐานะ ผู้สลักหลัง
12. แดงออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ 10,000 บาท แล้ ว ส่ ง มอบต่ อ ให้
ขาว ในกรณีท่ีถือว่าเป็ นการอาวัลคือ ด้าลงลายมือชื่อที่ด้านหลังของตัว ๋
13. กรณีท่ี แดงออกตัว ๋ สั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาวเมื่อได้เห็น ขาวจะน้าเอาตัว ๋ แลกเงินไป
ให้ด้ารับรองไม่ได้
14. แดงออกตั ๋ ว แรกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท ขาวน้า ตั ๋ ว ไปให้ ด้า
รับ รอง ด้า รับ รองโดยมีเ งื่ อนไขว่า จะใช้ เ งิ น ต่อ เมื่อสิน ค้า ซึ่ง ด้า ซื้ อจากแดงได้ ส่ ง มอบ
เรียบร้อย ขาวก็ยอมรับ ดังนี้ ผู้รับผิดตามตัว ๋ คือ ด้าต้องรับผิดตามตัว ๋ ถ้าเงื่อนไขส้าเร็จ
15. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลังโอนตัว ๋ ให้
เขียว ชมพูรับอาวัลเขียว เขียวสลักหลังโอนตัว ๋ ให้ม่วง เมื่อครบก้าหนดด้าไม่ยอมใช้เงิน
เขียวจึงใช้เงินม่วงไป 10,000 บาท ดังนี้ เขียวสามารถไล่เบี้ยแดงได้ 10,000 บาท
16. แดงออกตั ๋ว แลกเงิ น เมื่ อ 1 มกราคม 2535 สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท
เมื่อครบก้าหนด 1 เดือน นับแต่ได้เห็น ขาวน้าตัว ๋ ไปให้ด้ารับรอง ด้า ยอมรับรองแต่ไม่
ได้ลงวันที่รับรองไว้ ดังนี้ ขาวจะต้องน้าตัว ๋ ไปยื่นให้ใช้เงินได้เมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2535
17. ถ้าผู้ทรงผ่อนเวลาให้ผู้รับรอง บุคคลที่จะหลุดพ้นความรับผิดคือ ผู้ส่ ังจ่ายและผู้
รับอาวัลผู้รับรอง
18. แดงออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น แก่ ข าวในวั น ที่ 10 เมษายน 2535 จ้า นวน
10,000 บาท ด้าได้ลงชื่อรับรองในตัว ๋ ต่อมาขาวมิได้น้าตัว ๋ ไปยื่นให้ด้าใช้เงินตามก้าหนด
ดังนี้ ผลคือ ด้าจะหลุดพ้นความรับผิดต่อเมื่อด้าวางเงิน 10,000 บาท
19. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้แก่ผู้ถือ 10,000 บาท แล้วมอบให้ขาว ขาว
สลักหลังให้เขียว เขียวสลักหลังให้ม่วง ม่วงสลักหลังตัว ๋ ให้เหลือง เมื่อตัว๋ ครบก้าหนดด้า
ยัง ไม่ ยอมใช้เ งิน เหลือ งจึ ง เรีย กเงิ น จากม่ ว ง ม่ ว งยอมช้า ระเงิ น ไป 10,000 บาท ดัง นี้
ม่วงจะไล่เบี้ยเอาจากแดง
69
20. แดงออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท ในวั น ที่ 1 เมษายน
2535 ขาวสลักหลังตัว ๋ ให้เขียว ด้าลงชื่อรับรองในตัว ๋ ครั้งถึงวันที่ 30 มีนาคม 2536 เขียว
ป่ วยเป็ นไส้ติ่งอักเสบต้องเข้าผ่าตัดและพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล 10 วัน พอออก
จากโรงพยาบาลเขียวก็รีบน้าตัว ๋ ไปยื่นให้ด้าใช้เงิน ด้าไม่ยอมใช้เงิน เขียวจึงใช้สิทธิไล่
เบี้ยกับ ด้า แดง และขาว

“อาวัล”
มาตรา 938 ตัว
๋ แลกเงินจะมีผู้ค้ าประกัน รับประกันการใช้เงินทั้งจ้านวน หรือ
แต่บางส่วนก็ได้ ซึ่งท่านเรียกว่า "อาวัล"
อันอาวัลนั้นบุคคลภายนอกคนใดคนหนึ่ งจะเป็ นผู้รับ หรือแม้คู่สัญญา แห่งตัว

เงินนั้นฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งจะเป็ นผู้รับก็ได้
มาตรา 939 อันการรับอาวัลย่อมท้าให้กันด้วยเขียนลงในตัว
๋ แลก เงินนั้นเอง
หรือที่ใบประจ้าต่อ
ในการนี้ พึ ง ใช้ ถ้อ ยค้า ส้า นวนว่า "ใช้ ได้เ ป็ นอาวั ล " หรื อส้า นวนอื่นใด ท้า นอง
เดียวกันนั้น และลงลายมือชื่อผู้รับอาวัล
อนึ่ ง เพียงแต่ลงลายมือชื่อของผู้รับ อาวัลในด้านหน้าแห่ง ตั๋ว เงิน ท่าน ก็จัดว่า
เป็ นค้ารับอาวัลแล้ว เว้นแต่ในกรณีท่ีเป็ นลายมือชื่อของผู้จ่าย หรือผู้ส่ังจ่าย
ในค้ารับอาวัลต้องระบุว่ารับประกันผู้ใด หากมิได้ระบุ ท่านให้ถือ ว่ารับประกัน
ผู้ส่ังจ่าย
มาตรา 940 ผู้ รั บ อาวั ล ย่ อ มต้ อ งผู ก พั น เป็ นอย่ า งเดี ย วกั น กั บ บุ ค คล ซึ่ ง ตน
ประกัน แม้ถึงว่าความรับ ผิดใช้เงิน อัน ผู้รับ อาวัลได้ประกัน อยู่น้ั น จะตกเป็ น ใช้ไม่ได้
ด้วยเหตุใด ๆ นอกจากเพราะท้าผิดแบบระเบียบ ท่านว่าข้อ ที่สัญญารับอาวัลนั้นก็ยัง
คงสมบูรณ์
เมื่อผู้รับอาวัลได้ใช้เงินไปตามตัว ๋ แลกเงินแล้ว ย่อมได้สิทธิในอัน จะไล่เบี้ยเอา
แก่บุคคลซึ่งตนได้ประกันไว้ กับทั้งบุคคลทั้งหลายผู้รับ ผิดแทนตัวผู้น้ัน

หน่วยที่ 11 การสอดเขูาแกูหนูา สิทธิไล่เบี้ย และตัว


๋ แลกเงิน
เป็นส้ารับ
1. เมื่อตัว
๋ แลกเงินขาดความเชื่อถือเพราะผู้จ่ายไม่ยอมรับรอง หรือไม่ยอม
ใช้เงินอาจมีบุคคล ภายนอก สอดเข้ ามารั บรองหรื อใช้เ งิน แทน เพื่อรักษา
หน้าของคู่สัญญาคนหนึ่ งคนใดในตัว ๋ แลกเงิน
2. เมื่อผู้ทรงยื่นตัว
๋ แลกเงินให้ผู้จ่ายรับรองหรือใช้เงินโดยชอบแล้ว แต่ผู้
จ่ายกลับปฏิเสธไม่ยอมรับรองหรือไม่ยอมใช้เงิน ดังนี้ ผู้ทรงย่อมจะเกิดสิทธิ
ไล่เบี้ยให้คู่สัญญาคนอื่นๆ ในตัว๋ แลกเงินรับผิดได้
70
3. ตัว
๋ แลกเงินเป็ นส้า รับเป็ นตั๋วแลกเงินที่มีต้นฉบับตั้งแต่สองฉบั บขึ้ น
ไป โดยมีข้อความเหมือนกันทุกประการ ในกรณี เช่นนี้ ต้นฉบับทุกฉบับจะมี
ผลสมบูรณ์เป็ นตัว
๋ แลกเงิน
11.1 การสอดเขูาแกูหนูา
1. การสอดเข้าแก้หน้า เป็ นวิธีการแก้ไขการขาดความเชื่อถือของตัว
๋ แลก
เงินโดยให้บุคคลใดๆบุคคลหนึ่ งเข้ามารับรองหรือใช้เงินแทน
2. การรับรองเพื่อแก้หน้า เป็ นการสอดเข้าแก้หน้าอย่างหนึ่ ง ซึ่งใช้เมื่อตัว

ขาดความเชื่อถือก่อนถึงก้าหนดใช้เงิน
3. การใช้เงินเพื่อแก้หน้า เป็ นการสอดเข้าแก้หน้าอีกอย่างหนึ่ ง ซึ่งใช้เมื่อ
ตัว
๋ ขาดความเชื่อถือก่อนถึงหรือเมื่อถึงก้าหนดใช้เงิน
11.1.1 ความหมายของการสอดเข้าแก้หน้า
คู่สัญญาในตัว๋ แลกเงินซึ่งมีฐานะเป็ นลูกหนี้ คนใดบ้าง ที่ไม่อาจสอด
เขูาแกูหนูาได้
ผู้รับรอง ตามมาตรา 950 วรรคสาม
มาตรา 950 ผู้ส่ังจ่ายหรือผู้สลักหลังจะระบุบุคคลผู้หนึ่ งผู้ใดก็ไว้ ก็ได้เป็ นผู้จะ
รับรอง หรือใช้เงินยามประสงค์ ณ สถานที่ใช้เงิน
ภายในเงื่อนบังคับดั่งจะกล่าวต่อไปข้างหน้า บุคคลผู้หนึ่ งผู้ใดจะรับ รองหรือใช้
เงินตามตัว๋ แลกเงิน ในฐานเป็ นผู้สอดเข้าแก้หน้าบุคคลใด ผู้ลงลายมือชื่อในตัว ๋ นั้นก็ได้
ผู้สอดเข้าแก้หน้านั้นจะเป็ นบุคคลภายนอกก็ได้ แม้จะเป็ นผู้จ่าย หรือบุคคลซึ่ง
ต้องรับผิดโดยตัว๋ เงินนั้นอยู่แล้วก็ได้ ห้ามแต่ผู้รบ
ั รอง เท่านั้น
ผู้สอดเข้าแก้หน้าจ้า ต้องให้ค้า บอกกล่าวโดยไม่ชักช้า เพื่อให้ คู่สัญญาฝ่ ายซึ่ง
ตนเข้าแก้หน้านั้นทราบการที่ตนเข้าแก้หน้า
11.1.2 การรับรองเพื่อแก้หน้า
แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวสลักหลัง
ตัว๋ ให้เขียว โดยที่ชมพูอาวัลขาว เขียวสลักหลังตัวให้ม่วง โดยมีแสดรับอาวัล
เขียว ต่อมาด้าบอกปั ดไม่ยอมรับรอง เหลืองจึงสอดเข้าแก้หน้าให้ขาว และ
ฟ้ าสอดเข้าแก้หน้าให้เขียว ดังนี้ เหลืองจะต้องมีความรับผิดอย่างไรบ้าง
เหลืองต้องรับผิดต่อม่วง เขียว แสด และฟ้ า ตามมาตรา 953
มาตรา 953 ผู้รับรองด้วยสอดเข้าแก้หน้าย่อมต้องรับ ผิดต่อผู้ทรง ตัว
๋ เงินนั้ น
และรับผิดต่อผู้สลักหลังทั้งหลายภายหลังคู่สัญญาฝ่ ายซึ่ง ตนเข้าแก้หน้าอย่างเดียวกัน
กับที่คู่สัญญาฝ่ ายนั้นต้องรับผิดอยู่เอง
11.1.3 การใช้เงินเพื่อแก้หน้า
แดงออกตั๋วแลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวโอนตัว ๋
ให้เขียว เขียวโอนตัว
๋ ให้ม่วง ม่วงโอนตัว
๋ ให้แสด เมื่อครบก้าหนดด้าไม่ยอมใช้
เงิน เหลืองจึงเข้ามาใช้เงิน แก่แสดแทนเขียว ดังนี้ เหลืองจะมีสอทธิไล่เบี้ย
ใครบ้าง
71
เหลืองมีสิทธิไล่เบี้ยเขียว ขาว และ แดง ตามมาตรา 958
มาตรา 958 บุคคลผู้ใช้เงินเพื่อแก้หน้าย่อมรับช่วงสิทธิท้ังปวงของ ผู้ทรงอันมี
ต่ อ คู่ สั ญ ญาฝ่ ายซึ่ ง ตนได้ ใ ช้ เ งิ น แทนไป และต่ อ คู่ สั ญ ญาทั้ ง หลายผู้ ต้ อ งรั บ ผิ ด ต่ อ คู่
สัญญาฝ่ ายนั้น แต่หาอาจจะสลักหลังตัว ๋ แลกเงินนั้นอีกต่อไปได้ไม่
อนึ่ ง บรรดาผู้ ซึ่ ง สลั ก หลั ง ภายหลั ง คู่ สั ญ ญาฝ่ ายซึ่ ง เขาได้ ใ ช้ เ งิ น แทน ไปนั้ น
ย่อมหลุดพ้นจากความรับผิด
ในกรณีแข่งกันเข้าใช้เงินเพื่อแก้หน้า ท่านว่าการใช้เงินรายใดจะ ให้ผลปลดหนี้
มากรายที่สุด พึงนิ ยมเอารายนั้นเป็ นดียิ่ง
ถ้าไม่ด้าเนิ นตามวิธีด่ังกล่าวนี้ ท่านว่าผู้ใช้เงินทั้งที่รู้เช่นนั้นย่อม เสียสิทธิในอัน
ที่จะไล่เบี้ยเอาแก่บุคคลทั้งหลาย ซึง ่ พอที่จะได้หลุดพ้น จากความรับผิด
11.2 สิทธิไล่เบี้ย
1. สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย เป็ นสิ ท ธิ ท่ี ผู้ ท รงใช้ เ รี ย กร้ อ งให้ คู่ สั ญ ญาทั้ ง หลายตามตั๋ว
แลกเงินใช้เงินเมื่อตัว ๋ แลกเงินขาดความเชื่อถือ
2. ก่อนที่ผู้ทรงจะใช้สิทธิไล่เบี้ยได้ ผู้ทรงจะต้องท้าค้าคัดค้าน เพื่อให้การ
ขาดความเชื่อถือของตัว ๋ แลกเงินเป็ นที่เปิ ดเผย
3. การท้า ค้า บอกเล่าเป็ นการที่ผู้ทรงแจ้งให้ผู้สลักหลัง ซึ่ง เขารั บโอนตั๋ว
มาทราบว่า ตั๋ว ขาดความเชื่อถื อ แล้ ว เพื่ อว่ า ผู้ ส ลั ก หลั ง นั้ น จะได้ เ ตรีย มตั ว
หาเงินไว้ชดใช้
4. ผู้ทรงมีสิทธิไล่เบี้ยเอาจากคู่สัญญาตามตัว
๋ แลกเงินทุกคนอย่างเป็ นลูก
หนี้ ร่วมกัน
11.2.1 ความหมายของสิทธิไล่เบี้ย
แดงออกตั๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าว 10,000 บาท ในวั น ที่ 1
มีนาคม 2536 ขาวโอนตัว ๋ ให้ม่วง ต่อมาแดงถูกเขียวฟ้ องให้ช้าระหนี้ แดงแพ้
คดีและถูก ศาลออกหมายบัง คับ คดี ยึ ด ทรั พ ย์ เ มื่ อวั น ที่ 1 ธันวาคม 2535 แต่
ปรากฏว่าแดงไม่มีทรัพย์สินจะให้ยึดทรัพย์ได้ ดังนี้ ม่วงจะใช้สิทธิไล่เบี้ยต่อ
ขาวทันทีโดยไม่รอให้ตัว ๋ ถึงก้าหนดได้หรือไม่
ม่ ว งจะใช้ สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ยยั ง ไม่ไดู เพราะไม่ใช่กรณีตามมาตรา 959 ข.
และยังไม่ปรากฏว่ามีเหตุอะไรที่ด้าจะไม่ยอมใช้เงินเมื่อถึงก้าหนด
มาตรา 959 ผู้ทรงตัว ๋ แลกเงินจะใช้สิทธิไล่เ บี้ ยเอาแก่บ รรดาผู้สลัก หลัง ผู้ส่ัง
จ่าย และบุคคลอื่น ๆ ซึ่งต้องรับผิดตามตัว
๋ เงินนั้นก็ได้คือ
(ก) ไล่เบี้ยได้เมื่อตัว
๋ เงินถึงก้าหนดในกรณีไม่ใช้เงิน
(ข) ไล่เบี้ยได้แม้ท้ังตัว
๋ เงินยังไม่ถง
ึ ก้าหนดในกรณีด่ังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) ถ้าเขาบอกปั ดไม่รบ
ั รองตัว
๋ เงิน
(2) ถ้าผู้จ่ายหากจะได้รับ รองหรื อไม่ก็ต าม ตกเป็ นคนล้ม ละลาย หรือ ได้ ง ด
เว้นการใช้หนี้ แม้การงดเว้นใช้หนี้ น้ันจะมิได้มีค้าพิพากษา เป็ นหลักฐานก็ตาม หรือถ้า
ผู้จ่ายถูกยึดทรัพย์และการยึดทรัพย์น้ันไร้ผล
72
11.2.2 การท้าค้าคัดค้าน
แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงิน 10,000 บาท แก่ขาว ขาวโอนตัว ๋
ให้ เ ขี ย ว พอตั๋ว ครบก้า หนดเขี ย วน้า ตั๋ว ไปยื่ นต่ อ ด้า ให้ ใ ช้ เ งิ น ด้า ปฏิ เ สธไม่
ยอมใช้เงิน เขียวมิได้ร้องขอท้าค้าคัดค้านจนเวลาล่วงเลยไปแล้ว 5 วัน ดังนี้
เขียวจะใช้สิทธิไล่เบี้ยจากใครได้บ้าง
เขียวไม่ท้าค้าคัดค้านภายในก้า หนดเวลา 3 วันนับจากวันยื่นตัว ๋ ย่อม
สิ้ น สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย แดงซึ่ ง เป็ นผู้ ส่ั ง จ่ า ย และขาวซึ่ ง เป็ นผู้ ส ลั ก หลั ง ส่ ว นด้า นั้ น
มิ ไ ด้ ล งชื่ อรั บ รองจึ ง ไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด เขี ย วไม่ อ าจใช้ สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย ใครได้ เ ลย
มาตรา 973
มาตรา 973 เมื่อก้าหนดเวลาจ้ากัดซึ่งจะกล่าวต่อไปนี้ ได้ล่วงพ้นไป แล้วคือ
(1) ก้าหนดเวลาส้าหรับยื่นตัว๋ แลกเงินชนิ ดให้ใช้เงินเมื่อได้เห็น หรือ ในระยะ
เวลาอย่างใดอย่างหนึ่ งภายหลังได้เห็น
(2) ก้าหนดเวลาส้าหรับท้าค้าคัดค้านการไม่รบ
ั รองหรือการไม่ใช้เงิน
(3) ก้า หนดเวลาส้า หรับ ยื่นตั๋ว เพื่อให้ใ ช้เงิน ในกรณี ท่ี มีข้ อก้า หนดว่า "ไม่จ้า
ต้องมีค้าคัดค้าน" ท่านว่าผู้ทรงย่อมสิ้นสิทธิท่ีจะไล่เบี้ยเอาแก่เหล่าผู้สลักหลัง ผู้ส่ังจ่าย
และคู่สัญญาอื่น ๆ ผ้ต ู ้องรับผิด เว้นแต่ผู้รับรอง
อนึ่ ง ถ้ า ไม่ ย่ ื นตั๋ว แลกเงิน เพื่ อให้ เ ขารั บ รองภายในเวลาจ้า กั ด ดั่ ง ผู้ ส่ั ง จ่ า ยได้
ก้าหนดไว้ ท่านว่าผู้ทรงย่อมเสียสิทธิท่ีจะไล่เบี้ยทั้งเพื่อการที่เขา ไม่ใช้เงิน และเพื่อการ
ที่ เ ขาไม่ รั บ รอง เว้ น แต่ จ ะปรากฏจากข้ อ ก้า หนดว่ า ผู้ สั่ ง จ่ า ยหมายเพี ย งแต่ จ ะปลด
ตนเองให้พ้นจากประกันการรับรอง
ถ้าข้อก้าหนดจ้ากัดเวลายื่นตัว ๋ แลกเงินนั้นมีอยู่ท่ีค้าสลักหลังท่านว่า เฉพาะแต่ผู้
สลักหลังเท่านั้นจะอาจเอาประโยชน์ในข้อก้าหนดนั้นได้
11.2.3 การท้าค้าบอกกล่าว
แดงออกตั๋วแลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ขาวโอนตัว ๋
เงินให้เขียว เขียวโอนให้ม่วง ม่วงโอนให้ฟ้า ถึงก้า หนดด้า ไม่ใช้เงิน ม่วงจึง
ท้าค้าคัดค้านแต่ไม่ได้ส่งค้าบอกกล่าวการที่ด้าไม่ใช้เงินให้ม่วง ดังนั้นฟ้ าจะ
ใช้สิทธิไล่เบี้ยต่อม่วงได้หรือไม่
ฟ้ ามี สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย ม่ ว งได้ เพราะการไม่ ท้า ค้า บอกกล่ า วไม่ ท้า ให้ เ สี ย
สิทธิไล่เบี้ย มาตรา 963 วรรคท้าย
มาตรา 963 ผู้ทรงต้องให้ค้าบอกกล่าวการที่เข้าไม่รับรองตัว ๋ แลกเงิน หรือไม่
ใช้เงินนั้ นไปยังผู้สลักหลังถัดตนขึ้นไปกับทั้งผู้ส่ังจ่ายด้วยภายในเวลา สี่วันต่อจากวัน
คัดค้าน หรือต่อจากวันยื่นตัว ๋ ในกรณีท่ีมีข้อก้าหนดว่า "ไม่ จ้าต้องมีค้าคัดค้าน"
ผู้สลัก หลังทุก ๆ คนต้องให้ค้า บอกกล่าวไปยัง ผู้สลัก หลัง ถัดตนขึ้น ไป ภายใน
สองวัน ให้ทราบค้าบอกกล่าวอันตนได้รับ จดแจ้งให้ทราบชื่อและส้านักของผู้ท่ีได้ให้ค้า
บอกกล่ า วมาก่ อ น ๆ นั้ น ด้ ว ย ท้า เช่ น นี้ ติ ด ต่ อ กัน ไปโดยล้า ดั บ จนกระทั่ ง ถึ ง ผู้ ส่ั ง จ่ า ย
อนึ่ งจ้ากัดเวลาซึ่งกล่าวมานั้น ท่าน นับแต่เมื่อคนหนึ่ ง ๆ ได้รับค้าบอกกล่าวแต่คนก่อน
ถ้าผู้สลักหลังคนหนึ่ งคนใดมิได้ระบุส้านักของตนไว้ก็ดี หรือได้ระบุแต่อ่านไม่ได้
ความก็ดี ท่านว่าสุดแต่ค้าบอกกล่าวได้ส่งไปยังผู้สลักหลัง คนก่อนก็เป็ นอันพอแล้ว
73
บุคคลผู้จะต้องให้ค้าบอกกล่าว จะท้าค้าบอกกล่าวเป็ นรูปอย่างใด ก็ได้ท้ังสิ้น
แม้เพียงแต่ด้วยส่งตัว๋ แลกเงินคืนก็ใช้ได้ อนึ่ งต้องพิสูจน์ได้ว่า ได้ส่งค้าบอกกล่าวภายใน
เวลาก้าหนด
ถ้าส่งค้า บอกกล่าวเป็ นหนั งสือจดทะเบียนไปรษณี ย์ หากว่าหนั ง สือ นั้ น ได้ส่ง
ไปรษณีย์ภายในเวลาก้าหนดดั่งกล่าวมานั้นไซร้ ท่านให้ถือว่า ค้าบอกกล่าวเป็ นอันได้
ส่งภายในจ้ากัดเวลาบังคับแล้ว
บุคคลซึ่งมิได้ให้ค้าบอกกล่าวภายในจ้ากัดเวลาดั่งได้ว่ามานั้นหาเสียสิทธิไล่เบี้ย
ไม่ แต่จะต้องรับผิดเพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิดแต่ความประมาทเลินเล่อของ
ตน แต่ท่านมิให้คิดค่าสินไหมทดแทนเกินกว่าจ้านวนในตัว ๋ แลกเงิน
11.2.4 การใช้สิทธิไล่เบี้ยของผู้ทรง
แดงออกตั๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น แก่ ข าว 12,000 บาท ในวั น ที่ 1
กุมภาพัน ธ์ 2536 ขาวโอนตั๋วเงินให้เ ขีย ว เมื่ อครบก้า หนดด้า ไม่ย อมใช้ เงิ น
เขี ยวจึง ท้า ค้า คัดค้ าน เสีย ค่ าใช้ จ่ า ยในการท้า ค้า คั ดค้ า นและค่ า ใช้ จ่ า ยอื่ น
รวม 100 บาท เขียวใช้สิทธิไล่เบี้ยต่อขาวในวันที่ 1 มีนาคม 2536 ดังนี้ เขียว
จะไล่เบี้ยได้จ้านวนเท่าใด ถ้าขาวจะจ่ายเงินในวันเดียวกันนั้น
เขียวซึ่งเป็ นผู้ทรงมีสิทธิไล่เบี้ยในจ้านวนเงินดังต่อไปนี้
1. จ้านวนเงินตามตัว ๋ โดยไม่คิดดอกเบี้ย 12,000
บาท
2. ดอกเบี้ย 5% ตั้งแต่วันถึงก้าหนดจนถึงวันที่ขาวใช้เงินรวม 1 เดือน
50 บาท
3. ค่าใช้จ่ายในการท้าค้าคัดค้าน และค่าใช้จ่ายอื่น
100 บาท
4. ค่าชักส่วนลดร้อยละ 1/6 ของ 12,000 บาท 20
บาท
รวม 12,170 บาท
11.3 ตัว
๋ แลกเงินเป็ นส้ารับ
1. ตั๋วแลกเงินเป็ นส้า รับ เป็ นตั๋วแลกเงินที่ มีต้นฉบับ ข้อ ความเหมื อ นกั น
ตั้งแต่สองฉบับขึ้นไป
2. ในการออกตัว ๋ แลกเงินเป็ นส้ารับ ผู้ส่ังจ่ายจะต้องลงหมายเลขล้าดับไว้
ในตัว๋ แลกเงินแต่ละฉบับ
3. เนื่ องจากตั ๋ว แลกเงิ น เป็ นส้า รั บ มี คู่ ฉี ก หลายฉบั บ แต่ ป ระสงค์ จ ะให้ มี
การใช้เงินเพียงฉบับเดียว ดังนั้นการสลักหลัง การรับรองหรือการใช้เงินจะ
ต้องท้าด้วยความระมัดระวังตามที่กฎหมายบัญญัติ
11.3.1 ความหมายของตัว ๋ แลกเงินเป็ นส้ารับ
เหตุใดจึงต้องมีการออกตัว ๋ และเงินเป็ นส้ารับ
เพราะในสมั ย ก่ อ นการไปรษณี ย์ ยั ง ไม่ ส ะดวกและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
เหมือนปั จจุบัน การส่งตัว
๋ แลกเงินไปใช้หนี้ ต่างเมืองทางไปรษณีย์ถ้าส่งไปใบ
74
เดียวอาจสูญหาย จึงต้องท้าเป็ นส้ารับหลายๆ ใบ แล้วทยอยส่งไปที่ละใบ
เพื่อให้แน่ ใจว่าเจ้าหนี้ จะได้รับตัว
๋ แลกเงินนั้นอย่างน้อยก็ฉบับหนึ่ ง
11.3.2 การออกตัว ๋ แลกเงินเป็ นส้ารับ
แดงออกตั๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น 20,000 บาท ให้ ข าวหรื อ ผู้ ถื อ
ขาวโอนให้เขียว ดังนี้ เขียวจะเรียกร้องให้แดงออกตัว ๋ เป็ นส้ารับให้ได้หรือไม่
ตัว
๋ แลกเงินแบบนี้ มีผลเป็ นตัว ๋ ที่ออกให้ผู้ถือ จึงท้า เป็ นส้า รับไม่ได้ ดัง
นั้น เขียวไม่มีสิทธิเรียกร้องให้แดงท้าตัว ๋ นี้ เป็ นส้ารับ มาตรา 975 วรรคแรก
มาตรา 975 อัน ตัว ๋ แลกเงินนั้ น นอกจากชนิ ด ที่ส่ังจ่ายแก่ผู้ถือแล้ว จะออกไป
เป็ นคู่ฉีกความต้องกันสองฉบับ หรือกว่านั้นก็อาจจะออกได้
คู่ฉี ก เหล่า นี้ ต้ อ งมี ห มายล้า ดั บ ลงไว้ ใ นตั ว ตราสารนั้ น เอง มิฉ ะนั้ น คู่ ฉี ก แต่ ล ะ
ฉบับย่อมใช้ได้เป็ นตัว ๋ แลกเงินฉบับหนึ่ ง ๆ แยกเป็ นตัว ๋ เงินต่าง ฉบับกัน
บุคคลทุกคนซึ่งเป็ นผู้ทรงตัว ๋ เงินอันมิได้ระบุว่าได้ออกเป็ นตัว ๋ เดี่ยว นั้น จะเรียก
ให้ส่งมอบคู่ฉีกสองฉบับหรือกว่านั้นแก่ตนก็ได้ โดยยอมให้ คิดค่าใช้จ่ายเอาแก่ตน ใน
การนี้ ผู้ทรงต้องว่ากล่าวไปยังผู้สลักหลังคน ถัดตนขึ้นไป และผู้สลักหลังคนนั้นก็จ้าต้อง
ช่วยผู้ทรงว่ากล่าวไปยังผู้ท่ี สลักหลังให้แก่ตนต่อไปอีก สืบเนื่ องกันไปเช่นนี้ ตลอดสาย
จนกระทั่ง ถึง ผู้ส่ัง จ่าย อนึ่ ง ผู้สลัก หลั ง ทั้ ง หลายจ้า ต้ องเขี ยนค้า สลั ก หลัง ของ ตนเป็ น
ความเดียวกันลงในฉบับคู่ฉีกใหม่แห่งตัว ๋ ส้ารับนั้นอีกด้วย

11.3.3 ผลของการออกตัว ๋ แลกเงินเป็ นส้ารับ


แดงออกตัว ๋ แลกเงินเป็ นส้า รับมีคู่ฉีกสองฉบับ หมายเลข 1 และ 2 สั่ง
ให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ด้าลงชื่อรับรองในคู่ฉีกหมายเลข 1 ต่อมา
ขาวโอนคู่ฉีกหมายเลข 1 ให้ม่วง และโอนคู่ฉีกหมายเลข 2 ให้เขียว เขียวน้า
ตั๋ ว มายื่ นต่ อ ด้า เมื่ อครบก้า หนด ด้า ใช้ เ งิ น ให้ เ ขี ย วไป ต่ อ มาม่ ว งน้า ตั๋ ว
หมายเลข 1 มายื่นต่อด้า ดังนี้ ด้าจะต้องรับผิดต่อม่วงหรือไม่
ด้าผู้รับรองใช้เงินไปโดยไม่เรียกเอาคู่ฉีกที่ตนลงชื่อไว้คืนมา เมื่อม่วง
ผู้ทรงโดยชอบมาใช้สิทธิเรียกร้อง ด้าต้องรับผิดต่อม่วง มาตรา 979
มาตรา 979 ถ้าผู้รับรองตัว ๋ เงินซึ่งออกเป็ นส้ารับใช้เงินไปโดยมิได้ เรียกให้ส่ง
มอบคู่ฉีกฉบับซึ่งมีค้า รับรองของตนนั้ นให้แก่ตน และในเวลา ตัว ๋ เงินถึงก้า หนด คู่ฉีก
ฉบับนั้นไปตกอยู่ในมือผู้ทรงโดยชอบด้วย กฎหมายคนใดคนหนึ่ งไซร้ ท่านว่าผู้รับรอง
จะต้องรับผิดต่อผู้ทรงคู่ฉีก ฉบับนั้น
แบบประเมินผลหน่วยที่ 11
1. ค่ส
ู ัญญาตามตัว
๋ แลกเงิน ผู้รับรอง ไม่อาจเข้าสอดเพื่อแก้หน้าได้
2. แดงออกตัว
๋ แลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท กรณีท่ีท้า ให้ขาวมีสิทธิ
ไล่เบี้ยแดงได้ก่อนตัว ๋ ถึงก้าหนดคือ ด้าถูกยึดทรัพย์ และการยึดทรัพย์ไม่เป็ นผล
3. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ชมพูและฟ้ ารับอาวัล ต่อ
มาขาวโอนตัว ๋ ให้เขียว เขียวเอาตัว๋ ไปยื่นให้ด้ารับรอง ด้าบอกปั ดไม่รับรอง เหลืองสอด
เข้าแก้หน้ารับรองแทนแดง ต่อมาเมื่อตัว ๋ ถึงก้าหนด ด้าและเหลืองไม่ยอมใช้เงิน เขียว
ไล่เบี้ยชมพู ชมพูใช้เงินไปแล้ว ดังนี้ ชมพูจะไล่เบี้ยเอาจากแดง
75
4. แดงออกตัว
๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงินให้ขาวโดยมีฟ้ารับอาวัลแดง ขาวสลักหลัง
ให้เขียว โดยชมพูรับอาวัลขาว เมื่อตัว ๋ ครบก้าหนด ด้าไม่ยอมใช้เงิน เหลืองจึงเข้ามาใช้
เงินแก้หน้าให้ขาว ดังนี้ เหลืองจะไล่เบี้ยได้จาก ฟ้ าและขาว
5. แดงออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น ให้ ข าวโดยด้า ลงชื่ อรั บ รองโดยมี ฟ้ าอาวั ล
แดง ขาวสลักหลังให้เขียว โดยชมพูรับอาวัลขาว เมื่อตัว ๋ ครบก้าหนด ด้าไม่ยอมใช้เงิน
เหลืองจึงเข้ามาใช้เงินแก้หน้าให้แดง เขียวไม่ยอมรับการใช้เงิน ดังนี้ ผู้ท่ีหลุดพ้นจาก
การรับผิดคือ ขาว
6. เมื่ อผู้ ท รงเคยท้า ค้า คั ด ค้ า นการไม่ รั บ รองครั้ ง หนึ่ ง แล้ ว ผู้ ท รงไม่ ต้ อ งท้า ค้า
คัดค้านการไม่ใช้เงิน
7. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้าจ่ายเงิน 10,000 บาท ให้ขาว ขาวโอนตัว ๋ เงินให้เขียว
ครั้นตัว ๋ ครบก้าหนดด้าไม่ยอมใช้เงิน เมื่อเขียวท้าค้าคัดค้านแล้ว เขียวจะต้องท้าค้าบอก
กล่าวการไม่ใช้เงินไปยังแดงและขาว
8. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ด้า ลงชื่อรับรอง ต่อมา
ขาวสลักหลังโอนตัว ๋ ให้เขียว เขียวโอนตัว ๋ ให้แดง เมื่อตัว ๋ ครบก้าหนด แดงน้าตัว ๋ ไปยื่นให้
ด้าใช้เงิน ด้าไม่ยอมใช้ดังนี้ แดงจะไล่เบี้ยเอากับด้า
9. เมื่อผู้ทรงน้าตัว ๋ แลกเงินไปยื่นแล้วผู้จ่ายไม่ยอมใช้เงิน ผู้ทรงจะต้องยื่นค้าร้องเพื่อ
ท้าค้าคัดค้านกับนายอ้าเภอ
10. แดงออกตัว ๋ แลกเงินเป็ นส้ารับ มีคู่ฉีก 2 ฉบับ คือหมายเลข 1 และหมายเลข 2 สั่ง
ให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว ขาวโอนตัว ๋ หมายเลข 1 ให้เขียว ต่อมาโอนตัว ๋ หมายเลข 2 ให้ฟ้า
ดังนั้นเมื่อตัว ๋ ครบก้าหนด แดงจะต้องรับผิดต่อฟ้ า
11. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ภายใน 1 เดือน นับแต่
ได้เห็น ขาวโอนตัว ๋ ให้เขียว กรณีท่ีเขียวมีสิทธิไล่เบี้ยแดงได้ก่อนตัว ๋ ถึงก้าหนดคือ ด้าตก
เป็ นคนล้มละลาย
12. บุคคลซึ่งผู้ส่ ังจ่ายระบุช่ ือไว้ในตัว ๋ แลกเงินว่าจะเป็ นผู้ใช้เงินเมื่อตัว ๋ ขาดความเชื่อ
ถือมีช่ ือเรียกว่า ผู้จะใช้เงินยามประสงค์
13. ผู้ ท รงไม่ ต้ อ งท้า ค้า คั ด ค้ า นการไม่ ใ ช้ เ งิ น เมื่ อเป็ นตั ๋ว แลกเงิ น ในประเทศ และผู้
จ่ายบันทึกการไม่ใช้เงินไว้ในตัว ๋ แลกเงินนั้น
14. แดงออกตั ๋ว แลกเงิ น สั่ ง ให้ ด้า จ่ า ยเงิ น 10,000 บาท ให้ ข าว ขาวโอนตั ๋ว ให้ เ ขี ย ว
ครั้นตัว ๋ ครบก้าหนดด้าไม่ยอมใช้เงิน เขียวท้าค้าคัดค้านแล้ว แต่ไม่ได้ท้าค้าบอกกล่าว
การไม่ใช้เงิน ดังนี้ จะท้าให้ผู้ใดหลุดพ้นความรับผิด ไม่มีผู้ใดหลุดพ้น
15. แดงออกตัว ๋ แลกเงินสั่งให้ด้า จ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ด้า ลงชื่อรับรอง ต่อมา
ขาวสลักหลังโอนตัว ๋ ให้เขียว เมื่อครบก้า หนด เขียวน้าตัว ๋ ไปยื่น ด้า ไม่ยอมใช้เงิน ดังนี้
เขียวจะไล่เบี้ยจากใครก่อนก็ได้

หน่วยที่ 12 เช็ค
เช็ ค เป็ นตราสารเปลี่ ย นมื อ ที่ มี ก ารใช้ ม ากที่ สุ ด ในตั๋ว เงิ น 3 ประเภท
1.
โดยเช็คมีลกั ษณะเป็ นค้าสั่งของผู้ส่ังจ่ายสั่งธนาคารให้ใช้เงินจ้านวนหนึ่ งเมื่อ
ทวงถามแก่ ผู้ รั บ เงิ น หรื อ ตามค้า สั่ ง ของผู้ รั บ เงิ น หรื อ ผู้ ถื อ เช็ ค จะต้ อ งมี
รายการตามที่ ก ฎหมายก้า หนดไว้ และกฎหมายให้ น้า บทบั ญ ญั ติ ใ นบาง
76
เรื่องของตัว ๋ แลกเงินมาใช้กับเช็คด้วย ส่วนการยื่นเช็คเพื่อให้ธนาคารใช้
เงินนั้ นจะต้องยื่นภายในก้า หนดเวลาที่ กฎหมายก้า หนดไว้ มิฉ ะนั้ น ผู้ ทรง
อาจสิ้ น สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย เอาแก่ ผู้ ส ลั ก หลั ง และสิ้ น สิ ท ธิ บ างประการอั น มี ต่ อ ผู้ ส่ั ง
จ่าย
2. เมื่อมีการยื่นเช็คต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน โดยปกติแล้วธนาคารมีหน้า
ที่ใช้เงินตามเช็คนั้น เว้นแต่เข้าข้อยกเว้นของกฎหมายที่ว่าธนาคารมีสิทธิไม่
ใช้เงินตามเช็ค หรือธนาคารสิ้นอ้านาจหน้าที่ในการใช้เงินตามเช็ค ความรับ
ผิดหรือหน้าที่ของธนาคารที่จะต้องใช้เงินตามเช็คนั้นต้องพิจารณาลักษณะ
ของเช็ค และละฉบับด้ว ยว่ าเป็ นกรณี เช็ คทั่ ว ไป เช็ ค ที่ ธ นาคารรั บ รอง หรื อ
เช็คขีดคร่อม
12.1 บทบัญญัติทัว
่ ไปเกีย
่ วกับเช็ค
1. เช็คเป็ นตราสารเปลี่ยนมือที่มีบุคคลเกี่ยวข้องด้วย 3 ฝ่ าย คือผู้ส่ังจ่าย
ธนาคาร และผู้รับเงินหรือผู้ถือ โดยผู้ส่ังจ่ายออกตราสารที่เรียกว่าเช็ค เป็ น
ค้า สั่งให้ธนาคารใช้เงินจ้า นวนหนึ่ งเมื่อทวงถามแก่ผู้รับเงินหรือตามค้า สั่ง
ของผู้รับเงินหรือผู้ถือ
2. กฎหมายก้า หนดรายการที่ ต้ อ งมี ในเช็ ค โดยมี ร ายการที่ ส้า คั ญ ซึ่ ง จะ
ขาดเสียมิได้ 5 รายการ หากขาดไปย่อมมีผลท้า ให้ตราสารนั้ น ไม่ สมบูร ณ์
เป็ นเช็คคือ (1) ค้าบอกชื่อว่าเป็ นเช็ค (2) ค้าสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงิน
จ้านวนแน่ นอน (3) ชื่อยีห้อและส้า นักงานของธนาคาร (4) ชื่อยีห้อของผู้รับ
เงิน หรือค้าจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ และ (5) ลายมือชื่อผู้ส่ังจ่าย
3. เนื่ องจากเช็คมีลักษณะคล้ายกับตัว ๋ เงิน คงแตกต่างกันในสาระส้าคัญที่
ว่าผู้จ่ายเงินตามเช็คได้แก่ ธนาคาร ส่วนผู้จ่ายเงินตามตัว ๋ แลกเงินอาจเป็ น
บุคคลใดก็ได้ ดังนั้น กฎหมายจึงให้น้าบทบัญญัติว่าด้วยตัว ๋ แลกเงินบางเรื่อง
มาใช้บังคับกับเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับสภาพของเช็คด้วย
4. ผู้ทรงเช็คซึ่งให้ธนาคารในเมืองเดียวกันกับที่ออกเช็คใช้เงินต้องยื่นเช็ค
แก่ธนาคาร เพื่อให้ใช้เงินภายในหนึ่ งเดือนนับแต่วันออกเช็ค ถ้าเป็ นเช็คให้
ใช้เงินที่อ่ ืน ต้องยื่นภายในสามเดือนมิฉะนั้นผู้ทรงสิ้นสิทธิท่ีจะไล่เบี้ยเอาแก่
ผู้สลักหลัง และเสียสิทธิท่ีมีต่อผู้ส่ังจ่ ายเท่ าที่ จะเกิ ดความเสียหาย แก่ ผู้ส่ั ง
จ่าย เพราะการที่ละเลยไม่ย่ ืนเช็คนั้นภายในก้าหนด
12.1.1 ความหมายของเช็ค
อธิบายความหมายของเช็ค
เช็คเป็ นตราสารเปลี่ยนมือที่มีบุคคลเกี่ยวข้องด้วยกัน 3 ฝ่ าย คือ ผู้ส่ัง
จ่าย ธนาคาร และผู้รับเงินหรือผู้ถือ โดยผู้ส่ังจ่ายออกตราสารที่เรียกว่าเช็ค
เป็ นค้าสั่งให้ธนาคารใช้เงินจ้านวนหนึ่ งเมื่อทวงถามแก่ผู้รับเงินหรือตามค้า
สั่งของผู้รับเงินหรือผู้ถือ มาตรา 987
อธิบายว่าเช็คแจกจ่างจาก ตัว ๋ แลกเงินและตัว
๋ สัญญาใช้เงินอย่างไร
เช็คแตกต่างจากตัว ๋ แลกเงินในประการที่ว่า ผู้รับค้าสั่งให้จ่ายเงินตาม
เช็คจะต้องเป็ นธนาคารเท่านั้ น ส่วนผู้รับค้า สั่งให้ใช้เงินตามตั๋วแลกเงินจะ
77
เป็ นบุ ค คลใดก็ ไ ด้ นอกจากนั้ น เช็ ค ยั ง มี ลั ก ษณะเป็ นค้า สั่ ง ให้ ใ ช้ เ งิ น เมื่ อ
ทวงถาม ส่วนตัว ๋ แลกเงินอาจมีการก้าหนดเวลาใช้เงินตามตัว ๋ ได้
เช็คมีลักษณะแตกต่างจากตัว ๋ สัญญาใช้เงินในประการที่ว่าเช็คต้องมี
บุคคลที่เกี่ยวข้อง 3 ฝ่ าย คือ ผู้ส่ังจ่าย ธนาคาร และผู้รับเงิน กับเช็คเป็ นค้า
สั่ ง ให้ จ่ า ยเงิ น เมื่ อทวงถาม ส่ ว นตั๋ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น มี บุ ค คลเกี่ ย วข้ อ งเพี ย ง 2
ฝ่ าย คือผู้ออกตัว ๋ ซึ่งเป็ นบุคคลใดๆก็ได้ กับผู้รับเงิน และมีลักษณะเป็ นค้ามั่น
สัญญาอันปราศจากเงื่อนไขว่าจะใช้เงินเป็ นจ้านวนแน่ นอนเมื่อถึงวันก้าหนด
ใช้เงิน มาตรา 982 และ มาตรา 987
มาตรา 982 อัน ว่าตั๋วสัญญาใช้เ งินนั้ น คือหนั ง สือ ตราสารซึ่ง บุค คลคนหนึ่ ง
เรียกว่าผู้ออกตัว
๋ ให้ค้ามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจ้านวน หนึ่ งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ ง หรือ
ใช้ให้ตามค้าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ ง เรียกว่าผู้รับเงิน
มาตรา 987 อัน ว่าเช็ค นั้ น คือหนั ง สือตราสารซึ่งบุค คลคนหนึ่ ง เรียกว่า ผู้ส่ั ง
จ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจ้านวนหนึ่ งเมื่อทวงถามให้แก่ บุคคลอีกคนหนึ่ งหรือให้ใช้ตาม
ค้าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ งอันเรียกว่า ผู้รับเงิน
12.1.2 รายการในเช็ค
ให้เขียนเช็คที่ออกช้าระช้าระหนี้ ให้แก่นายแดงจ้านวนหนึ่ งพันบาท
โดยสมมติรายการต่าง ๆ ให้ครบถ้วนตามกฎหมายก้าหนด

เช็ค
ธนาคารสยามพาณิ ชย์ จ้ากัด 12 เมษายน
ส้านักงานใหญ่ ถนนราชด้าเนิ น กร่งเทพฯ 2536

จ่าย ……นาย
แดง…………………………………………
หรือ ผู้ถือ
จ้านวน
เงิน…………..1000.00…………………………....บาท (หนึ่ งพันบาท)

ลงชื่อ……นายประชุม อินทรโชติ…

เช็คต่อไปนี้ มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายหรือไม่
1) เช็คลงวันที่ส่ังจ่ายล่วงหน้า
2) เช็คไม่ได้ลงวันที่ส่ังจ่าย
3) เช็คที่ไม่ได้ลงลายมือชื่อ
เช็คลงวันที่ส่ังจ่ายล่วงหน้ามีผลสมสมบูรณ์ตามกฎหมายโดยถือว่าวัน
ที่ส่ังจ่ายเป็ นวันออกเช็ค
78
เช็คไม่ลงวันที่ท่ีส่ังจ่ายมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย ผู้ทรงชอบด้วย
กฎหมายคนหนึ่ งคนใดท้าการโดยสุจริตจะจดวันตามที่ถูกต้องแท้จริงลงก็ได้
โดยผลของมาตรา 910 ประกอบมาตรา 989
มาตรา 910 ตราสารอันมีรายการขาดตกบกพร่องไปจากที่ท่านระบุ บังคับไว้
ใน มาตรา ก่อนนี้ ย่อมไม่สมบูรณ์เป็ นตัว ๋ แลกเงิน เว้น แต่กรณี ด่ัง จะกล่าว ดังต่อไปนี้
คือ
ตัว
๋ แลกเงินซึ่งไม่ระบุเวลาใช้เงิน ท่านให้ถือว่าพึงใช้เงินเมื่อได้เห็น
ถ้าสถานที่ใช้เงินมิได้แถลงไว้ในตัว ๋ แลกเงิน ท่านให้ถือเอาภูมิล้าเนาของ ผู้จ่าย
เป็ นสถานที่ใช้เงิน
ถ้าตัว
๋ แลกเงินไม่แสดงให้ปรากฏสถานที่ออกตัว ๋ ท่านให้ถือว่าตัว ๋ เงินนั้นได้ออก
ณ ภูมิล้าเนาของผู้ส่ังจ่าย
ถ้ามิได้ลงวันออกตัว ๋ ท่านว่าผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย คนหนึ่ งคนใดท้า การ
โดยสุจริต จะจดวันที่ถูกต้องแท้จริงลงก็ได้
12.1.3 บทบัญญัติว่าด้วยตัว ๋ แลกเงินที่น้ามาใช้กับเช็ค
อธิบายวิธีการโอน (1) เช็คระบุช่ ือผู้รับ (2) เช็คผู้ถือ
(1) การโอนเช็ ค ที่ ร ะบุ ช่ ื อ ผู้ รั บ เงิ น ย่ อ มโอนกั น ได้ โ ดยวิ ธี ก ารสลั ก หลั ง
และส่งมอบ ทั้งนี้ โดยผลของมาตรา 989 ที่ให้น้า วิธีการโนตั๋วแลกเงินตาม
มาตรา 917 ถึงมาตรา 923 มาใช้กับเช็ค การสลักหลังมี 2 ประเภท คือ การ
สลั ก หลั ง ลอย ซึ่ ง ได้แ ก่ การลงลายมื อ ชื่ อผู้ ส ลั ก หลั ง ที่ ด้ า นหลั ง เช็ ค โดยไม่
ระบุ ช่ ื อผู้ รั บ ประโยชน์ และการสลั ก หลั ง ที่ ร ะบุ ช่ ื อผู้ รั บ โอน ซึ่ ง ได้ แ ก่ การ
เขียนระบุช่ ือผู้รับประโยชน์และลงลายมือชื่อสลักหลังไว้ด้านหลังเช็ค
(2) การโอนเช็ ค ผู้ ถื อ ย่ อ มโอนไปเพี ย งด้ ว ยการส่ ง มอบให้ กั น โดยไม่
จ้าเป็ นต้องมีการสลักหลัง ทั้งนี้ โดยผลของมาตรา 918 ประกอบมาตรา 989
การสลั ก หลั ง เช็ ค ซึ่ ง สั่ ง ให้ ใ ช้ แ ก่ ผู้ ถื อ ย่ อ มมี ผ ลเป็ นการประกั น (อาวั ล )
ส้าหรับผู้ส่ังจ่าย โดยผลของมาตรา 921 ประกอบมาตรา 989
นายซื่อถูกนายคดใช้อาวุธขู่ให้ลงชื่อสั่งจ่ายเช็คเงินห้าพันบาทให้ตน
นายซื่อมีความกลัวจึงยอมลงลายมือชื่อในเช็คให้ แต่เพราะมีไหวพริบดี จึง
แกล้งลงลายมือชื่อให้ผิดไปจากลายมือชื่อที่มอบไว้เป็ นตัวอย่างแก่ธนาคาร
นายคดน้าเช็คไปโอนใช้หนี้ ให้บริษท ั บริโภค ผู้รับเช็คนั้นไว้โดยสุจริต บริษท ั
น้าเช็คนั้นไปขึ้นเงินที่ธนาคาร ธนาคารไม่ยอมจ่ายเพราะลายมือชื่อแตกต่าง
กับที่ใช้ตัวอย่างไว้ ดังนี้ บริษท ั จะฟ้ องนายซื่อให้รับผิดใช้เงินตามเช็คได้หรือ
ไม่
บริ ษัท ฟ้ องนายซื่ อได้ ใ ห้ รั บ ใช้ เ งิ น ตามเช็ ค ได้ เ พราะนายซื่ อเป็ นผู้ ล ง
ลายมื อ ชื่ อสั่ ง จ่ า ยเช็ ค ทั้ ง นี้ โดยผลของมาตรา 900 มาตรา 914 ประกอบ
มาตรา 989
นายซื่ อผู้ ถู ก ฟ้ องในมู ล เช็ ค หาอาจต่ อ สู้ บ ริ ษัท ผู้ ท รงโดยชอบด้ ว ยข้ อ
ต่อสู้อันอาศัยความเกี่ยวพันกับเฉพาะบุคคลระหว่างตนกับนายคดผู้ทรงคน
ก่อนนั้ น ได้ ไม่ เพราะบริษัทผู้ ทรงรั บโอนเช็ คจากนายคดไว้ โ ดยสุ จ ริ ต การ
โอนมิได้มีขึ้นด้วยคบคิดกันฉ้อฉล มาตรา 916 มาตรา 989
79
มาตรา 900 บุคคลผู้ลงลายมือชื่อของตนในตัว ๋ เงินย่อมจะได้รับ ผิดตามเนื้ อ
ความในตัว ๋ เงินนั้น
ถ้าลงเพียงแต่เครื่องหมายแต่อย่างหนึ่ งอย่างใด เช่น แกงได หรือ ลายพิมพ์นิ้ว
มือ อ้างเอาเป็ นลายมือชื่อในตัว
๋ เงินไซร้ แม้ถึงว่าจะมี พยานลงชื่อรับรองก็ตาม ท่านว่า
หาให้ผลเป็ นลงลายมือชื่อในตัว๋ เงิน นั้นไม่
มาตรา 914 บุคคลผู้ส่ังจ่ายหรือสลักหลังตัว๋ แลกเงินย่อมเป็ นอัน สัญญาว่าเมื่อ
ตัว๋ นั้นได้น้า ยื่นโดยชอบแล้วจะมีผู้รับรอง และใช้เงินตาม เนื้ อความแห่งตัว ๋ ถ้าและตัว ๋
แลกเงินนั้นเขาไม่เชื่อถือโดยไม่ยอมรับรอง ก็ดีหรือไม่ยอมจ่ายเงินก็ดี ผู้ส่ังจ่ายหรือผู้
สลักหลังก็จะใช้เงินแก่ผู้ทรง หรือแก่ผู้สลักหลังคนหลังซึง่ ต้องถูกบังคับให้ใช้เงินตามตัว

นั้น ถ้า หากว่าได้ท้าถูกต้องตามวิธีการในข้อไม่รับรองหรือไม่จ่ายเงินนั้นแล้ว
มาตรา 916 บุ ค คลทั้ ง หลายผู้ ถู ก ฟ้ องในมู ลตั๋ว แลกเงิน หาอาจจะต่ อ สู้ ผู้ ท รง
ด้ว ยข้อต่อสู้อัน อาศัยความเกี่ยวพันกัน เฉพาะบุค คลระหว่าง ตนกับ ผู้ส่ัง จ่ายหรือกับ
ผู้ทรงคนก่อน ๆ นั้นได้ไม่ เว้นแต่การโอนจะ ได้มีขึ้นด้วยคบคิดกันฉ้อฉล
มาตรา 917 อันตัว๋ แลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่ส่ังจ่ายให้แก่ บุคคลเพื่อเขา
สั่งก็ตาม ท่านว่าย่อมโอนให้กันได้ด้วยสลักหลังและส่งมอบ
เมื่อผู้ส่ังจ่ายเขียนลงในด้านหน้าแห่งตัว ๋ แลกเงินว่า "เปลี่ยนมือไม่ได้" ดั่งนี้ ก็ดี
หรือเขียนค้าอื่นอันได้ความเป็ นท้านองเช่นเดียวกันนั้นก็ดี ท่านว่าตัว ๋ เงินนั้นย่อมจะโอน
ให้กนั ได้แต่โดยรูปการและด้วยผลอย่างการ โอนสามัญ
อนึ่ ง ตัว
๋ เงินจะสลักหลังให้แก่ผู้จ่ายก็ได้ ไม่ว่าผู้จ่ายจะได้รับรองตัว ๋ นั้ นหรือไม่
หรื อ จะสลั ก หลั ง ให้ แ ก่ ผู้ ส่ั ง จ่ า ย หรื อ ให้ แ ก่ คู่ สั ญ ญาฝ่ ายใด แห่ ง ตั๋ว เงิ น นั้ น ก็ ไ ด้ ส่ ว น
บุคคลทั้งหลายเหล่านี้ ก็ย่อมจะสลักหลังตัว ๋ เงิน นั้นต่อไปอีกได้
มาตรา 918 ตัว
๋ แลกเงินอันสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือนั้ น ท่านว่าย่อม โอนไปเพียง
ด้วยส่งมอบให้กัน
มาตรา 919 ค้าสลักหลังนั้นต้องเขียนลงในตัว ๋ แลกเงินหรือใบประจ้า ต่อ และ
ต้ อ ง ล ง ล า ย มื อ ชื่ อ ผู้ ส ลั ก ห ลั ง
การสลักหลังย่อมสมบูรณ์แม้ท้ังมิได้ระบุช่ ือผู้รับประโยชน์ไว้ด้วย หรือแม้ผู้สลัก
หลังจะมิได้กระท้าอะไร ยิ่งไปกว่าลงลายมือชื่อของตนที่ ด้านหลังตัว ๋ แลกเงินหรือที่ใน
ประจ้าต่อ ก็ย่อมฟั งเป็ นสมบูรณ์ดุจกันการ สลักหลังเช่นนี้ ท่านเรียกว่า "สลักหลังลอย"
มาตรา 920 อันการสลักหลังย่อมโอนไปซึง ่ บรรดาสิทธิอันเกิดแต่ ตัว
๋ แลกเงิน
ถ้าสลักหลังลอย ผู้ทรงจะปฏิบัติด่ังกล่าวต่อไปนี้ ประการหนึ่ ง ประการใดก็ ได้
คือ
(1) กรอกความลงในที่ว่างด้ว ยเขียนชื่อของตนเอง หรือชื่อบุค คลอื่น ผู้ใ ดผู้
หนึ่ ง
(2) สลักหลังตัว
๋ เงินต่อไปอีกเป็ นสลักหลังลอย หรือสลักหลังให้ แก่บุคคลอื่น
ผู้ใดผู้หนึ่ ง
(3) โอนตัว
๋ เงินนั้นให้ไปแก่บุคคลภายนอก โดยไม่กรอกความลงในที่ว่าง และ
ไม่สลักหลังอย่างหนึ่ งอย่างใด
80
มาตรา 921 การสลั ก หลัง ตั๋ว แลกเงิ น ซึ่ง สั่ ง ให้ ใ ช้ เ งิน แก่ ผู้ ถื อ นั้ น ย่ อ ม เป็ น
เพียงประกัน (อาวัล) ส้าหรับผู้ส่ังจ่าย
12.1.4 การยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงิน
กฎหมายก้าหนดเวลาที่ผู้ทรงจะต้องยื่นเช็คแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน
ไว้อย่างไร หากผู้ทรงไม่ย่ ืนเช็คภายในก้าหนดเวลาดังกล่าวจะมีผลอย่างไร
กฎหมายก้า หนดเวลาที่ผู้ทรงจะต้องยื่นเช็คให้ต่อ ธนาคารเพื่ อให้ใ ช้
เงินไว้ ดังนี้
1) ภายใน 1 เดื อนนั บแต่ วั น ออกเช็ ค ถ้ า เป็ นเช็ ค ที่ ใ ห้ ใ ช้ เ งิ น ในเมื อ ง
เดียวกันกับที่ออกเช็ค
2) ภายใน 3 เดือนนับแต่วันออกเช็คที่ใช้ใช้เงินที่อ่ ืน
ผลของการที่ผู้ทรงไม่ย่ ื นเช็ค ภายในก้า หนดดัง กล่า วท้า ให้ผู้ทรงสิ้ น
สิทธิท่ีจะไล่เบี้ยเอาแก่ผู้สลักหลัง และเสียสิทธิท่ีมีต่อผู้ส่ังจ่ายเพียงเท่าที่จะ
เกิ ด ความเสี ย หายแก่ ผู้ ส่ั ง จ่ า ยเพราะหารที่ ล ะเลยไม่ ย่ ื นเช็ ค นั้ นภายใน
ก้าหนด มาตรา 990
เค็มออกเช็คสั่งให้ธนาคารในเมืองเดียวกันที่เค็มออกเช็คสั่งจ่ายเงิน
จ้า นวนหนึ่ ง พั น บาท ลงวั น ที่ ส่ั ง จ่ า ย 1 พฤษภาคม 2536 โดยระบุ ใ นเช็ ค ว่ า
“จ่าย จืด หรือผู้ถือ” จืดสลักหลังเช็คโอนให้แก่เปรี้ยว เปรี้ยวได้ย่ ืนเช็คนั้นให้
ธนาคารใช้เงินเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2536 ธนาคารปฏิเสธการใช้เงินเพราะ
เงินในบัญชีเค็มไม่พอจ่าย ให้วินิจฉัยว่าเปรี้ยวมีสิทธิเรียกร้องเงินตามเช็ค
จากเค็มและจืดหรือไม่
เช็คที่ระบุว่าจ่ายให้ “จืด หรือ ผู้ถือ” ถือว่าเป็ นเช็คที่จ่ายให้แก่ผู้ถือ
จืดสลักหลังเช็คระบุให้จ่ายแก่ผู้ถือดังกล่าวโอนให้แก่เปรี้ยว ย่อมเป็ น
การอาวัลผู้ส่ังจ่ายตามมาตรา 921 มาตรา 989
ถึ ง แม้ ว่ า เปรี้ ย วจะน้า เช็ ค ไปยื่ นต่ อ ธนาคารให้ ใ ช้ เ งิ น เกิ น ก้า หนด 1
เดือน ตามที่ก้าหนดไว้ในมาตรา 990 อันจะเป็ นเหตุให้เปรี้ยวสิ้นสิทธิท่ีจะไล่
เบี้ยเอาแก่ผู้สลักหลังก็ตาม แต่ในกรณีจืดมีฐานะเป็ นผู้อาวัลส้าหรับผู้ส่ังจ่าย
ด้วย เปรี้ยวจึงมีสิทธิเรียกร้องจากจืด
เปรี้ยวมีสิทธิเรียกร้องเงินตามเช็คจากเค็มผู้ส่ังจ่ายตามมาตรา 990
มาตรา 914 ประกอบมาตรา 989
มาตรา 914 บุคคลผู้ส่ังจ่ายหรือสลักหลังตัว๋ แลกเงินย่อมเป็ นอัน สัญญาว่าเมื่อ
ตัว๋ นั้นได้น้า ยื่นโดยชอบแล้วจะมีผู้รับรอง และใช้เงินตาม เนื้ อความแห่งตัว ๋ ถ้าและตัว ๋
แลกเงินนั้นเขาไม่เชื่อถือโดยไม่ยอมรับรอง ก็ดีหรือไม่ยอมจ่ายเงินก็ดี ผู้ส่ังจ่ายหรือผู้
สลักหลังก็จะใช้เงินแก่ผู้ทรง หรือแก่ผู้สลักหลังคนหลังซึง่ ต้องถูกบังคับให้ใช้เงินตามตัว

นั้น ถ้า หากว่าได้ท้าถูกต้องตามวิธีการในข้อไม่รับรองหรือไม่จ่ายเงินนั้นแล้ว
มาตรา 921 การสลักหลังตัว
๋ แลกเงินซึ่งสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือนั้นย่อมเป็ นเพียง
ประกัน (อาวัล) ส้าหรับผู้ส่ังจ่าย
81
มาตรา 938 ตั๋ว แลกเงิน จะมี ผู้ ค้ าประกั น รับ ประกั น การใช้ เ งิ น ทั้ ง จ้า นวน
่ ท่านเรียกว่า "อาวัล"
หรือแต่บางส่วนก็ได้ ซึง
มาตรา 989 บทบัญญัติท้ังหลายในหมวด 2 อันว่าด้วยตัว ๋ แลกเงิน ดั่งจะกล่าว
ต่อไปนี้ ท่านให้ยกมาบังคับในเรื่องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับ สภาพแห่งตราสารชนิ ดนี้
คือบท มาตรา 910 , 914 ถึง 923 , 925 , 926 , 938 ถึง 940 , 945 , 946 , 959 , 967
, 971
ถ้าเป็ นเช็คที่ออกมาแต่ต่างประเทศ ท่านให้น้าบทบัญญัติด่ังต่อไปนี้ มาใช้บังคับ
ด้วย คือบท มาตรา 924 , 960 ถึง 964 , 973 ถึง 977 , 980
มาตรา 990 ผู้ทรงเช็คต้องยื่นเช็คแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน คือว่า ถ้าเป็ นเช็ค
ให้ใช้เงินในเมืองเดียวกันกับที่ออกเช็ค ต้องยื่นภายใน เดือนหนึ่ งนับแต่วันออกเช็คนั้น
ถ้าเป็ นเช็คให้ใช้เงินที่อ่ ืนต้องยื่น ภายในสามเดือน ถ้ามิฉะนั้น ท่านว่าผู้ทรงสิ้นสิทธิท่ีจะ
ไล่ เ บี้ ย เอาแก่ ผู้ส ลัก หลั ง ทั้ ง ปวง ทั้ ง เสี ย สิ ท ธิ อั น มี ต่ อ ผู้ ส่ั ง จ่ า ยด้ ว ยเพี ย งเท่ า ที่ จ ะ เกิด
ความเสียหายอย่างหนึ่ งอย่างใดแก่ผู้ส่ังจ่ายเพราะการที่ละเลย เสียไม่ย่ ืนเช็คนั้น
อนึ่ ง ผู้ทรงเช็ค ซึ่ง ผู้ส่ัง จ่ายหลุด พ้น จากความรั บ ผิ ด ไปแล้ว นั้ น ท่ านให้ รับ ช่ วง
สิทธิของผู้ส่ังจ่ายคนนั้นอันมีต่อธนาคาร
12.2 ความรับผิดของธนาคาร
1. ปกติธนาคารมีหน้าที่ต้องใช้เงินตามเช็คซึ่งผู้เคยค้ากับธนาคารได้ออก
เบิกเงินแก่ตน เว้นแต่ในกรณี ท่ี (1) ไม่มีเงินในบัญชีของผู้เคยค้าพอจะจ่าย
ตามเช็ค หรือ (2) เช็คนั้นยื่นเพื่อให้ใช้เงินเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วันออก
เช็ค หรือ (3) ได้มีค้าบอกกล่าวว่าเช็คนั้นหายหรือถูกลักไป
2. หน้าที่และอ้านาจของธนาคารซึ่งจะใช้เงินตามเช็คสิ้นสุดลงเมื่อมีกรณี
หนึ่ ง กรณี ใ ด เกิ ด ขึ้ น ใน 3 กรณี ดั ง นี้ คื อ (1) มี ค้า บอกห้ า มการใช้ เ งิ น (2)
ธนาคารผู้รู้ว่าผู้ส่ังจ่ายตาย (3) ธนาคารรู้ว่าได้มีค้า สั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือค้า
สั่งให้ผู้ส่ังจ่ายเป็ นบุคคลล้มละลาย หรือได้มีประกาศโฆษณาค้าสั่งเช่นว่านั้น
3. การที่ ธนาคารรั บรองเช็ คด้ วยการเขียนข้อ ความลงลายมื อชื่ อบนเช็ ค
เช่น ค้า ว่า “ใช้ได้” หรือ “ใช้เงินได้” ธนาคารต้องผูกพันในฐานเป็ นลูกหนี้
ชั้นต้นในอันจะต้องใช้เงินแก่ผู้ทรงตามเช็คและมีผลให้ผู้ส่ังจ่ายและสลักหลัง
หลุดพ้นความผิดตามเช็คนั้น เว้นแต่ธนาคารจะได้ลงค้ารับรองดังกล่าวโดย
ค้าขอร้องของผู้ส่ังจ่าย
4. กฎหมายก้าหนดวิธีการขีดคร่อมเช็คและบุคคลผู้มีอ้านาจขีดคร่อมเช็ค
ไว้ และเมื่อขีดคร่อมเช็คแล้ว การขีดคร่อมนั้นย่อมเป็ นส่วนส้า คัญของเช็ค
โดยจะลบล้างไม่ไ ด้ ซึ่ งก่อให้ เกิด ผลว่า การเรียกเก็บ เงิ นตามเช็ ค ขี ด คร่ อ ม
ย่อมกระท้า ได้ แต่โดยวิธีการให้ธนาคารเป็ นตัวแทนเรียกเก็บ กฎหมายจึง
ก้า หนดหลักเกณฑ์ในเรื่องความรับผิด หน้าที่ ของคู่สัญญาในเช็คและของ
ธนาคาร ตลอดจนให้ความคุ้มครองธนาคารที่จ่ายเงินกับธนาคารที่รับเงิน
ตามเช็คขีดคร่อมไว้โดยเฉพาะ
82
12.2.1 หน้าที่ใช้เงินตามเช็ค
ปกติธนาคารมีหน้าที่ใช้เงินตามเช็คซึ่งผู้เคยค้าได้ออกเบิกเงินแก่ตน
เว้นแต่กรณีต่อไปนี้ ท่ีธนาคารมีสิทธิปฏิเสธการใช้เงินตามเช็คคือ
1.)ไม่มีเงินในบัญชีของผู้เคยค้านั้นเป็ นเจ้าหนี้ พอจะจ่ายตามเช็ค
2.)เช็คนั้นยื่นให้ใช้เงินเมื่อพ้นเวลา 6 เดือนนับแต่วันออกเช็ค
3.)ได้มีค้าบอกกล่าวว่าเช็คนั้นหายหรือถูกลักไป
ธนาคารไม่จ้า เป็ นต้องใช้เงินตามเช็คซึ่งผู้เคยค้ากับธนาคารได้ออก
เบิกเงินแก่ตนใน 3 กรณีต่อไปนี้
1.)มีค้าบอกห้ามการใช้เงิน
2.)รู้ว่าผู้ส่ังจ่ายตาย
3.)รู้ว่าศาลได้มีค้าสั่งพิทักษ์ทรัพย์ช่ัวคราว หรือค้าสั่งให้ผู้ส่ังจ่ายเป็ น
คนล้มละลายหรือได้มีประกาศโฆษณาค้าสั่งเช่นว่านั้น
พิ เ ศษออกเช็ ค สั่ ง ธนาคารสยามพาณิ ช ย์ ใ ห้ จ่ า ยเงิ น จ้า นวนหนึ่ ง พั น
บาทแก่เอก ลงวันที่ส่ังจ่าย 1 มกราคม 2535 เอกเก็บเช็คไว้ในโต๊ะท้างานลืม
ไปจนกระทั่ง วันที่ 1 สิงหาคม 2535 จึงได้น้า เช็คไปยื่นต่อธนาคารเพื่อให้ใช้
เงิน ธนาคารจ่ายเงินหนึ่ งพันบาทให้แก่เอกไป ให้วินิจฉัยว่าธนาคารมีสิทธิ
หักเงินจ้านวนหนึ่ งพันบาทจากบัญชีของพิเศษหรือไม่
ถึงแม้ว่าธนาคารจ่ายเงินตามเช็คให้แก่เอกไปโดยเอกน้า เช็คนั้ นมา
ยื่ นต่ อ ธนาคารเพื่ อให้ ใ ช้ เ งิ น เมื่ อพ้ น ก้า หนดเวลา 6 เดื อ นแล้ ว ก็ ต าม แต่
ธนาคารก็ มี สิ ท ธิ หั ก เงิ น จ้า นวนหนึ่ ง พั น บาทที่ จ่ า ยให้ แ ก่ เ อกไปจากบั ญ ชี
พิ เ ศษได้ เ พราะมาตรา 991(2) เป็ นเพีย งบทบั ญ ญั ติ ใ ห้ สิ ท ธิ ธ นาคารที่ จ ะไม่
จ่ายเงินตามเช็ค เมื่อเช็คนั้ นได้ย่ ืนให้ใช้เงินเมื่อเวลา 6 เดือนนับแต่วันออก
เช็คเท่านั้น
มาตรา 991 ธนาคารจ้าต้องใช้เงินตามเช็คซึ่งผู้เคยค้ากับธนาคาร ได้ออกเบิก
เงินแก่ตน เว้นแต่ในกรณีด่ังกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) ไม่มีเงินในบัญชีของผู้เคยค้าคนนั้นเป็ นเจ้าหนี้ พอจะจ่ายตาม เช็คนั้นหรือ
(2) เช็คนั้นยื่นเพื่อให้ใช้เงินเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วันออกเช็ค หรือ
(3) ได้มค
ี ้าบอกกล่าวว่าเช็คนั้นหายหรือถูกลักไป

ด้า ออกเช็คสั่งธนาคารเหลืองให้จ่ายเงินจ้า นวนหนึ่ งพันบาทแก่แดง


โดยระบุให้จ่ายเงินแก่ผู้ถือ แดงท้าเช็คหายและได้ประกาศหนังสือพิมพ์ให้ผู้
เก็บเช็คได้ส่งคืน ห้าวันต่อมาเขียวเก็บเช็คได้จึงน้าไปยื่นต่อธนาคารเหลือง
เพื่อให้ใช้เงิน หลังจากธนาคารเหลืองได้จ่ายเงินตามเช็คให้แก่เขียวไปเพียง
5 นาที บุรุษไปรษณี ย์น้าโทรเลขของด้า ซึ่งมีข้อความเป็ นส้าคัญให้ธนาคาร
83
ระงับการจ่ายเงินตามเช็คมาถึงธนาคาร ให้วินิจฉัยว่าธนาคารมีสิทธิหัก
เงินจ้านวนหนึ่ งพันบาทจากบริษท ั ของด้าหรือไม่
มาตรา 992 (1) บัญญัติให้อ้า นาจหน้า ที่ข องธนาคารสิ้น สุด ลง เมื่ อมี
ค้า บอกห้ า มการใช้ เ งิ น ซึ่ ง ย่ อ มหมายความว่ า ค้า บอกห้ า มนั้ น จะต้ อ งไปถึ ง
ธนาคารแล้ว กรณี ตามปั ญหาเนื่ องจากธนาคารได้รับค้า บอกห้ามของผู้ส่ัง
จ่ายภายหลังจากที่ได้จ่ายเงินแก่เขียวไปแล้วเช่นนี้ จะถือว่าอ้านาจหน้าที่ของ
ธนาคาร ในการใช้ เ งิ น ตามเช็ ค สิ้ น สุ ด ลงตามมาตรา 992 (1) หาได้ ไ ม่
ธนาคารมีสิทธิหักบัญชีของด้าสั่งจ่ายให้
มาตรา 992 หน้าที่และอ้านาจของธนาคารซึ่งจะใช้เงินตามเช็คอันเบิก แก่ตน
นั้น ท่านว่าเป็ นอันสุดสิ้นไปเมื่อกรณีเป็ นดั่งจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) มีค้าบอกห้ามการใช้เงิน
(2) ร้ว
ู ่าผู้ส่ังจ่ายตาย
(3) รู้ว่าศาลได้มีค้า สั่งรักษาทรัพย์ช่ัวคราว หรือค้า สั่งให้ผู้ส่ัง จ่ายเป็ น คนล้ม
ละลาย หรือได้มีประกาศโฆษณาค้าสั่งเช่นนั้น
12.2.2 เช็คที่ธนาคารรับรอง
อธิบายผลของกฎหมายในกรณีท่ีธนาคารเขียนข้อความลงลายมือชื่อ
บนเช็คว่า “ใช้เงินได้”
ในกรณีท่ีธนาคารเขียนข้อความลงลายมือชื่อบนเช็คว่า “ใช้ได้” มีผล
ท้าให้ธนาคารต้องผูกพันตนในฐานเป็ นลูกหนี้ ช้ันต้นในอันที่จะต้องใช้เงินแก่
ผู้ ท รงเช็ ค นั้ น กล่ า วคื อ ผู้ ท รงเช็ ค ใช้ สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งในหนี้ ตามมู ล เช็ ค จาก
ธนาคารได้โดยตรง ตามมาตรา 993
มะลิ อ อกเช็ ค สั่ ง ให้ ธ นาคารมะปรางจ่ า ยเงิ น จ้า นวนหนึ่ ง แก่ ม ะม่ ว ง
มะม่ ว งน้า เช็ ค ไปให้ ธ นาคารรั บ รอง ธนาคารมะปรางได้ รั บ รองโดยเขี ย น
ข้อความลงลายมือชื่อบนเช็คว่า “ใช้ได้” ต่อมาธนาคารมะปรางล้มละลาย
โดยยังไม่ทันได้จ่ายเงินตามเช็คให้แก่มะม่วง เช่นนี้ ใ ห้วิ นิจฉัยว่ ามะม่ วงจะ
ฟ้ องเรียกเงินตามเช็คจากมะลิได้หรือไม่
การที่ธนาคารมะปรางได้รับรองโดยเขียนข้อความลงลายมือชื่อบน
เช็คว่า “ใช้ได้” โดยค้าขอร้องของมะม่วงซึ่งเป็ นผู้ทรงเช็ค ย่อมมีผลให้ผู้ส่ัง
จ่ายและผู้สลักหลังหลุดพ้นความรับผิดตามเช็คนั้นทันทีตามมาตรา 993 ดัง
นั้ นมะม่ วงจึง ไม่ มีสิ ทธิ ฟ้องเรียกเงินตามเช็ คจากมะลิ ซึ่ ง เป็ นผู้ ส่ั ง จ่ า ย ตาม
มาตรา 993 วรรค 2
มาตรา 993 ถ้าธนาคารเขียนข้อความลงลายมือชื่อบนเช็ค เช่นค้า ว่า "ใช้ได้"
หรือ "ใช้เงินได้" หรือค้าใด ๆ อันแสดงผลอย่างเดียวกัน ท่านว่าธนาคารต้องผูกพันใน
ฐานเป็ นลูกหนี้ ช้ันต้นในอันจะต้องใช้เงิน แก่ผู้ทรงตามเช็คนั้น
ถ้าผู้ทรงเช็คเป็ นผู้จัดการให้ธนาคารลงข้อความรับรองดั่งว่านั้ น ท่านว่าผู้ส่ัง
จ่ายและผู้สลักหลังทั้งปวงเป็ นอันหลุดพ้นจากความรับผิด ตามเช็คนั้น
ถ้าธนาคารลงข้อความรับรองดั่งนั้นโดยค้าขอร้องของผู้ส่ังจ่าย ท่านว่าผู้ส่ังจ่าย
และปวงผู้สลักหลังก็หาหลุดพ้นไปไม่
84
12.2.3 เช็คขีดคร่อม
อธิบายว่าการขีดคร่อมคืออะไร
การขีดคร่อมคือ การขีดเส้นขนานคู่วางไว้ด้านหน้ากับมีหรือไม่มีค้า
อย่ างใดๆว่ า “บริษัท” หรือค้า ย่อ อย่ างใดๆ ในความหมายนี้ อ ยู่ ใ นระหว่ า ง
เส้ น ขนานทั้ ง สอง การขี ด คร่ อ มมี ผ ลท้า ให้ เ ช็ ค นั้ น จะใช้ เ งิ น ตามเช็ ค ได้ แ ต่
เฉพาะให้แก่ธนาคารเท่านั้น
การขีดคร่อมทั่วไปคือการขีดเส้นขนานคู่ โดยไม่ระบุช่ ือธนาคารหนึ่ ง
ธนาคารใดไว้โดยเฉพาะหากมี ก ารระบุ ช่ ื อธนาคารหนึ่ ง ธนาคารใดไว้ โ ดย
เฉพาะย่อมท้าให้เช็คนั้นเป็ นเช็คขีดคร่อมเฉพาะ และจะใช้เงินตามเช็คนั้นได้
เฉพาะให้แก่ธนาคารที่ระบุไว้โดยเฉพาะเท่านั้น
ผู้ท่ีจะท้าการขีดคร่อมเช็คมีดังต่อไปนี้
1.) เช็คไม่มีขีดคร่อม ผู้ส่ ังจ่ายหรือผู้ทรงคนใดคนหนึ่ งจะขีดคร่อมเสีย
ก็ได้ และจะท้าเป็ นขีดคร่อมทั่วไปหรือขีดคร่อมเฉพาะก็ได้
2.)เช็คขีดคร่อมทั่วไปผู้ทรงจะท้าให้เป็ นขีดคร่อมเฉพาะเสียก็ได้
3.) เช็คขีดคร่อมทั่วไปก็ดี ขีดคร่อมเฉพาะก็ดี ผู้ทรงจะเติมค้า ลงไปว่า
“ห้ามเปลี่ยนมือ” ก็ได้
4.)เช็ ค ขี ด คร่ อ มเฉพาะให้ แ ก่ ธ นาคาร ธนาคารนั้ น จะซ้้ าขี ด คร่ อ ม
เฉพาะให้แก่ธนาคารอื่นเพื่อเรียกเก็บเงินก็ได้
5.)เช็คไม่มีขีดคร่อมก็ดี เช็คขีดคร่อมทั่วไปก็ดี ส่งไปยังธนาคารใดเพื่อ
เรี ย กเก็ บ เงิ น ธนาคารนั้ น จะลงขี ด คร่ อ มเฉพาะให้ ต นเองก็ ไ ด้ มาตรา 994
และมาตรา 995
มาตรา 994 ถ้าในเช็คมีเส้นขนานคู่ขีดขวางไว้ข้างด้านหน้า กับมี หรือไม่มีค้า
ว่า "และบริษท ั " หรือค้าย่ออย่างใด ๆ แห่งของความนี้ อยู่ ในระหว่างเส้นทั้งสองนั้นไซร้
เช็ ค นั้ น ชื่ อว่ า เป็ นเช็ ค ขี ด คร่ อ มทั่ ว ไป และจะใช้ เ งิ น ตามเช็ ค นั้ น ได้ แ ต่ เ ฉพาะให้ แ ก่
ธนาคารเท่านั้น
ถ้าในระหว่างเส้นทั้ง สองนั้ น กรอกชื่อธนาคารอันหนึ่ ง อัน ใดลงไว้ โดยเฉพาะ
เช็ ค เช่ น นั้ น ชื่ อว่ า เป็ นเช็ ค ขี ด คร่ อ มเฉพาะ และจะใช้ เ งิ น ตามเช็ ค นั้ น ได้ เ ฉพาะให้ แ ก่
ธนาคารอันนั้น
มาตรา 995
(1) เช็คไม่มีขีดคร่อม ผู้ส่ังจ่ายหรือผู้ทรงคนใดคนหนึ่ ง จะเรียกขีดคร่อมเสียก็ได้
และจะท้าเป็ นขีดคร่อมทั่วไปหรือขีดคร่อม เฉพาะก็ได้
(2) เช็คขีดคร่อมทั่วไป ผู้ทรงจะท้าให้เป็ นขีดคร่อมเฉพาะเสียก็ได้
(3) เช็ ค ขี ด คร่ อ มทั่ ว ไปก็ ดี ขี ด คร่ อ มเฉพาะก็ ดี ผู้ ท รงจะเติ ม ค้า ลงว่ า "ห้ า ม
เปลี่ยนมือ" ก็ได้
85
(4) เช็คขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ธนาคารใด ธนาคารนั้นจะซ้้าขีดคร่อม เฉพาะ
ให้ไปแก่ธนาคารอื่นเพื่อเรียกเก็บเงินก็ได้
(5) เช็ ค ไม่ มี ขี ด คร่ อ มก็ ดี เช็ ค ขี ด คร่ อ มทั่ ว ไปก็ ดี ส่ ง ไปยั ง ธนาคารใด เพื่ อให้
เรียกเก็บเงินธนาคารนั้นจะลงขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ตนเองก็ได้
อธิบายหลักกฎหมายในเรื่ องหน้าที่ และความรั บผิ ดของธนาคารใน
การจ่ายเงินตามเช็คขีดคร่อม
ถ้ามีผู้น้าเช็คขีดคร่อมมายื่นต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารจะจ่าย
เงินสดแก่ผู้มาขึ้นเงินไม่ได้ แต่ต้องจ่ายให้แก่ธนาคารด้วยกัน โดยถ้าเช็คขีด
คร่อมทั่วไป ธนาคารตามเช็คจะจ่ายเงินให้แก่ธนาคารใดที่เรียกเก็บเงินมา
ก็ ไ ด้ แต่ ถ้ า เป็ นเช็ ค ขี ด คร่ อ มเฉาะ ธนาคารตามเช็ ค จะจ่ า ยเงิ น ให้ ไ ด้ ก็ แ ต่
เฉพาะธนาคารที่เขาระบุเจาะจงขีดคร่อมให้โดยเฉพาะเท่านั้น หากธนาคาร
ปฏิบัติผิดไปจากที่กล่าวมาธนาคารจะต้องรับผิดต่อผู้เป็ นเจ้าของอันแท้จริง
แห่งเช็คนั้น ในการที่เขาต้องเสียหายอย่างใดๆ เพราะการที่ธนาคารใช้เงิน
ไปตามเช็คนั้น ตามมาตรา 997
มาตรา 997 เช็คขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ธนาคารกว่าธนาคารหนึ่ งขึ้นไป เมื่อน้า
เบิกเอาแก่ธนาคารใด ท่านให้ธนาคารนั้นบอกปั ดเสียอย่าใช้เงินให้ เว้นแต่ท่ีขีดคร่อม
ให้แก่ธนาคารในฐานเป็ นตัวแทนเรียกเก็บเงิน
ธนาคารใดซึ่งเขาน้าเช็คเบิกขืนใช้เงินไปตามเช็คที่ขีดคร่อมอย่างว่ามา นั้นก็ดี
ใช้เงินตามเช็คอันเขาขีดคร่อมทั่วไปเป็ นประการอื่นนอกจากใช้ให้ แก่ธนาคารอันใดอัน
หนึ่ งก็ ดี ใช้ เ งิ น ตามเช็ ค อั น เขาขี ด คร่ อ มเฉพาะเป็ น ประการอื่ นนอกจากใช้ ใ ห้ แ ก่
ธนาคาร ซึ่งเขาเจาะจงขีดคร่อมให้โ ดย เฉพาะหรือแก่ธนาคารตัว แทนเรียกเก็บเงิน
ของธนาคารนั้ น ก็ ดี ท่ า นว่ า ธนาคารซึ่ ง ใช้ เ งิ น ไปดั่ ง กล่ า วนี้ จะต้ อ งรั บ ผิ ด ต่ อ ผู้ เ ป็ น
เจ้าของอันแท้จริง แห่งเช็คนั้นในการที่เขาต้องเสียหายอย่างใด ๆ เพราะการที่ตนใช้
เงินไป ตามเช็คดั่งนั้น
แต่หากเช็คใดเขาน้ายื่นเพื่อให้ใช้เงิน และเมื่อยื่นไม่ปรากฏว่าเป็ นเช็ค ขีดคร่อม
ก็ดี หรือไม่ปรากฏว่ามีรอยขีดคร่อมอันได้ลบล้างหรือแก้ไข เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมเป็ น
ประการอื่นนอกจากที่อนุญาตไว้โ ดยกฎหมาย ก็ดี เช็ค เช่น นี้ ถ้าธนาคารใดใช้เ งิ น ไป
โดยสุจ ริต และปราศจากประมาท เลิน เล่อ ท่านว่าธนาคารนั้ น ไม่ต้องรับ ผิด หรือต้อง
มีหน้าที่รับใช้เงิน อย่างใด ๆ
อธิบายหลักกฎหมายในเรื่องการคุ้มครองธนาคารรับเงินตามเช็คขีด
คร่อม
ธนาคารที่รับเงินตามเช็คขีดคร่อมจะได้รับความคุ้มครอง ไม่ต้องรับ
ผิดต่อผู้เป็ นเจ้าของอันแท้จริงแห่งเช็คในการที่ธนาคารรับเงินไว้เพื่อผู้เคย
ค้าของตน หากปรากฏต่อมาว่าผู้เคยค้านั้ นไม่มีสิทธิหรือสิทธิบกพร่อง แต่
จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ดังนี้ (มาตรา 998)
1.)ธนาคารต้องกระท้าโดยสุจริตและไม่ประมาทเลินเล่อ
2.)ธนาคารที่รับเงินต้องได้รับเช็คที่มีการขีดคร่อมแล้ว
3.)การเรียกเก็บเงินของธนาคารตามเช็คขีดคร่อมนั้ นเป็ นการเรียก
เก็บเพื่อประโยชน์ของผู้เคยค้า
86
มาตรา 998 ธนาคารใดซึ่งเขาน้าเช็คขีดคร่อมเบิกเงินใช้เงินไปตาม เช็คนั้น
โดยสุจริตและปราศจากประมาทเลินเล่อ กล่าวคือว่าถ้าเป็ นเช็ค ขีดคร่อมทั่วไปก็ใช้เงิน
ให้ แ ก่ ธ นาคารอั น ใดอั น หนึ่ ง ถ้ า เป็ นเช็ ค ขี ด คร่ อ ม เฉพาะก็ ใ ช้ ใ ห้ แ ก่ ธ นาคารซึ่ ง เขา
เจาะจงขีดคร่อมให้โดยเฉพาะหรือใช้ให้ แก่ธนาคารตัวแทนเรียกเก็บเงินของธนาคาร
นั้นไซร้ ท่านว่าธนาคารซึ่ง ใช้เงินไปตามเช็คนั้ นฝ่ ายหนึ่ ง กับถ้าเช็คตกไปถึงมือผู้รับ
เงิ น แล้ ว ผู้ ส่ั ง จ่ า ยอี ก ฝ่ ายหนึ่ ง ต่ า งมี สิ ท ธิ เ ป็ นอย่ า งเดี ย วกั น และเข้ า อยู่ ใ นฐานอั น
เดียวกันเสมือนดั่งว่าเช็คนั้นได้ใช้เงินให้แก่ผู้เป็ นเจ้าของอันแท้จริงแล้ว
พิเศษออกเช็คสั่งให้ธนาคารบางกอกจ่ายเงินจ้า นวนหนึ่ งพันบาทแก่
เอก โดยได้ขี ดคร่อมเช็ค นั้ นไว้ด้ วย โทขโมยเช็ค นั้ นไปจากเอก แล้ ว ปลอม
บัตรประจ้าตัวข้าราชการเป็ นชื่อเอก น้าเช็คและบัตรประจ้าตัวปลอมนั้นไป
ยื่นต่อธนาคารบางกอกเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารบางกอกได้ใช้ความระมัดระวัง
แล้วไม่พบร่องรอยการปลอมบัตรประจ้าตัวจึงเข้าใจว่าโทคือเอก และได้จ่าย
เงินสดให้โอไทหนึ่ งพันบาทโดยสุจริต เช่นนี้ ธนาคารบางกอกจะต้องรับผิด
ต่อเอกหรือไม่
เช็คฉบับนี้ เป็ นเช็คที่มีการขีดคร่อม ดังนั้ น ธนาคารบางกอกซึ่งเป็ น
ธนาคารที่ มี ห น้าที่ ใ ช้ เ งิ น ตามเช็ ค นั้ น จะจ่ า ยเป็ นเงิ น สดตามเช็ ค ให้ แ ก่ ผู้ น้า
เช็คนั้นมายื่นต่อธนาคารไม่ได้ ธนาคารบางกอกมีหน้าที่ท่ีจะต้องใช้เงินตาม
เช็คให้แก่ธนาคารหนึ่ งธนาคารใดที่เรียกเก็บเงินมาเท่านั้น ถึงแม่ธนาคาร
บางกอกจะได้กระท้าการโดยสุจริตและไม่ประมาทเลินเล่อก็ตาม แต่กระท้า
ผิดวิธีการใช้เงินตามเช็คขีดคร่อมที่กฎหมายก้า หนดไว้ ธนาคารจึงยังต้อง
รับผิดต่อเอกผู้เป็ นเจ้าของเช็คที่แท้จริง ตามมาตรา 997 และมาตรา 1000
มาตรา 1000 ธนาคารใดได้ รั บ เงิ น ไว้ เ พื่ อผู้ เ คยค้ า ของตนโดยสุ จ ริ ต และ
ปราศจากประมาทเลินเล่อ อัน เป็ นเงินเขาใช้ใ ห้ต ามเช็ค ขีด คร่อม ทั่วไปก็ดี ขีดคร่อม
เฉพาะให้แก่ตนก็ดี หากปรากฏว่าผู้เคยค้านั้น ไม่มีสิทธิหรือมีสิทธิเพียงอย่างบกพร่อง
ในเช็คนั้ นไซร้ ท่านว่าเพียงแต่ เหตุท่ีได้รับเงินไว้หาท้า ให้ธนาคารนั้ น ต้องรับ ผิดต่อผู้
เป็ นเจ้าของอัน แท้จริงแห่งเช็คนั้นแต่อย่างหนึ่ งอย่างใดไม่
แบบประเมินผลหน่วยที่ 12
1. วันที่ออกเช็ค ไม่มีผลกระทบถึงความสมบูรณ์ของเช็ค
2. จืดออกเช็คช้า ระหนี้ ให้แก่เค็ม โดยเติมรายการในแบบพิมพ์เช็คซึ่งมีข้อความว่า
“จ่าย .เค็ ม … หรื อ ผู้ ถื อ ” โดยไม่ ไ ด้ ขี ด ฆ่ า ค้า ว่ า “ หรื อ ผู้ ถื อ .” ออก เช็ ค ฉบั บ นี้ มี ผ ลทาง
กฎหมายคือ ถือว่าเป็ นเช็คจ่ายให้แก่ผู้ถือ
3. จืดใช้ปืนข่มขู่ให้เค็มสั่งจ่ายเช็คให้แก่ตน เค็มกลัวตายจึงลงลายมือชื่อสั่งจ่ายเช็ค
ให้แก่จืด ไป จืดน้า เช็ค นั้ น ไปสลัก หลัง โอนช้า ระหนี้ ค่า เช่ าซื้ อรถยนต์ใ ห้แ ก่บ ริ ษัท ไทย
ซื่อตรงจ้า กัด บริษัทไทยซื่อตรงไม่รู้เ รื่ องเกี่ ย วกับ ที่ จืด ใช้ ปื นข่ ม ขู่ เ ค็ม จึง ได้รับ เช็ค ไว้
แล้วน้าเช็คไปยื่นแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน แต่ธนาคารปฏิเสธการใช้เงินตามเช็ค เช่นนี้
บริษท ั ไทยซื่อตรงมีสิทธิเรียกร้องเงินตามเช็คจากเค็มและจืด
4. กฎหมายก้า หนดเวลาให้ ย่ ื นเช็ ค แก่ ธ นาคารเพื่ อใช้ เ งิ น ภายในก้า หนดเวลา
ภายใน 1 ปี นับแต่วันออกเช็ค
5. เช็ ค นั้ นยื่ นให้ ใ ช้ เ งิ น เมื่ อพ้ น เวลาสามเดื อ นนั บ แต่ วั น ออกเช็ ค ไม่ เ ป็ นเหตุ ท่ี
ธนาคารจะปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คซึ่งผู้เคยค้ากับธนาคารได้ออกเบิกเงินแก่ตน
87
6. ถ้ า ธนาคารตามเช็ ค เขี ย นข้ อ ความลงลายมื อ ชื่ อบนเช็ ค ว่ า “ ใช้ ไ ด้” จะท้า ให้
ธนาคารมีสถานะ ผูกพันในฐานเป็ นลูกหนี้ ช้ันต้นต่อผู้ทรง
7. การที่ธนาคารซึ่งใช้เงินตามเช็คขีดคร่อมเฉพาะโดยใช้เงินไปตามเช็คโดยสุจริต
ปราศจากประมาทเลินเล่อแก่ธนาคารซึ่งเขาเจาะจงขีดคร่อมให้โดยเฉพาะแล้ว หาก
ปรากฏภายหลังว่าผู้ทรงเช็คซึ่งเรียกเก็บเงินแต่แรกนั้นมิใช่เป็ นผู้มีสิทธิอันแท้จริงใน
เช็คนั้นจะมีผลทางกฎหมายคือ ถือว่าเช็คนั้นได้ใช้เงินให้แก่ผู้เป็ นเจ้าของที่แท้จริงแล้ว
8. หลักเกณฑ์ส้าคัญที่จะท้าให้ธนาคารที่ได้รับเงินไว้เพื่อลูกค้าของตน อันเป็ นเงินที่
ธนาคารอื่นใช้ให้ตามเช็คขีดคร่อม ไม่ต้องรับผิดต่อผู้เป็ นเจ้าของอันแท้จริงแห่งเช็คนั้น
หากปรากฏต่อมาว่าลูกค้าของตนที่น้า เช็คมาเข้าบัญชีน้ันไม่มีสิทธิในเช็คนั้ นคือ หลัก
การกระท้าโดยสุจริตและปราศจากประมาทเลินเล่อ
9. เหตุท่ีแบบพิมพ์เช็คของธนาคาร จึงมีข้อความไว้ให้เติมรายการว่า “จ่าย… .หรือผู้
ถือ” เพราะ รายการในเช็คที่ส้าคัญต้องมีช่ ือหรือยี่ห้อของผู้รับเงินหรือค้า จดแจ้งว่าให้
ใช้เงินแก่ผถ ู้ ือ
10. หากมีการยื่นเช็คเพื่อให้ธนาคารใช้เงินเมื่อพ้นเวลา 6 เดือนนับแต่วันออกเช็คผล
คือ ธนาคารมีสิทธิท่ีจะไม่จ่ายเงินตามเช็ค
11. ก้า หนดเวลาให้ ย่ ื นเช็ ค ภายใน 1 เดื อ นนั บ แต่ วั น ออกเช็ ค ใช้ กั บ เช็ ค ที่ ใ ช้ เ งิ น ใน
เมืองเดียวกันกับที่ออกเช็ค
12. เช็คที่มีการขีดคร่อมเฉพาะให้แก่ 2 ธนาคารมีผลทางกฎหมายคือ ธนาคารตาม
เช็คบอกปั ดไม่ใช้เงินได้เว้นแต่เป็ นการขีดคร่อมให้แก่ธนาคารในฐานเป็ นตัวแทนเรียก
เก็บ
13. กรณี เ ช็ ค ไม่ ไ ด้ ล งวั น ที่ อ อกเช็ ค ไว้ ผู้ ท รงท้า การโดยสุ จ ริ ต จดวั น ตามที่ ถู ก ต้ อ ง
แท้จริงลงได้
14. ธนาคารที่ระบุไว้ในการขีดคร่อมเฉพาะ จะท้าการขีดคร่อมเฉาะซ้้าอีกอันหนึ่ งให้
แก่ธนาคารอื่นเพื่อเรียกเก็บเงินก็ได้
15. พิเศษถูกเอกฉ้อ ฉลให้ ออกเช็ค สั่ง จ่า ยเงินจ้า นวนหนึ่ ง แก่เ อก เอกไม่ก ล้า น้า เช็ค
นั้ น ไปขึ้น เงิน กับ ธนาคาร จึง ได้น้า เช็คนั้ น สลัก หลัง โอนช้า ระหนี้ ใ ห้ บ ริ ษัท สุจ ริต จ้า กัด
ทั้งๆ ที่บริษัทสุจริตจ้า กัดรู้อยู่แล้วว่าพิเ ศษถูกเอกฉ้อฉลให้ออกเช็คฉบับนั้ น แต่ก็ยังรับ
เช็คไว้ บริษท ั สุจริตจ้ากัด น้าเช็คเข้าบัญชีในธนาคารเพื่อเรียกเก็บ ธนาคารปฏิเสธการ
จ่ายเงินตามเช็ค บริษท ั สุจริต จ้ากัด มีสิทธิเรียกร้องจาก เอก ให้ช้าระหนี้ ตามเช็ค

หน่วยที่ 13 ตัว๋ สัญญาใชูเงิน อาย่ความ ตัว


๋ เงินปลอม ตัว
๋ เงิน
ถ้กลัก ตัว
๋ เงินหาย
1. ตัว
๋ สัญญาใช้เงินเป็ นตราสารซึ่งผู้ออกตั๋วให้ค้า มั่นสัญญาว่า จะใช้เงิน
จ้า นวนหนึ่ งให้แก่ผู้รับเงินหรือตามค้า สั่งของผู้รับเงิน ซึ่ง จะต้อ งมี รายการ
ตามที่กฎหมายก้าหนดไว้ โดยกฎหมายให้นับบทบัญญัติในบางเรื่องของตัว ๋
แลกเงินมาใช้กับตัว ๋ สัญญาใช้เงินด้วย
2. มู ล หนี้ ตามตั ๋ ว เงิ น จะต้ อ งด้า เนิ นการเรี ย กร้ อ งภายในอายุ ค วามที่
กฎหมายก้าหนดไว้เป็ นพิเศษซึ่งมี 3 กรณีคืออายุความฟ้ องผู้รับรองตัว ๋ แลก
88
เงินและผู้ออกตัว
๋ สัญญาใช้เงิน อายุความฟ้ องผู้ส่ังจ่ายและผู้สลักหลัง และ
อายุความผู้สลักหลังฟ้ องไล่เบี้ย นอกจากนั้นกฎหมายยังก้าหนดผลของการ
ที่อายุความสะดุดหยุดลงและผลของหนี้ เดิมเกี่ยวกับอายุความตัว ๋ เงิน
3. ตัว๋ เงินปลอม หมายถึงตัว ๋ เงินนั้นได้มีการกระท้าให้ผิดแปลกไปจากตัว ๋
เงินที่แท้จริง อาจจะเป็ นการปลอมทั้งฉบับ หรือบางส่วน
4. เมื่อตัว๋ เงินหาย หรือถูกลัก ผู้ทรงต้องบอกกล่าวเป็ นหนังสือไปยังผู้ออก
ตัว
๋ เงิน ผู้จ่าย ผู้สมอ้างยามประสงค์ ผู้รับรองเพื่อแก้หน้าและผู้รับอาวัลตาม
แต่มี เพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงินตามตัว ๋ เงินนั้น และอาจร้องขอไปยังผู้ส่ังจ่ายให้
ออกตัว ๋ เงินเป็ นเนื้ อความเดียวกันแก่ตนใหม่ฉบับหนึ่ งก็ได้
13.1 ตัว ๋ สัญญาใชูเงิน
1. ตัว
๋ สัญญาใช้เงินเป็ นตัว
๋ เงินประเภทหนึ่ งที่ผู้ออกตัว
๋ ให้ค้ามั่นว่าจะใช้เงิน
จ้านวนหนึ่ งให้แก่ผู้รับเงินหรือตามค้าสั่งของผู้รับเงิน
2. กฎหมายก้า หนดรายการที่ จ ะต้ อ งในตั๋ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น ไว้ ซึ่ ง จะต้ อ งมี
รายที่ขาดเสียมิได้รวม 4 รายการคือ (1) ค้า บอกชื่อว่าเป็ นตัว ๋ สัญญาใช้เงิน
(2) ค้ามั่นสัญญาอันปราศจากเงื่อนไขว่าจะใช้เงินเป็ นจ้านวนแน่ นอน (3) ชื่อ
หรือยี่ห้อของผู้รับเงิน และ (4) ลายมือชื่อผู้ออกตัว

3. กฎหมายก้าหนดให้น้าบทบัญญัติในบางเรื่องของตัว ๋ แลกเงินมาใช้กับ
ตัว
๋ สัญญาใช้เงินเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับสภาพแห่งตราสารชนิ ดนี้ ด้วย
4. ผู้ออกตัว
๋ สัญญาใช้เงินย่อมต้องผูกพันเป็ นอย่างเดียวกันกับผู้รับรองตัว

แลกเงิน
13.1.1 ความหมายของตัว ๋ สัญญาใช้เงิน
ตัว๋ สัญญาใช้เงินคืออะไร
ตั๋วสัญ ญาใช้ เ งิ น คื อหนั ง สื อ ตราสารซึ่ ง บุ ค คลหนึ่ ง เรี ยกว่ า ผู้ อ อกตั๋ว
ให้ค้า มั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจ้า นวนหนึ่ งแก่บุคคลอีกคนหนึ่ ง หรือให้ใช้ตาม
ค้าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ งเรียกว่าผู้รับเงิน
13.1.2 รายการในตัว ๋ สัญญาใช้เงิน
เค็มสั่งซื้อสินค้าจากหวานเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2536 เป็ นราคาสินค้า
ทั้งสิ้น 10,000 บาท เค็มยังไม่มีเงินจ่ายค่าสินค้าดังกล่าวแก่หวาน หวาน
ตกลงให้เค็มออกตัว ๋ สัญญาใช้เงินจ้านวนเงินดังกล่าวและดอกเบี้ยในอัตรา
ร้อยละ 12 ต่อปี ก้าหนดใช้เงินในวันที่ 1 ธันวาคม 2536
ให้ เ ขี ย นตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น ดั ง กล่ า วให้ มี ร ายการครบถ้ ว นตามที่
กฎหมายก้าหนดไว้
ออกที่บ้านเลขที่ 123 ถนน 86
ตัว
๋ สัญญาใช้เงิน แขวงบางมด เขตบางเขน
กรุงเทพฯ
89
วันที่ 1 มิถุนายน 2536
ข้ าพเจ้ านายเค็ มสัญญาว่ าจะใช้เ งิ น ให้ เ ป็ นจ้า นวน 10,000 บาท
พร้อมกับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 12 ต่อปี ของจ้านวนเงินดังกล่าวแก่
นายหวาย ในวันที่ 1 ธันวาคม 2536 ณ ภูมิล้าเนาของข้าพเจ้าข้างต้น
ลงชื่อ เค็ม

13.1.3 บทบัญญัติว่าด้วยตัว ๋ แลกเงินที่น้ามาใช้กับตัว


๋ สัญญาใช้เงิน
เมื่ อวั น ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2536 มะพร้ า วยื ม เงิ น มะนาว 10,000 บาท
ก้าหนดใช้คืนภายใน 3 เดือน มะนาวตกลงให้ยืมแต่ขอคิดดอกเบี้ยในอัตรา
ร้ อ ยละ 10 ต่ อ เดื อน คิ ด เป็ นค่ าดอกเบี้ ย 3,000 บาท ขอหั ก ค่ า ดอกเบี้ ย ล่ ว ง
หน้าคงจ่ายเงินสดไป 7,000 บาท และให้มะพร้าวออกตัว ๋ สัญญาใช้เงินลงวัน
ที่ 1 มิถุ น ายน 2536 สัญ ญาจะใช้ เ งิ น จ้า นวน 10,000 บาท แก่ ม ะนาว ต่ อ มา
มะนาวสลักหลังโอนตัว ๋ สัญญาใช้เงินให้แก่มะปรางเป็ นการช้า ระหนี้ ค่าซื้อ
สินค้า โดยมะปรางไม่รู้ถึงการคิดดอกเบี้ยดังกล่าว เมื่อตัว ๋ สัญญาใช้เงินถึง
ก้าหนดใช้เงิน มะปรางยื่นตัว ๋ เพื่อให้มะพร้าวใช้เงินมะพร้าวไม่ยอมใช้อ้างว่า
เป็ นหนี้ ท่ีเกิดขึ้นจากการกู้ยืมที่คิดดอกเบี้ยเกินกว่าอัตราที่กฎหมายก้าหนด
จงวินิจฉัยว่ามะปรางมีมีสิทธิเรียกร้องจากมะพร้าวได้หรือไม่ เพียงใด
กรณี เป็ นเรื่องที่มะปรางทรงตั๋วสัญญาใช้เงินฟ้ องมะพร้าว ผู้ออกตั๋ว
สัญญาใช้เงินให้ช้าระหนี้ ตามตัว ๋ นั้น เช่นนี้ มะพร้าวไม่อาจยกข้อต่อสู้ในเรื่อง
การคิดดอกเบี้ยเกินอัตราขึ้นเป็ นข้อต่อสู้ท่ีมะพร้าวมีต่อมะนาวผู้ทรงคนก่อน
มาใช้กับมะปรางได้ ทั้งนี้ เพราะการอนตั๋วสัญญาใช้เงินระหว่ างมะนาวกั บ
มะปรางมิได้มีขึ้นด้วยการคบคิดกันฉ้อฉล กรณี ต้องบังคับตามมาตรา 916
ซึ่งมาตรา 985 ให้น้ามาใช้กับตัว ๋ สัญญาใช้เงินด้วย มะพร้าวต้องรับผิดใช้เงิน
ด้วย มะพร้าวต้องรับผิดใช้เงินเต็มจ้านวนในตัว ๋ สัญญาใช้เงินแก่มะปราง

13.1.4 ความรับผิดของผู้ออกตัว ๋ สัญญาใช้เงิน


อธิบายว่ากฎหมายก้า หนดความรับผิดของผู้ออกตัว ๋ สัญญาใช้เงินไว้
อย่างไร
มาตรา 986 ก้าหนดความรับผิดของผู้ออกตัว ๋ สัญญาใช้เงินเสมือนกับ
ความรับผิดของผู้รับรองตัว ๋ แลกเงิน กล่าวคือผู้ออกตัว ๋ สัญญาใช้เงินย่อมได้
ลงลายมื อ ชื่ อของตนในฐานะผู้ อ อกตั๋ว ซึ่ ง มี ข้ อ ความเป็ นค้า มั่ น ปราศจาก
เงื่อนไขว่าจะใช้เงินจ้านวนแน่ นอนให้แก่ผู้รับเงิน ย่อมเป็ นอันสัญญาว่าจะใช้
เงิ น ตามตั๋ว นั้ น แก่ ผู้ ท รงเมื่ อตั๋ว ถึ ง ก้า หนดใช้ เ งิ น ในกรณี ข องตั๋ว แลกเงิ น
ความรับผิดของผู้จ่ายเกิดขึ้นเมื่อผู้จ่ายได้ลงลายมือชื่อรับรองตัว ๋ แลกเงิน ใน
กรณี ข องตั๋ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น เมื่ อมาตรา 986 ก้า หนดให้ ผู้ อ อกตั๋ว รั บ ผิ ด อย่ า ง
เดี ย วกั บ ผู้ รั บ รองตั๋ ว แลกเงิ น แล้ ว จึ ง ไม่ มี ค วามจ้า เป็ นที่ จ ะต้ อ งมี วิ ธี ก าร
รับรองตัว ๋ สัญญาใช้เงินดังเช่นกรณี ของตัว ๋ แลกเงินเว้นแต่เป็ นตั๋วสัญญาใช้
เงินที่ออกมาแต่ต่างประเทศ
13.2 อาย่ความตัว
๋ เงิน
90
1. อายุ ค วามตามลู ก หนี้ เดิ ม และอายุ ค วามตามตั๋ ว เงิ น กฎหมาย
ก้าหนดไว้แตกต่างดันโดยอายุความตัว ๋ เงินก้าหนดไว้ส้ันกว่าอายุความตาม
มูลหนี้ เดิม
2. กฎหมายก้าหนดอายุความตัว ๋ เงินไว้เป็ นพิเศษ ในกรณีฟ้องผู้รับรองตัว ๋
แลกเงินหรือผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาสามปี นั บแต่
วันตัว
๋ นั้นถึงก้าหนดใช้เงิน
3. ในกรณี ผู้ทรงตัว๋ เงินฟ้ องผู้สลักหลังและผู้ส่ังจ่าย ห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อ
พ้นเวลาหนึ่ งปี นับแต่วันที่ได้ลงในค้าคัดค้าน หรือนับแต่วันตัว ๋ เงินถึงก้าหนด
ในกรณีท่ีมีข้อก้าหนดไว้ว่าไม่จ้าต้องมีค้าคัดคาน
4. ในกรณี ผู้สลักหลังฟ้ องไล่เบี้ยกันเองและไล่เบี้ยเอาแก่ผู้ส่ ังจ่าย ห้ามมิ
ให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วันที่ผู้สลักหลังเข้าถือเอาตัว ๋ เงินและใช้
เงิน หรือนับแต่วันที่ผู้สลักหลังนั้นเองถูกฟ้ อง
5. เมื่ ออายุ ค วามสะดุ ด หยุ ด ลงแก่ คู่ สั ญ ญาแห่ ง ตั๋ว เงิ น ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง
ย่อมมีผลสะดุดหยุดลงเพียงแก่แก่คส ู่ ัญญาฝ่ ายนั้นเท่านั้น
6. ถ้าตัว๋ เงินได้ท้าขึ้นหรือได้โอนหรือสลักหลังไปแล้วในมูลหนี้ อันใด และ
สิทธิตามตั๋วเงินสูญสิ้นไปเพราะอายุความ หนี้ เดิมนั้นก็ยังคงมีอยู่เท่าที่ลูก
หนี้ มต
ิ ้องเสียหายแต่การนั้น เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น
13.2.1 อายุความตามมูลหนี้ เดิม และอายุความตามตัว ๋ เงิน
ก. สั่งจ่ายเช็คฉบับหนึ่ งแก่ ข. ต่อมา ข. เอาเช็คนั้นไปท้าสัญญาขายลด
ให้แก่ธนาคาร เมื่อถึงก้าหนดธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน หลังจาก
นั้น 1 ปี ธนาคารที่รับซื้อลดเช็คได้น้า เช็คนั้ นไปฟ้ องให้ ก. และ ข. รับผิดใช้
เงิ น คื น ก. และ ข. สู้ ค ดี ว่ าขาดอายุ ค วามแล้ ว ให้ วิ นิ จ ฉัย ว่ า ข้ อ ต่ อ สู้ ข อง ก.
และ ข. ฟั งได้หรือไม่พียงใด
กรณีเป็ นเรื่องธนาคารฟ้ อง ก. ให้รับผิดในฐานะผู้ทรงเช็คตามมาตรา
1002 เมื่อเกิน 1 ปี นับแต่วันออกเช็คคดีจึงขาดอายุความ ส่วนธนาคารฟ้ อง
ข. นั้นเป็ นการฟ้ องให้รับผิดตามสัญญาขายลดเช็คมีอายุความ 10 ปี คดีไม่
ขาดอายุความ ดังนั้น ข้อต่อสู้ของ ก. ฟั งขึ้น ส่วนข้อต่อสู้ของ ข. ฟั งไม่ได้
13.2.2 อายุความฟ้ องผู้รับรองตัว
๋ แลกเงินและผู้ออกตัว
๋ สัญญาใช้
เงิน
จั น ทร์ ออกตั๋ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น ลงวั น ที่ 1 มี น าคม 2532 สั ญญาจะใช้ เ งิ น
จ้านวนหนึ่ งแก่อังคารผู้รับเงิน เมื่อผู้รับเงินเรียกร้องทวงถาม ต่อมาวันที่ 1
มีนาคม 2536 อังคารให้ทนายความทวงถามจันทร์ให้ใช้เงินตามตัว ๋ และต่อ
มาเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2536 อังคารได้ย่ ืนฟ้ องจันทร์ให้รับผิดตามตั๋ว ให้
วินิจฉัยว่าคดีของอังคารขาดอายุความฟ้ องร้องแล้วหรือไม่
กรณี เป็ นตัว
๋ สัญญาใช้เงินเมื่อทวงถาม ผู้ออกตัว ๋ ให้ใช้เงินตามตัว
๋ เป็ น
วันเริ่มต้นถึงก้าหนดใช้เงิน ดังนั้นจึงต้องถือเอาวันที่ 1 มีนาคม 2536 เป็ นวัน
91
เริ่มนั บอายุ ความ เมื่ ออั งคารฟ้ อ งคดีภ ายใน 3 ปี นับแต่วัน ถึง ก้า หนดใช้
เงินดังกล่าว คดีของอังคารจึงไม่ขาดอายุความ
13.2.3 อายุความฟ้ องผู้ส่ังจ่ายและผู้สลักหลัง
มะลิออกเช็คสั่งให้ธนาคารชาวนาไทยจ่ายเงินจ้า นวนห้าพันบาทแก่
กุ ห ลาบลงวั น ที่ ส่ั งจ่ า ย 1 มกราคม 2536 ต่ อ มาวั น ที่ 15 มกราคม 2536
กุ ห ลาบน้า เช็ ค ดั ง กล่ า วยื่ นต่ อ ธนาคารชาวนาไทยเพื่ อให้ ใ ช้ เ งิ น ธนาคาร
ชาวนาไทยปฏิ เ สธการจ่ า ยเงิ น ตามเช็ ค อ้ า งว่ า เงิ น ในบั ญ ชี ม ะลิ ไ ม่ พ อจ่ า ย
กุหลาบทวงถามเงินตามเช็คจากมะลิแต่มะลิผัดผ่อนเรื่อยมาจนกระทั่งวันที่
10 มกราคม 2537 กุ ห ลาบจึ ง ได้ ย่ ื นฟ้ องมะลิ ต่ อ ศาลขอให้ บัง คั บ ใช้ เ งิ น ตาม
เช็ค มะลิต่อสู้ว่าคดีขาดอายุความแล้ว ให้วินิจฉัยว่าข้อต่อสู้ของมะลิดังกล่าว
ฟั งขึ้นหรือไม่
กรณี เป็ นเรื่องที่กุหลาบในฐานะผู้ทรงเช็คฟ้ องมะลิผู้ส่ังจ่ายเช็คให้รับ
ผิดตามความในเช็ค จึงอยู่ในบังคับของอายุความตามมาตรา 1002 กุหลาบ
จะต้องฟ้ องมะลิก่อนพ้นเวลา 1 ปี นับแต่วันเช็คถึงก้า หนด ซึ่งในกรณี น้ี วันที่
เช็คถึงก้าหนดคือวันที่ลงในเช็ค 1 มกราคม 2536 เมื่อกุหลาบฟ้ องคดีในวันที่
10 มกราคม 2537 จึ ง พ้ น เวลา 1 ปี คดี ข าดอายุ ค วามฟ้ องร้ อ ง ข้ อ ต่ อ สู้ ข อง
มะลิฟังขึ้น
13.2.4 อายุความฟ้ องผู้สลักหลังฟ้ องไล่เบี้ยกันเองและผู้ส่ังจ่าย
กฎหมายก้า หนดอายุความในคดีท่ีผู้สลักหลังฟ้ องไล่เบี้ยกันเองและ
ไล่เบี้ยเอาแก่ผู้ส่ังจ่ายแห่งตัว๋ เงินไว้อย่างไร
มาตรา 1003 บั ญ ญัติ ใ ห้ มี ผลว่ า ในคดี ท่ี ผู้ส ลั ก หลั ง ฟ้ องไล่ เ บี้ ย กั น เอง
และไล่เบี้ยเอาแก่ผู้ส่ังจ่าย ห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วันที่
ผู้สลักหลังเข้าถือเอาตัว ๋ เงินและใช้เงิน หรือนับแต่วันที่ผู้สลักหลังนั้นเองถูก
ฟ้ อง
มาตรา 1003 ในคดีผู้สลักหลังทั้งหลายฟ้ องไล่เบี้ยกันเอง และไล่เบี้ยเอาแก่ผู้
สั่งจ่ายแห่งตัว๋ เงิน ท่านห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาหกเดือนนับแต่วันที่ผู้สลักหลังเข้า
ถือเอาตัว๋ เงินและใช้เงินหรือนับแต่วน ั ที่ผู้สลักหลังนั้นเองถูกฟ้ อง
13.2.5 อายุความสะดุดหยุดลง
ด้า เป็ นผู้ส่ังจ่ายตั๋วแลกเงิน เขียวเป็ นผู้รับรอง เหลืองและแดงเป็ นผู้
สลักหลัง ตัว ๋ ขาดความเชื่อถือ พิเศษซึ่งเป็ นผู้ทรงตัว ๋ แลกเงินท้า ค้า คัดค้าน
แล้วใช้สิทธิไล่เบี้ยฟ้ องแดงผู้สลักหลังให้รับผิดแต่เพียงผู้เดียว เวลาผ่านไป
กว่า 3 ปี คดีท่ีพิเศษฟ้ องแดงยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์
พิเศษจึงได้มาฟ้ องด้า เขียว และเหลืองให้รับผิด ด้า เขียว และเหลืองยกอายุ
ความขึ้นต่อสู้ ให้วินิจฉัยว่าคดีท่ีพิเศษฟ้ องด้า เขียว และเหลืองให้รับผิดดัง
กล่าวขาดอายุความหรือไม่
กรณี ของด้าและเหลือง เป็ นการฟ้ องผู้ส่ังจ่ายและผู้สลักหลัง ซึ่งตาม
มาตรา 1002 ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาหนึ่ งปี นับแต่วันที่ได้ลงในค้า คัดค้าน
และกรณี ของเขียวเป็ นการฟ้ องผู้รับรองตัว ๋ แลกเงิน ซึ่งมาตรา 1001 ห้ามมิ
92
ให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาสามปี นับแต่วันตัว
๋ ถึงก้า หนด การที่พิเศษฟ้ องแดงผู้
สลักหลังคนหนึ่ ง หาท้าให้อายุความสะดุดหยุดลงแก่ด้า เขียว และเหลืองไม่
ทั้งนี้ โดยผลของมาตรา 1004 คดีของพิเศษจึงขาดอายุความ
มาตรา 1001 ในคดี ฟ้ องผู้ รั บ รองตั๋ว แลกเงิ น ก็ ดี ผู้ อ อกตั๋ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น ก็ ดี
ท่านห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นเวลาสามปี นับแต่วันตัว๋ นั้น ๆ ถึงก้าหนดใช้เงิน
มาตรา 1002 ในคดีท่ีผู้ทรงตัว ๋ เงินฟ้ องผู้สลักหลังและผู้ส่ังจ่าย ท่าน ห้ามมิให้
ฟ้ องเมื่อพ้น เวลาปี หนึ่ งนั บ แต่วัน ที่ได้ลงในค้า คัด ค้านซึ่ง ได้ท้า ขึ้ น ภายในเวลาอั น ถูก
ต้องตามก้า หนด หรือนั บ แต่วันตั๋วเงิน ถึงก้า หนด ใน กรณี ท่ีมีข้อก้า หนดไว้ว่า "ไม่จ้า
ต้องมีค้าคัดค้าน"
มาตรา 1004 เมื่ออายุความสะดุด หยุดลงเพราะการอัน หนึ่ งอันใด ซึ่งกระท้า
แก่คู่สัญ ญาแห่ ง ตั๋วเงิ น ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง ท่า นว่ าย่ อมมีผ ลสะดุ ด หยุ ด ลงเพียงแต่ แก่คู่
สัญญาฝ่ ายนั้น
13.2.6 ผลของหนี้ เดิมเกี่ยวกับอายุความตัว ๋ เงิน
เค็ ม สั่ ง จ่ ายเช็ ค จ้า นวนหนึ่ ง พั น บาทน้า ไปแลกเงิ น สดจากจื ด ซึ่ ง เป็ น
เพื่อกัน จืดลืมเช็คไว้ในโต๊ะท้างานจนเวลาล่วงพ้นไปกว่าหนึ่ งปี นับแต่วันสั่ง
จ่ายเช็คแล้ว จึงได้น้าเช็คไปยื่นต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน ธนาคารปฏิเสธการ
ใช้เงินตามเช็คจืดทวงเงินตามเช็คจากเค็ม แต่เค็มปฏิเสธไม่ยอมใช้ให้ จงให้
ค้าแนะน้าแก่จืดว่ามีทางที่จะได้รับช้าระหนี้ จ้านวนหนึ่ งพันบาทนี้ หรือไม่
สิทธิเรียกร้องในมูลหนี้ ตามเช็คซึ่งจืดในฐานะผู้ทรงมีต่อเค็มผู้จ่ายนั้น
กฎหมายก้าหนดอายุความไว้เพียงหนึ่ งปี เต็ม มาตรา 1002 ดังนั้น จึงไม่อาจ
ใช้สิทธิฟ้องบังคับให้เค็มช้า ระหนี้ ตามเช็คเพราะถ้าเค็มต่อสู้ว่าคดีขาดอายุ
ความฟ้ องร้องแล้วศาลก็ต้องพิพากษายกฟ้ อง และกรณี น้ี เ ป็ นเรื่ องการสั่ ง
จ่ายเช็คแลกเงินสด จึงไม่มีมูลหนี้ เดิมที่จะบังคับกันได้อีก
13.3 ตัว
๋ เงินปลอม ตัว
๋ เงินถ้กลัก ตัว
๋ เงินหาย
1. ตัว
๋ เงินปลอมหมายถึง ตัว ๋ เงินที่มีการกระท้า ให้ผิดแปลกไปจากตัว
๋ เงิน
ที่แท้จริง ได้แก่ ตัว๋ เงินที่มีลายมือชื่อปลอมหรือมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขใน
ข้อส้าคัญแห่งตัว ๋ เงิน
2. การที่ลายมืออัน หนึ่ งในตั๋ว เงิน ปลอมย่อ มไม่ก ระทบถึง ความสมบูร ณ์
ของลายมือชื่ออื่นๆ ในตัว
๋ เงิน แต่ผลที่มีต่อลายมือชื่อปลอมหรือลายมือชื่อลง
โดยปราศจากอ้านาจนั้น กฎหมายก้าหนดว่าเป็ นอันใช้ไม่ได้เลย
3. ถ้าข้อความในตัว
๋ เงินใดมีการเปลี่ยนแปลงในข้อส้า คัญ ตัว ๋ เงินนั้นเป็ น
อันเสียไป เว้นแต่ยังคงใช้ได้ต่อคู่สัญญาซึ่งเป็ นผู้ท้า การแก้ไขเปลี่ยนแปลง
นั้น หรือได้ยินยอมกับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้น กับผู้สลักหลังในภายหลัง
93
4. เมื่อตัว
๋ เงินถูกลักหรือตัว
๋ เงินหาย ผู้ทรงต้องบอกกล่าวเป็ นหนังสือไป
ยังผู้ออกตั๋วเงิน ผู้จ่ายผู้สมอ้างยามประสงค์ ผู้รับรองเพื่อแก้หน้าและผู้รับ
อาวัลตามแต่มี เพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงินตามตัว ๋ นั้น
13.3.1 ตัว ๋ เงินปลอม
ด้า ลงลายมื อ ชื่ อในเช็ ค สั่ ง ธนาคารสยามพาณิ ช ย์ ใ ห้ จ่ า ยเงิ น จ้า นวน
1,000 บาทแก่ แดง ต่ อ มาแดงท้า เช็ ค หายมี ค นเก็ บ ได้ แ ล้ ว ปลอมลายมื อ ชื่ อ
แดงสลักหลังโอนให้ขาวผู้รับโอนไว้โดยสุจริต ขาวสลักหลังเช็คโอนใช้หนี้ ค่า
ซื้อสินค้าแก่บริษท ั มะม่วงจ้ากัด
(ก) หากบริ ษัท มะม่ว งจ้า กั ด น้า เช็ คไปยื่ นต่ อธนาคารสยามพาณิ ชย์
แต่ธนาคารสยามพาณิ ชย์ปฏิเสธการใช้เงินบริษท ั มะม่วงจ้า กัดจะเรียกร้อง
เงินตามเช็คจากใครได้บ้างหรือไม่
(ข) หากธนาคารสยามพาณิ ชย์จ้า กัดได้จ่ายเงินตามเช็คให้แก่บริษท ั
มะม่ ว งจ้า กั ด ไปโดยไม่ ท ราบว่ า ลายมื อ ชื่ อของแดงเป็ นลายมื อ ชื่ อปลอม
ธนาคารสยามพาณิ ชย์จ้า กัดจะหักเงินที่จ่ายไปจากบัญชีเงินฝากของด้า ได้
หรือไม่
(ก) บริษท ั มะม่วงจ้ากัด เรียกเงินตามเช็คได้จากขาวผู้สลักหลัง แต่
ไม่มีสิทธิเรียกร้องจากแดงเพราะลายมือชื่อแดงเป็ นลายมือชื่อปลอม และ
ไม่มีสิทธิเรียกร้องจากด้าผู้ส่ังจ่ายเพราะการสลักหลังขาดสาย
(ข) ธนาคารหักบัญชีเงินฝากของด้า ได้เพราะธนาคารได้ใช้เงินตาม
เช็คไปตามทางการค้าปกติ โดยสุจริตและปราศจากประมาทเลินเล่อ ถึงแม้
ลายมือชื่อของแดงจะปลอมแต่ก็เป็ นลายมือชื่อผู้สลักหลังไม่ใช่ลายมือชื่อผู้
สั่งจ่าย ธนาคารย่อมได้รับการคุ้มครองตามมาตรา 1009
มาตรา 1009 ถ้ามีผู้น้าตัว๋ เงินชนิ ดจะพึงใช้เงินตามเขาสั่งเมื่อทวงถาม มาเบิก
ต่อธนาคารใด และธนาคารนั้นได้ใช้เงินให้ไปตามทางค้าปกติโดย สุจริตและปราศจาก
ประมาทเลินเล่อไซร้ ท่านว่าธนาคารไม่มีหน้าที่จะ ต้องน้าสืบว่าการสลักหลังของผู้รับ
เงิน หรือการสลักหลังในภายหลังราย ใด ๆ ได้ท้าไปด้วยอาศัยรับมอบอ้านาจแต่บุคคล
ซึ่ง อ้างเอาเป็ นเจ้าของ ค้า สลัก หลั ง นั้ น และถึง แม้ว่ ารายการสลั ก หลัง นั้ น จะเป็ นสลัก
หลังปลอม หรือปราศจากอ้านาจก็ตาม ท่านให้ถือว่าธนาคารได้ใช้เงินไปถูกระเบียบ
13.3.2 ตัว ๋ เงินถูกลัก ตัว
๋ เงินหาย
เมื่ อตั๋ว เงิ น หายไปจากการครอบครองของผู้ ท รง กฎหมายก้า หนด
หน้าที่ของผู้ทรงไว้อย่างไร
ผู้ทรงมีหน้าที่บอกกล่าวเป็ นหนั งสือแจ้งไปยังคู่สัญญาทุกฝ่ ายในตั๋ว
เงินเพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงินตามตัว ๋ มาตรา 1010
มาตรา 1010 เมื่อผู้ทรงตัว ๋ เงินซึ่งหายหรือถูกลักทราบเหตุแล้วในทันใดนั้นต้อง
บอกกล่าวเป็ นหนังสือไปยังผู้ออกตัว ๋ เงิน ผู้จ่าย ผู้สมอ้างยามประสงค์ ผู้รับรองเพื่อแก้
หน้าและผู้รับอาวัล ตามแต่มีเพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงินตามตัว ๋ เงินนั้น
แบบประเมินผลหน่วยที่ 13
1. ผู้มีหน้าที่ใช้เงินตามตัว
๋ สัญญาใช้เงินคือ ผู้ออกตัว

94
2. ค้าบอกชื่อว่าเป็ นตัว
๋ สัญญาใช้เงิน เป็ นรายการส้าคัญซึ่งจะขาดเสียมิได้ในตัว

สัญญาใช้เงิน
3. การก้า หนดอั ตราดอกเบี้ ยในตั ๋วสั ญญาใช้เ งิน ถ้า ตัว สัญ ญาใช้ เงิน ไม่ ไ ด้ ก้า หนด
ดอกเบี้ยไว้ ผู้ทรงเรียกดอกเบี้ยไม่ได้
4. ในคดีฟ้องผู้รับรองตัว ๋ แลกเงินหรือผู้ออกตัว ๋ สัญญาใช้เงิน กฎหมายห้ามมิให้ฟ้อง
เพื่อพ้นเวลา 3 ปี นับแต่วน ั ที่ตัว
๋ นั้นถึงก้าหนดใช้เงิน
5. ในคดีผู้ทรงเช็คฟ้ องผู้ส่ ังจ่ายให้รับผิดตามตัว ๋ เงิน กฎหมายห้ามมิให้ฟ้องคดี เมื่อ
พ้นก้าหนด 1 ปี นับแต่วันที่ลงในเช็ค
6. ในคดีท่ีผู้สลักหลังฟ้ องไล่เบี้ยกันเองและไล่เบี้ยเอาแก่ผู้ส่ ังจ่าย กฎหมายห้ามมิให้
ฟ้ องคดี เมื่อพ้นเวลา 6 เดือน นับแต่วันที่ผู้สลักหลังเข้าถือเอาตัว ๋ เงินและใช้เงินหรือนับ
แต่วันที่ผู้สลักหลังนั้นเองถูกฟ้ อง
7. การที่ลายมือชื่ออันหนึ่ งในตัว ๋ เงินปลอมนั้น ย่อมไม่กระทบถึงความสมบูรณ์แห่ง
ลายมือชื่ออื่นๆ ในตัว ๋ เงินนั้น
8. การลงลายมื อ ชื่ อในกรณี ท่ี ถื อ ว่ า เป็ นการลงลายมื อ ชื่ อปลอม เช่ น ด้า ลงชื่ อว่ า
“แดง” โดยเจตนาให้คนอื่นเข้าใจว่าเป็ นลายมือชื่อของแดง
9. ธนาคารซึ่ง ไม่จ่ ายเงินตามเช็คให้แ ก่ผู้ ทรงตามทางค้ าโดยสุจ ริต และปราศจาก
ประมาทเลินเล่อจะหักเงินที่ได้จ่ายไปนั้ นจากบัญชีลูกค้าไม่ได้ในกรณี ลายมือชื่อผู้ส่ัง
จ่ายปลอม
10. ตัว๋ เงิน หายหรือถูก ลัก ผู้ทรงมีหน้าที่ คือ บอกกล่าวเป็ นหนั ง สือเป็ นลายลัก ษณ์
อักษร ไปยังคู่สัญญาทุกฝ่ ายแห่งตัว ๋ เงินเพื่อให้บอกปั ดไม่ใช้เงินตามตัว ๋ นั้น
11. ผู้ท่ีเป็ นคู่สัญญาในตัว ๋ สัญญาใช้เงินคือ ผู้ออกตัว ๋ ผู้รบ
ั เงิน
12. อายุความ 3 ปี นับแต่วันที่ตัว
๋ ถึงก้าหนดใช้เงินใช้ส้าหรับกรณี ผู้สลักหลังฟ้ องผู้ส่ัง
จ่าย
13. ด้า ออกเช็ค สั่ง จ่า ยธนาคารให้ ธนาคารจ่ า ยเงิน จ้า นวนหนึ่ ง แก่ แ ดง แต่ ธนาคาร
ปฏิเสธการใช้เงินตามเช็ค ถ้าแดงจะฟ้ องเรียกเงินตามเช็คจากด้า จะฟ้ องเสียภายใน
ก้าหนดเวลา ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ท่ีลงในเช็ค
14. เค็มออกเช็คสั่งให้ธนาคารจ่ายเงินจ้านวนหนึ่ งแก่ให้จืด จืดสลักหลังโอนให้หวาน
เป็ นการช้า ระหนี้ หวานสลักหลังโอนให้เปรี้ยว เปรี้ยวยื่นเช็คต่อธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน
แต่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เปรี้ยวเรียกร้องเงินตามเช็คจากหวานและได้เงินตาม
เช็คไปแล้ว เปรี้ยวคืนเช็คให้หวาน เช่นนี้ หากหวานประสงค์จะฟ้ องไล่เบี้ยจากจืด จะ
ต้องฟ้ องภายในอายุความ ภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่หวานใช้เงินตามเช็คให้แก่เปรี้ยว
ไป
15. ด้าลงชื่อว่าแดง โดยตั้งใจลงชื่อแทนแดง แต่ความจริงแดงหาได้มอบอ้านาจให้ด้า
ลงชื่อแทนไม่ เช่นนี้ ลายมือชื่อลงโดยปราศจากอ้านาจของแดง ซึ่งแดงอาจให้สัตยาบัน
ในภายหลังได้
16. ธนาคารซึ่งได้ใช้เงินไปตามเช็คซึ่งมีรายการสลักหลังปลอม จะถือว่าได้ใช้เงินไป
ถูกระเบียบเมื่อ ได้ใช้เงินโดยตรวจลายมือคู่สัญญาในตัว ๋ ถูกต้อง
95
หน่ ว ยที่ 14 แนวปฏิ บัติ ท างธ่ ร กิ จ เกี่ย วกั บ ตัว
๋ เงิ น และการ
ประกันดูวยบ่คคลและทรัพย์
1. ตั๋ว แลกเงิ น เป็ นเครื่ องมื อ ทางธุ ร กิ จ การค้ า ท้า ให้ ด้า เนิ น การไปอย่ า ง
สะดวกประหยัดและปลอดภัย
2. แนวปฏิบัติทางธุรกิจ การประกัน เป็ นเครื่องมืออีกชนิ ดหนึ่ งที่ส่งเสริม
ให้ธร
ุ กิจด้าเนิ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ระหว่างผู้ร่วมค้าด้วย
14.1 แนวปฏิบัติทางธ่รกิจเกีย
่ วกับตัว

1. ตัว๋ แลกเงินมีความส้าคัญต่อธุรกิจการค้าอย่างมาก เป็ นตราสารที่เจ้า
หนี้ ส่ังให้ลูกหนี้ จ่ายเงินและสามารถท้าตราสารอันนี้ เพื่อ
(1) เป็ นเครื่องมือในการช้าระหนี้
(2) เป็ นเครื่องมือหรือหลักประกันในการขอกู้ยืมเงิน
(3) เป็ นเครื่องมือในการโอน หรือขนส่งเงิน
2. ตัว ๋ สัญญาใช้เงิน เป็ นเครื่องมือเครดิต ที่มีความส้าคัญต่อธุรกิจการค้า
เช่ นเดียวกับตั๋วแลกเงิน เป็ นตราสารที่ ลูก หนี้ อ อกให้ เ จ้ า หนี้ โดยให้ ค้า มั่น
สัญญาว่าจะใช้เงินจ้านวนหนึ่ งแก่บุคคลหนึ่ ง
3. เช็ ค เป็ นเครื่ องมื อ ที่ ใ ช้ เ พื่ อช้า ระหนี้ เป็ นตราสารที่ ผู้ ส่ั ง จ่ า ยสั่ ง ให้
ธนาคารจ่ า ยเงิ น แก่ ผู้ รั บ ซึ่ ง มี ค วามส้า คั ญ ต่ อ ธุ ร กิ จ การค้ า มาก ผู้ ท รง
สามารถน้าตราสารนี้ เพื่อ
(1) ช้าระหนี้
(2) เป็ นหลักประกันเพื่อกู้ยืมเงิน
14.1.1 แนวปฏิบัติทางธุรกิจเกี่ยวกับตัว ๋ แลกเงิน
ตัว
๋ แลกเงินมีความส้าคัญต่อธุรกิจอย่างไร
ตัว๋ แลกเงินมีความส้าคัญต่อธุรกิจอย่างมาก สามารถน้าตราสารอันนี้
เพื่อเป็ นประโยชน์ ดังนี้
(1) เครื่องมือในการช้าระหนี้
(2) หลักประกันในการขอกู้เงิน
(3) เป็ นเครื่องมือในการโอนหรือขนส่งเงิน
14.1.2 แนวปฏิบัติทางธุรกิจเกี่ยวกับตัว ๋ สัญญาใช้เงิน
นาย ก. เป็ นตัวแทนจ้าหน่ ายน้้ามันปิ โตรเลี่ยม การซื้อขายแต่ละครั้ง
การปิ โตรเลี่ยมจะให้เครดิต 30 วัน โดยจะยอมรับตัว ๋ สัญญาใช้เงินที่ธนาคาร
อาวั ล จากผู้ ซ้ ื อ เ พื่ อใ ห้ มี ก าร ซื้ อขาย เ ป็ น ไ ปต าม แ น ว ปฏิ บั ติ ของ ก าร
ปิ โตรเลียม นาย ก. จะปฏิบัติอย่างไร
96
นาย ก. ออกตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น โดยระบุ ข้ อ ความครบถ้ ว นตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 983 แล้วน้า ไปให้ธนาคารอาวัล
จึงส่งมอบให้แก่การปิ โตรเลี่ยมเพื่อรับน้้ามัน
มาตรา 983 ตัว
๋ สัญญาใช้เงินนั้น ต้องมีรายการดั่งจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) ค้าบอกชื่อว่าเป็ นตัว
๋ สัญญาใช้เงิน
(2) ค้ามั่นสัญญาอันปราศจากเงื่อนไขว่าจะใช้เงินเป็ นจ้านวนแน่ นอน
(3) วันถึงก้าหนดใช้เงิน
(4) สถานที่ใช้เงิน
(5) ชื่อ หรือยี่ห้อของผู้รับเงิน
(6) วันและสถานที่ออกตัว
๋ สัญญาใช้เงิน
(7) ลายมือชื่อผู้ออกตัว

14.1.3 แนวปฏิบัติทางธุรกิจเกี่ยวกับเช็ค
ท่ า นมี วิ ธีส่ั ง จ่ ายเช็ ค อย่ า งไร จึ ง จะเป็ นวิ ธี ก ารที่ รั ด กุ ม และปลอดภั ย
อธิบาย
การสั่งจ่ายเช็ควิธีท่ีรัดกุมและปลอดภัยที่สุด ควรระบุช่ ือผู้รับเงิน ขีด
ฆ่า “หรือ ผู้ถื อ” ออกและขี ดคร่อ มเช็ค ในกรณี ท่ี จ้า เป็ นเท่ า นั้ น จึ ง จะสั่ ง จ่ า ย
เช็คเงินสด หรือเช็คผู้ถือ
14.2 แนวปฏิบัติทางธ่รกิจเกีย่ วกับการประกันดูวยบ่คลและ
ทรัพย์
1. การประกันด้วยบุคคล เป็ นกรณีท่ ีมีบุคคลภายนอกเข้ามาท้าสัญญาค้้า
ประกันจะช้า ระหนี้ แทนลูกหนี้ ต่อเจ้าหนี้ ในเมื่อลูกหนี้ ไม่ช้า ระ การประกัน
ด้วยบุคคลมีบทบาทต่อธุรกิจการค้าอย่างมาก
2. การค้้าประกันด้วยบุคคล เจ้าหนี้ จะพิจารณาถึง ความสามารถในการ
ช้าระหนี้ ของลูกหนี้ และของผู้ค้ าประกัน
3. การประกั น ด้ ว ยทรั พ ย์ เป็ นการที่ ผู้ ป ระกั น เอาทรั พ ย์ เ ข้ า เป็ นหลั ก
ประกันในหนี้ ของลูกหนี้ คือ การจ้านอง และจ้าน้า
4. การประกันด้วยทรัพย์ มีบทบาทต่อธุรกิจการค้ามากเช่นกัน ตามปกติ
ธนาคารจะพิ จ ารณาถึ ง วั ต ถุ ประสงค์ ข องการกู้ และความสามารถในการ
ช้า ระหนี้ คืนของผู้กู้เป็ นอันดับแรก ส่วนหลีกประกันจะพิจารณาอันดับสอง
ทั้งนี้ เนื่ องจากวัตถุประสงค์ของการให้กู้ ธนาคารหวังจะให้ผู้กู้ช้า ระคืนด้วย
เงินไม่ใช่หลักทรัพย์ท่ีน้ามาเป็ นประกัน
14.2.1 แนวปฏิบัติทางธุรกิจเกี่ยวกับการประกันด้วยบุคคล
แนวปฏิบัติทางธุรกิจ บุคคลประเภทไหนสามารถเป็ นผู้ค้ าประกันหนี้
ของธนาคารได้ แ ละหนี้ น้ั น หากแยกออกตามประเภทของสิ น เชื่ อสามารถ
แยกออกได้มีอะไรบ้าง
97
แนวทางปฏิ บั ติ ท างธุ ร กิ จ บุ ค คลที่ ธ นาคารยิ น ยอมให้ เ ป็ นผู้ ค้ า
ประกันหนี้ ได้น้ัน จะต้องเป็ นบุคคลที่ธนาคารเชื่อถือและไว้ใจได้ นอกจากนั้น
จะต้ อ งมี ท รั พ ย์ สิ น พอที่ จ ะช้า ระหนี้ แก่ ธ นาคารได้ ห ากลู ก หนี้ ไม่ ย อมช้า ระ
ส่วนหนี้ ท่ีค้ าประกันได้ด้วยบุคคล สามารถแยกออกได้ดังนี้
(1) เงินกู้ท่ัวไป
(2) เงินกู้เบิกเกินบัญชี
(3) การซื้อลดตัว
๋ เงิน
(4) การค้้าประกัน
(5) การรับรองและอาวัลตัว
๋ เงิน
14.2.2 แนวปฏิบัติทางธุรกิจเกี่ยวกับการประกันด้วยทรัพย์
ทรัพย์อะไรบ้างที่ธนาคารนิ ยมรับเป็ นหลักประกันเงินกู้
ทรัพย์ท่ีธนาคารนิ ยมรับประกันเงินกู้มี 2 ประเภทคือ
(1) อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ท่ีดินและสิ่งปลูกสร้างบนดิน
(2) สังหาริมทรัพย์ 7 ชนิ ด ได้แก่
- เงินฝากธนาคาร
- พันธบัตร
- ตัว
๋ สัญญาใช้เงินของบริษท ั การเงินที่เชื่อถือได้
- สินค้า
- เครื่องจักร
- เรือ
- ใบหุ้น
แบบประเมินผลหน่วยที่ 14
1. ตัว
๋ เงินมีประโยชน์คือ ช่วยให้ธุรกิจการค้าด้า เนิ นไปอย่างสะดวก ปลอดภัยและ
ประหยัด
2. ตัว๋ สัญญาใช้เงินประเภทที่มีเครดิตที่สุด คือตัว
๋ สัญญาใช้เงินที่ธนาคารรับอาวัล
3. ตัว
๋ แลกเงินมีประโยชน์ส้า หรับ ผู้ทรงตั๋ว หรือผู้รับเงินตามตั๋วคือ ผู้ทรงหรือผู้รับ
เงินตามตัว ๋ สามารถน้า ตัว
๋ เงินนี้ ไปขายลดแก่ธนาคารก่อนที่จะถึงก้า หนดจ่ายเงินตาม
ตัว๋
4. นาย ก. อยู่จังหวัดเชียงใหม่ มีความประสงค์จะมาเที่ยวกรุงเทพฯ เพื่อ ฉลองวัน
ขึ้นปี ใหม่ นาย ก. มีความประสงค์จะน้าเงินมาใช้จ้านวน 10,000 บาท ท่านเป็ นนาย ก.
จะน้าเงิน 10,000 บาท ลงมากรุงเทพฯ ด้วยวิธีการที่สะดวกและปลอดภัยคือ ซื้อดร๊าฟท์
สั่งจ่ายเงินที่กรุงเทพฯ
5. ตัว
๋ สัญญาใช้เงิน มีประโยชน์แก่ลูกหนี้ คือ ช่วยผ่อนผันระยะเวลาการช้าระหนี้ แก่
ลูกหนี้
6. การใช้เช็คเบิกเงินจากธนาคารนั้นลูกค้าจะต้องใช้เช็คชนิ ดที่ ได้มาจาธนาคาร
7. การประกันชนิ ดที่ธนาคารมีความเสี่ยงมากที่สุดคือ ค้้าประกัน
98
8. ธนาคารจะเข้าไปค้้าประกันหนี้ ของลูกหนี้ โดยออกหนั งสือค้้าประกันให้ได้แก่
(1) ค้้ าประกั น ซองประกวดราคา (2) ค้้ าประกั น สั ญ ญา (3) ค้้ าประกั น ซื้ อเชื่ อ (4) ค้้ า
ประกันการช้าระภาษีอากร
9. การประเมินราคาที่ดินและบ้าน เพื่อประกันหนี้ เงินกู้ ปกติธนาคารจะอนุมัติให้กู้
ได้ในอัตรา ร้อยละ 50-60
10. สังหาริมทรัพย์ท่ีธนาคารจะรับจ้าน้าได้แก่ พันธบัตรรัฐบาล กับตัว๋ สัญญาใช้เงินที่
เชื่อถือได้
11. แคชเชียร์เช็คหมายถึง เช็คที่ธนาคารเป็ นผู้ส่ ังจ่าย

12. ตัว
๋ เงินมีประโยชน์ต่อธุรกิจ การค้าภายในประเทศและระหว่างประเทศ
13. ดร๊าฟท์มีประโยชน์ต่อธุรกิจการค้าคือ เป็ นเครื่องมือโอนเงินไปต่างจังหวัดหรือ
จากต่างจังหวัดเข้ากรุงเทพฯ หรือระหว่างประเทศ
14. นาย ก. ขายสินค้าให้นาย ข. นาย ข. ผู้ซ้ ือสินค้าได้ส่ ังจ่ายเช็คขีดคร่อมให้แก่นาย
ก. เพื่อช้าระค่าสินค้า นาย ก. ไม่มีความประสงค์ท่ีจะได้รับเช็คของนาย ข. เพื่อเป็ นการ
ช้าระค่าสินค้าเนื่ องจากไม่มีความมั่นใจว่าเงินในบัญชีจะมีพอจ่ายหรือไม่ ท่านเป็ นนาย
ก. จะแก้ไขปั ญหาโดย น้าเช็คนั้นไปให้ธนาคารรับรอง
15. วิธีการใช้เช็คที่ถูกต้องที่สุดคือ ควรระบุช่ ือผู้รับเงิน พร้อมทั้งขีดฆ่า “หรือผู้ถือ”
ออก และขีดคร่อมเช็คเช็คในกรณีท่ีจ้าเป็ นเท่านั้น จึงจะจ่ายเช็คเงินสด หรือผู้ถือ
16. การกู้เงินธนาคารโดยบุคคลค้้าประกันมีหลักเกณฑ์อย่างไร ในการเลือกผู้กู้และ
ผู้ค้ าประกันคือ ต้องมีทรัพย์และเชื่อถือได้
17. นาย ก. เป็ นพ่อค้าในกรุงเทพฯมีความประสงค์ขอกู้เงินธนาคารเพื่อหมุนเวียนใน
ธุ ร กิ จ การค้ า โดยเสนออสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ จดทะเบี ย นจ้า นองเป็ นประกั น ธนาคารจะ
พิจารณาหลักเกณฑ์ท่ีจะอนุมัติเงินกู้รายนี้ คือ วัตถุประสงค์ในการกู้อยู่ในหลักการที่จะ
ลงทุน ลงทุนในสินค้าที่ต้องใช้เป็ นประจ้า วันของผู้บ ริโ ภค และก้า ลังอยู่ใ นความนิ ยม
ส่วนหลักทรัพย์มีราคา 2:1 ของจ้านวนเงินกู้ ผู้ขอกู้เป็ นคนดีและเชื่อถือได้
18. สังหาริมทรัพย์ท่ีธนาคารไม่รับจ้าน้าได้แก่ แหวนเพชร
19. หากพ่อค้า มีความประสงค์จะได้เงินทุนเพื่อหมุน เวียนในธุรกิจ จะมีวิธีการที่จะ
ให้ได้เงินทุนนั้นมา เช่น (ก) ขอกู้ธนาคาร โดยเสนอสังหาริมทรัพย์จ้า นองเป็ นประกัน
(ข) ขอกู้ธนาคาร โดยเสนออสังหาริมทรัพย์จ้า น้า เป็ นประกัน (ค) ขอกู้โดยมีบุคคลค้้า
ประกัน (ง) น้าสินค้ามนคลังไปจ้าน้ากับธนาคาร
20. ตัว
๋ สัญญาใช้เงิน และตัว
๋ แลกเงิน มีประโยชน์แก่ผู้ทรงคือ น้าตัว
๋ ไปขายลด ก่อนที่
ตัว
๋ จะถึงก้าหนดช้าระตามวันที่ในตัว ๋ ได้

หน่วยที่ 15 ความผิดทางอาญาเกีย
่ วกับการใชูเช็ค
1. พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 เป็ นกฎหมายที่
บัญ ญัติความผิด ทางอาญาของผู้ อ อกเช็ ค เพิ่ ม ขึ้ น เป็ นอี ก ส่ ว นหนึ่ ง ต่ า งหาก
จากความรับผิดทางแพ่ง อันเป็ นมาตรการทางอาญาเพื่อคุ้มครองสิทธิและ
ป้ องกันความเสียหายจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายในการใช้เช็ค
99
2. ลักษณะของการกระท้า อันเป็ นความผิดเกี่ยวกับการใช้เช็ค จะต้อง
เข้าลักษณะอนุมาตราในอนุมาตราหนึ่ งในมาตรา 4 แห่งพรบ. ว่าด้วยความ
ผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค ซึ่งแต่ละลักษณะความผิดย่อมเป็ นความผิดแยก
ต่างหากจากกัน
3. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค เป็ นความ
ผิดอันยอมความได้ ซึ่งผู้เสียหายจะต้องร้องทุกข์ต่อเจ้าพนักงานหรือฟ้ องคดี
ต่อศาลภายในก้าหนด 3 เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระท้า
ความผิด
15.1 สาระส้าคัญของกฎหมายว่าดูวยความผิดเกีย
่ วกับการใชูเช็ค
1. พรบ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คบัญญัติขึ้น เพื่อเป็ นเครื่อง
ค้ม
ุ ครองป้ องกันความเสียหายจากการใช้เช็ค
2. เช็ ค ที่ จ ะเป็ นมู ล ฐานความผิ ด ทางอาญา จะต้ อ งอาศั ย หลั ก กฎหมาย
เบื้ องต้น อัน เกี่ย วกับเช็ ค ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ชย์ เ ป็ นหลั ก
ประกอบการพิจารณา รวมทั้งเช็คนั้นจะต้องเป็ นเช็คที่ออกเพื่อช้าระหนี้ โดย
ชอบด้วยกฎหมายก่อให้เกิดความผูกพันแก่คก ู่ รณี
15.1.1 ความเป็ นมาของกฎหมาย
พรบ. ว่ าด้ ว ยความผิ ด อั น เกิ ด จากการใช้ เ ช็ ค ประกอบด้ ว ยความผิ ด
อย่างไรบ้าง
พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คได้ก้า หนดลักษณะความ
ผิดไว้ 5 ประการ ดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4 ว่า ผู้ใดออกเช็คเพื่อช้าระหนี้ ท่ีมี
อยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายโดยมีลักษณะหรือมีการกระท้า ออย่างใด
อย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้
(1) ออกเช็คโดยเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น
(2) ออกเช็ ค โดยในขณะที่ อ อกไม่ มี เ งิ น อยู่ ใ นบั ญ ชี อั น จะพึ ง ให้ ใ ช้
เงินได้
(3) ออกเช็ ค ให้ ใ ช้ เ งิ น มี จ้า นวนสู ง กว่ า ที่ มี อ ยู่ ใ นบั ญ ชี อัน จะพึ ง ให้ ใ ช้
เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้น
(4) ถอนเงิ น ทั้ ง หมด หรื อ แต่ บ างส่ ว นนอกจากบั ญ ชี อัน จะพึ ง ให้ ใ ช้
เงินตามเช็คจนจ้านวนเงินไม่เพียงพอที่จะให้ใช้เงินตามเช็คนั้นได้
(5) ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คนั้นโดยเจตนาทุจริต
15.1.2 ลักษณะของเช็คที่จะเป็ นมูลฐานแห่งความผิด
อ้วน สั่งจ่ายเช็คให้ผอมไว้เป็ นประกันค่าซื้อเครื่องรับโทรทัศน์ท่ีผอม
ได้ขายให้แก่อ้วน โดยมีข้อตกลงกันว่าผอมจะต้องน้าเช็คมาแลกเงินจากอ้วน
100
ก่อน แต่ผอมกับน้าเช็คไปเบิกเงินจากธนาคาร โดยไม่น้ามาแลกเงินจาก
อ้วนตามข้อตกลง เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค อ้วนจะมีความ
ผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คหรือไม่
อ้วนไม่มีความผิด ตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิด จากการใช้เ ช็ค
เพราะผอมน้า เช็ ค ไปเบิ ก เงิ น จากธนาคารฝ่ าฝื นข้ อ ตกลง ถื อ ได้ ว่ า ผอมยั ง
ไม่ มี อ้า นาจท้า ได้ (มาตรา 4 พรบ. ความผิ ด อั น เกิ ด จากการใช้ เ ช็ ค พ.ศ.
2534)
15.2 ลักษณะของการกระท้าอันเป็ นความผิด
1. การออกเช็คโดยเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คเป็ นเรื่องที่ผู้ออก
เช็คมีบัญชีหรือไม่มีบัญชีอยู่ท่ีธนาคาร แต่มีเจตนาทุจริตในการเขียนเช็คเพื่อ
มิให้ธนาคารจ่ายเงิน
2. การออกเช็ ค โดยในขณะที่ อ อกเช็ ค นั้ น ไม่ มี เ งิ น ในบั ญ ชี อั น จะพึ ง ให้ ใ ช้
เงิ น ได้ เป็ นเรื่ องที่ ผู้ อ อกเช็ ค มี บั ญ ชี อ ยู่ ใ นธนาคาร แต่ พ อถึ ง วั น ที่ เ ช็ ค ถึ ง
ก้าหนดช้าระเงินอยู่ผู้ออกเช็คไม่มีเงินอยู่ในบัญชีเลย
3. การออกเช็คให้ใช้เงินมีจ้า นวนสูงกว่าจ้า นวนเงินที่มีอยู่ ในบั ญชี อัน จะ
พึงให้ใช้เงินได้ ในขณะที่ออกเช็ ค เป็ นเรื่องที่ ผู้ท่ี เคยค้า กับ ธนาคารได้ ออก
เช็คสั่งจ่ายเงิน พอถึงวันที่เช็คถึงก้าหนดใช้เงิน ปรากฏว่าเงินในบัญชีไม่พอ
จ่ายตามเช็ค
4. การออกเช็คแล้วถอนเงินทั้งหมดหรือบางส่วนจากบัญชีจนมีเงินเหลือ
ไม่พอจ่ายตามเช็ค เป็ นกรณี ทีผู้ส่ังจ่ายเช็คมีเงินอยู่ในบัญชีพอที่จะจ่ายตาม
เช็ คได้ในขณะออกเช็ ค แต่ ต่ อมาได้ ถ อนเงิ น ทั้ ง หมดหรื อ บางส่ ว นจนไม่ พ อ
จ่ายตามเช็คได้
5. การห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คโดยเจตนาทุจริต เป็ นเรื่องที่ผู้ส่ัง
จ่ า ยเช็ ค กระท้า เพื่ อแสวงหาประโยชน์ท่ี มิ ค วรได้ โดยชอบด้ ว ยกฎหมาย
ส้าหรับตนเองและผู้อ่ ืน โดยมุ่งหมายจะไม่ให้ผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมายได้
รับเงินจากธนาคาร
15.2.1 การออกเช็คโดยเจตนาที่ไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น
เรืองมีเงินในบัญชีกระแสรายวันจ้านวน 100,000 บาท ได้เขียนเช็คสั่ง
จ่ า ยเงิ น ช้า ระหนี้ บั ว 80,000 บาท เช็ ค ลงวั น ที่ 1 เมษายน 2536 และวน
เดียวกันนั้นเอง ก็ได้เขียนเช็คสั่งจ่ายเงินเพื่อช้า ระค่าซื้อโทรทัศน์จากแมว
จ้า นวน 25,000 บาท เมื่ อแมวไปเบิ กเงิน จากธนาคาร ธนาคารปฏิเ สธการ
จ่ า ยเงิ น เนื่ องจากเงิ น ในบั ญ ชี ข องเรื อ งไม่ พ อจ่ า ย เพราะบั ว ไม่ ไ ด้ เ บิ ก เงิ น
80,000 บาท ก่ อนหน้านั้ น ดั ง นี้ ใ ห้ วิ นิ จ ฉัย ว่ า เรื อ งมี ค วามผิ ด จาก พรบ. ว่ า
ด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คหรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณี น้ี เรืองมีความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดเกิดจากการใช้เช็ค
เพราะว่า การที่เรืองออกเช็คช้า ระหนี้ บัวไปแล้วจ้า นวน 80,000 บาท เหลือ
101
เงินในบัญชีเพียง 20,000 บาท เรืองยังได้เขียนเช็คช้า ระหนี้ ค่าสินค้าให้
แก่แมวอีก 25,000 บาท การกระท้าของเรืองเป็ นการออกเช็คโดยเจตนาที่จะ
ไม่ให้มีการใช้เงินแก่แมวตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค
มาตรา 4(1)
15.2.2 การออกเช็คโดยในขณะที่ออกเช็คนั้นไม่มีเงินในบัญชีอันจะ
พึงให้ใช้เงินได้
การออกเช็ คโดยในขณะที่ อ อกนั้ น ไม่ มี เ งิ น อยู่ ใ นบั ญ ชี อัน จะพึ ง ให้ ใ ช้
เงินได้ หมายความว่าอย่างไร
หมายความว่ า ในวั น ที่ อ อกเช็ ค (วั น ที่ ล งในเช็ ค ) อั น เป็ นวั น ที่ เ ช็ ค ถึ ง
ก้าหนดช้าระหนี้ ผู้ทรงน้าเช็คไปขึ้นเงินจากธนาคาร แต่บัญชีเงินฝากของผู้
สั่งจ่ายไม่มีเงินเหลืออยู่เลย
15.2.3 การออกเช็คให้ใช้เงินมีจ้านวนสูงกว่าจ้านวนเงินที่มีอยู่ใน
บัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้น
การออกเช็คให้ใช้เงินมีจ้านวน สูงกว่าจ้านวนเงินที่มีอย่ใู นบัญชี อันจะ
พึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้นหมายความว่าอย่างไร
หมายความว่า ออกเช็คมียอดจ้า นวนเงินสูงกว่าจ้า นวนเงินที่มีอยู่ใน
บัญชีเงินฝากในวันที่เช็คถึงก้าหนดช้าระเงินจึงมีเงินไม่พอจ่ายตามเช็คได้
15.2.4 การออกเช็คแล้วถอนเงินทั้งหมดหรือบางส่วนออกจากบัญชี
อันจะพึงให้ใช้เงินตามเช็คจนจ้านวนเงินเหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็ค
นั้นได้
การออกเช็คแล้วถอนเงินทั้งหมดหรือบางส่วนออกจากบัญชีอัน จะพึง
ให้ใช้เงินตามเช็คจนจ้านวนเงินที่เหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็คได้น้ัน
หมายความว่าอย่างไร
ผู้ส่ังจ่ายออกเช็คได้ให้ผู้อ่ ืนไปแล้วโดยมีจ้านวนพอจ่ายตามเช็คให้ แต่
ต่อมาก่อนวันที่ถึงก้าหนดในเช็คผู้ออกเช็คถอนเงินทั้งหมดหรือบางส่วนออก
จากบัญชีจนท้าให้มีเงินในบัญชีไม่พอจ่ายตามเช็ค
15.2.5 ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คนั้นโดยเจตนาทุจริต
มั่นสั่งซื้อสินค้าจากแม้ น มั่ นจ่ ายเช็ คช้า ระหนี้ ค่ าซื้ อสิ นค้ าให้แ ม้นไว้
ก่อนที่แม้นจะส่งมอบสินค้าให้ม่ัน เมื่อถึงก้า หนดส่งมอบสินค้าแล้ว แม้นไม่
ส่งมอบสินค้าให้ม่ันตามก้าหนด มั่นจึงแจ้งอายัดเช็คกับธนาคารห้ามจ่ายเงิน
ตามเช็ค ดังนี้ มั่นจะมีความผิดหรือไม่
มั่น ย่อมไม่มีความผิด เพราะการกระท้า ของมั่นไม่มีเจตนาทุจริตใน
การสั่งห้ามธนาคารมิให้จ่ายเงินตามเช็ค (มาตรา 4 พรบ. ความผิดอันเกิด
จากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534)
15.3 การด้าเนิ นคดี
1. ผู้เสียหายในคดีความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการใช้เช็ค ได้แก่ ผู้ท่ีได้รับ
ความเสียหาย เมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เช่นผู้ทรงเช็ค
102
2. ผู้กระท้าความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค
นอกจากผู้ส่ังจ่ายเช็คแล้วบางกรณีผู้ร่วมกระท้าผิดซึ่งอาจเป็ นตัวการหรือผู้
สนับสนุนการกระท้าความผิด
3. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้ เช็ คเป็ นความ
ผิดอันยอมความได้ ผู้เสียหายต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่รเู้ รื่อง
ความผิดและร้ต ู ัวผู้กระท้าความผิด มิฉะนั้นคดีเป็ นอันขาดอายุความ
4. การควบคุมหรือขังผู้ต้องหา หรือจ้าเลย ตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอัน
เกิดจากการใช้เช็คเป็ นไปตาม พรบ. จัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความ
อาญาในศาลแขวง พ.ศ. 2499 ส่วนการปล่อยชั่วคราวให้พนั กงานสอบสวน
พนั ก งานอั ย การ หรื อ ศาลสั่ ง ปล่ อ ยชั่ ว คราวโดยมี ป ระกั น แต่ ไ ม่ มี ห ลั ก
ประกัน หรือมีประกันและหลักประกันไม่เกินหนึ่ งในสามของจ้านวนเงินตาม
เช็ค
5. เนื่ องจากความผิ ด ตาม พรบ. ว่ า ด้ ว ยความผิ ด อั น เกิ ด จากการใช้ เ ช็ ค
เป็ นความผิดอันยอมความได้เมื่อผู้เสียหายถอนค้า ร้องทุกข์ ถอนฟ้ อง ยอม
ความ และคดีเลิกกัน สิทธิน้าคดีอาญามาฟ้ องตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอัน
เกิดจากการใช้เช็คฯ ย่อมระงับไป
15.3.1 ผู้เสียหาย
แดงออกเช็คใช้เงินให้ขาว และขาวสลักหลังใช้หนี้ ให้เหลือง เหลืองลง
ลายมือชื่อด้านหลังเช็คและส่งมอบเช็คให้ชมพูน้า ไปเข้า บั ญชี ข องชมพู แต่
ธนาคารตามเช็คปฏิเสธการจ่ายเงิน ต่อมาเช็คได้กลับมาอยู่ท่ีฟ้า ดังนี้ ฟ้ าจะ
มีสท
ิ ธิร้องทุกข์และฟ้ องคดีต่อศาลได้หรือไม่
ฟ้ าไม่ใช่ผู้ทรงเช็คในวันที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน อันเป็ นวันเกิด
เหตุจึงไม่ใช่ผู้เสียหายที่จะมีสิทธิร้องทุกข์และไม่มีอ้านาจน้าเช็คมาฟ้ อง
15.3.2 ผู้กระท้าความผิด
แดงกับด้า เป็ นหนี้ ขาว แดงเขียนกรอกข้อความลงในเช็ ค ให้ ด้า เซ็น
ชื่ อเป็ นผู้ ส่ั ง จ่ ายน้า เช็ ค ไปช้า ระหนี้ ข าว ต่ อ มาธนาคารปฏิ เ สธการจ่ า ยเงิ น
ตามเช็ค ขาวจึงร้องทุกข์และฟ้ องคดีหาว่าแดง และด้า ร่วมกันออกเช็คโดย
ไม่มีเงินอันเป็ นความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ
แดงจะอ้างว่าตนมิได้เป็ นผู้ส่ังจ่ายไม่ต้องรับผิด ได้หรือไม่
การกระท้า ของแดงที่ เขี ยนกรอกข้ อความในเช็ค ซึ่ง ธนาคารปฏิเ สธ
การจ่ายเงินดังกล่าวย่อมมีความผิดฐานเป็ นตัวการร่วมกระท้าความผิดฐาน
ออกเช็คไม่มีเงิน
15.3.3 การร้องทุกข์ อายุความร้องทุกข์ การฟ้ องคดี การควบคุม
ขัง ปล่อยชั่วคราว
แดงได้ร้องทุกข์ต่อพนั กงานสอบสวนได้ด้า เนิ นคดีแก่ด้า ในความผิด
ฐานออกเช็คไม่มีเงิน ในหนังสือร้องทุกข์มีข้อความให้เจ้าพนักงานด้าเนิ นคดี
103
จนถึ ง ที่ สุ ด ผู้ เ สี ย หายบอกกั บ ต้า รวจว่ า ต้ อ งการให้ ไ ด้ เ งิ น ตามเช็ ค คื น
เท่านั้น ไม่อยากเอาโทษ ต้ารวจจึงยังไม่สอบสวนด้าเนิ นคดี ต่อมาเมื่อด้าไม่
ใช้ เ งิ น แดงจึ ง มาแจ้ ง ต้า รวจจั บ ด้า ดั งนี้ พ นั ก งานสอบสวนจะด้า เนิ น คดี ไ ด้
หรือไม่
พนักงานสอบสวนย่อมมีอ้า นาจท้า การสอบสวนด้า เนิ นคดีได้ เพราะ
ได้ มีการร้ องทุก ข์ท่ี ชอบด้ วยกฎหมายแต่แ รกแล้ ว ส่ ว นกรณี ท่ี แ ดงบอกกั บ
ต้ารวจว่าต้องการได้เงินคืน ไม่อยากเอาโทษนั้นมิใช้เป็ นการแสดงเจตนาว่า
ไม่ตด ิ ใจด้าเนิ นคดีด้าแต่อย่างไรหรือไม่
15.3.4 การถอนค้าร้องถอนฟ้ อง ยอมความและคดีเลิกกัน
แดงผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ในคดีความผิดอันเกี่ยวกับการใช้เช็ค กล่าว
หาขาวต่อ ร.ต.ต. เหลือง ซึ่งเป็ นพนักงานสอบสวนไว้แล้ว ต่อมาแดงได้ขอ
ถอนค้าร้องทุกข์ต่อ ร.ต.ต. เหลือง ดังนี้ แดงจะฟ้ องคดีน้ี ต่อศาลอีกได้หรือไม่
แดงย่อมน้าคดีไปฟ้ องต่อศาลไม่ได้ เพราะการถอนค้าร้องทุกข์ท้า ให้
สิทธิน้าคดีอาญามาฟ้ องเป็ นอันระงับไป ตาม ปวอ. มาตรา 39 (2)
แบบประเมินผลหน่วยที่ 15
1. กรณี ท่ีถือว่าเป็ นการออกเช็คเพื่อก่อให้เกิดความผูกพันในการช้า ระหนี้ อันเป็ น
ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คได้แก่ การออกเช็คล่วงหน้า
เพื่อช้าระหนี้
2. การออกเช็คโดยการแกล้งเขียนตัวเลขกับตัวอักษรแสงดจ้านวนเงินต่างกัน เมื่อ
ผ ู้ทรงน้า เช็ ค ขึ้ น เงิ น ที่ ธ นาคารๆ ปฏิ เ สธการจ่ า ยเงิ น การกระท้า ของผู้ ส่ั ง จ่ า ยเข้ า
ลักษณะความผิด ออกเช็คโดยเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น
3. ก. ออกเช็คโดยไม่ลงวันที่ให้ ข. ข. น้าเช็คไปยื่นให้ธนาคารใช้เงิน ธนาคารปฏิเสธ
การจ่ายเงินดังนี้ ไม่มีความผิด เพราะไม่มีวันที่ท่ีกระท้าความผิด
4. การออกเช็คโดยในขณะที่อ อกไม่มีเงินในบัญชีอันจะพึงใช้เงินได้ หมายถึ ง ผู้ส่ ัง
จ่ายเช็คไม่มีเงินอยู่ในบัญชีในวันที่ในวันที่ลงในเช็ค
5. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ เกิดขึ้นเมื่อ ธนาคาร
ปฏิเสธการใช้เงิน
6. แดง ออกเช็คช้าระหนี้ ให้ด้า ด้าสลักหลังส่งมอบเช็คช้าระหนี้ เขียว เขียวน้าเช็คไป
ยื่นเข้าบัญชีท่ีธนาคาร ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน เขียวส่งมอบเช็คช้าระหนี้ ให้เหลือง
ดังนี้ ผู้เสียหายในการร้องทุกข์ด้าเนิ นคดีคือ เขียว
7. แดงเป็ นลูกหนี้ ด้า 5,000 บาท ถูกด้าทวงหนี้ จึงไปหาขาวกับเหลือง ให้ออกเช็คใช้
แล้วแดงน้าเช็คมาสลักหลังให้ด้าเป็ นการช้าระหนี้ ซึ่งแดง ขาว เหลือง รู้ว่าเงินในบัญชี
ของขาวและเหลื อ งที่ ธ นาคารไม่ พ อจ่ า ย ดั ง นี้ บุ ค คลที่ ถื อ ว่ า เป็ นผู้ ก ระท้า ผิ ด คื อ แดง
เหลือง และขาว
8. ธนาคารได้ปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2536 ผู้เสียหายรู้ถึง
การกระท้า ผิดและรู้ตัวผู้ก ระท้า ผิดในวัน ที่ ธนาคารปฏิเ สธการจ่ ายเงิน ผู้เ สียหายจะ
ต้องร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนหรือยื่นฟ้ องต่อศาลภายในวันที่ 10 เมษายน 2536
104
9. แดงผ้เู สียหายได้ร้องทุกข์ภายในเวลาที่กฎหมายก้าหนดแล้ว แดงจะต้องฟ้ อง
คดีภ ายในก้า หนดเวลาพร้ อมกับ ได้ตัว ผู้ก ระท้า ผิ ด มาด้ ว ยอย่ างช้า ที่ สุ ด ภายใน 5 ปี
คดีจึงจะไม่ขาดอายุความ
10. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ เลิกกัน เมื่อผู้กระท้า
ความผิดน้าเงินตามเช็คฯไปช้าระแก่ผู้ทรงเช็ค ภายในก้าหนด 30 วัน นับแต่วันที่ผู้ออก
เช็คได้รบ ั หนังสือบอกกล่าวจากผู้ทรงเช็คว่าธนาคารไม่ใช้เงินตามเช็ค
11. กรณี การออกเช็คใหม่แทนฉบับเก่า เพื่อช้าระหนี้ เดิม ถือว่าเป็ นการออกเช็คเพื่อ
ก่อให้เกิดความผูกพัน ในการช้า ระหนี้ อันเป็ นความผิดตาม พรบ. ว่าด้ว ยความผิดอัน
เกิดจากการใช้เช็ค
12. นายชมออกเช็คสั่งจ่ายเงินให้นายชื่นจ้านวน 1,000 บาท แต่นายชมไม่ต้องการให้
นายชื่นได้รับเงิน จึงแกล้งเขียนตัวหนังสือเป็ นหนึ่ งร้อยบาทถ้วน เมื่อผู้ทรงน้า เช็คไป
ขึ้น เงินจากธนาคาร ๆ ปฏิเ สธการจ่ายเงิน ดังนี้ ผู้ส่ัง จ่ายเช็คมีค วามผิด ฐาน ออกเช็ค
โดยเจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็ค
13. แดงออกเช็คสั่งจ่ายโดยระบุช่ ือด้า เป็ นผู้รับเงินและขีดฆ่าค้า ว่า “หรือผู้ถือ” ออก
เนื่ องจากแดงไม่มีเงินในบัญชีท่ีจะจ่ายให้ด้า การกระท้า ของแดงเข้าลักษณะ ออกเช็ค
ในขณะที่ท่ีออกไม่มีเงินในบัญชีจะพึงใช้เงินได้
14. นายสี เ ขี ย นเช็ค ในวั น ที่ 1 กัน ยายน 2535 สั่งเงิน จ่ า ยเงิ นให้ น ายส้ ม 50,000 บาท
โดยลงวันที่ในเช็ควันที่ 10 กันยายน 2535 ต่อมาวันที่ 11 กันยายน 2535 นายส้มน้าเช็ค
ไปยื่นต่อธนาคาร แต่ธนาคารปฏิ เ สธการจ่ ายเงิน ดัง นี้ ค วามผิ ด เกิด ขึ้น เมื่อ วัน ที่ 11
กันยายน 2535
15. กรณี ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คเกิดขึ้นแล้ว ผู้เสียหายในการร้องทุกข์ได้แก่
ผู้ทรงเช็ค
16. ความผิดตาม พรบ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คฯ ผู้เสียหายต้องร้อง
ทุกข์ภายในระยะเวลา 3 เดือน นับตั้งแต่วันที่รู้ถึงการกระท้าความผิดและรู้ตัวผู้กระท้า
ความผิด
17. ผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ภายในก้าหนดเวลาแล้วต้องฟ้ องคดีภายใน ก้าหนดเวลา 5
ปี
******************************

You might also like