You are on page 1of 8

เฉลยข้อสอบนิติศาสตร์

กฎหมายแพ่ง 1 ภาค 1/2532

โจทก์
แดง เป็นคนสติฟันเฟือน อายุ 17 ปี ได้ยกแหวนของตนให้เหลือง โดยเหลืองไม่ทราบว่า
แดงเป็นคนสติฟันเฟือน จึงซื้อไว้ในราคา 10,000 บาท ต่อมาอีก 1 ปี แดงได้หายเป็นปกติและได้
หลงรัก นางสาวฟ้า ถึงขนาดทำาพินัยกรรมยกทรัพย์สินทั้งหมดของตนให้นางสาวฟ้า ต่อมาเพิ่งจะ
ทราบในภายหลังถึงการซื้อขายแหวนและพินัยกรรมซึ่งแด งทำาไปโดยไม่ได้รับความยินยอมจากตน
ดังนี้
1. นิติกรรมซื้อขายแหวนมีผลอย่างไรหรือไม่
2. พินัยกรรมมีผลอย่าไรหรือไม่

เฉลย
หลักกฎหมาย
ปพพ. มาตรา 21 บัญญัติว่า อันผู้เยาว์จะทำาพินัยกรรมใดต้องไดรับความยินยอมของผู้แทน
โดยชอบ ธรรมก่อน บรรดาการใดๆ อันผู้เยาว์ได้ทำาโดยปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้นท่านว่าเป็น
โม ฆียะ
แดงอายุ 17 ปี ยังเป็นผู้เยาว์อยู่จึงต้องอยู่ในความดูแลของบิดาซึ่งเป็นผู้แท นโดยชอบธรรม
การที่แดงได้ขายแหวนของตนให้เหลืองนัน้ เป็นกระทำานิติกรรมซึ่งต้ องได้รับความยินยอมจากบิดา
ผู้แทนโดยชอบธรรม แต่แดงได้ทำานิติกรรมดังกล่าวโดยปราศจากความยินยอมจากบิดา ดังนัน้ การ
ขายแหวนจึงตกเป็นโมฆียะ
ผลของนิติกรรมที่เป็นโมฆียะก็คือนิติกรรมนั้นมีผลสมบูรณ์ผูกพัน กันมาตามกฎหมายมา
แต่เริ่มแรกและยังคงสมบูรณ์อยู่ต่อไปจนกว่าจะถ ูกบอกล้างให้สิ้นผลหรือสมบูรณ์ตลอดไปเมื่อให้
สัตยาบัน กล่าวคือถ้าไม่มีการบอกล้างโดยผู้มีสิทธิบอกล้างภายในระยะเวลาท ูี่กฎหมายกำาหนดหรือ
มีการให้สัตยาบันโดยที่มีสิทธิให้สัตยาบันแล้ วสิทธิบอกล้างย่อมระงับไปจะบอกล้างอีกไม่ได้
นิติกรรมนั้นจะสมบู รณ์ตลอดไป แต่ถ้ามีการบอกล้างนิติกรรมที่สมบูรณ์นั้นจะตกเป็นโมฆะทันที
เมื ู่อถูกบอกล้าง คู่กรณีต้องกลับสู่สถานเดิมเหมือนเช่นก่อนทำานิติกรรมเสมือนว่าไ ม่เคยนิติกรรม
การซื้อขายนั้นเกิดขึ้นเลย
ปพพ.มาตรา 25 ผูเ้ ยาว์อาจทำาพินัยกรรมได้เมื่อมีอายุสิบห้าปีบริบูรณ์
แดงอายุ 17 ปีแล้วและหายจากเป็นสติฟันเฟือนจึงสามารถทำาพินัยกรรมได้โดยด้วย ตัวเอง
ไม่จำาต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมคือบิดา ดังนั้นพินัยกรรมจึงมีผลสมบูรณ์
ดังนี้นิติกรรมซื้อขายแหวนมีผลเป็นโมฆียะเพราะแดงทำาใบขณะเป็นผู ู้เยาว์และมิได้รับ
ความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
3. พินัยกรรมมีผลสมบูรณ์เพราะแดงอายุ

โจทก์
สองไปซื้อผ้าที่ร้านขายผ้าแห่งหนึ่ง ขายโฆษณาอวดว่าผ้าของตนรับรองไม่ยับไม่ย่นแล้ว
ขยำาผ้าให้ดูก็ปรา กฏว่าไม่ยับ สองจึงซื้อผ้าไหมเพราะเชื่อคำาอวดอ้างนั้น และนำามาตัดเสื้อใหม่
ปรากฏว่าเมื่อนำามารีดเตารีดมีความร้อนสูง ทำาให้ผ้าย่นเสียหายสวมใส่ไม่ ได้จึงนำาเสื้อผ้ามาให้ร้าน
ขายผ้าดูว่าที่ทางร้านอ้างว่าไม่ยับไ ม่ยน่ นั้นไม่จริงแต่ก็ขอเงินคืนบ้างเป็นบางส่วน เพราะต้องเสียเงิน
ซื้อแพงเกินไป ดังนี้ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของสองอย่างไรหรือไม่

เฉลย
หลักกฎหมาย
ปพพ. มาตรา 121 วรรคแรกบัญญัติว่า การแสดงเจตนาอันได้มาเพราะกลฉ้อฉลก็ดี เพราะ
ขมขู่ก็ดี ท่านว่าเป็นโมฆียะ
ปพพ. มาตรา 122 บัญญัติว่า การอันจะเป็นโมฆียกรรมเพราะกลฉ้อฉลเช่นนัน้ การอันนั้น
ก็คงจะมิได้ทำาขึ้นเลย
กลฉ้อฉลนัน้ คือการหลอกลวงให้ผู้แสดงเจตนาเข้าใจผิดหรือลวงให้คู ู่กรณีหลงเชื่อจึง
แสดงเจตนาเข้าทำานิติกรรม
การแสดงเจตนาเข้านิติกรรมโดยถูกกลฉ้อฉลนัน้ นิติกรรมนั้นมีผลเป็ นโมฆียะ ซึ่งต้องเป็น
กลฉ้อฉลถึงขนาด คือต้องเป็นเรื่องถึงขนาดที่จะจูงใจให้ผู้ถูกกลฉ้อฉลนั้นเข้าทำา นิติกรรมหรืออีก
นัยหนึ่งพูดได้ว่าถ้าไม่มีกลแอฉลนี้แล้วจะไม่มี การแสดงเจตนาทำานิติกรรมนั้นเลย
กรณีนี้คนขาย โฆษณายืนยันคุณภาพของสินค้าว่าผ้าไม่ยับไม่ย่น ซึ่งถ้าการยืนยันความจริง
แล้วปรากฏว่าไม่เป็นความจริงตามโฆษณาก ู็เป็นกลฉ้อฉล เพราะมีเจตนาหลอกให้สองหลงเชื่อจึง
ทำานิติกรรมซื้อผ้า แต่กรณีนี้ปรากฏว่าคนขายยืนยันรับรองเรื่องคุณภาพของผ้านั้นเป็ นความจริงว่า
ไม่ยับไม่ย่นจึงไมเป็นกลฉ้อฉลเพราะการที่ผ้ายับย่น นั้นเป็นความผิดของสองเอง ดังนั้นนิติกรรมจึง
สมบูรณ์ สองไม่สามารถเรียกค่าเสียหายใดๆจากผู้ขาย
กฎหมายแพ่ง 1

โจทก์
ส. ลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2534 ว่าหากใครประดิษฐ์โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถแปลข้อความภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษจะให้รางวัล 4 แสนบาท เวลาล่วง
เลยไป 5 ปีแล้ว ฉลาด ได้ประดิษฐ์โปรแกรมดังกล่าวได้โดยไม่เคยทราบว่า ส. ประกาศให้รางวัล แต่
มาทราบจากเพื่อนของตนในภายหลังเมื่อประดิษฐ์ได้ ดังนั้นฉลาดจึงนำาสิ่งประดิษฐ์ของตนมาขอรับ
รางวัลจาก ส. ส.อ้างว่าเลยกำาหนดอายุความแล้ว และฉลาดเองก็ไม่เคยมาแจ้งให้ ส. ทราบว่าจะ
อาสาประดิษฐ์สัญญาจึงไม่เกิดและปฏิเสธไม่จ่ายเงินรางว ูัล ดังนี้ท่านเห็นด้วยกับข้อกล่าวอ้างของ
ส. อย่างไรหรือไม่

เฉลย
หลักกฎหมาย ตาม ปพพ.
มาตรา 362 บัญญัติว่า บุคคลออกโฆษณาให้คำามั่นว่าจะให้รางวัลแก่ผู้ซึ่งกระทำาการอันใดท
ู่านว่าจำาต้องให้รางวัลแก่บุคคลใดๆผู้ได้กระการอันนั้น แม้มิใช่ว่าผู้นั้นจะได้กระทำาเพราะเห็นแก่
รางวัล
มาตรา 363 วรรคแรกในกรณีที่กล่าวมาในมาตราก่อนนี้ เมื่อยังไมมีใครทำาสำาเร็จดังที่ตั้งไว้
นัน้ อยู่ตราบใด ผู้ให้คำามั่นจะถอนคำามั่นของตนเสียเสียโดยวิธีเดียวกับที่โฆษณาน ูั้นก็ได้ เว้นแต่จะ
ได้แสดงไว้ในโฆษณานั้นว่าจะไม่ถอน
กรณีนี้เป็นเรื่องคำามั่นโฆษณาจะให้รางวัลคำามั่นมีลักษณะเป็นการ แสดงเจตนาเป็น
นิติกรรมฝ่ายเดียวผูกพันผู้ให้คำามั่นโดยไม่ต้องมี การแสดงเจตนาสนองตอบแต่อย่างใด
กรณีนี้เป็นเรื่องผู้ให้คำามั่นมุ่งถึงความสำาเร็จของการกระทำาซึ่ งตนได้โฆษณาไว้ ดังนัน้ แม้ผู้
ทำาสำาเร็จกระทำาโดยมาเห็นแก่รางวัลผู้โฆษณาก็ต้องให ู้รางวัล ผูใ้ ห้คำามั่นจะถอนคำามั่นเสียได้ถ้าถ้า
ยังไม่มีผู้ใดทำาสำาเร็จ แต่ถ้ายังไม่ถอนคำามั่นแล้ว ผู้ให้คำามั่นก็คงยังผูกพันอยู่
ตามข้อเท็จจริงเป็นเรื่องคำามั่นจะให้รางวัลเมื่อมีบุคคลประดิษฐ ู์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตาม
ประกาศได้ ดังนั้น ส. ต้องผูกพันตามคำามั่นที่ให้ไว้เมื่อมีบุคคลทำาสำาเร็จตามโฆษณาแล้ว ส. ต้อง
ผูกพันที่จะต้องให้รางวัลแก่ฉลาดซึ่งประดิษฐ์ได้
ส. จะอ้างกำาหนดอายุความว่ามาปฏิเสธไม่จ่ายรางวัลไม่ได้ เพราะ ส. ยังไม่ได้ถอนคำามั่น
แต่อย่างใด ส. จึงต้องผูกพันจ่ายรางวัลแม้ว่าฉลาดจะไม่ทราบมาก่อนว่าการประดิษ ฐ์นนั้ จะมีรางวัล
ดังนั้น ส. ปฏิเสธไม่จ่ายเงินรางวัลไม่ได้
41211 กฎหมายแพ่ง 1

โจทก์
ก ออกประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์ เขียว-ทอง ว่า หากผู้ใดสามารถคิดยารักษาโรค
เอดส์สำาเร็จจะให้รางวัลหนึ่งล้านบา ท ก และ ข ได้อ่านพบข้อความในหนังสือพิมพ์ ข จึงไปพบ ก
แสดงความจำานงว่าตนกำาลังค้นคว้าอยู่เกือบสำาเร็จแล้วตอนนี้อยู่ใน ขั้นตอนทดสอบผล แต่ ค นัน้ ได้
ทำาการทดลองอยู่นานแล้ว ปรากฏว่าเมื่อ ก ขาดทุน จึงได้ลงประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์ มสธ.
ถอนประกาศโฆษณาดังกล่าว เพราหนังสือพิมพ์ เขียว-ทอง ปิดกิจการ อีก 2 เดือนต่อมาหลังจาก ก
ประกาศถอนโฆษณาแล้ว ค ได้มาพบ ก ขอรับรางวัลตามประกาศ ก อ้างว่าตนได้ถอนการให้รางวัล
แล้ว แต่ปรากฏว่า ค ไม่ทราบถึงการถอนนั้นเพราะไม่เคยอ่านหนังสือพิมพ์ มสธ. และ ก ยังอ้างอีก
ด้วยว่า ถึงอย่างไรก็ตาม ค ก็ไม่มีสิทธิได้รางวัลอยู่ดีเพราะ ข เป็นคนมาติดต่อแจ้งให้ ก ทราบถึงการ
ค้าคว้าก่อน ดังนี้ ท่านเห็นด้วยกับข้ออ้างของ ก หรือไม่ เพราะเหตุใด

เฉลย
ในเรื่องนี้เป็นประเด็นที่จะต้องพิจารณาเรื่องคำามั่นจะให้รางวั ลในกรณีที่มีผู้กระทำาการ
อย่างหนึ่งอย่างใดสำาเร็จและการถอนคำามั่ นนัน้ ว่าจะมีผลอย่างไร
หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องคือ ปพพ. ม.36 บัญญัติว่า “บุคคลใดออโฆษณาให้คำาม่นว่าจะให้
รางวัลแก่ผู้ซึ่งกระทำาการอันใด ทานว่า จะให้รางวัลแก่บุคคลใดๆผู้ได้กระทำาการอันนั้นแม้ถึงมิใช่ผู้
นั้ นจะได้กระทำาเพราะเห็นแก่รางวัล”
ปพพ.ม. 363 บัญญัติว่า “ เมื่อยังไม่มีใครทำาการสำาเร็จดังที่บ่งไว้นั้นอยู่ตราบใดผู้ให้ค ูำมั่น
จะถอนคำาสั่งของตนเสียโดยวิธีเดียวกับที่โฆษณานั้นก็ได้ เว้นแต่จะได้แสดงในโฆษณานั้นว่าจะ
ไม่ถอน
ถ้าคำามั่นนั้นไม่อาจจะถอนโดยวิธีดังกล่าวมาก่อนจะถอนโดยวิธีอื่ นก็ได้แต่ถ้าการถอนเช่น
นัน้ จะเป็นอันสมบูรณ์ใช้ได้เพียงเฉพาะต่ อบุคคลทีรู้”
คำามัน่ ในกรณีนี้เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวเป็นการแสดงเจตนาของผู้ให ู้คำามั่นที่จะผูกพันตนเอง
ในการที่จะให้รางวัลตามประกาศโฆษณาซึ่ง ได้กระทำาแก่บุคคลทั่วไปโดยผู้ให้คำามั่นนั้นมุ่ง
ประสงค์ต้องการใ ห้เกิดผลสำาเร็จของการกระทำาอันใดอันหนึ่งตามประกาศโฆษณาจึงไม่จำา เป็นจะ
ต้องมีการแสดงเจตนาสนองตอบดังเช่นในกรณีเรื่องสัญญา แต่ผลผูกพันนี้ไปตามกฎหมายซึ่งผู้ให้
คำามั่นต้องให้รางวัลแม้ถือ ว่าผู้กระทำาจะได้ทำาโดยไม่เห็นแก่รางวัลก็ตาม
จากข้อเท็จจริงจึงเห็นได้ว่า ก ได้ให้คำามั่นโดยประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์ เขียว-ทอง
จะให้รางวัลแก่ผู้ที่สามารถคิดยารักษาโรคเอดส์ได้ ดังนั้นจึงเท่ากับว่า ก ผูกพันตัวต่อบุคคลทั่วไปที่
จะต้องให้รางวัลแก่บุคคลใดก็ได้ซึ่ง กระทำาการนี้สำาเร็จ แม้ว่า ข จะมาแจ้งให้ ก ทราบว่าตนกำาลัง
ค้นคว้าอยู่ก็ตามแต่เมื่อยังไม่มีผลสำาเร็จของงาน ตามประกาศก็ไม่มีสิทธิที่จะได้รับรางวัลแต่อย่างได
(มาตรา 362)
ในขณะซึ่งงานยังไม่เสร็จแม้ว่าผู้ให้คำามันคือ ก สามารถจะถอนคำามั่นนั้นเสียได้ก็ตาม แต่
การถอนคำามั่นนั้นต้องกระทำาโดยวิธีเดียวกันวิธีที่โฆษณานั้นต ู้องกระทำาโดยวิธีเดียวกันวิธีที่
โฆษณานั้นต้องหมายถึงถอนโดยวิธี เดียวอย่างแท้จริง หากถอนด้วยวิธีเดิมไม่ได้ จะมีผลสมบูรณ์
ใช้ได้แต่เฉพาะผู้ที่ได้รู้ถึงประกาศถอนเท่านั้นเ มื่อ ก ถอนโฆษณาในหนังสือพิมพ์ มสธ. ซึ่งมิใช่
หนังสือพิมพ์ เขียว-ทอง ซึ่งได้เคยลงประกาศไว้เดิมโดย ค ไม่ทราบถึงการถอนนั้น ดังนี้ ก ยังต้อง
ผูกพันที่ต้องจ่ายรางวัลตามประกาศ
ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วยกับข้ออ้างของ ก เพราะ ค ไม่ทราบการถอนประกาศ แม้ ข จะมาติดต่อ
ก ให้ทราบถึงการค้นคว้าของตนก่อนก็ได้ไม่มีผลอย่างใดในกฎหมาย

โจทย์
นายหล่อหมั้นนางสาวสวยด้วยแหวนทองหนึ่งวงราคา 3,000 บาท หลังจากหมั้นกันแล้ว
ได้ทำาพิธีแต่งงานกันตามประเพณีโดยนายหล่อสัญญาว่าจะไปจดทะเบียน สมรสกับนางสาวสวย
ภายใน 1 เดือน หลังแต่งงานถ้าในการจัดงานแต่งงานนางสาวสวยได้เสียค่าใช้จ่ายใน พิธีแต่งงาน
อันได้แก่ค่าอาหารเลี้ยงพระและแขกในวันแต่งงาน 60,000 บาท หลังจากแต่งงานอยู่กินเป็นสามี
ภริยากันแล้วประมาณหนึ่งเดือน นางสาวสวยก็ได้ลาออกจากงานที่นางสาวทำาอยู่ที่บริษัทแห่งหนึ่ง
เพื่อมาช่วยงานบ้านนายหล่อซึ่งเป็นร้านชายของชำา และขอให้นายหล่อไปจดทะเบียนสมรสตาม
สัญญานายหล่อไม่ยอมไปจดทะเบี ยนแต่กลับไล่นางสาวสวยให้กลับไปอยู่บ้านบิดาของนางสาว
สวย ดังนี้
ก. นางสาวสวยจะฟ้องศาลขอบังคับให้นายหล่อจดทะเบียนสมรสกับตนได้หรื อไม่
ข. ถ้านายหล่อขอของหมั้นคือแหวนหนึ่งวงคืน นางสาวสวยจะต้องคืนให้หรือไม่
ค. นางสาวสวยมีสิทธิเรียกค่าทดแทนการที่นายหล่อไม่ยอมจดทะเบียนสมร สได้เพียงใด
หรือไม่

เฉลย
หลักกฎหมาย
“การหมัน้ ไม่เป็นเหตุที่จะร้องขอให้ศาลบังคับให้สมรสได้...” (มาตรา 1438 )
“เมื่อมีการหมั้นแล้ว ถ้าฝ่ายใดผิดสัญญาหมั้นอีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิเรียกให้รับผิดใช้ค่ า
ทดแทน ในกรณีที่มีของหมั้นถ้าฝ่ายชายผิดสัญญาหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิง ถ้าฝ่ายหญิงผิดสัญญา
หมั้นให้คืนของหมั้นแก่ฝา่ ยชาย” (มาตรา 1439)
“ค่าทดแทนนั้นอาจเรียกได้ ดังต่อไปนี้
(1) ทดแทนความเสียหายต่อกายหรือชื่อเสียงแก่ชายหรือหญิงนั้น
(2) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้น บิดามารดา หรือบุคคลผู้กระทำาการใน
ฐานะเช่นบิดามารดาได้ใช้จ่ายหรือต้องตกเ ป็นลูกหนี้เนื่องในการเตรียมการสมรสโดย
สุจริตและตามสมควร
(3) ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คู่หมั้นได้จัดการทรัพย์สินหรื อการอื่นอันเกี่ยวกับ
อาชีพหรือทางทำามาหาได้ของตนไปโดยสมควรด้วย การคาดหมายว่าจะได้มีกาสมรส
ในกรณีที่หญิงเป็นผู้มีสิทธิได้รับค่าทดแทน ศาลอาจจะชี้ขาดว่าของหมั้นที่ตกเป็นสิทธิแก่
หญิงนั้นเป็นค่าทดแ ทนทั้งหมดหรือเป็นส่วนหนึ่งของค่าทดแทนที่หญิงพึงถึงของหมั้นที ู่ตกเป็น
สิทธิแก่หญิงนั้นก็ได้”(มารตรา 1440 )

จากอุทาหรณ์
(ก) สัญญาหมั้นมีลักษณะพิเศษแตกต่างนากสัญญาอื่นๆในแง่ที่ว่าไม่สาม ารถฟ้องร้องให้
ปฏิบัติตามสัญญาโดยขอให้ศาลบังคับให้คู่หมั้นฝ่า ยหนึ่งทำาการสมรสเป็นเรื่องที่ชายและหญิงต้อง
ยินยอมพร้อมใจกันกร ะทำาด้วยความสมัครใจและโดยเสรีที่สุด สภาพแห่งสัญญาไม่เปิดช่องให้มี
การบังคับกันได้เหมือนเช่นสัญญาอ ูื่นๆ แม้ชายหญิงจะมาอยู่กินเป็นสามีภริยากันเป็นเวลานาน
เท่าใดก็ตามจ ะมาฟ้องต่อศาลขอให้บังคับให้ไปจดทะเบียนสมรสกันไม่ได้ ดังที่บัญญัติไว้ตาม
มาตรา 1438 ดังนัน้ นางสาวสวยจะฟ้องบังคับให้นายหล่อจดทะเบียนสมรสกับตนไม่ได้(คำาพิ พาก
ษาฎีกาที่ 137/2481)
(ข) การที่นายหล่อสัญญาว่าจะไปจดทะเบียนสมรสกับนางสาวสวยภายใน 1 เดือนหลัง
ภายในพิธีแต่งงานตามประเพณีนั้นเป็นการตกลงว่านายหล่อ จะทำาการสมรสกับนางสาวสวยตาม
วันเวลาที่กำาหนดไว้แต่เมื่อถึงกำาหนด ตามที่สัญญาไว้นางสาวสวยขอให้ไปจดทะเบียนสมรส นาย
หล่อปฏิเสธ ถือว่านายหล่อผิดสัญญาหมั้น ในกรณีนี้แหวนทองหนึ่งวงซึ่งเป็นของหมั้นจึงตกเป็น
สิทธิแก่นางส าวสวยตาม ปพพ. 1439 นางสาวสวยจึงไม่ต้องคืนแหวนทองให้แก่นายหล่อ
(ก) เมื่อนายหล่อเป็นฝ่ายผิดสัญญาหมั้น นางสาวสวยย่อมมีสิทธิเรียกค่าทดแทนได้ดังนี้
1. การที่นางสาวสวยทำาพิธีแต่งงานและได้อยู่กินฉันสามีภริยากับนายห ล่อที่บ้านของนาย
หล่อเป็นเวลาถึงเดือนเศษแล้วผิดสัญญาไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรสและข ูับไล่นางสาวสวยให้กลับ
ไปอยู่บ้านบิดา นั้นย่อมให้นางสาวสวยต้องได้รับความอับอายร่างกาย นางสาวสวยจึงมีสิทธิเรียก
ร้องค่าทดแทนความเสียหายต่อกายและชื่อ เสียงของตนได้ตาม ปพพ. มาตรา 1440(1) (คำาพิพากษา
ฎีกาที่ 982/2518)
1. การที่นางสาวสวยได้เสียค่าใช้จ่ายในการจัดงานแต่งงานตามรายการต ู่างๆนั้น จะต้อง
พิจารณาว่ารายการใดบ้างที่เป็นค่าใช้จ่ายในการเตรียมการสมรสโดย สุจริตและตามสมควร ซึ่งค่า
ใช้จา่ ยในการเตรียมการที่จะเรียกค่าทดแทนจากกันได้ตามมา ตรา 1440(2) ต้องเป็นค่าใช้จ่ายอัน
จำาเป็นที่ชายหรือหญิงกระทำาเพื่อเตรียมการ ที่ชายหรือหญิงจะอยู่กินด้วยกันเป็นสามีภริยาโดยตรง
ตามปัญหาค่าอาหารเลี้ยงพระและแขกในวันแต่งงานไม่ใช่ค่าใช้จ่ายใ นการเตรียมการสมรสเพราะ
การที่ชายหญิงจะอยู่กินด้วยกันเป็นสามีภ ริยาไม่จำาเป็นต้องใช้จ่ายกรณีเหล่านี้การเลี้ยงดูกันเป็น
เพียงป ระเพณีนิยมเท่านั้น แม้ไม่ทำาชายหญิงก็คงอยู่กินเป็นสามีภริยากันได้นางสาวสวยจึงเรี ยกค่า
ใช่จา่ ยต่างๆรวม 60,000 บาท ไม่ได้ (คำาพิพากษาฎีกาที่ 2086/2518)
2. ก่อนที่นางสาวสวยจะรับหมั้นนางหล่อ นางสาวสวยทำางานอยู่ที่บริษัทแห่งหนึ่ง แต่
หลังจากแต่งงานกับนายหล่อแล้วประมาณ 1 เดือนเศษ นางสาวสวยได้ลาออกมาเพื่อช่วยงานบ้าน
นายหล่อซึ่งเป็นร้านขายของ ชำา เป็นกรณีที่นางสาวสวยได้จัดการเกี่ยวกับอาชีพโดยสมควรด้วยการ
คา ดหมายว่าจะได้มีการสมรส แต่นายหล่อไม่ยอมจดทะเบียนสมรส เช่นนี้ นางสาวสวยย่อมมีสิทธิ
เรียกค่าทดแทนความเสียหายในส่วนนี้ได้จาม ปพพ. มาตรา 1440(3)ฉ (คำาพิพากษาฎีกาที่
3366/2526)

โจทก์
นางสุมาลีลักลอบได้เสียกับนายสมพรจนเกิดบุตรชายคือเด็กชายกริช ต่อมานางสุมาลีถึงแก่
ความตาย นายสมพรละทิ้งไม่ดูแลบุตร นางแจ่มผู้เป็นยายจึงนำาเด็กชายกริชมาอุปการะเลี้ยงดูและให้
การศ ูึกษา หลังจากนางสุมาลีตายไปแล้ว***ปี นายสมพรไปจดทะเบียนรับรองบุตรแล้วเด็กชายก
ริชเป็นบุตรโดยขอบด้ว ยกฎหมายและนำาไปเลี้ยงดูเอง นางแจ่มไม่พอใจจึงฟ้องคดีต่อศาล อ้างว่า
นายสมพรประพฤตินั้นไม่เหมาะสมชอบดื่มสุรา ขอให้ศาลเพิกถอนการรับรองบุตร นายสมพร
ให้การปฏิเสธว่านางแจ่มไมมีสิทธิแต่อย่างใดที่จะนำาคดีมา ฟ้องทั้งเด็กก็เป็นบุตรของนายสมพรเช่น
นี้ถ้าท่านเป็นศาลจะพิพาก ษาให้เพิกถอนการรับรองบุตรหรือไม่ เพราะเหตุใด

เฉลย
“ ผู้มีส่วนได้เสียจะขอให้ศาลถอนการจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรเพรา ะเหตุว่าการขอจด
ทะเบียนนั้นมิใช่บิดาก็ได้แต่ต้องฟ้องภายในสามเ ดือนนับแต่วันที่รู้การจดทะเบียนนั้น อนึ่ง ห้ามมิ
ให้ฟ้องเมื่อพ้น**ปีนับแต่วันที่จดทะเบียน” (มาตรา 1554)
คำาว่า “ผู้มีส่วนได้เสีย” หมายถึง ทีจ่ ะมีส่วนได้หรือส่วนเสียในประโยชน์อันเกี่ยวกับสิทธิ
ในครอบค รัวหรือมรดก
“เหตุที่จะอ้างในการฟ้อง” การฟ้องขอให้ถอนการจดทะเบียนการรับเด็กเป็นบุตรนี้
กฎหมายได้จำาก ูัดไว้ว่าผู้ฟ้องจะอ้างได้เพียงเหตุเดียวเท่านั้น คือ ผูข้ อให้จดทะเบียนนั้นไม่ใช่บิดา
ของเด็กเท่านั้น จะอ้าง*** เช่น เรื่องความประพฤติ ชื่อเสียง หรือฐานะความเป็นอยู่ของผู้ขอจด
ฯลฯ มาเป็นเหตุให้ศาลถอนการจดทะเบียนไม่ได้
ตามอุทาหรณ์ นางแจ่มเป็นยายของเด็กชายกริช ย่อมมีส่วนได้ส่วนเสียนั้นเป็นประโยชน์
อันเกี่ยวกับสิทธิในครอบ ครัวหรือมรดกของเด็ก จึงชอบที่จะฟ้องนายสมพรได้ แต่การฟ้องขอให้
ถอนการจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรนั้นตามหลักกฎหม ายดังกล่าวข้างต้นจำากัดไว้ว่า ผู้ฟ้องขอให้
ถอนการจดทะเบียนจะอ้างได้เพียงเหตุเดียวเท่านั้นคื อ “ผู้ขอให้จดทะเบียนนั้นไม่ใช่บิดาของเด็ก”
จะอ้างเหตุอื่นๆฯลฯเพื่อขอให้ศาลเพิกถอนการจดทะเบียนไม่ได้ข้อเ ท็จจริงได้ความแจ้งชัดว่า นาย
สมพรเป็นบิดาที่แท้จริงของเด็กชายกริช การที่นางแจ่มอ้างว่านายสมพรประพฤติตนไม่เหมาะสม
ชอบดื่มสุราไม่ ใช่เหตุตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1554 ดังกล่าว ศาลชอบที่จะยกฟ้องไม่
อนุญาตให้เพิกถอนการจดทะเบียนรับเด็กเป็นบ ูุตร (คำาพิพากษาฎีกาที่ 729/2491)

You might also like