You are on page 1of 23

1

สรุปการเรียน กฎหมายล้มละลาย วันที ่ 12 – 13


กุมภาพันธ์ 2554
ท่านอาจารย์นันทรัตน์ เริม
่ ต้นสอนด้วยการทวนตัง้ แต่เริม

แรก ดังนี ้
วัตถุประสงค์ของกฎหมายล้มละลาย หรือความจำาเป็ นที ่
จะต้องบัญญัติกฎหมายมาจากปั ญหา เมือ
่ ลูกหนีไ้ ม่
สามารถชำาระหนีไ้ ด้ มันก็เกิดปั ญหาขึน
้ กับทัง้ เจ้าหนีแ
้ ละลูกหนี ้
เพราะ เจ้าหนีก
้ ็มีปัญหาทีจ
่ ะต้องไปแย่งชิงให้ได้รับชำาระหนีเ้ ต็ม
จำานวน แย่งชิงทีไ่ ด้รับชำาระหนีจ
้ ากลูกหนี ้ แน่นอนเจ้าหนีห
้ ลาย
รายก็ต้องได้ทรัพย์เพียงคนเดียว คนมีกำาลังก็จะได้ไป ก็อาจมีการ
ต่อสู้ระหว่างเจ้าหนีด
้ ้วยกัน รัฐก็ต้องเข้ามาดูแลในจุดนีเ้ พือ
่ ให้ทุก
คนมีสิทธิได้รับชำาระหนีใ้ นส่วนทีเ่ หมาะสมทุกคน
ในพรบ.ล้มละลายมีบทบัญญัติ ทีใ่ ห้ได้รับชำาระหนีท
้ ุกคน เช่น
กระบวนการในการขอรับชำาระหนี ้ ไม่ใช่คนฟ้องได้เพียงคนเดียว
ทุกคนมีสิทธิได้ทุกคน กฎหมายไม่ยอมให้คนหนึง่ คนใดได้รับชำาระ
หนีไ้ ปก่อน (มาตรา 115 ) ถ้ามีเจ้าหนีค
้ นใดได้เปรียบเจ้าหนีค
้ น
อืน
่ จพท. มีสิทธิเพิกถอน
มาตรา 13 ให้นัง่ พิจารณาเป็ นการด่วน นอกจากนีย
้ ังต้องกัน
ให้เจ้าหนีท
้ ุกรายได้รับชำาระหนีใ้ ห้ได้มากทีส
่ ุดกฎหมายล้มละลายมี
กระบวนการให้เจ้าหนีไ้ ด้รับชำาระหนีไ้ ด้มากทีส
่ ุด คือให้ค่าใช้จ่าย
น้อยทีส
่ ุด ค่าขึน
้ ศาลก็ถูกกว่าคดีแพ่งสามัญ ค่าขึน
้ ศาลเพียง ห้า
ร้อยบาท
ค่าใช้จ่าย พอลูกหนีแ
้ พ้คดีลูกหนีก
้ ็ต้องรับผิดชอบ กอง
ทรัพย์สินก็น้อยลง เลยมีการสร้างกฎหมายให้ง่ายรวดเร็ว
2

ประหยัด การรวบรวมทรัพย์แทนทีจ
่ ะให้ไปฟ้องเรียกร้องเอง ก็
เป็ นการ ให้จพท ทีเ่ ป็ นเจ้าหน้าทีข
่ องรัฐรวบรวม
นอกจากการประนอมหนีแ
้ ล้วมี การปลดจากล้มละลาย หนี ้
หลุดไปหมดไปเริม
่ ต้นชีวิตใหม่ หนีต
้ ่างๆก็หลุดพ้นไป นีค
่ อ

มาตรการในกฎหมายล้มละลาย
ต่อไปการแตกต่างคดีแพ่งกับคดีล้มละลาย
1.ดูจากผลของคดีทีม
่ ีต่อเจ้าหนี ้ คดีล้มละลายให้สิทธิเจ้าหนีท
้ ุก
รายได้ประโยชน์ มีสิทธิมาขอชำาระหนีไ้ ด้ แต่คดีแพ่งให้สิทธิเฉพาะ
เจ้าหนีท
้ ีฟ
่ ้ องเท่านัน

2.ผลต่อลูกหนี ้ คดีล้มละลายลูกหนีถ
้ ูกบังคับกับทรัพย์สินทัง้ หมด
ไม่ดูว่าเจ้าหนีฟ
้ ้ องในทรัพย์สินชิน
้ ใด ซึง่ ต่างกันกับคดีแพ่งเมือ
่ เจ้า
หนีฟ
้ ้ องลูกหนี ้ ไม่เกินหนีท
้ ีฟ
่ ้ อง หรือหนีต
้ ามคำาพิพากษาเท่านัน

กระบวนพิจารณาคดีล้มละลายก็บางครัง้ ก็นำาคดีแพ่งมาใช้ไม่
ได้ เช่นในเรือ
่ งลักษณะพยาน
ต่อไปก็คือกระบวนล้มละลาย
เริม
่ จากเจ้าหนี ้ ฟ้อง ลูกหนีต
้ ่อศาล กฎหมายล้มละลาย ไม่มี
โจทก์ หรือ จำาเลยเฉยๆ
เมือ
่ เจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ยืน
่ ฟ้อง ศาลก็พิจารณาตัดสินคดี ถ้า
ให้ลูกหนีช
้ นะก็พิพากษายกฟ้อง ถ้าลูกหนีแ
้ พ้ก็สัง่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ด
ขาด
แล้วมาดำาเนินคดีกันทีเ่ จ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เพราะฉะนัน

กระบวนพิจารณามีทัง้ ทีศ
่ าล และ จ.พ.ท จ.พ.ท. ก็จะทำาการนัด
ประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรก จ.พ.ท.ก็รายงานให้ศาลพิพากษาให้เป็ น
บุคคลล้มละลาย
3

อีกหน้าทีห
่ นึง่ คือรวบรวมเจ้าหนี ้ กฎหมายก็ให้เจ้าหนีย
้ ืน

ขอรับชำาระหนี ้ จพทก็ทำาการสอบสวน ให้ศาลสัง่ ว่าแต่ละรายมี
สิทธิเท่าไหร่
หน้าทีป
่ ระการทีส
่ ามคือรวบรวมทรัพย์สิน แล้วต่อมาก็คือ
ชายทรัพย์สิน พอแบ่งเสร็จไม่มีทรัพย์รวบรวมได้อก
ี ก็รายงานศาล
สัง่ ปิ ดคดี เพือ
่ ได้ยุติหน้าที ่ ถ้าลูกหนีม
้ ีทรัพย์สินอะไรขึน
้ มาก็
รายงานศาลของให้เปิ ดคดี ให้ขายต่อ ถ้ารวบรวมแล้วไม่ได้อะไร
อีกแล้ว จพทก็รายงานศาลสัง่ เลิกล้มละลาย
ในขณะเดียวกันถ้าเป็ นบุคคลธรรมดา สามปี ก็ได้รับการปลด
จากคนล้มละลาย จพทก็ตามมาแบ่งได้หมด
คดีล้มละลายก็จบลง เพราะฉะนัน
้ การสัง่ ปลดล้มละลายไม่
จบ ให้ลก
ู หนีห
้ ลุดไปแต่ทรัพย์สินต่อไป ก็ให้จพท รวมรวม จะจบ
ก็ต่อเมือ
่ ศาลสัง่ ยกเลิก การให้สิทธิลูกหนีเ้ พือ
่ จะหลุดพ้นจากคดี
ล้มละลาย โดยผลของคำาสัง่ ศาล ประการทีส
่ อง คือ โดยตามกฏ
หมาย
ต่อไปก็เข้าเนือ
้ หาของขอบกฎหมาย ต้องเอาตัวบทมาด้วย
มาตรา 1 – 5 อาจารย์ผ่าน
เริม
่ ต้นทีม
่ าตรา 6
มาตรา 6 เป็ นวิเคราะห์ศัพท์ อาจารย์ให้ความสำาคัญเป็ น
พิเศษ เพราะวิเคราะห์ศัพท์ หากนักศึกษาไม่สนใจ พอเข้าไปใน
เนือ
้ หา แล้ว ไม่รู้เรือ
่ ง ส่วนใหญ่สอนไปแล้ว ถามนักศึกษา ตอบ
ไม่ได้ งง
โดยเฉพาะเรียนวิแพ่ง วิเคราะห์ศัพท์ สำาคัญทุกตัว ถ้าเรา
ไม่รู้เราก็จะไม่เข้าใจกฎหมายทีแ
่ ท้จริง
4

วิเคราะห์ศัพท์ในล้มละลายก็มีความสำาคัญ เวลามีปัญหาข้อ
พิพาทกันก็ต้องเอากฎหมายมาใช้ ต้องตามกฎหมาย เรียน
กฎหมายต้องเข้าใจ ถ้าเข้าใจก็ตอบได้หมด
เริม
่ ต้น คือ รัฐมนตรี “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้
รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
คำาตอบจะอยู่ในมาตรา 5 คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ต่อไปคือคำาว่า เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
“เจูาพนักงานพิทักษ์ทรัพย์” หมายความตลอดถึงบุคคลที่ไดูรับ
มอบหมายจากเจูาพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ย์ใหูปฏิบัตก
ิ ารแทน
ถูาอยากรู้ว่า จพท เป็ นใคร พลิกดู มาตรา 139 ทีบ ่ ัญญัติก็
เพือ
่ คุ้มครอง บุคคล ทีจ
่ พท มอบหมายให้ไปทำาหน้าทีแ
่ ทน มี
อำานาจเหมือน จพท หรือ อาจพูดง่ายๆคือ ตัวการทีเ่ ป็ น จพท
ตัง้ ใครเป็ นตัวแทน คนนัน
้ คือ จพท ด้วย ใครไปดูหมิน
่ เขา ก็
เป็ นการดูหมิน
่ เจ้าพนักงาน
ต่อไป เจ้าพนักงานบังคับคดี อยู่ใน 110 -112 ก็จะมีความ
หมายๆถึง จพท ในประมวลกฎหมายวิแพ่งนัน
่ เอง คือ จพท
สังกัด กรมบังคับคดี ให้เป็ นไปตาม ป วิ พ
ต่อไปคำาว่าเจ้าหนีม
้ ีประกัน ก็เป็ นคำานิยามทีเ่ ราจะต้อง
เข้าใจ เพราะว่าในกฎหมายล้มละลายจะแบ่งเจ้าหนีธ
้ รรมดาตาม
มาตรา 9 เจ้าหนีไ้ ม่มีประกัน กับเจ้าหนีม
้ ีประกัน ตามมาตรา 10
สิทธิหน้าทีต
่ ่างๆของเจ้าหนี ้ 2 กลุ่มนีม
้ ีความต่างกัน ซึง่ กฎหมาย
ล้มละลายคุ้มครอง เจ้าหนีม
้ ีประกันสูง ทีจ
่ ะบังคับเอาแก่หลัก
ประกันเสมอ เจ้าหนีอ
้ ืน
่ มายุ่งไม่ได้ จากวิเคราะห์ศัพท์อันนี ้ เริม

ต้นจะต้องเป็ นผู้ทีม
่ ีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนีเ้ สียก่อน ยึดถือ
ไว้และมีสิทธิเหนือทรัพย์ตนเองได้ แต่ว่ามีสัญญาทีบ
่ ังคับกับทรัพย์
5

นัน
้ ได้ก่อนคนอืน
่ และทรัพย์สินทีว
่ ่านีต
้ ้องเป็ นทรัพย์สินของลูกหนี ้
ด้วย ถ้าไม่ใช่ของลูกหนี ้ เจ้าหนีร้ ายนัน
้ ก็ไม่ใช่เจ้าหนีม
้ ีประกัน เช่น
ลูกหนีม
้ ากู้เงินจากเจ้าหนีแ
้ ล้วนำาทรัพย์ของแฟนมาให้ยึดถือเป็ น
ประกัน ทรัพย์อันนัน
้ เป็ นของคนอืน
่ ไม่ใช่ของเจ้าหนี ้
ฎ. 737/2542

โจทก์นำำมูลหนี้ตำมคำำพิพำกษำในคดีแพ่งที่ถึงที่สุดมำฟ้ อง
ขอให้จำำเลยล้มละลำยโดยมูลหนี้ตำมคำำพิพำกษำดังกล่ำวเกิดจำกจำำเลย
ผิดสัญญำประกันผู้ต้องหำต่อโจทก์และ ในกำรประกันผู้ต้องหำนั น

จำำเลยได้นำำที่ดินตำม น.ส.3 ของบุคคลภำยนอกวำงเป็ นหลักประกันไว้
ขณะที่จำำเลยยื่น คำำร้องขอประกันและทำำสัญญำประกันผู้ต้องหำโดย
มิได้จดทะเบียน จำำนอง โจทก์จึงไม่ใช่ผู้มีสิทธิเหนื อทรัพย์สน
ิ ของ
จำำเลย ในที่ดินที่เป็ นหลักประกันถือไม่ได้ว่ำโจทก์ซ่ ึงเป็ นเจ้ำหนี้ตำม คำำ
พิพำกษำเป็ นเจ้ำหนี้มีประกัน ดังนั น
้ โจทก์จึงสำมำรถฟ้ องจำำเลยให้ล้ม
ละลำยได้ตำม พระรำชบัญญัติล้มละลำยฯมำตรำ 9 โดยมิต้องปฏิบัติ
ตำมควำมในมำตรำ 10 จำำเลยได้รับหนั งสือทวงถำมจำกโจทก์ให้ชำำระ
หนี้แล้วไม่น้อยกว่ำสองครัง้ มีระยะห่ำงกันไม่น้อยกว่ำสำมสิบวันจำำเลย
ไม่ชำำระหนี้ และไม่ปรำกฏว่ำจำำเลยมีทรัพย์สน
ิ อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ งที่จะพึง
ยึดมำชำำระหนี้ได้ พฤติกำรณ์ของจำำเลยจึงเข้ำข้อสันนิ ษฐำนว่ำเป็ นผู้มี
หนี้สินล้นพ้นตัวตำมพระรำชบัญญัติล้มละลำยฯ มำตรำ 8(5)(9)

ทรัพย์อันนัน
้ ไม่ได้เป็ นของจำาเลยหรือเปล่า แต่เป็ นของนาย
ประกันเค้า หรือกรณีทีส
่ ามีไปกู้เงิน ภริยาเอาทีด
่ ินไปจำานอง เจ้า
หนีร้ ายนีก
้ ็ไม่ใช่เจ้าหนีม
้ ีประกัน เพราะทรัพย์ทีม
่ าจำานองเป็ นของ
ภริยา ถ้าทรัพย์เป็ นของลูกหนี ้ สิทธินัน
้ เป็ นอะไรได้บ้าง
6

ก็คอ
ื จำานอง จำานำา สิทธิยึดหน่วง หรือบุริมสิทธิทีไ่ ด้ทำานอง
เดียวกับจำานำา จริง ๆแล้วแยกได้เป็ นสองส่วน
หนึง่ คือเหนือทรัพย์ลูกหนี ้ จำานอง จำานำา สิทธิยึดหน่วง จะ
ต้องเหนือทรัพย์ของลูกหนี ้
สองคือ เจ้าหนีผ
้ ู้มีบุริมสิทธิบังคับได้ทำานองเดียวกับผู้รับจำานำา
เรามาดู เจ้าหนีจ
้ ำานองก็ต้องทำาให้ชอบด้วยกฎหมาย ลำาพัง
เอาทรัพย์มาให้ยึดถือไว้เฉยๆก็ไม่ใช่เจ้าหนีจ
้ ำานอง หรือเอาฉโน
ดมาให้ยึดถือก็ไม่ถอ
ื ว่าเป็ นการจำานอง จำานำาก็เช่นเดียวกันต้องมี
การส่งทรัพย์ทีจ
่ ำานำา สิทธิยึดหน่วงจะเกิดขึน
้ ได้โดยเฉพาะ
กฎหมายบัญญัติ เช่นตามกฎหมายลักษณะหนี ้ เช่น เอารถยนต์
ไปให้ ซ่อม แล้วไม่จ่ายค่าซ่อม หรือ กฎหมายตัวแทน ยึดหน่วง
ทรัพย์สินของตัวการ
ก็มีฏก
ี าเกีย
่ วกับเรือ
่ งลูกหนีส
้ ัง่ ให้ตัวแทน ซือ
้ หุ้นแล้วลูกหนี ้
เบีย
้ วค่าหุ้น บริษัทตัวแทนก็เป็ นเจ้าหนีผ
้ ู้มีสิทธิยึดหน่วง หุ้นทีซ
่ อ
ื้
มาจนกว่าลูกหนีช
้ ำาระหนีใ้ ห้
ฎ.1725/2529

ตำมสัญญำประกันภัยมีเงื่อนไขระบุว่ำเมื่อรถยนต์ที่เอำ
ประกันภัยไว้เกิดควำมเสียหำยผู้รับประกันภัยมีสิทธิซ่อมเปลี่ยนหรือใช้
รถยนต์สภำพเดียวกันนั น
้ ผู้รับประกันภัยจะต้องเลือกซ่อมโดยช่ำงซ่อม
ที่มีฝีมือด้วยกำรที่ผู้เอำประกันภัยไม่ยอมส่งมอบรถยนต์ให้ซ่อมเพรำะ
ยังไม่พอใจว่ำช่ำงซ่อมของผู้รับประกันภัยจะซ่อมรถได้ดีหรือไม่และไม่
ปรำกฏว่ำผู้เอำประกันภัยจะไม่ส่งมอบรถยนต์ให้ผู้รับประกันภัยโดย
เด็ดขำดจึงถือไม่ได้ว่ำผู้เอำประกันภัยผิดเงื่อนไขในสัญญำ. กำรที่ผู้เอำ
ประกันภัยฟ้ องเรียกค่ำเสียหำยจำกผู้ที่อ้ำงว่ำทำำละเมิดนั น
้ เป็ นกำรใช้
7

สิทธิตำมกฎหมำยของผู้เอำประกันภัยจะถือว่ำผู้เอำประกันภัยสละสิทธิ
ที่จะให้ผู้รับประกันภัยปฏิบัติตำมสัญญำหำได้ไม่.

คำาต่อไปกระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย ก็ทำาต่อ ศาล และ


ต่อ จพท ตัง้ แต่เริม
่ ต้นจนถึงทีส
่ ุด ก็บัญญัติวิเคราะห์ศัพท์ รองรับ
ไว้ เหตุผลก็เพือ
่ ให้การทำาหน้าทีข
่ อง จพท เป็ นกระบวนการ
พิจารณาคดีล้มละลาย ใครไม่พอใจไปร้องเรียน ผู้บังคับบัญชา
จพทไม่ได้ จะไปเปลีย
่ นแปลงเป็ นอย่างอืน
่ ไม่ได้ เพราะนีค
่ ือ
กระบวนพิจารณา เรือ
่ งทางบริหารมายุ่งเกีย
่ วไม่ได้
ต่อไปคำาว่าพิพากษา ตลอดถึงการชีข
้ าดคดีเป็ นคำาสัง่ กรณีที ่
ศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ลูกหนีไ้ ม่พอใจ ต้องอุทธรณ์
ภายในหนึง่ เดือน เวลาตอบปั ญหาต้องเอากฎหมายมาตอบ ว่า
คำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดเป็ นคำาวินิจฉัยชีข
้ าดคดี เป็ นคำาสัง่ ซึง่
มาตรา 6 บัญญัติไว้ว่าเป็ นคำาพิพากษา ดังนัน
้ ลูกหนีอ
้ ุทธรณ์ต้อง
ภายในหนึง่ เดือนนับแต่มีคำาพิพากษา ซึง่ คำาตอบอยู่ในวิเคราะห์
ศัพท์ คนยกร่างเห็นว่าการพิจารณาคดีล้มละลายมีกรณีทีศ
่ าล
วินิจฉัยชีข
้ าดเป็ นคำาสัง่ อยู่เพือ
่ ไม่ให้มีปัญหาในการอุทธรณ์ในการ
ทีจ
่ ะว่าคำาสัง่ นัน
้ เป็ นคำาสัง่ ระหว่างพิจารณาหรือเปล่าให้คำาสัง่ ชีข
้ าด
คดีนัน
้ เป็ นคำาพิพากษาเลย ต้องอุทธรณ์ภายในหนึง่ เดือน ก็มาดู
ว่าอะไรเป็ นคำาชีข
้ าดคดี ต้องอุทธรณ์ภายในหนึง่ เดือนนับแต่มีคำา
พิพากษานัน
้ มีอะไรบ้าง เช่น คำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
คำาสัง่ คำาขอรับชำาระหนี ้ เป็ นคำาชีข
้ าดตัดสินคดี มีการแพ้การ
ชนะในประเด็นแห่งคดี คำาสัง่ ตามมาตรา 118 119 146 เพราะ
ฉะนัน
้ คนทีไ่ ม่พอใจก็ต้องอุทธรณ์ภายในหนึง่ เดือน นับแต่ศาลมีคำา
8

สัง่ กรณีศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด จะอุทธรณ์ทันทีไม่ได้


เพราะศาลยังไม่มีคำา
ต่อไปคือคำาว่าพิทักษ์ทรัพย์ เหตุผลก็คือว่า กฎหมายไม่
ต้องการบัญญัติคำาซำา
้ ๆไว้ในแต่ละมาตรา มาตรานัน
้ ใช้บังคับไว้
ชัว
่ คราวหรือเด็ดขาดก็ได้ มันจะได้ไม่ฟุ่มเฟื อย
ยกตัวอย่างมาตรา 24 คำาว่าพิทักษ์ทรัพย์ตรงนีก
้ ็คือไม่ว่า
ชัว
่ คราวหรือเด็ดขาดก็ตามลูกหนีก
้ ระทำาการอย่างใดๆเกีย
่ วกับ
ทรัพย์สินไม่ได้เลย
คำาต่อไปคือคำาว่ามติ (ไม่มีคำาว่าธรรมดาต่อท้าย) หมายถึง
มติของเจ้าหนีฝ
้ ่ ายทีม
่ ีจำานวนหนีข
้ ้างมาก กระบวนการพิจารณา
คดีล้มละลาย จพท ก็อาจมีการประชุมเพือ
่ ขอ มติจากเจ้าหนี ้
ส่วนมากก็เป็ นการจากจำานวนหนีม
้ าก แต่มีขอ
้ สังเกต การดูมติ
เจ้าหนีฝ
้ ่ ายทีม
่ ีจำานวนหนีข
้ ้างมาก ทีเ่ ข้าประชุมและออกเสียงลง
้ ด้วย เข้าประชุมและออกเสียง
คะแนนในการประชุมนัน ต้องทัง้
สองอย่าง จากเจ้าหนีท
้ ีม
่ าประชุมและออกเสียงลงคะแนน ถาม
ว่ากรณีได้มติหรือไม่ ก็ตอบว่าได้ เพราะการรับมติ มาสีร
่ าย อีก
หกรายตัดเป็ นศูนย์ พอเวลาลงมติ มีหนึง่ รายไม่ออกเสียง ก็ตัด
ออกอีก
มติพิเศษก็เช่นกัน ดูจากเจ้าหนีท
้ ีม
่ าประชุมและออกเสียงเช่น
กัน แต่เพิม
่ เติมเจ้าหนีฝ
้ ่ ายข้างมาก คือดูจำานวนคนด้วย และ ต้อง
มีหนีอ
้ ย่างน้อย สามในสี ่ คือดูจำานวนหนีด
้ ้วย ในวันประชุมมีเจ้า
หนีม
้ าประชุมกีร
่ าย และมีออกเสียงทัง้ หมดกีร่ าย ก็ดูจำานวน
จำานวนหนีเ้ ท่ากับสามในสีห
่ รือไม่

มติพิเศษจะใช้กรณีคำาขอประนอมหนีเ้ ท่านัน

9

คำาต่อไปคือ บุคคลล้มละลายทุจริต มี 4 กลุ่ม (ตาม


มาตรา......) ส่วนนีไ้ ปใช้ในกรณีการปลดจากล้มละลาย (ระยะ
เวลาการปลดจากล้มละลายต่างกัน ) กลุ่มนี ้ (ผู้ร่างกฏหมายน่า
จะ ) ไม่ต้องการให้บุคคลล้มละลายทุจริตได้รับประโยชน์จากการ
ปลดล้มละลาย แล้วก็ไม่ได้รับประโยชน์จากการประนอมหนีด
้ ้วย
(ส่วนนีอ
้ าจารย์ไม่ได้สอนแบบนีแ
้ ต่เดาเอาเองค่ะ)
มาตราต่อไป คือ มาตรา 7 บทบัญญัติว่าด้วยลูกหนีท
้ ีถ
่ ูก
ฟ้องให้ล้มละลาย หรือว่าจะบอกว่าเป็ นคุณสมบัติลูกหนีใ้ นศาลล้ม
ละลาย ถ้าลูกหนีไ้ ม่มีคุณสมบัติตามมาตรา 7 เจ้าหนีจ
้ ะฟ้องใน
ศาลล้มละลายไม่ได้ ลูกหนีท
้ ีว
่ ่านัน
้ อาจเป็ นคนไทย คนต่างชาติ
ถูกฟ้องล้มละลายได้หมด เข้าองค์ประกอบมาตรา 7 ก็เข้าฟ้องได้
องค์ประกอบข้อทีส
่ องคือ มีภูมิลำาเนา คือกฏหมายต้องการ
ให้ลูกหนีม
้ ีความเกาะเกีย
่ วกับหลักดินแดน ถ้าเคยมีภูมิลำาเนาก็
ฟ้องได้ ก็ดูตามมาตรา 37 ของ ปพพ คือถิน
่ ทีอ
่ ยู่เป็ นหลักแหล่ง
ต้องมีเจตนาทีจ
่ ะอยู่ทีน
่ ัน
่ หรือประกอบธุรกิจ เขาอาจจะอยู่ต่าง
ประเทศ แต่มีตัวแทนประกอบธุรกิจอยู่ในไทยก็ฟ้องตัวเขาได้ อันนี ้
เป็ นองค์ประกอบในส่วนของลูกหนีท
้ ีจ
่ ะถูกฟ้องให้ล้มละลาย
บุคคลทีม
่ ีสิทธิฟ้องคดีล้มละลาย กฎหมายล้มละลายเราให้สิทธิ
เฉพาะเจ้าหนี ้ คือ ทีม
่ ีประกันหรือไม่มีประกัน
หลักเกณฑ์ในการฟ้ องล้มละลาย
ให้สิทธิทัง้ เจ้าหนีม
้ ีประกันและเจ้าหนีไ้ ม่มีประกัน กฎหมาย
บัญญัติหลักเกณฑ์ไว้โดยเฉพาะ ก็คอ
ื มาตรา 9 และ มาตรา 10
ซึง่ กฎหมายแยกหลักเกณฑ์ได้ว่ากรณีทีม
่ ีหนีส
้ ินล้นพ้นตัว ซึง่ องค์
ประกอบทัง้ สามหลักเกณฑ์ก็เอามาจากมาตรา 9 นัน
่ เอง มีหลัก
10

เกณฑ์เช่นเดียวกับมาตรา 7 คือทรัพย์สินน้อยกว่าหนีส
้ ิน เท่ากับ
กฎหมายล้มละลายพยายามเน้นว่าคนทีถ
่ ูกฟ้องได้ คือ มีหนีส
้ ิน
ล้นพ้นตัว
ประการทีส
่ องเน้นในจำานวนหนี ้ ไม่นอ
้ ยกว่าหนึง่ ล้านบาท ถ้า
เจ้าหนีน
้ ัน
้ เป็ นเจ้าหนีร้ ายเดียว ต้องมีจำานวนหนีไ้ ม่น้อยกว่าหนึง่
ล้านบาท เจ้าหนีด
้ ังกล่าวต้องไปร่วมกับเจ้าหนีอ
้ ืน
่ ๆ ให้มีจำานวน
หนีไ้ ม่น้อยกว่าหนึง่ ล้านบาท ถ้าเจ้าหนีเ้ ป็ นนิติบุคคลก็ต้องเป็ นหนี ้
ไม่น้อยกว่าสองล้านบาท และหนีน
้ ัน
้ ต้องอาจกำาหนดได้จำานวน
แน่นอน รวมทัง้ หนีใ้ นอนาคตถ้ากำาหนดจำานวนได้แน่นอน หมาย
ถึงว่าจำานวนหนีท
้ ีเ่ จ้าหนีก
้ ล่าวอ้างว่าเป็ นหนีม
้ ันคำานวณมาได้โดย
แน่นอน เช่นหนีภ
้ าษีอากร คำานวณออกมาได้จำานวนแน่นอน
หรือหนีต
้ ามสัญญาจ้างสัญญาซือ
้ ขายซึง่ มันเป็ นจำานวนหนีท
้ ี่
ชัดเจน (ไม่ใช่ หนีล
้ ะเมิด เราถูกจำาเลยขับรถยนต์เราเสียค่า
รักษาพยายบาลไปสองล้าน เราก็ตอบไม่ได้ว่าจำานวนค่าเสียหาย
มันเท่าไหร่ อาจารย์ยกตัวอย่างว่าเสียแขน 1 ข้าง จะคิดค่าเสีย
หายเท่าไร นีค
่ ือจำานวนทีไ่ ม่แน่นอน การละเมิดต้องฟ้องเป็ นคดี
แพ่งก่อน เมือ
่ เป็ นคำาพิพากษาจึงจะผูกพันคู่ความ เรียกว่าหนีต
้ าม
คำาพิพากาษาทีศ
่ าลกำาหนดจำานวนหนี ้ อันเป็ นจำานวนหนีท
้ ี่
แน่นอน)ผิดกับคดีแพ่ง ถ้าหนีไ้ ม่ถงึ กำาหนดเจ้าหนีฟ
้ ้ องไม่ได้ ต่าง
กับคดีล้มละลายทีเ่ อาหนีใ้ นอนาคต หรือหนีท
้ ีย
่ ังไม่ถึงกำาหนด
ชำาระมารวมขอรับชำาระหนีไ้ ด้ เพราะอยู่ในภาวะชำาระหนีไ้ ม่ได้แล้ว
มีหนีส
้ ินล้นพ้นตัวถ้าต้องรอให้ถึงกำาหนด ทรัพย์สินทีต
่ ้องการอาจ
หมดไปแล้ว นีค
่ ือเหตุผล
11

อีกกรณีทีอ
่ าจารย์ยกตัวอย่างคือหนีท
้ ีข
่ าดอายุความ ศาลก็
จะถือว่ามีเหตุอืน
่ ทีไ่ ม่สมควรล้มละลาย
หนีส
้ ินล้นพ้นตัวนีพ
้ ิสูจน์ยาก เพราะต้องพิสูจน์ว่าแต่ละคนมี
ทรัพย์เท่าไหร่ หนีส
้ ินเท่าไหร่ ตัวช่วยโดยใช้ขอ
้ สันนิฐานกฎหมาย
ในมาตรา 8 ซึง่ ในมาตรา 8 กฏหมายก็บัญญัติเหตุไว้หลายอย่าง
ในมาตรา 8 ก็มีสังเกตว่าให้สันนิฐานไว้ก่อนว่า คือลูกหนีม
้ ีสิทธิ
นำาสืบหักล้างได้ ว่าจริงๆแล้วลูกหนีไ้ ม่ได้มีหนีส
้ ินล้นพ้นตัว กรณี
ในมาตรา 8 ( 4 )
ประเด็นทีอ
่ าจารย์ยกตัวอย่างให้ฟังเกีย
่ วกับมาตรา 8 หลาย
ประเด็น .... (ขอให้ฟังเทปเพิม
่ )
ประเด็นทีส
่ ำาคัญคือมาตรา 9 เจ้าหนีไ้ ม่มีประกัน และ
มาตรา 10 เจ้าหนีม
้ ีประกัน ทีต
่ ้องเอามาตรา 9 มาเป็ นหลัก
เกณฑ์อย่ก
ู ับมาตรา 10 ด้วย เจ้าหนีม
้ ีประกัน ต้องไม่ถูกต้อง
ห้ามเกินหลักประกัน เราเรียนมาแล้ว ว่าเจ้าหนีท
้ ีถ
่ ูกห้ามก็มีเจ้า
หนีจ
้ ำานองเท่านัน
้ ตามประมวลแพ่งมาตรา 733 แต่ มาตรา 733
มันเป็ นกฎหมายทีไ่ ม่เกีย
่ วกับความสงบเรียบร้อยคู่สัญญาตกลง
เป็ นอย่างอืน
่ ได้ ดังนัน
้ หากมีขอ
้ ตกลงพิเศษ ไว้ในสัญญาจำานอง
เป็ นข้อตกลงยกเว้นมาตรา 733
สำาหรับการฟ้ องต้องระวังคำาขอเพียงขอให้พิทักษ์ทรัพย์ลูก
หนีเ้ ด็ดขาด แต่ไม่ขอให้ศาลมีคำาสัง
่ ให้ล้มละลาย ศาลจะสัง
่ เอ
กงไม่ได้ เพราะคำาสัง
่ ทีใ่ ห้ล้มละลายเกินคำาขอ ในทางปฏิบัติขอ
ให้ครบเพือ
่ ให้มีประเด็นเวลาทำางานเป็ นนักกฎหมายมีให้ครบ ใน
ทางปฏิบัติ ถ้าเราไปทำาแค่นีก
้ ็เสียเวลา มีประเด็นทีเ่ จ้าหนีโ้ ต้แย้ง
จริงอยู่ทีแ
่ ค่นีช
้ นะคดีแต่คดีมันจะช้าเสียเวลา แต่เนีย
่ การบรรยาย
12

คำาฟ้องคดีล้มละลายใครเป็ นทนาย ก็ไม่เสียเวลา ถ้าเป็ นคำาคู่


ความกรณีศาลสัง่ คำาฟ้องไว้พิจารณาแล้ว ไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ก็
เป็ นสาระสำาคัญถ้าน้อยกว่าเจ็ดวันถือว่ากระบวนพิจารณานีไ้ ม่ชอบ
เนือ
่ งจากว่าคดีล้มละลายกฎหมายไมได้บังคับให้ลก
ู หนีย
้ ืน

ไม่มีการชีส
้ องสถาน เมือ
่ ศาลทำาการนัดพิจารณา เมือ
่ ถึงวันนัด
พิจารณาตามมาตรา 13 นัน
้ ศาลก็จะทำาการสืบพยาน ซึง่ ในทาง
ปฏิบัติ แล้ว ก็จะเป็ นหน้าทีข
่ องผู้เป็ นโจทก์ นำาสืบต่อศาล เพือ
่ ให้
ได้ความจริง ตามมาตรา 14 กระบวนพิจารณาในเรือ
่ งขาดนัด
ในเรือ
่ งล้มละลาย ไม่นำาเรือ
่ งการขาดนัดยืน
่ คำาให้การมาใช้
เนือ
่ งจากว่ากฎหมายคุ้มครองลูกหนีอ
้ ยู่แล้ว เจ้าหนีต
้ ้องพิสูจน์ให้
ได้ตามความเป็ นจริง เจ้าหนีต
้ ้องนำาพยานหลักฐานมาพิสุจน์ตาม
มาตรา 14

ประเด็นต่อไป ในระหว่างการพิจารณาคดีล้มละลาย
กฎหมายก็บัญญัติในเรือ
่ งวิธก
ี ารชัว
่ คราวไว้ในมาตรา 16 – 17
ก่อนมีการสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ลูกหนีเ้ ด็ดขาดหรือ ก่อน พิพากษา
คล้ายๆกับคดีแพ่ง คือ ให้สืบก่อน พิพากษา ในมาตรา 16 ก็ให้
เจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ยืน
่ คำาขอฝ่ ายเดียวโดยทำาเป็ นคำาร้อง
มาตรา 17 คือการพิทักษ์ทรัพย์ชัว
่ คราวจบทีเ่ จ้าหนีผ
้ ู้เป็ น
โจทก์นิยมใช้ มาตรา 17 ให้เจ้าหนีเ้ ป็ นคำาขอฝ่ ายเดียวโดย
เคร่งครัด กฎหมายให้ตัวเองทำาการไต่สวนต่อไป สามารถทีจ
่ ะ
ไต่สวนฝ่ ายเดียว แล้วกระบวนการยากหรือไม่ ถ้าเห็นว่าคดี ใน
ทางปฏิบัติเจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ก็มักใช้กระบวนการอย่างนี ้ ในวันนัน

เอง ศาลก็ทำาการไต่สวนคำาขอนีอ
้ อกไป ก็มีมูลง่าย ผลเป็ นอย่างไร
13

ก็มีผลเท่ากับพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดเลย เพราะบทบัญญัติทีม
่ ีผลก
ระทบลูกหนีน
้ ี ้ กฎหมายใช้คำาว่าพิทักษ์ทรัพย์เฉยๆทัง้ นัน
้ เพราะ
ฉะนัน
้ ผลทีล
่ ูกหนีถ
้ ูกกระทบเหล่านีน
้ ัน
้ ซึง่ เทียบเคียงแล้วเท่ากับลูก
หนีพ
้ ิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดนัน
่ เอง ทางปฏิบัติก็ใช้มาตรา 17 เพือ
่ ให้
ศาลคุ้มครองเจ้าหนี ้ ประเด็น เกีย
่ วกับมาตรา 17 ประการแรก
คือ การสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ชัว
่ คราว เฉพาะก่อนทีศ
่ าลมีคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์ลูกหนีเ้ ด็ดขาด กล่าวคือถ้าคดีน้น
ั มีคำาสัง
่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ด
ขาดไปแล้วจะสัง
่ พิทักษ์ทรัยพ์ชัว
่ คราวไม่ได้ มันไม่มีความจำาเป็ น
แล้ว มันก็มีปัญหาว่าก่อนศาลกำาหนดสัง่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด

ฏีกาที ่ 2142/2517
มาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483
บัญญัติว่า"ก่อนศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาด เจ้าหนี ้
ผู้เป็ นโจทก์จะยืน
่ คำาขอฝ่ ายเดียวโดยทำาเป็ นคำาร้องขอให้พิทักษ์
ทรัพย์ของลูกหนีช
้ ัว
่ คราวก็ได้ เมือ
่ ศาลได้รับคำาร้องนีแ
้ ล้วให้ดำาเนิน
การไต่สวนต่อไปโดยทันที ถ้าศาลเห็นว่าคดีมีมูลก็ให้สัง่ พิทักษ์
ทรัพย์ของลูกหนีช
้ ัว
่ คราว" คำาว่าศาลตามมาตรานีต
้ ้องหมายความ
ถึงศาลชัน
้ ต้น โดยกฎหมายบัญญัติให้ศาลทำาการไต่สวนฟั งว่าคดี
ของโจทก์มีมูลหรือไม่เสียก่อนทีจ
่ ะสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี ้
ชัว
่ คราว เพราะถ้าได้ผ่านการพิจารณาของศาลชัน
้ ต้นไปจนศาล
ชัน
้ ต้นมีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดหรือมีคำาพิพากษาแล้วกรณีกไ็ ม่
จำาเป็ นต้องทำาการไต่สวนฟั งว่าคดีมีมูลหรือไม่อก
ี ฉะนัน
้ ที ่
กฎหมายบัญญัติไว้เช่นนีจ
้ ึงเป็ นเรือ
่ งทีป
่ ระสงค์จะให้เจ้าหนีผ
้ ู้เป็ น
โจทก์รอ
้ งขอให้พิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีไ้ ว้ชัว
่ คราว ได้ก็แต่ในกรณี
14

ก่อนทีศ
่ าลชัน
้ ต้นมีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาดเท่านัน

พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 ไม่มีบทบัญญัติให้เจ้าหนีผ
้ ู้
เป็ นโจทก์ร้องขอให้มีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ชัว
่ คราวในระหว่างฎีกาได้
ศาลฏีกาวินิจฉัยว่า กรณีทีส
่ ัง่ ให้พิทักษ์ทรัพย์ชัว
่ คราวได้ก็
เฉพาะ ก่อน สัง่ เด็ดขาดและสัง่ ได้เฉพาะในศาลชัน
้ ต้นเท่านัน

คำาว่ามีมูล กฎหมายในมาตรา 17 บัญญัติเพียงว่า นำาสืบ
ยืนยันเพียงว่า เป็ นโจทก์จริงตามฟ้อง การทีเ่ จ้าหนีน
้ ำาพยานหลัก
ฐานมาไต่สวนมีมูลเพียงว่า ต้องหมายความว่ามีมูลตามมาตรา 9
หรือ 10 คือ ต้องครบ
การพิจารณาคดีล้มละลายไม่นำาวิแพ่งในการบังคับคดี
ในการพิสูจน์ต้องให้ศาลเห็นให้ได้ความจริง ตามมาตรา 14
ให้ศาลพิจารณาตามความจริง
ถ้าศาลพิจารณาได้ความจริงก็ให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ถ้าไม่
ได้ ก็ให้ยกฟ้อง หรือลูกหนีพ
้ ิสูจน์ได้ว่าสามารถชำาระหนีไ้ ด้ก็
ยกฟ้อง
หน้าทีข
่ องเจ้าหนี ้ ต้องทำาการนำาสืบหรือพิสูจน์ให้ได้ความจริง
ตามมาตรา 7 ,8, 9 หรือ มาตรา 10 ดังนัน
้ คดีล้มละลายจึงไม่
บังคับว่าลูกหนีต
้ ้องยืน
่ คำาให้การ

การทีล
่ ูกหนีพ
้ ิสูจน์ว่าชำาระหนีไ้ ด้ทัง้ หมด ต้องพิสูจน์ก่อน
วินิจฉัยชีข
้ าดตัดสินคดี คือ เจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์พิสูจน์ความจริงได้
ดังนี ้ ศาลจะยกฟ้องได้หรือไม่ ทำาไม่ได้ ถ้าอ้างว่ามีเงินแล้วให้
ยกฟ้อง ศาลก็จะสัง่ ว่าให้ไปส่งมอบให้แก่ จพท เงินได้มาเมือ
่ ไหร่
ไม่รู้ ถ้าศาลพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้วจะมาอ้างไม่ได้
15

ตัวอย่าง ฎีกาเหตุอืน
่ ทีไ่ ม่สมควรล้มละลาย
ฎีกา 5355/2530

ป. นำาเช็คซึง่ ตนเป็ นผู้ลงชือ


่ สัง่ จ่ายมาขายลดแก่โจทก์เมือ
่ วัน
ที ่ 25 เมษายน 2526 โดยจำาเลยที ่ 3 ลงชือ
่ สลักหลังและประทับ
ตราของ บริษัทจำาเลยที ่ 1 เช็คถึงกำาหนดสัง่ จ่ายวันที ่25
พฤษภาคม 2526 กรณีจงึ ถือไม่ได้ว่าจำาเลยที ่ 1 เป็ นคู่สัญญา
ขายลดเช็คอันจะต้องรับผิด ต่อโจทก์ด้วยการทีโ่ จทก์นำาเช็คดัง
กล่าวมาฟ้องขอให้จำาเลยที ่ 1 ล้มละลาย ก็โดยอาศัยมูลหนีท
้ ี่
เกิดจากความรับผิดในฐานะผู้สลักหลังเช็คพิพาท ซึง่ มีอายุความ
1 ปี นับแต่วันทีเ่ ช็คถึงกำาหนด ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 1002 โจทก์ฟ้องคดีนีเ้ มือ
่ วันที ่ 16 กรกฎาคม
2529 คดีจึงขาดอายุความ โจทก์ไม่อาจฟ้องขอให้ จำาเลยที ่ 1
ล้มละลาย โดยอาศัยมูลหนีด
้ ังกล่าวได้

ข้อเท็จจริงในคดีนีเ้ ป็ นเรือ
่ งทีห
่ นีข
้ าดอายุความแล้วมาทำาใน
คดีล้มละลาย ศาลฏีกาก็ถือว่ากรณีเช่นนีม
้ ีเหตุอืน
่ ทีไ่ ม่ให้ล้ม
ละลาย แม้ไม่ต่อสู้ก็ตาม ยกฟ้องโดยอาศัยเหตุว่ามีเหตุอืน
่ ทีไ่ ม่
สมควรล้มละลาย อย่าไปวินิจฉัยผิดนะ ต้องยกฟ้องในเรือ
่ งมีเหตุ
อืน
่ ทีไ่ ม่สมควรล้มละลาย จึงไม่มีสิทธิฟ้องลูกหนีไ้ ด้ ถ้าวินิจฉัย
อย่างนัน
้ ต้องเป็ นกรณีทีต
่ ่อสู้เรือ
่ งอายุความเข้ามา ในกรณีนีจ
้ ะ
ยกฟ้องว่าเจ้าหนีไ้ ม่มีสิทธิฟ้องลูกหนีไ้ ด้ เพราะมีเหตุอืน
่ ทีไ่ ม่
สมควรล้มละลาย ต้องให้เหตุผลตามข้อกฎหมายทีแ
่ ท้จริงเท่านัน

16

เรือ
่ งต่อไปเป็ นกรณีทีเ่ จ้าหนีน
้ ำาหนีท
้ ีเ่ คยฟ้องลูกหนีเ้ ป็ นคดีล้ม
ละลายแล้วปรากฏว่าไม่เคยยืน
่ ในคำาขอคดีล้มละลายเป็ นเหตุให้
ยกเลิก คำาขอล้มละลายแล้ว กรณีนีเ้ ป็ นเหตุอืน
่ ตามฏีกาที ่
ฎีกา 588/2535
โจทก์เคยฟ้องจำาเลยเป็ นคดีล้มละลาย จนศาลมีคำาสัง่
พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดมาครัง้ หนึง่ แล้ว แต่โจทก์ยืน
่ คำาขอรับชำาระ
หนีเ้ กินกำาหนด เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จึงไม่รับคำาขอรับชำาระ
หนีข
้ องโจทก์ ต่อมาเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานขอให้ศาลมี
คำาสัง่ ยกเลิกการล้มละลายตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.
2483 มาตรา 135(2)และเจ้าหนีท
้ ีย
่ ืน
่ คำาขอรับชำาระหนีเ้ พียงราย
เดียวถอนคำาขอรับชำาระหนีไ้ ป ศาลมีคำาสัง่ ยกเลิกการล้มละลาย
โจทก์จงึ นำามูลหนีร้ ายเดียวกันมาฟ้องจำาเลยให้ล้มละลายอีก ดังนี ้
หากยอมให้โจทก์เอาหนีท
้ ีห
่ มดสิทธิเรียกร้องในคดีล้มละลายแล้วก
ลับมาฟ้องจำาเลยเป็ นคดีล้มละลายใหม่ก็เท่ากับอนุญาตให้ขยาย
ระยะเวลาขอรับชำาระหนีอ
้ ันผิดบทบัญญัติในพระราชบัญญัติล้ม
ละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา 91 และการทีศ
่ าลจะสัง่ พิทักษ์ทรัพย์
เด็ดขาดหรือพิพากษาให้ล้มละลายนัน
้ ย่อมทำาให้ลูกหนีถ
้ ก
ู จำากัด
สิทธิ และไม่สามารถจัดกิจการทรัพย์สินได้ด้วยตนเองจึงต้องเป็ น
ไปโดยมีเหตุผลสมควรจริง ๆ ไม่ใช่ให้ใช้กฎหมายล้มละลายเป็ น
เครือ
่ งมือบีบคัน
้ ลูกหนี ้ กรณีนีฟ
้ ั งได้ว่าเป็ นเหตุทีไ่ ม่สมควรให้ลก
ู หนี ้
ล้มละลายตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 มาตรา
14 ศาลต้องยกฟ้อง
มาตรา 30 ผลกระทบทีก
่ ่อให้เกิดหน้าทีแ
่ ก่ลูกหนีส
้ อง
ประการ
17

ประการแรกคือภายใน 24 ชัว
่ โมงลูกหนีม
้ ีหน้าทีต
่ ้องไป
สาบานตัวและชีแ
้ จ้งในเรือ
่ งการเป็ นหุ้นส่วน และชีแ
้ จ้งเกีย
่ วกับ
กิจการทรัพย์สินของลูกหนี ้ ซึง่ วัตถุประสงค์มาตรา 30 กฎหมาย
ให้ จพง พิทก
ั ษ์ ทรัพย์เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวมากทีส
่ ุด ซึง่ จะสัมพันธ์
กับมาตรา 22 ทีบ
่ ัญญัติว่าเมือ
่ มีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ จพท.แล้วมี
อำานาจต่อไปนี ้ คือเริม
่ จากการ รวบรวมทรัพย์สิน ฟ้องคดี และ
มาตรา 23 ลูกหนีม
้ ีหน้าทีต
่ ้องส่งมอบทรัพย์ให้แก่ จพท (ดูตัวบท
เลยค่ะ) เมือ
่ ลูกหนีถ
้ ูกศาลพิทักษ์ทรัพย์ก็ห้ามกระทำาการใดๆ
เกีย
่ วกับทรัพย์สินของลูกหนี ้ ถ้าเป็ นของคนอืน
่ ลูกหนีท
้ ำาได้ เพราะ
นิติกรรมตกเป็ นโมฆะ กรณีทีล
่ ูกหนี ้ พิทักษ์ทรัพย์ห้ามกระทำาการ
่ วกับทรัพย์สินกรณีลูกหนีไ้ ปทำา ฝ่ าฝื นตามมาตรา 24 ซึง
ใดๆเกีย ่
เป็ นกฎหมายเกีย
่ วด้วยความสงบ นิตก
ิ รรมตกเป็ นโมฆะตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การดำาเนินคดี กฎหมาย
ห้ามไม่ให้ลูกหนีก
้ ระทำาการใดๆเกีย
่ วกับทรัพย์สินไม่ว่าในฐานะ
ใดลูกหนีไ้ ม่มีอำานาจเข้าไปดำาเนินการ เปรียบเทียบก็เหมือนกับ
ว่า หากมีคดี นาย ก ฟ้องคดีไม่ได้ อุทธรณ์ก็ไม่ได้ ต่อส้ไู ม่ได้
( การกระทำานัน
้ กฎหมายให้อำานาจ จพท เข้าไป ทำาแทน
การรับรองสิทธิของเจ้าหนีม
้ ีประกัน ตามมาตรา 95 แต่ต้อง
ให้ จพท ตรวจสอบทรัพย์ทีเ่ ป็ นหลักประกัน
เช่นเจ้าหนีจ
้ ำานองก็มีสิทธิบังคับจำานองได้ต่อไป แม้ว่าลูกหนี ้
จะถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด แต่ต้องให้ตรวจสอบตามมาตรา 95
เพือ
่ ให้ดูความถูกต้องว่าเป็ นเจ้าหนีม
้ ีประกันจริงหรือไม่ ทรัพย์มี
มูลค่าเกินทรัพย์ทีเ่ ป็ นหลักประกันเกินไปหรือไม่ จพท ก็อาจใช้
18

สิทธิไถ่ถอน ได้ หรือ ตรวจสอบสัญญาประกันนัน


้ ด้วย ว่าเป็ นการ
สมยอมกันหรือไม่ มีเจตนาลวงหรือไม่
การบังคับกับทรัพย์อันเป็ นหลักประกันนัน
้ ก็หมายความว่า
ถ้าหนีย
้ ังมีเหลืออยู่เท่าไหร่ ก็บังคับเอาแก่หลักประกันเท่านัน
้ ที ่
เหลือก็ไม่มีสิทธิได้ รับชำาระอีก ตามมาตรา 95
เพราะฉะนัน
้ เจ้าหนีม
้ ีประกันทีห
่ นีเ้ กินราคาทรัพย์ก็ต้องมา
ขอรับชำาระหนี ้ ตามมาตรา 96 มีวิธก
ี ารยืน
่ หลายวิธีมาก ให้เจ้า
หนีม
้ ีประกันยืน
่ ขอรับชำาระหนี ้ สีว
่ ิธี
1. สละหลักประกัน แล้วขอรับชำาระหนีเ้ ต็มจำานวน หมาย
ถึงว่า ไม่ติดใจกับทรัพย์จำานอง ยอมให้ทรัพย์จำานองเป็ น
ประโยชน์แก่เจ้าหนีท
้ ัง้ หลายในคดีล้มละลาย วิธีนี ้ เจ้าหนี ้
เสียหายมาก
2. เจ้าหนีม
้ ีประกัน บังคับเอาจากหลักประกันแล้วก็บงั คับเอา
จากหนีท
้ ีข
่ าดอยู่ เช่น จำานองก็บังคับจำานอง จำานำาก็
บังคับจำานำา แล้วขอจากหนีท
้ ีย
่ ังขาดอยู่ อย่างนีก
้ รณีเช่นนี ้
ในทางปฏิบัติก็ยืน
่ ขอรับชำาระหนีต
้ ามมาตรา 96 ( 2 )
3. วิธีทีส
่ ามคือมาตรา 90 ( 3 ) คือ เอาทรัพย์หลักประกัน
ให้ จพท ขายทอด แล้วได้เท่าไหร่ ก็ ให้แก่เจ้าหนีม
้ ี
ประกันก่อน แล้วเหลือหนีเ้ ท่าไหร่ ก็ขอ แบ่งเอาอีก
4. ตีราคาทรัพย์ทีเ่ ป็ นหลักประกันแล้วขอ ทีเ่ หลืออยู่ คือ
ต้องการทรัพย์หลักประกันเป็ นของตนเอง ตีราคามา แล้ว
ขาดเท่าไหร่ ก็ขอบังคับจากทรัพย์ทีเ่ หลืออยู่

ข้อสังเกต
19

กรณีเจ้าหนีม
้ ีประกันยืน
่ ตามมาตรา 96 ต้องมิได้เป็ นผู้ต้อง
ห้ามมิให้รับชำาระหนีเ้ กินกว่าทรัพย์ทีเ่ ป็ นหลักประกัน มาตรา 96
ไม่ให้เจ้าหนีม
้ ีประกันประเภทนี ้ ขอรับชำาระหนี ้ เพราะเขามีสิทธิ
แค่ทรัพย์ทีเ่ ป็ นหลักประกันอย่างเดียว
มีข้อสังเกตอีกอัน คือ การขอรับชำาระหนีน
้ ี ้ กฎหมายให้รับ
ชำาระหนีใ้ นกรณีทีเ่ ป็ นดอกเบีย
้ ตามมาตรา 100 ให้ถงึ แค่วันทีส
่ ัง่
พิทักษ์ทรัพย์ เท่านัน
้ ดอกเบีย
้ หลังวันนัน
้ ขอไม่ได้
กรณีเจ้าหนีม
้ ีประกันบังคับเอาเองตามมาตรา 95 โดยไมได้
ยืน
่ คำาขอรับชำาระหนี ้ เจ้าหนีม
้ ีประกัน สามารถคิดดอกเบีย
้ หลัง
จากวันมีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ไปจนวันทีข
่ ายทรัพย์สินนัน
้ ได้ ในส่วน
ดอกเบีย
้ หลังวันทีข
่ อพิทักษ์ทรัพย์ขอไม่ได้ เจ้าหนีม
้ ีประกันมีสิทธิ
ตามมาตรา 95 นัน
้ อยู่แต่ความจริงแล้วถ้าเรามาดูบทบัญญัติที ่
ชัดเจน เขาไม่ได้ขอรับชำาระหนี ้ เมือ
่ ไม่ได้ขอ มาตรา 100 ก็ไม่นำา
มาใช้บังคับกับเขา ในส่วนดอกเบีย
้ ก็ เลือก ไม่ได้ แต่ถ้าเมือ
่ ใด
เจ้าหนีม
้ ีประกันมายืน
่ คำาขอรับชำาระหนีต
้ ามมาตรา 96 ดอกเบีย
้ ก็
มาหยุด ในส่วนทีข
่ อพิทักษ์ทรัพย์ ดังนัน
้ ข้อแตกต่างการคิด
ดอกเบีย
้ กรณี 95 มาตรา 100 จะมาบังคับ ไม่ได้ ดังนัน
้ ดอกเบีย

จึงคิดไปจนวันทีข
่ ายทรัพย์สินนัน
้ ได้ ส่วนมาตรา 96 เมือ
่ ขอชำาระ
หนี ้ ดอกเบีย
้ อยู่ในมาตรา 100 คือถึงวันมีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์

การประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรก เป็ นชือ
่ ในกฎหมายล้มลาย
ประชุมเพือ
่ ให้บรรดาเจ้าหนี ้ มาพิจารณาคำาขอประนอมหนีข
้ องลูก
หนี ้ ในการประชุมลูกหนีค
้ รัง้ แรก มีหว
ั ข้อการประชุม ถ้าผลการ
20

ประชุมเป็ นอย่างหนึง่ อย่างใดในสีป


่ ระการตามมาตรา 61 ก็จะมี
คำาพิพากษาให้ล้มละลายคือ
1.ลงมติให้ล้มละลายเลย
2.ไม่ลงมติอะไรเลย เพราะอาจจะเพราะเกรงใจลูกหนีท
้ ีม
่ านัง่
ฟั งอยู่ด้วยนัน
่ เอง กฏหมายล้มละลายก็รู้ว่าจะมีเจ้าหนีป
้ ระเภท
อย่างเรา แล้วในข้อสามมันจะเป็ นคำาตอบว่าการประชุมเจ้าหนีถ
้ ้า
ไม่มีเจ้าหนีม
้ าประชุมจะประชุมได้หรือไม่ ก็ได้ เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์ไม่เลือ
่ น และถือเป็ นการประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรกแล้ว
4.ไม่มีมติพิเศษยอมรับ
ข้อสังเกต
เมือ
่ จพท ให้ลูกหนีล
้ ้มละลาย ศาลจะรอไมได้ เพราะมาตรา
61 บังคับเลย ว่าศาลต้องพิพากษาให้ลูกหนีล
้ ้มละลายทันที จะรอ
ไม่ได้ เนือ
่ งจากการดำาเนินคดีล้มละลายต้องดำาเนินไปโดยการ
รวดเร็ว และต้องไม่มีการทุเลาให้คดีล่าช้า การมีคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์เด็ดขาด ถือว่า มีคำาพิพากษาแล้ว ไม่เป็ นคำาสัง่ ระหว่าง
พิจารณา
การรวบรวมเจ้าหนี ้ เป็ นหน้าทีข
่ อง จพท วิธีทีส
่ อง กฎหมาย
กำาหนดให้เจ้าหนีย
้ ืน
่ คำาขอรับชำาระหนี ้ ต่อ จพท ถ้าไม่ยืน
่ ก็ไม่มี
สิทธิรับชำาระหนี ้ ไม่ว่าเจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ เจ้าหนีต
้ ามคำาพิพากษา
หรือเจ้าหนีอ
้ ืน
่ ใด ให้เกิดความเป็ นธรรมแก่เจ้าหนีท
้ ุกราย
เจ้าหนีท
้ ุกรายต้องยืน
่ คำาขอรับชำาระหนี ้ หนีท
้ ีข
่ อรับชำาระหนี ้
ได้ ต้องเป็ นหนีต
้ ามมาตรา 94 วิธีการยืน
่ กฎหมายบัญญัติไว้ใน
มาตรา 91 แล้วก็แนบหลักฐาน การกู้ หนีต
้ ามสัญญาเข่าซือ
้ ก็ต้อง
แนบเข้าไป ระยะเวลาในการยืน
่ เจ้าหนี ้ ก็มีประเด็นระยะเวลา
21

้ ับแต่วันไหน คำาตอบ มาตรา 91 ก็ภายใน


ประกาศ สองเดือน นีน
2 เดือน นับแต่วันทีป
่ ระกาศโฆษณาตามมาตรา 28 ให้จพท
ประกาศในราชกิจจา และหนังสือพิพรายวันอย่างน้อย หนึง

ฉบับ เมือ
่ ประกาศสมบูรณ์ก็เริม
่ นับได้เลย ก็นับจากวันนัน
้ *****
กฎหมายให้ประกาศตามมาตรา 28 ก็ประกาศครบถ้วนนัน
่ เอง
ตัวอย่างทีอ
่ าจารย์นันทรัตน์ยกคือสองเดือน นัน
้ ราชกิจจาจะมา
หลังหนังสือพิมพ์ วันประกาศในราชกิจจา เอามาเผยแพร่ จาก
กอง ช้า ปั ญหาว่า นับจากวันทีป
่ ระกาศ หรือ วันทีเ่ ผยแพร่ เรือ
่ ง
นีก
้ ็แปลให้เกิดความเป็ นธรรมว่านับแต่วันทีเ่ ผยแพร่ เพราะชาว
บ้านยังไม่รู้ ก็คงเป็ นปั ญหา ตีความต่อไป ภายในกรณีพิเศษตาม
มาตรา 92 ก็ให้สิทธิลก
ู หนี ้ ที ่ เขาอาจจะไม่สามารถยืน
่ คำาขอรับ
ชำาระหนี ้ ได้ภายในสองเดือนตามมาตรา 91 ได้ เนือ
่ งจากสิทธิ
เรียกร้องมันยังไม่เกิดขึน
้ มาตรา 22 ให้ความคุ้มครองบุคคลสอง
ประเภท คือ เจ้าของทรัพย์สิน หรือ สิง่ ของที ่ จพท ยึดไปตาม
มาตรา 109(3 ) ทีใ่ ห้ จพท ยึด ทรัพย์ เข้าองค์ประกอบ สิง่ ของ
เจ้าของทรัพย์สินนัน
้ ยินยอม โดยพฤติการณ์แล้วบุคคลทัว
่ ไปเห็น
ว่าทรัพย์สินนัน
้ เป็ นของลูกหนี ้ ถือว่าสิง่ ของนัน
้ เป็ นทรัพย์สินอัน
อาจแบ่งได้ในคดีล้มละลายแล้วเจ้าของทีแ
่ ท้จริงจะมาร้องขัดทรัพย์
ไม่ได้

ต่อไป พ้นสภาพการเป็ นบุคคลล้มละลาย กลับมามีอำานาจ


เช่นเดิม จพทก็ไม่มีอำานาจจัดการทรัพย์สินต่อไป คำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์สิน
้ ผลไป
22

ถูกห้ามตามมาตรา 24 ก็ไม่ถก
ู ห้าม ลูกหนีก
้ ็มีอำานาจจัดการ
ทรัพย์สินทัง้ หมด ทรัพย์สินทีร
่ วบรวมมาก็คืนไป
แต่บรรดาหนีข
้ องเจ้าหนีท
้ ีข
่ อรับชำาระหนีไ้ ม่ได้ ไม่หลุดพ้นนะ
ครับ หนีท
้ ีข
่ อรับชำาระหนีไ้ ม่ได้ มีอะไรบ้าง กึคือหนีไ้ ม่ชอบด้วย
มาตรา 94
ประการทีส
่ าม ลูกหนีห
้ ลุดพ้นในทรัพย์ทีข
่ อรับชำาระหนี ้ แต่
ต้องรับผิดในหนี ้ ทีป
่ ระนอมหนีอ
้ ยู่ มาตรา 60
ต่อไปทีท
่ ำาให้หลุดพ้น คือ คำาสัง่ ปลดจากล้มละลาย เฉพาะ
ลูกหนีท
้ ีล
่ ้มละลาย ในกระบวนพิจารณาในเรือ
่ งการปลด
ศาลก็จะนัดพิจารณา คำาร้องทีล
่ ก
ู หนีข
้ อปลดจากล้มละลาย
ศาลก็พิจารณาจากรายงานของจพท .เช่นเดียวกับเรือ
่ งทีร
่ ายงาน
ให้ศาลพิจารณาคำาขอรับชำาระหนี ้
เมือ
่ ศาลทำาการพิจารณาเสร็จแล้ว กฎหมายให้เป็ นดุลพินิจ
ของศาล ว่าจะสัง
่ ปลดหรือไม่ ปลด เหมือนการพิจารณาคำาขอ
ประนอมหนี ้ จะปลดหรือไม่ก็ได้ เว้นแต่เข้าหลักเกณฑ์ทีศ
่ าล
กำาหนดให้ต้องปลด คือมีการแบ่งทรัพย์ให้แก่เจ้าหนี ้ ไม่น้อย
กว่าร้อยละห้าสิบและลูกหนีไ้ ม่ใช่บุคคลล้มละลายทุจริต ก็มี
ดุลพินิจปลดได้
ลูกหนีเ้ คยถูกพิพากษาให้ล้มละลาย แล้วมาปลดอีกภายในห้า
ปี ถ้ายังไม่เกินกรณีทีไ่ ด้รับการปลดจากล้มละลาย ก็ขยายจาก
สามเป็ นห้าปี
เจ้าหนีก
้ ารออกเสียง การประชุมกฎหมายไม่ได้บัญญัติองค์ไว้
การประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรก ก็ถือว่ามีแล้ว ไม่มีเจ้าหนีม
้ าประชุม
เลยก็มีการพิพากษาให้ล้มละลาย ถ้ามติไม่ชอบ สิง่ นัน
้ ไม่มีผลทาง
23

กฎหมาย เช่น การประชุมไม่ชอบตัง้ แต่ต้น แจ้งการประชุมไม่ครบ


ทุกราย หรือว่า ในวันประชุม มีผู้มีส่วนได้เสียไปลงมติด้วย ไม่
ชอบอีก จพทก็ไม่ต้องปฏิบัติตามอยู่แล้ว เช่น ลูกหนีไ้ ม่ได้ขอ
ประนอมหนีก
้ อ
่ นล้มละลายเข้ามา ทีป
่ ระชุมไปลงมติพิพากษาให้

You might also like