You are on page 1of 14

ยุทธศาสตร์การปฏิรูป

และกรอบการทำงาน
ของคณะกรรมการปฏิรูป
ยุทธศาสตร์การปฏิรูป
และกรอบการทำงาน
ของคณะกรรมการปฏิรูป
โดย คณะกรรมการปฏิรูป
ยุทธศาสตร์การปฏิรูป
พิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม 2553 จำนวน 10,000 เล่ม


จัดพิมพ์และเผยแพร่ การปฏิ รู ป ประเทศที ่ ม ี เ ป้ า หมายในการสร้ า งความเป็ น
สำนักงานปฏิรูป ธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เป็นเรื่องที่เกี่ยวพันกับการ

ปก/รูปเล่ม
ปรั บ เปลี ่ ย นความสั ม พั น ธ์ ท างอำนาจใหม่ ระหว่ า งรั ฐ ภาค
วัฒนสินธุ์ สุวรัตนานนท์ เอกชน และภาคประชาชน ปัญหาทางเศรษฐกิจ การเมือง และ
สังคมส่วนหนึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่ควบคุมได้ยาก อีก

พิมพ์ท ี่ ส่วนหนึ่งเกิดจากการใช้อำนาจรัฐ โดยเฉพาะจากการรวมศูนย์
บริษัท ที คิว พี จำกัด อำนาจของรั ฐ ที ่ ค รอบคลุ ม ไปยั ง ทุ ก ส่ ว นของสั ง คม มี ผ ลให้
ปั จ เจกบุ ค คลและชุ ม ชนมี ค วามอ่ อ นแอ ไม่ ส ามารถมี พ ลั ง

เพียงพอในการจัดการชีวิตและทรัพยากรของตนเองได้ ความ

สำนักงานปฏิรูป (สปร.) ไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจหลายประการมีผลมาจากการจัดสรร
126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้น
สถาบันบำราศนราดูร ซอยติวานนท์ 14 ทรัพยากรของรัฐ ที่เน้นภารกิจของกลไกของรัฐแทนที่จะกระจาย
ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 ลงไปสู่พื้นที่ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจจึงมาจากการกระทำ
โทรศัพท์ 02-965-9531-3 โทรสาร 02-965-9534 ของรัฐโดยตรง สำหรับความเป็นธรรมด้านโอกาส ด้านสิทธิ และ
website : http://www.reform.or.th ด้านอำนาจการต่อรองเช่นกัน ตราบใดที่อำนาจในการตัดสินใจ
ตู้ ปณ. 16 ปทฝ. กระทรวงสาธารณสุข อ.เมือง จ.นนทบุรี 11004

ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 
เกี่ยวกับวิถีชีวิตของประชาชนยังเป็นของรัฐและทุนอยู่ ปัญหา
ด้านต่างๆ ของประชาชนจึงไม่อาจแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้น เงื่อนไขที่จะทำให้การปฏิรูปเป็นผลสำเร็จได้ ก็คือ
การนำเอาเรื่องการกระจายอำนาจมาเป็นทั้งยุทธศาสตร์และ
กลยุทธ์ของการเปลี่ยนแปลง แต่จะต้องเป็นการกระจายอำนาจ
ไปสู่สังคมอย่างแท้จริง แทนที่จะเป็นการโอนถ่ายอำนาจระหว่าง
องค์ ก รของรั ฐ หรื อ องค์ ก รปกครองท้ อ งถิ ่ น ที ่ ร ั ฐ ยั ง สามารถ กรอบการทำงาน
ควบคุมได้ การกระจายอำนาจสู่สังคมรวมถึงการเปิดโอกาสให้ ของคณะกรรมการปฏิรูป
ประชาชนสามารถมี ส ่ ว นสำคั ญ ในการจั ด การศึ ก ษา จั ด การ
ทรัพยากรของชุมชน ตลอดจนการพัฒนาองค์กรประชาชนให้
เป็ น ฐานสำคั ญ ของการพั ฒ นา การกระจายอำนาจในความ
หมายนี้จึงเป็นการเพิ่มอำนาจให้แก่ประชาชน ให้ประชาชนมี
ความรับผิดชอบในการจัดการกับชีวิตของเขาเอง ลดอำนาจของ
รัฐลง และปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณเสียใหม่ให้ลงสู่
พื้นที่ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
อย่างแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปิดโอกาสให้ประชาชน

มี ส ่ ว นในการกำหนดเป้ า หมายด้ า นคุ ณ ภาพชี ว ิ ต และจั ด ทำ
แผนการพัฒนาด้วยตนเอง การเสริมอำนาจของประชาชนและ
การกระจายอำนาจจึงเป็นกระบวนการเดียวกัน

 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป
กรอบการทำงาน
ของคณะกรรมการปฏิรูป


1. หลักการพื้นฐานในการทำงานของคณะกรรมการปฏิรูป

การปฏิรูปคือ การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง โดยมีเป้า
หมายคือ การสร้างความเป็นธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
ในสังคม แต่ความเป็นธรรมจะเกิดขึ้นได้ด้วยการเสริมอำนาจ
ของประชาชนที่ยังไม่ได้รับความเป็นธรรม ดังนั้น การปฏิรูปจะ
เป็ น ผลได้ ก ็ ด ้ ว ยพลั ง หรื อ แรงขั บ เคลื ่ อ นของสั ง คม มิ ใ ช่ จ าก
รัฐบาลหรือคณะกรรมการชุดใดชุดหนึ่ง

การปฏิรูปของสังคมจะเกิดผลอย่างกว้างขวางมากขึ้น ต่อ
เมื่อประชาชนได้รับการเสริมอำนาจ แต่ในปัจจุบันประชาชนและ
ชุมชนยังอ่อนแอเพราะรัฐมีการรวมศูนย์อำนาจอย่างเข้มข้น และ
การกระจายอำนาจที่เป็นอยู่ก็เป็นเพียงการโอนถ่ายอำนาจจาก
รัฐส่วนกลางไปยังองค์กรรัฐระดับท้องถิ่น ซึ่งมิใช่การกระจาย

ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 
อำนาจไปสู่สังคมที่มีประชาชนเป็นฐานอย่างแท้จริง การกระจาย การปฏิ รู ป หมายรวมถึ ง ความพร้ อ มของสั ง คมในการ
อำนาจจึงเป็นทั้งยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ที่สำคัญในการปฏิรูป รับมือกับความเปลี่ยนแปลง ดังนั้น การพิจารณาประเด็นใดของ
การเสริมอำนาจของประชาชนและการกระจายอำนาจจึงเป็น คณะกรรมการปฏิรูป จะต้องคำนึงถึงความเปลี่ยนแปลงในสังคม
กระบวนการเดียวกัน ควบคู่ไปด้วยเสมอ ไม่ว่าจะเป็น

• ความเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร
เป้าหมายการทำงาน ในระยะเวลา 3 ปี คือ การเกิดความ
• ความเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ทั้ง
เปลี่ยนแปลงที่พึงปรารถนาอย่างเป็นรูปธรรม มิใช่เพียงข้อเสนอ
โครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศและภายนอกประเทศ
แนะ โดยการเปลี่ยนแปลงที่มุ่งหวังนั้นจะต้องไม่มองเฉพาะ
• ความเปลีย่ นแปลงของโครงสร้างการทำงาน ซึง่ ปัจจุบนั
ปั ญ หาที ่ เ ผชิ ญ อยู ่ อ ย่ า งเดี ย ว แต่ จ ะต้ อ งคาดการณ์ ถ ึ ง ความ
การทำงานนอกภาคเกษตรมากกว่าภาคเกษตร
เปลี่ยนแปลงในอนาคตที่จะเกิดขึ้น รวมถึงการพัฒนากลไกเชิง
• ความเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคม
สถาบันที่เหมาะสม เพื่อให้สังคมสามารถปฏิรูปหรือมีกลไกการ
และความเป็นชุมชน เนื่องจากสังคมไทยกำลังเป็น
ปรับตัวอย่างต่อเนื่องในด้านต่างๆ ภายหลังจากระยะเวลา 3 ปี
สังคมเมืองมากขึ้น
ของกระบวนการปฏิรูป
• ความเปลี ่ ย นแปลงของทรั พ ยากรธรรมชาติ สภาพ

แวดล้อม และภูมิอากาศ
2. ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน • ความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม วิธีคิด และวิถีชีวิต

ของผู้คน
ในความเป็นจริง การปฏิรูปเกิดขึ้นควบคู่กับการเปลี่ยน

• ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
แปลงต่างๆ ในสังคม ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งที่
• ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ผ่านมาสังคมไทยก็ผ่านการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้มาต่อเนื่อง และ

ยังคงต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงต่อไปอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 
3. อุดมคติคุณภาพชีวิตของคนไทย 4. ความเป็นธรรมด้านเศรษฐกิจและสังคม

ในฐานะที่การปฏิรูปเป็นกระบวนการหนึ่งในการจัดการกับ ความเป็ น ธรรมเป็ น เรื ่ อ งที ่ ม ี ค วามซั บ ซ้ อ นและสั ม พั น ธ์

ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในสังคม ไม่ว่าทั้งที่ทราบและไม่ กับปัจจัยต่างๆ จำนวนมาก และสามารถพิจารณาได้ในหลายมิติ


ทราบล่วงหน้า จึงจำเป็นที่จะต้องกำหนดเป้าหมายเชิงอุดมคติ คณะกรรมการปฏิรูปจึงได้จำแนกมิติของความเป็นธรรมออกเป็น

เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของคนไทย เพื่อให้เป็นทิศทางหลักในการ 5 มิติ ได้แก่
ปฏิรปู ควบคูไ่ ปกับการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลือ่ มล้ำ 4.1 ความเป็นธรรมด้านเศรษฐกิจและสังคม

4.2 ความเป็นธรรมด้านที่ดินและทรัพยากร
การกำหนดอุดมคติคณ ุ ภาพชีวติ ของคนไทย เป็นกระบวนการ
4.3 ความเป็นธรรมด้านโอกาส
ที่ต้องรับฟังและกลั่นกรองจากความเห็นของทุกๆ ส่วนของสังคม
4.4 ความเป็นธรรมด้านสิทธิ
จนกว่าจะตกผลึกออกมาเป็นอุดมคติคุณภาพชีวิตของคนไทย
4.5 ความเป็นธรรมด้านอำนาจต่อรอง
อย่างไรก็ดี ในเบือ้ งต้น คณะกรรมการปฏิรปู ได้หารือกันว่า คุณภาพ

ชีวิตของคนไทยควรมีเป้าหมายในระดับอุดมคติ ดังต่อไปนี้
4.1 ความเป็นธรรมด้านเศรษฐกิจและสังคม
• เป็นชีวิตที่มีศักดิ์ศรีและเท่าเทียมกันในฐานะความเป็น
ความเหลื ่ อ มล้ ำ ทางเศรษฐกิ จ ในประเทศไทยปรากฏ
มนุษย์ มีส่วนร่วมทางสังคม มีสำนึกต่อประโยชน์สุข
ชัดเจนจากดัชนีชว้ี ดั การกระจายรายได้ และการถือครองทรัพย์สนิ
ของส่วนรวม และมีโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของ
รวมถึงความเหลื่อมล้ำในการเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตที่มีผล
ตน ทั้งในทางกาย ใจ ภูมิปัญญา และจิตวิญญาณ
ต่อการสร้างรายได้ เช่น ที่ดิน เงินทุน ความรู้และทักษะของ
• เป็ น ชี ว ิ ต ที ่ ส งบสุ ข ตามวิ ถ ี ว ั ฒ นธรรมแห่ ง สั น ติ ภ าพ

แรงงาน แม้ว่ากลไกตลาดภายใต้ระบบทุนนิยมจะทำหน้าที่ได้ดี
ปราศจากภั ย คุ ก คามจากผู ้ อ ื ่ น หรื อ การคุ ก คามซึ ่ ง

ในการสร้างความเจริญเติบโต และความมั่งคั่งโดยรวมให้แก่
กันและกัน ตลอดจนอยู ่ ใ นสภาพแวดล้ อ มที ่ ไ ม่ เ ป็ น
ประเทศ แต่ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจที่เพิ่มมากขึ้น เป็น
อันตรายต่อสุขภาวะ
ประจักษ์พยานว่า เราไม่สามารถอาศัยกลไกตลาดในการลด
• เป็นชีวิตที่มีหลักประกันในด้านเงื่อนไขการครองชีพ
ความเหลือ่ มล้ำทางเศรษฐกิจได้ ดังนัน้ รัฐจึงจำเป็นต้องมีบทบาท
และมีกลไกการคุ้มครองทางสังคม

10 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 11
ในการกระจายรายได้ เพื่อมิให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากเกินไปจน ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
มีผลบ่อนทำลายเสถียรภาพของสังคม และสังคมแห่งชาติในปี พ.ศ.2550 พบว่า กลุ่มประชากรร้อยละ

20 ที่มีรายได้สูงสุดมีส่วนแบ่งรายได้ถึงร้อยละ 54.9 ในขณะที่
การขาดแคลนเงินทุนเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ประชาชน
กลุ่มประชากรร้อยละ 20 ที่มีรายได้ต่ำสุดมีส่วนแบ่งรายได้เพียง
จำนวนมากมีปัญหาหนี้สิน ทั้งในแง่หนี้สินเกษตรกร หนี้สินใน
ร้อยละ 4.4 เท่านั้น ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจที่รุนแรงมาก
ระบบ และหนี ้ ส ิ น นอกระบบ ซึ ่ ง ปั จ จุ บ ั น ภาครั ฐ พยายามหา
คือ ในกลุ่มที่มีรายได้ต่ำสุดนี้ มีคนยากจนที่มีรายได้ไม่เพียงพอ
มาตรการต่างๆ มาแก้ไขปัญหานี้ ปัญหาการขาดแคลนทีด่ นิ ทำกิน
ในการดำรงชีวิตด้วยสิ่งจำเป็นพื้นฐานถึงประมาณ 5.4 ล้านคน*
ก็ทำให้เกิดข้อพิพาทและความขัดแย้งดังเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้ว
ในฐานะที่ประเทศไทยสามารถผลิตและส่งออกอาหารไปสู่ตลาด
ในขณะเดี ย วกั น เกษตรกรรายย่ อ ยและแรงงานนอกระบบ

โลกได้ เราจึ ง ไม่ ค วรมี ค นยากจนที ่ ต ้ อ งอดอยาก และควรมี
ส่วนใหญ่ของประเทศก็ขาดความรู้ และ/หรือทักษะที่จะพัฒนา
มาตรการให้คนยากจนสามารถสร้างรายได้ และมีโอกาสในด้าน
ตนเองให้ ก ้ า วทั น การเปลี ่ ย นแปลงที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากการเปิ ด เสรี
ต่ า งๆ เพื ่ อ พั ฒ นาตนเองและลู ก หลานให้ ห ลุ ด พ้ น จากความ
ทางการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ รวมทั้งยังขาดหลัก
ยากจนได้ และเนื่องจากคนยากจนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชนบท
ประกันทางสังคมที่พึงมีดังเช่นแรงงานในระบบ
จึงจำเป็นต้องเสริมสร้างฐานเศรษฐกิจของชุมชนในท้องถิ่นต่างๆ
นโยบายที่มุ่งสร้างเสริมการเติบโตในอดีตที่ผ่านมามักจะ ให้มีความเข้มแข็ง และมีความสามารถที่จะพึ่งตนเองได้
เอียงไปทางด้านการส่งเสริมเจ้าของทุนมากกว่าผู้ใช้แรงงาน รัฐ
ควรมีกฎกติกาที่กำกับดูแลมิให้ผู้ใช้แรงงานและเกษตรกรราย
ย่อยถูกเอารัดเอาเปรียบ และป้องกันมิให้ผู้ประกอบการรายใด
ใช้อำนาจผูกขาดหรืออำนาจตลาดเหนือผู้อื่น ในการเอารัดเอา
* ในปี 2550 มีผู้ที่มีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน (poverty line)
เปรียบผูป้ ระกอบการรายย่อยหรือผู้บริโภค จำนวน 5.4 ล้านคน โดยเส้นความยากจนคำนวณจากต้นทุนหรือค่าใช้
จ่ายของปัจเจกบุคคลในการได้มาซื่งอาหารและสินค้าบริการที่จำเป็นพื้น
ฐานในการดำรงชีวิต ซึ่งคิดรวมทั่วประเทศเท่ากับ 1,443.- บาทต่อคนต่อ
เดือน หรือ 1,705.- บาทต่อคนต่อเดือนในเขตเทศบาล และ 1,333.- บาท
ต่อคนต่อเดือนนอกเขตเทศบาล

12 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 13
การพัฒนาประเทศไม่ควรหมายถึง การเจริญเติบโตทาง และการปล่อยที่ดินทิ้งร้างว่างเปล่า รวมทั้งมาตรการที่จะช่วย
เศรษฐกิ จ แต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว แต่ ค วรจะหมายถึ ง การเจริ ญ เหลื อ เกษตรกรก่ อ นที ่ ด ิ น จะหลุ ด มื อ และช่ ว ยให้ เ กษตรกร
เติบโตควบคู่กับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สิ่งแวดล้อมดีขึ้น และความ สามารถเป็นเจ้าของที่ดินได้มากขึ้น

เหลื่อมล้ำในด้านต่างๆ ของคนในฐานะที่เป็นพลเมืองของสังคม
ส่วนกรณีความขัดแย้งจากโครงการของรัฐ หน่วยงานรัฐ
ควรจะน้อยลง
ต้องเคารพในสิทธิของชุมชนตามรัฐธรรมนูญโดยการประเมินผล

กระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างรอบด้าน ทั้งในระดับ
4.2 ความเป็นธรรมด้านที่ดินและทรัพยากร
แผนพัฒนาเชิงพื้นที่และระดับโครงการ รวมถึงการเปิดโอกาสให้
ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยการผลิตและฐาน
ประชาชนในพื้นที่สามารถกำหนดทางเลือกของการพัฒนาได้
ชีวิตที่สำคัญสำหรับคนทุกคน แต่การครอบครองที่ดินในประเทศ
ด้วยตนเอง
ไทยยังมีความกระจุกตัว และทรัพยากรถูกทำให้เสื่อมโทรมจาก

การพัฒนา ทั้งยังเชื่อมโยงกับปัญหาหนี้สิน ที่อาจทำให้ที่ดิน
4.3 ความเป็นธรรมด้านโอกาส
หลุดมือจากเกษตรกรมากยิ่งขึ้น ขณะเดียวกัน มีที่ดินที่ปล่อยให้
โอกาสเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาศักยภาพและการใช้
ทิ้งร้างว่างเปล่าจำนวนมาก ซึ่งกลายเป็นความสูญเสียโอกาส
ศั ก ยภาพของตนเอง และเป็ น เงื ่ อ นไขสำคั ญ ที ่ จ ะทำให้ ผู ้ ค น
ทางเศรษฐกิจ
สามารถใช้สิทธิของตน และมีอำนาจต่อรองกับผู้อื่น
ปัจจุบัน จึงมีข้อพิพาทหรือความขัดแย้งในเรื่องที่ดินและ
ทรัพยากร ทัง้ ระหว่างรัฐกับชุมชน และระหว่างเอกชนกับเกษตรกร 4.3.1 โอกาสด้านการศึกษา รัฐธรรมนูญได้ประกันสิทธิ
รัฐจึงต้องให้ความสำคัญกับ “สิทธิชุมชน” การมีส่วนร่วมของ ให้คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา 12 ปีอย่างมีคณ ุ ภาพและไม่เสีย
ประชาชน การเข้าถึง การจัดการและการได้รบั ประโยชน์จากทีด่ นิ ค่าใช้จา่ ย แต่ในปัจจุบัน ยังมีเด็กและเยาวชนในวัยเรียนจำนวน
และทรัพยากร ธรรมชาติตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ ไม่น้อยที่ตกหล่นจากระบบการศึกษา ไม่ได้รับการศึกษาขั้น


พื้นฐาน ด้วยเหตุแห่งความพิการ ความยากไร้ เชื้อชาติ และ
ขณะเดียวกัน ภาครัฐควรเน้นกลไกการบริหารและการใช้
ปัญหาอุปสรรคอื่นๆ อีกทั้งระบบการศึกษาในปัจจุบันยังเน้น
มาตรการทางภาษี เพื่อลดการกระจุกตัว การเก็งกำไรในที่ดิน
ระบบโรงเรียน ทำให้คนไทยส่วนใหญ่ที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่ง

14 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 15
ได้รบั การศึกษาโดยเฉลีย่ เพียง 8.7 ปี ขาดโอกาสทีจ่ ะพัฒนาตนเอง ชุมชนในการจัดการศึกษาภาคประชาชนและการสร้างสังคมแห่ง
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต การเรียนรู้อย่างจริงจัง


คุณภาพของคนไทยโดยรวมและคุณภาพของผู้สำเร็จการ
4.3.2 โอกาสด้านสุขภาพ การสร้างเสริมและการดูแล
ศึกษาแต่ละระดับจึงเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องได้รับการดูแลแก้ไข
รักษาสุขภาพ ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพ
คนไทยยังขาดวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้และคิดวิเคราะห์ อ่อนแอ
ที่ค่อนข้างครอบคลุม ทั่วถึง แต่ยังมีปัญหาความเหลื่อมล้ำใน
ทางคุณธรรม จริยธรรม ไม่เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นและ
ด้านทรัพยากรทางการแพทย์และการสาธารณสุข ทั้งระหว่าง
รากเหง้าทางวัฒนธรรม ทั้งยังขาดภูมิต้านทานและด้อยความรู้
กรุงเทพมหานครกับต่างจังหวัด และระหว่างเมืองกับชนบท และ
ความชำนาญที่จะเผชิญความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบันอย่างรู้
ยังมีปัญหาความเหลื่อมล้ำของชุดสิทธิประโยชน์และการเข้าถึง
เท่าทัน
ของระบบหลักประกันสุขภาพแต่ละระบบ ซึ่งความเหลื่อมล้ำ

สภาพที่เกิดขึ้นเป็นผลจากเหตุปัจจัยที่เชื่อมโยงจากปัญหา ดังกล่าวนอกจากจะเป็นปัญหาในด้านความไม่เป็นธรรม คุณภาพ


การอบรมเลี ้ ย งดู ใ นครอบครั ว ที ่ ไ ม่ เ หมาะสมทำให้ เ ด็ ก ตั ้ ง แต่ และประสิทธิภาพแล้ว ยังมีผลกระทบต่อภาระทางการคลังของ
ปฐมวัยมีปัญหาโภชนาการและพัฒนาการที่ล่าช้า ชุมชนและ ประเทศ นอกจากนี้ ยังมีปญ ั หาช่องว่างระหว่างองค์กรวิชาชีพกับ
สังคมไม่มบี ทบาทในการขัดเกลาทางสังคมหรือสร้างบรรยากาศ ประชาชน และการมุ ่ ง พึ ่ ง พาเทคโนโลยี เ ป็ น หลั ก ทำให้ ค วาม
ในการเรียนรู้เท่าที่ควร บ่อยครั้งยังมีส่วนถ่ายทอดแบบอย่างและ สัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการเสื่อมลง การบริการด้วย
ค่านิยมที่ไม่เหมาะสมอีกด้วย หัวใจของความเป็นมนุษย์ลดลง

ที่สำคัญ ระบบการศึกษายังมุ่งตอบสนองความต้องการ ประเด็นที่สำคัญอีกประการหนึ่งในด้านสุขภาพ คือ การ
ทางเศรษฐกิจหรือเป็นเครื่องมือยกฐานะทางสังคม แม้จะมีการ ป้องกันและการจัดการกับปัญหาที่ทำลายสุขภาพ เช่น สภาพ
ปฏิรูปต่อเนื่องมากว่า 10 ปี แต่ระบบการศึกษายังมีลักษณะ
แวดล้อมทีเ่ ป็นพิษ ถนนหนทางและระบบการจราจรทีไ่ ม่ปลอดภัย
รวมศูนย์ ขาดความยืดหยุ่น ไม่มีทางเลือกที่หลากหลาย ไม่ให้ อาหารและยาที่ไม่ปลอดภัย

คุณค่าแก่ประสบการณ์จริง ยังมีความเหลื่อมล้ำในคุณภาพของ
สถานศึกษาครู และบริการ ทั้งยังไม่ส่งเสริมความเข้มแข็งของ

16 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 17
ทางด้านการสร้างเสริมสุขภาพ แม้จะมีการจัดตั้งกองทุน ระหว่างผู้ที่เข้าถึงอำนาจรัฐกับประชาชนหรือชุมชนที่ไม่สามารถ
สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) และการจั ด ให้ ม ี
เข้าถึงอำนาจรัฐ
งบประมาณแยกต่างหากเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน
โรค ในกองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ แต่ ง านด้ า นนี ้
4.4 ความเป็นธรรมด้านสิทธิ
ยังทำได้น้อย เช่น การละเลยในการส่งเสริมการออกกำลังกาย ปัจจุบันรัฐธรรมนูญได้มีการรองรับสิทธิพื้นฐานของบุคคล
และการเล่นกีฬาของเด็กและเยาวชน การส่งเสริมการเลี้ยงลูก และชุมชนอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ดี ในความเป็นจริง ประชาชน
ด้วยนมแม่ทั้งในโรงงานและในครัวเรือน การส่งเสริมสุขภาพของ จำนวนมากยังไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้สิทธิได้อย่างเท่าเทียมกัน
ประชาชนทั้งในสถานประกอบการ สถานศึกษา การป้องกัน
ทั้งนี้อาจเนื่องจาก ความไม่รู้เรื่องสิทธิของตนเองและการใช้
ภาวะทุพโภชนาการ เช่น การขาดสารไอโอดีน การป้องกันภาวะ อิทธิพลเถื่อน การเพิกเฉยและการใช้อำนาจที่มิชอบของเจ้า
โภชนาการเกิน และการละเลยการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เป็นมิตร หน้าที่รัฐ ข้อจำกัดทางกฎหมายและระเบียบ รวมถึงการตีความ
กับผู้พิการ ผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส กฎหมายซึ ่ ง ขั ด กั บ หลั ก การแห่ ง สิ ท ธิ ต ามเจตนารมณ์ ข อง
รัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ เช่น กฎหมายอุทยานแห่งชาติที่
4.3.3 โอกาสด้านอื่นๆ นอกเหนือจากการศึกษาและ ขัดกับสิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
สุขภาพ ผู้คนยังต้องการโอกาสในการพัฒนาศักยภาพและการใช้ ตามรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการปฏิรปู จึงมุง่ ทีจ่ ะขจัดอุปสรรคในการ
ศักยภาพของตน เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คงและความก้าวหน้าในการ ใช้สทิ ธิตา่ งๆ เพือ่ ปกป้องความเป็นธรรมของประชาชนแต่ละกลุม่

ประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต แต่โอกาสในการเข้าถึงแหล่ง
ขณะเดียวกัน สังคมไทยก็เผชิญปัญหาการใช้สิทธิที่อาจมี
ทรั พ ยากร โอกาสในการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร โอกาสในการ
กระบวนการที่ล่าช้า ยาวนานและเป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิด
สร้างสรรค์กิจกรรม โอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน โอกาสใน
ความร้าวฉานแก่ทั้งสองฝ่าย เช่น การฟ้องร้องระหว่างผู้ป่วยและ
การเข้าถึงงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ และโอกาสในการ
แพทย์อันเนื่องจากความผิดพลาดในการให้บริการทางการแพทย์
เข้าถึงและได้รับความเป็นธรรมจากกระบวนการยุติธรรม ยังคงมี
เพราะฉะนั้น สังคมไทยจึงจำเป็นที่ต้องพัฒนาระบบยุติธรรมทาง
ความแตกต่างกันมาก โดยเฉพาะระหว่างผู้ที่อยู่ในกรุงเทพฯ กับ
เลือกทีจ่ ะช่วยเหลือ เยียวยา ไกล่เกลี่ยและหาข้อยุติ เพื่อให้เกิด
ต่างจังหวัด ระหว่างผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจกับผู้ที่ยากจน และ
ความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายและเพื่อการอยู่ร่วมกันด้วยดีในสังคม

18 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 19
4.5 ความเป็นธรรมด้านอำนาจต่อรอง โดยสรุปแล้วการปรับเปลี่ยนดุลอำนาจใหม่ จะส่งผลให้
สังคมไทยประกอบด้วยกลุ่มชนที่มีความหลากหลายทาง เกิดการถ่วงดุลและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอย่างทั่วด้าน ซึ่ง
ความคิด วัฒนธรรม และมีลักษณะผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน จะทำให้นักการเมืองและข้าราชการต้องทำงานอย่างรับผิดชอบ
โดยนับวันความแตกต่างดังกล่าวยิ่งจะก่อให้เกิดความขัดแย้ง มากขึ้น กับทั้งลดโอกาสที่จะมีการฉ้อราษฎร์บังหลวง และการใช้
มากขึ้น ดังนั้นการสร้างกระบวนการเจรจาต่อรองและการสร้าง อำนาจหน้าที่ในการแสวงหาประโยชน์ส่วนตัวด้วย
สมดุลในด้านอำนาจต่อรองเพื่อแก้ไขความขัดแย้ง จึงเป็นสิ่ง
สำคัญสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ดังนั้น การปฏิรูปจะก่อให้เกิดระบบการเมืองที่โปร่งใสและ

รับผิดชอบ ก่อให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อคุณภาพชีวิตที่ดี และ
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพความเหลื่อมล้ำในความ โอกาสการพัฒนาที่กระจายไปยังทั่วทุกส่วนของสังคม อันจะนำ
สัมพันธ์ทางอำนาจดังที่ดำรงอยู่ อำนาจต่อรองที่ไม่เท่าเทียมกัน ไปสู่การเป็นสังคมที่มีความขัดแย้งน้อยลง อยู่ร่วมกันอย่างสันติ
จึงมักเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การเจรจาหาข้อตกลงระหว่างคู่กรณี
และยั่งยืน
ไม่ประสบความสำเร็จ หรือไม่เป็นที่ยอมรับโดยฝ่ายผู้เดือดร้อน

ด้วยเหตุนี้การเสริมอำนาจต่อรองให้กับกลุ่มชนที่ตกเป็น
ฝ่ายถูกกระทำ ถูกละเมิดสิทธิหรือเป็นผู้เสียเปรียบในกรณีพิพาท
จึงเป็นเรื่องจำเป็น หมายเหตุ
กรอบการทำงานของคณะกรรมการปฏิรูปเป็นเอกสาร
การเสริมอำนาจดังกล่าว สามารถทำได้ด้วยการปรับปรุง ที่จัดทำขึ้นเพื่อประโยชน์ในการทำงานของคณะกรรมการฯ
บทบัญญัติของกฎหมายเพื่อเพิ่มฐานะต่อรองของกลุ่มผู้เสีย เท่านั้น กรอบการทำงานต่างๆ ของคณะกรรมการสามารถ
เปรียบ การเข้าถึงสื่อสาธารณะ การสนับสนุนการจัดตั้งรวมตัว ปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม หรือลดทอนได้ ตามความเห็นชอบร่วม
ของผู้ไม่ได้รับความเป็นธรรมด้วยมาตรการต่างๆ การสนับสนุน กันของคณะกรรมการฯ ซึ่งอาจเกิดขึ้นภายหลังจากการได้รับ
ด้านทรัพยากรการปกป้องคุ้มครองผู้ที่อ่อนแอกว่ามิให้ถูกอิทธิพล ข้อมูลและเหตุผลเพิ่มเติมจากการรับฟังและสังเคราะห์ปัญหา
เถื่อน หรือถูกข้าราชการของรัฐข่มขู่คุกคาม ซึ่งรวมทั้งการลด จากการรับฟังความเห็นของสมัชชาปฏิรูป รวมถึงจากข้อ
หรือขจัดท่าทีปฏิปักษ์จากฝ่ายเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วย เป็นต้น เสนอแนะของกรรมการเอง

20 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป ยุทธศาสตร์การปฏิรูป | 21
22 | ยุทธศาสตร์การปฏิรูป

You might also like