You are on page 1of 200

1

41451 กฎหมายระหว่างประเทศ
International Law
ข้อสอบกฎหมายระหว่างประเทศปรนัย 60
อัตนัย 3 หน่วยเน้น 1, 3-7, 10, 12-15
หน่วยที ่ 1 ความรู้ทัว
่ ไปเกีย
่ วกับระหว่างประเทศ

1. กฎหมายระหว่างประเทศ เป็ นกฎเกณฑ์ทีใ่ ชูปกครองความ


สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คลระหว่ า งประเทศ โดยเป็ นที ม
่ ี ขู อ พิ ส้ จ น์
ยื น ยั น ไ ดู ห ลายป ระการ แ ต่ มี ลั กษ ณะแ ตก ต่ าง จ าก ภายใ น
เนื่องจากเกิดขึน
้ ในสังคมทีม
่ ีโครงสรูางต่างกันและมีพื้นฐานทาง
กฎหมายต่างกัน

2. ในดูานเนือ
้ หาและร้ปแบบระหว่างประเทศมีเนื้อหาซับซูอน
และหลากหลายมากในปั จจุบันเมื่อเทียบกับสมัยก่อน ซึง่ เกิดขึน

ก่อนจากหลักเกณฑ์ในร้ปประเพณีระหว่างประเทศและไดูรับการ
พัฒนาเสริมขึน
้ ดูวยกฎเกณฑ์ในร้ปของสนธิสัญญา

3. กฎหมายระหว่างประเทศในยุคใหม่มีวิวัฒนาการอย่างมาก
จากคริสต์ศตวรรษที ่ 16 ซึง่ เริม
่ เกิดรัฐชาติขึ้นในสังคมระหว่าง
ประเทศ และพัฒนาไปอย่างรวดเร็วตัง้ แต่สิน
้ สงครามโลกครัง้ ที ่
1 พรูอมกับการเกิดขึ้นของบุคคลระหว่างประเทศใหม่ ซึ่งไดู แก่
องค์การระหว่างประเทศ

4. กฎหมายระหว่างประเทศมีบ่อเกิดหลายประการ ทัง้ ทีเ่ ป็ น


่ ั ญ ญั ติไ วู ใ นมาตรา 38
บ่ อ เกิ ด หลั ก และบ่ อ เกิ ด ลำา ดั บ รองตามที บ
2

ของธรรมน้ ญศาลยุ ติธ รรมระหว่ า งประเทศ และบ่ อ เกิ ด ที ไ่ ดู รั บ


การยอมรับในทางปฏิบัติกล่าวคือการกระทำาฝ่ ายเดียว

1.1 ความหมายและลักษณะของระหว่างประเทศ

1. กฎหมายระหว่ า งประเทศหมายถึ ง กฎเกณฑ์ ที ใ่ ชู บั ง คั บ ใน

ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คล ระหว่ า งประเทศ ซึ่ ง ในปั จจุ บั น


นอกจากรัฐแลูวยังมีองค์การระหว่ างประเทศอี กดู วย อีกทั ง้ ยัง มี
เนือ
้ หาซึง่ เกีย
่ วขูองกับการคูุมครองปั จเจกคนภายในรัฐต่างๆ ดูวย
2. กฎหมายระหว่ า งประเทศเป็ นกฎเกณฑ์ ท างกฎหมาย แต่

ระหว่างประเทศมีลักษณะทีแ
่ ตกต่างจากภายในของรัฐ เนื่องจาก
โครงสรูางของสังคมและพืน
้ ฐานทางกฎหมายของทัง้ สองแบบแตก
ต่างกัน
3. การยืนยันว่าระหว่างประเทศ เป็ น อาจกระทำาไดูโดยอาศัย

ขูอพิส้จน์หลายประการ นอกจากนีไ้ ม่ว่านักนิติศาสตร์จะมีความ


เห็นแตกต่างกันอย่างไรก็ตามเกีย
่ วกับคำาอธิบายเรื่องสภาพบังคับ
ของกฎหมายระหว่างประเทศ แต่ในทางปฏิบัติแลูวปั จจัยทีส
่ ำาคัญ
ก็คือเจตนารมณ์ของรัฐต่างๆ และปั จจัยภายนอกอื่นๆ เช่น ผล
ประโยชน์ของประชาคมระหว่างประเทศ

1.1.1 ความหมายของระหว่างประเทศ
ความหมายของระหว่างประเทศว่ามีความหมายอย่างไร
ระหว่างประเทศหมายถึงและขูอบังคับทัง้ ปวงของสังคม
ระหว่างประเทศทีก
่ ำากับและควบคุมพฤติกรรมของบุคคลระหว่าง
ประเทศใหูอย่้ร่วมกันโดยสันติสุข
3

1.1.2 ลักษณะของระหว่างประเทศ
อธิบายลักษณะของระหว่างประเทศ
ระหว่ า งประเทศเป็ นกฎเกณฑ์ ท างที ม
่ ี ส ภาพบั ง คบ เช่ น
เดี ย วกั บ ภายใน แต่ แ ตกต่ า งจากกฎหมายภายในตรงที ส
่ ภาพ
บั ง คั บ อาจมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพนู อ ยกว่ า เนื่อ งจากความแตกต่ า งของ
โครงสรู า งของสั ง คมและพื้น ฐานทางที ต
่ ู อ งอาศั ย ความยิ น ยอม
ของรัฐผู้อย่้ใตูบังคับของกฎหมายเป็ นปั จจัยหลัก

1.2 วิวัฒนาการของระหว่างประเทศ
1. กฎหมายระหว่างประเทศเริม
่ เกิดขึ้นจากกฎเกณฑ์ทีไ่ ม่เป็ น
ลายลักษณ์อักษร ในร้ปของจารีตประเพณีระหว่างประเทศซึ่งมี
ขูอ จำา กั ดในเรื่องที ต
่ ูอ งใชูเวลายาวนานในการก่ อตั วขึ้น และถ้ ก
เสริ มดู วยกฎเกณฑ์ ที เ่ ป็ นลายลั ก ษณ์ อัก ษรโดยเฉพาะในร้ ป ของ
สนธิสัญญา
2. เนือ
้ หาสาระของกฎหมายระหว่างประเทศ มีวิวัฒนาการไป
มากจากกฎเกณฑ์ ที เ่ ดิ ม มุ่ ง เนู น ความสั ม พั น ธ์ เ ฉพาะระหว่ า งรั ฐ
โดยพัฒนาไปในทิศทางทีค
่ รอบคลุมเรื่องต่างๆ รวมถึงทีเ่ กีย
่ วกับ
เอกชนดูวย
3. จากศตวรรษที ่ 16 ซึ่ ง เริ ่ม เกิ ด มี “รั ฐ ชาติ ” ขึ้ น จนถึ ง สิ น

สงครามโลกครั ง้ ที ่ 1 กฎหมายระหว่ า งประเทศเป็ นกฎเกณฑ์ ที ่
เนูนใชูปกครองความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
4. จากสิ ้น สงค รามโ ลกครั ้ ง ที ่ 1 จนถึ ง ปั จ จุ บั น กฎห มาย

ระหว่างประเทศมีวิวัฒนาการไปอย่างมากมาย กล่าวคือ เกิดมี


บุ ค คลในกฎหมายระหว่ า งประเทศเพิ ม
่ ขึ้น อั น ไดู แ ก่ องค์ ก าร
4

ระหว่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความหลาก
หลายและซับซูอนขึน
้ กว่าในอดีต

1.2.1 วิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศในดูานร้ป
แบบและเนือ
้ หา
วิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศในดูานร้ปแบบ
และเนือ
้ หาว่า มีความเป็ นมาอย่างไร
กฎหมายระหว่ างประเทศเริ ม
่ เกิ ด ขึ้น ก่ อ นในร้ ป ของจารี ต
ประเพณี และมี พั ฒ นาการมาเสริ ม ดู ว ยกฎเกณฑ์ ม าเป็ นลาย
ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ก ล่ า ว คื อ สนธิ สั ญญา ส่ ว น ใ น ดู า นเ นื้ อ ห าก็
วิวัฒนาการมาจากกฎเกณฑ์ทีใ่ ชูเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
เช่น กฎหมายภาคสงคราม มาครอบคลุมดูานอื่นๆ รวมทัง้ ทีใ่ ชู
สิทธิประโยชน์ต่อปั จเจกชนดูวย เช่น สิทธิมนุษยชน

1.2.2 วิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศในเชิง
ประวัติศาสตร์
ประวั ติ ศ าสตร์ ข องกฎหมายระหว่ า งประเทศยุ ค ใหม่ มี
ความหมายอย่างไร
กฎหมายระหว่ า งประเทศยุ ค ใหม่ เ ริ ม
่ ขึ้น เมื่ อ มี ก ารจั ด ตั ้ง
้ ในสังคมระหว่างประเทศราวคริสต์ศตวรรษที ่ 16 แต่
รัฐบาลขึน
เป็ นกฎเกณฑ์ทีจ
่ ำากัดอย่้สำาหรับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐเป็ นส่วน
ใหญ่ หลังสงครามโลกครัง้ ที ่ 1 เมื่อมีการจัดตัง้ สันนิบาตชาติขึน

กฎหมายระหว่างประเทศก็มี วิวั ฒนาการอย่า งรวดเร็ว พรูอมกับ
การยอมรับบุคคลระหว่างประเทศประเภทใหม่ทีม
่ ิใช่รัฐซึ่งไดูแก่
5

องค์การระหว่างประเทศ ซึง่ มีส่วนร่วมอย่างมากในการพัฒนากฎ


เกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศในสาขาต่างๆ

1.3 บ่อเกิดของระหว่างประเทศ

1. บ่ อ เกิ ด ของกฎหมายระหว่ า งประเทศมี ห ลายประการทั ้ง ที ่

เป็ นลายลั ก ษณ์ อั ก ษร กล่ า วคื อ สนธิ สั ญ ญา และที ไ่ ม่ เ ป็ นลาย


ลัก ษณ์อักษร ซึ่งไดูแก่ จารีต ประเพณี ระหว่ างประเทศและหลั ก
กฎหมายทัว
่ ไป
้ ังมีบ่อเกิดซึง่ มาตรา 38 ของธรรมน้ญศาลสถิต
2. นอกจากนีย

ยุติธรรมระหว่างประเทศบัญญัติว่าเป็ นบ่อเกิดลำาดับรอง กล่าวคือ


แนวคำา พิ พ ากษาของศาลระหว่ า งประเทศและความเห็ น ของผู้
เชีย
่ วชาญทางกฎหมาย
3. การกระทำา ฝ่ ายเดี ย ว เป็ นอี ก บ่ อ เกิ ด หนึ่ ง ของกฎหมาย

่ ิไดูถ้กระบุไวูในมาตรา 38 ของ
ระหว่างประเทศ แต่เป็ นบ่อเกิดทีม
ธรรมน้ญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ

1.3.1 บ่อเกิดหลักของกฎหมายระหว่างประเทศ
ระบุบ่อเกิดหลักของกฎหมายระหว่างประเทศตามที ่
บัญญัติไวูในมาตรา 38 ของธรรมน้ญศาลยุติธรรมระหว่าง
ประเทศมีอะไรบูาง
ตามมาตรา 38 ของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ บ่อเกิด
หลั ก ของกฎหมายระหว่ า งประเทศซึ่ ง ศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า ง
ประเทศตูองใชูในการพิพากษาตัดสินคดี คือสนธิสัญญา จารีต
ประเพณีระหว่างประเทศ และหลักกฎหมายทัว
่ ไป
6

องค์ประกอบของจารีตประเพณีระหว่างประเทศมีอะไรบูาง
จารีตประเพณีระหว่างประเทศจะเกิดขึน
้ ไดูตูองอาศัยองค์
ประกอบ 2 ประการ ทางปฏิบัติของรัฐทีม
่ ีลักษณะซำา
้ ๆ กันแพร่
หลาย และภายในช่วงระยะเวลาหนึง่ ในฐานะองค์ประกอบทาง
วัตถุ และความเชือ
่ มัน
่ ว่าจะตูองกระทำาเพราะเป็ นกฎหมาย ใน
ฐานะองค์ประกอบทางจิตใจ

1.3.2 บ่อเกิดลำาดับรองของกฎหมายระหว่างประเทศ
และบ่อเกิดทีม
่ ิไดูบัญญัติไวูในธรรมน้ญศาลยุติธรรมระหว่าง
ประเทศ
บ่อเกิดลำาดับรองของกฎหมายระหว่างประเทศมีอะไรบูาง
และมีบทบาทอย่างไร
บ่ อ เกิ ด ลำา ดั บ รองของกฎหมายระหว่ า งประเทศตามที ่
บั ญ ญั ติ ไ วู ใ นมาตรา 38 ของธรรมน้ ญ ศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า ง
ประเทศมี 2 ประการ กล่าวคือ แนวคำาพิพากษาระหว่างประเทศ
และทฤษฎีของผู้เชีย
่ วชาญทางกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งแมู
จะมิไดูเป็ นบ่อเกิดของกฎหมายโดยตรง แต่ก็มีบทบาทอย่างมาก
ในการระบุ อ ธิ บ ายรวมทั ้ง ยื น ยั น เนื้ อ หาของกฎหมายระหว่ า ง
ประเทศ

การประเมินผลหน่วยที ่ 1
1. ในปั จจุ บั น กฎหมายระหว่ า งประเทศใชู บั ง คั บ ต่ อ ความสั ม พั น ธ์
ระหว่างบุคคลระหว่างประเทศต่างๆ
2. ความแตกต่ า งที ่สำา คั ญ ระหว่ า งกฎหมายระหว่ า งประเทศและ
กฎหมายภายในคื อ (ก) สภาพบั ง คั บ ของกฎหมายระหว่ า งประเทศมี
7

ประสิทธิภาพนูอยกว่า (ข) ผลบังคับของกฎหมายขึ้นอย่้กับความยินยอม


ของผู้อย่้ใตูบังคับของกฎหมาย (ค) กฎหมายระหว่างประเทศถ้กบัญญัติขึน

โดยตรงจากผู้อย่้ใตูบังคับของกฎเกณฑ์เอง
3. ขู อ ที ่ มิ ใ ช่ ข้ อ พิ สู จ น์ ที ว
่ ่ า กฎหมายระหว่ า งประเทศเป็ นกฎหมายคื อ
(ก) การมีศ าลระหว่างประเทศซึ่งนำา กฎหมายระหว่า งประเทศมาปรับ ใชู
(ข) การทีร
่ ัฐภาคีจำา นวนมากของธรรมน้ ญ ศาลยุติ ธ รรมระหว่ า งประเทศ
ยอมรับ (ค) การทีร
่ ัฐยกอูางหลักกฎหมายระหว่างประเทศในการเรียกรูอง
สิ ท ธิต่ า งๆ (ง) การที อ
่ งค์ ก ารสหประชาชาติ ทำา การประมวลและพั ฒ นา
กฎหมายระหว่างประเทศ
4. ม้ ล ฐานของสภาพบั ง คับ ของกฎหมายระหว่ า งประเทศขึ้น อย่้ กั บ (ก)
เจตนารมณ์ ข องผู้ ท รงสิ ทธิ ข องกฎ หมาย (ข) ปั จจั ย ภา ยนอกที ่มิ ใ ช่
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
5. วิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศในดูานร้ปแบบและเนือ
้ หามี
สาเหตุมาจาก (ก) การเกิดขึน
้ ขององค์การระหว่างประเทศในฐานะบุคคล
ระหว่างประเทศ (ข) การพัฒนากระบวนการสรูางกฎหมายในร้ปของสนธิ
สั ญ ญา (ค ) การขยายตั ว ของความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศเนื่ อ งจาก
พัฒนาการดูานการสือ
่ สารคมนาคม
6. กฎหมายระหว่ า งประเทศมี พั ฒ นาการกู า วหนู า อย่ า งมากทั ้ง ดู า น
ปริมาณและสาระในยุค เมือ ้ สงครามโลกครัง้ ที ่ 2
่ สิน
7. บ่อเกิดหลักของกฎหมายระหว่างประเทศตามทีบ
่ ัญญัติไวูในมาตรา
38 ของธรรมน้ญศาลยุติธรรมคือ สนธิสัญญาและจารีตประเพณีระหว่าง
ประเทศ
8. องค์ประกอบของจารีตประเพณีระหว่างประเทศคือ ทางปฏิบัติของ
นานาชาติ ระยะเวลา และความเชือ
่ มัน
่ ว่ากฎหมายอนุญาตใหูกระทำา
8

9. บ่ อ เกิ ด ลำา ดั บ รองของกฎหมายระหว่ า งประเทศที ่บั ญ ญั ติ ไ วู ใ น


ธรรมน้ ญ ศาลยุ ติ ธ รรมระหว่ า งประเทศคื อ ทฤษฎี ข องผู้ เ ชี ย
่ วชาญทาง
กฎหมายระหว่างประเทศและคำาพิพากษาระหว่างประเทศ
10. บ่ อ เกิ ด ลำา ดั บ รองของกฎหมายที ไ่ ม่ ไ ดู บั ญ ญั ติ ไ วู ใ นธรรมน้ ญ
ศาลยุติธรรมคือ การกระทำาฝ่ ายเดียว
11. ใ นปั จ จุ บั นบุ คคล ระห ว่ า งประเท ศ ที ่อ ย่้ ภ า ย ใตู บั งคั บ ขอ ง
กฎหมายระหว่างประเทศคือ (ก) รัฐ (ข) องค์การระหว่า งประเทศระดับ
รัฐบาล (ค) องค์การระหว่างประเทศทีม
่ ิใช่ระดับรัฐบาลทีไ่ ดูรับการรับรอง
12. ขูอที ่มิใช่ความแตกต่างของระบบกฎหมายระหว่างประเทศกับ
กฎหมายภายในคือ ปั จเจกชนเป็ นบุคคลในกฎหมายระหว่า งประเทศทีม
่ ี
สิทธิเท่าเทียมกับรัฐ
13. ขูอที ่มิใช่ข้อพิสูจน์ว่ากฎหมายระหว่า งประเทศเป็ นกฎหมาย
คือ การมีศ าลระหว่างประเทศซึ่งนำา กฎหมายระหว่า งประเทศมาปรับใชู
โดยอัตโนมัติ
14. กฎหมายระหว่างประเทศดั ง้ เดิมเกิดขึน
้ ในยุค จากศตวรรษที ่
16 จนถึงสงครามโลกครัง้ ที ่ 1
15. ขูอที ่มิใช่บ่อเกิดหลักกฎหมายระหว่างประเทศตามทีบ
่ ัญญัติไวู
ในมาตรา 38 ของธรรมน้ญ ศาลยุติธ รรมระหว่า งประเทศคือ ขูอมติข อง
องค์การระหว่างประเทศ
16. ขู อ ใดมิ ใ ช่ บ่ อ เกิ ด ลำา ดั บ รองของกฎหมายระหว่ า งประเทศที ่
บัญญัติไวูในมาตรา 38 ของธรรมน้ญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศคือ (ก)
การกระทำาฝ่ ายเดียว (ข) หลักกฎหมายทัว
่ ไป
17. จารีตประเพณีระหว่า งประเทศจะเกิด ขึ้นไดูตูองประกอบดู วย
(ก) ทางปฏิ บั ติ ข องนานาชาติ (ข) ความเชื่ อ มั่น ว่ า กฎหมายอนุ ญ าตใหู
กระทำาไดู (ค) ระยะเวลา (ง) ความถีข
่ องทางปฏิบัติของรัฐ
9

18. การกระทำา ฝ่ ายเดี ย วของรั ฐ ที ก


่ ่ อ ใหู เ กิ ด พั น ธะกรณี ร ะหว่ า ง
ประเทศไดูคือการกระทำา การใหูคำามัน

หน่วยที ่ 2 บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ

1. รัฐเป็ นบุคคลดัง
้ เดิมหรือเป็ นบุคคลหลักในกฎหมายระหว่าง
ประเทศรัฐ เกิ ดขึ้นโดยองค์ประกอบ ทางขูอเท็จ จริง มีสิท ธิ แ ละ
หนูา ทีท
่ ีส
่ มบ้ร ณ์ตามกฎหมายระหว่ า งประเทศ และมี ค วามเท่ า
เทียมกันตามกฎหมายระหว่างประเทศ
2. องค์ ก ารระหว่ า งประเทศเป็ นบุ ค คลลำา ดั บ รองในกฎหมาย
ระหว่ า งประเทศเกิ ด ขึ้ น โดยความตกลงระหว่ า งรั ฐ มี ค วาม
สามารถตามกฎหมายระหว่ า งประเทศที จ
่ ำา กั ด ภายในขอบเขต
ของความตกลงก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศนัน
้ ๆ
3. โดยทัว
่ ไปแลูว ปั จเจกชนไม่มีสิทธิ ความรับผิดชอบ และใชู
สิ ท ธิ ใ นทางระหว่ า งประเทศไดู โ ดยตรงตามกฎหมายระหว่ า ง
ประเทศ ยกเวูนในบางกรณีทีม
่ ีขอบเขตทีจ
่ ำากัดอย่างมาก
4. บรรษัทขูามชาติไม่ไดูรับการยอมรับว่ามีสภาพเป็ นบุคคลใน
กฎหมายระหว่ า งประเทศ แต่ มี ส ถานะเป็ นเพี ย งบุ ค คลตาม
กฎหมายภายในเท่านัน

2.1 รัฐ
1. รั ฐ มี อ งค์ ป ระกอบหลั ก 3 ประการ คื อ ดิ น แดน ประชากร
และรัฐบาล คำาจำากัดความของรัฐเป็ นแนวความคิดทางรัฐศาสตร์
10

มากกว่ าทางนิติศ าสตร์ เนื่องจากรั ฐเกิดขึ้นจากขูอ เท็ จจริงของ


การใชูอำานาจดินแดนและประชากร
2. การรับรองรัฐมีผลเสมือนเป็ นการประกาศว่ารัฐไดูเกิดขึน
้ มา
แลูว รัฐทีไ่ ดูรับการรับรองจะมีความสามารถในการทำา นิติกรรม
ระหว่างประเทศไดูอย่างสมบ้รณ์
3. การรับรองรัฐขึน
้ อย่้กับการใชูดุลพินิจของรัฐผู้ใหูการรับรอง
โดยคำานึงถึงผลประโยชน์ของรัฐเป็ นสำาคัญ
4. รั ฐ มี สิ ท ธิ แ ละหนู า ที ่เ ท่ า เที ย มกั น ตามกฎหมาย หนู า ที ่ที ่

สำา คั ญ ประการหนึ่ง ของรั ฐ คื อ การไม่ เ ขู า แทรกแซงต่ อ กิ จ การ


ภายในของรัฐอืน

5. การสืบสิทธิของรัฐในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับสนธิสัญญาตัง้ อย่้บนพืน

ฐานขอ งคว ามปร ะสงค์ ข องรั ฐผู้ สื บ สิ ทธิ แ ละก าร พิ ทั ก ษ์ ผล
ประโยชน์ของรัฐทีส
่ าม
6. การสืบสิทธิของรัฐในเรื่องอื่นๆ นำา หลักของความยุติธรรม

(equity) มาปรับใชูเพือ
่ แบ่งความรับผิดชอบ

2.1.1 กำาเนิดของรัฐ
อธิบายการเกิดและองค์ประกอบของรัฐ
รัฐเกิดขึ้นจากการรวมตัวอย่างเป็ นจริงขององค์ประกอบ 4
ประการ คือ ดินแดน ประชากร รัฐบาล เอกราชอธิปไตยและ
ความสามารถทีจ
่ ะเขูาไปดำาเนิน สัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ

อธิบายเงือ
่ นไขของการใหูความคูุมครองทางการท้ตของรัฐ
รัฐอาจใหูความคูุมครองทางการท้ตต่อคนชาติของตนไดูเมือ

11

(1) คดีถึงทีส
่ ุดในศาลของรัฐผู้รับแลูว
(2) ก ารก ร ะทำา ข อ งรั ฐผู้ รั บ ทำา ใ หู เ กิ ด ผ ลเ สี ย ห า ยท าง
กระบวนการยุติธรรม
(3) ความผิดนัน
้ จะตูองปราศจากเจตนามิชอบ
(4) รั ฐ ผู้ ใ หู ค วามคูุ ม ครองเป็ นผู้ ใ ชู ดุ ล ยพิ นิ จ พิ จ ารณาว่ า
สมควรทีจ
่ ะใหูความคูุมครองทางการท้ตหรือไม่
(5) เป็ นการใหู ค วามคูุ ม ครองแก่ ค นชาติ ข องตนหรื อ แก่ ค น

ชาติ อื่ น ที ม
่ ี ค วามตกลงกำา หนดใหู รั ฐ นั ้น เป็ นผู้ ใ หู ค วามคูุ ม ครอง
แทนไดู

2.1.2 การรับรองรัฐ
การรั บ รองรั ฐ ทำา ไดู โ ดยวิ ธี ใ ด และมี ผ ลทางปฏิ บั ติ ร ะหว่ า ง
ประเทศอย่างไร
การรั บ รองรั ฐ ทำา ไดู ส องวิ ธี คื อ การรั บ รองโดยนิ ติ นั ย และ
การรั บ รองโดยพฤติ นั ย การรั บ รองรั ฐ ทำา ใหู นิ ติ ฐ านะของรั ฐ ที ่
ไดูการรับรองมัน
่ คงขึ้น สามารถทำา ความตกลงระหว่างประเทศ
กับรัฐอืน
่ ๆ ไดูอย่างสมบ้รณ์ และมีสิทธิหนูาทีท
่ ีจ
่ ะตูองปฏิบัติตาม
พันธกรณีของตน และสามารถเรียกรูองใหูรัฐอื่นๆ เคารพสิ ทธิ
ของตนดูวย

รัฐมีหนูาทีต
่ ูองใหูการรับรองรัฐใหม่หรือไม่ เพราะเหตุใด
รัฐไม่มีหนูาทีจ
่ ะตูองใหูการรับรองรัฐใหม่ เพราะการตัดสิน
ใจใหู ก ารรั บ รองรั ฐ เป็ นดุ ล ยพิ นิ จ ของรั ฐ ผู้ ใ หู ก ารรั บ รองแต่ ฝ่ าย
เดียว
12

2.1.3 สิทธิและหนูาทีข
่ องรัฐ
สิทธิในเอกราชทีส
่ ำาคัญของรัฐมีอะไรบูาง
สิทธิในเกราชทีส
่ ำาคัญของรัฐ ไดูแก่สิทธิในการแสดงออกซึง่
เอกราชภายในดินแดนของรัฐซึง่ ไดูแก่ การออกกฎหมายเท่าทีไ่ ม่
ขั ด ต่ อ กฎหมายระหว่ า งประเทศ และสิ ท ธิ ใ นการแสดงออกซึ่ง
เอกราชในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เช่น การทำาความตกลง
ระหว่างประเทศเป็ นตูน

สิ ทธิ ในความเสมอภาคของรัฐ ทางกฎหมาย สอดคลูองกับ


ความเป็ นจริงในสังคมระหว่างประเทศหรือไม่เพียงใด
ความเสมอภาคของรั ฐ ในทางกฎหมายยั ง ไม่ ส อดคลู อ งกั บ
โครงสรู างที เ่ ป็ นจริ ง ของสั ง คมระหว่ า งประเทศ ปั จจุ บั น มี ค วาม
พยายามทีจ
่ ะใชูวิธีการทีใ่ หูผลปฏิบัติซึง่ ไม่เท่าเทียมกันเป็ นเครื่อง
มือ เพือ
่ ใหูบรรลุถึงเปู าหมายของความเสมอภาคระหว่างรัฐ

2.1.4 การสืบสิทธิของรัฐ
อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยกฎหมายสนธิสัญญามีอิทธิพล
และความสั ม พั น ธ์ กั บ หลั ก การทั่ว ไปของการสื บ สิ ท ธิ ข องรั ฐ ต่ อ
สนธิสัญญาอย่างไร
การสื บ สิ ท ธิ ข องรั ฐ ต่ อ สนธิ สั ญ ญา เป็ นผลงานของคณะ
กรรมาธิ ก ารกฎหมายของสหประชาชาติ ที ่สื บ เนื่ อ งมาจาก
อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยกฎหมายสนธิสัญญา แนวความคิด
หรืออิทธิพลของอนุสัญญาฉบับนีเ้ หนือหลักการของการสืบสิทธิ
ของรั ฐ ต่ อ สนธิ สั ญ ญาไดู แ ก่ หลั ก การที ค
่ ูุ ม ครองความประสงค์
13

ของรั ฐ ที ส
่ าม เช่ น การทำา ความตกลงระหว่ า งรั ฐ แม่ กั บ รั ฐ ผู้ สื บ
สิทธิจะไม่มีผลผ้กมัดรัฐทีส
่ าม นอกจากรัฐนัน
้ จะใหูความยินยอม
และหลั ก การว่ า ดู ว ยการคงสภาพเดิ ม ของเสู น เขตแดนระหว่ า ง
ประเทศเป็ นตูน

ตามอนุสัญญากรุงเวียนนาฉบับ ค.ศ. 1978 รัฐผู้สืบสิทธิอาจ


ปฏิเสธเสูนเตแดนทีก
่ ำาหนดการสืบสิทธิไดูหรือไม่ เพราะเหตุใด
อนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1978 ไม่อนุญาตใหูรัฐผู้สืบสิทธิ
ปฏิ เ สธเสู น เขตแดนที ไ่ ดู กำา หนดขึ้น ก่ อ นการสื บ สิ ท ธิ ทั ้ง นี โ้ ดย
ถือว่าสนธิสัญญากำาหนดเขตแดนมีลักษณะพิเศษต่างไปจากสนธิ
สัญญาประเภทอืน
่ ๆ คือเป็ นสนธิสัญญาทีไ่ ดูรับการปฏิบัติไปแลูว
นอกจากนี ย
้ ั ง มี จุ ด ประสงค์ ที จ
่ ะรั ก ษาสั น ติ ภ าพของโลกปั จจุ บั น
เพราะขูอพิพาทเรื่องเขตแดนเป็ นสาเหตุสำา คัญประการหนึ่งของ
ภาวะสงครามระหว่ า งรั ฐ อย่ า งไรก็ ต าม รั ฐ ผู้ สื บ สิ ท ธิ ก็ ยั ง มี
ทางออกไดู อี ก โดยอาจขอเปิ ดการเจรจากั บ ประเทศเพื่อ นบู า น
เพือ
่ ปรับหรือแกูไขเสูนเขตแดนใหม่

2.2 องค์การระหว่างประเทศ
1. สภาพบุ ค คลตามกฎหมายระหว่ า งประเทศขององค์ ก าร

ระหว่างประเทศ อาจปรากฏโดยชัดแจูงในเอกสารก่อตัง้ องค์การ


ระหว่างประเทศ หรือโดยนัยจากเอกสารก่อตัง้ องค์การระหว่าง
ประเทศและถ้กทำาใหูชัดเจนและมัน ้ (Consolidated) โดยทาง
่ คงขึน
ปฏิบัติขององค์การระหว่างประเทศนัน
้ เอง
14

2. ความสามารถในการกระทำา ตามกฎหมายระหว่ า งระเทศ

ขององค์ ก ารระหว่ างประเทศแต่ ล ะองค์ ก ารอาจไม่ เ ท่ า เที ย มกั น


โดยขึ้ น อย่้ กั บ ความตกลงก่ อ ตั ้ง องค์ ก ารระหว่ า งประเทศนั ้น ๆ
หรื อ บางกรณี อ าจเป็ นผลมาจากการมี อำา นาจโดยปริ ย าย และ
การตีความความตกลงก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศนัน
้ เอง
3. องค์ ก ารระหว่ า งประเทศมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศ หากกระทำา การละเมิดพันธกรณีตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศ

2.2.1 สภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศขององค์การ
ระหว่างประเทศ
ในการพิจารณาสภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ
ขององค์การระหว่างประเทศมีแนวทางพิจารณาอย่างไร
กรณีที ต
่ ราสารก่อตั ง้ องค์ ก ารระหว่ า งประเทศ มิไ ดู ร ะบุ ถึ ง
สภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ ขององค์การระหว่าง
ประเทศไวูอย่างชัดแจูง ก็อาจพิจารณาสภาพบุคคลตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศขององค์การระหว่างประเทศโดยอาศัยแนวทาง
ดังต่อไปนี ้
(1) องค์การระหว่างประเทศนั น
้ เกิดขึ้นโดยความตกลง
ระหว่างรัฐเพือ
่ ก่อตัง้ เป็ นสมาคมของรัฐอย่างถาวร
(2) มี โ ครงสรู า งประกอบดู ว ยองค์ ก รย่ อ ยต่ า งๆ ที จ
่ ะ
ดำาเนินภารกิจขององค์การระหว่างประเทศ
(3) มีวัตถุประสงค์ขององค์การระหว่างประเทศแยกต่าง
หากจากบรรดารัฐสมาชิก
15

(4) มีสิทธิหนูาทีแ
่ ละสามารถใชูสิทธิและปฏิบัติหนูาทีไ่ ดู
ในทางระหว่างประเทศ

2.2.2 ความสามารถกระทำา การขององค์กรระหว่างประเทศ


ตามกฎหมายระหว่างประเทศ
องค์ ก ารระหว่ า งประเทศมี ค วามสามารถกระทำา การตาม
กฎหมายระหว่างประเทศในขอบเขตเพียงใด
องค์การระหว่างประเทศถ้กสรูางขึน
้ โดยความตกลงระหว่าง
รั ฐ เพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ฉพาะบางประการดั ง นั ้น โดยหลั ก แลู ว
องค์ ก ารระหว่ า งประเทศจึ ง มี ค วามสามารถตามที ก
่ ำา หนดไวู ใ น
ความตกลงก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศ แต่ความสามารถของ
องค์การระหว่างประเทศก็อ าจขยายขอบเขตออกไปไดู อันเป็ น
ผลมาจากความจำาเป็ นเพือ
่ ใหูการปฏิบัติงานขององค์การระหว่าง
ประเทศลุล่วงไปอย่างมีประสิทธิผล(Functional Competence) หรือ
เรี ย กกั น ว่ า เป็ น “อำา นาจโดยปริ ย าย” (Implied Power) และการ
ตีความตราสารก่อตัง้ ซึง่ ไดูพัฒนาต่อมาในภายหลัง

2.2.3 ความรับผิดขององค์การระหว่างประเทศตามกฎหมาย

ระหว่างประเทศ
องค์การระหว่างประเทศมีความรับผิดตามกฎหมายระหว่าง
ประเทศหรือไม่
ในการปฏิบัติภารกิจขององค์ก ารระหว่า งประเทศตามทีไ่ ดู
รั บ มอบ หมายจากรั ฐ สม าชิ ก ใ นบ าง กร ณี อ าจ มี ก าร ฝ่ าฝื น
พันธกรณีตามกฎหมายระหว่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ
16

ในฐานะที เ่ ป็ นนิ ติ บุ ค คลระหว่ า งประเทศ ซึ่ง มี ส ภาพบุ ค คลแยก


ต่างหากจากบรรดารัฐสมาชิกจึงตูองรับผิดในผลของการกระทำา
ดังกล่าวโดยถือเป็ นความรับผิดขององค์การระหว่างประเทศนัน

เอง

2.3 ปั จเจกชนและบริษัทขูามชาติ
1. ตามแนวความคิ ดนั บตั ง
้ แต่เ ดิม ปั จเจกชนเป็ นเพี ยงวัต ถุใ น
กฎหมายระหว่างประเทศ (Objects of International Law) อย่างไร
ก็ตามนับตัง้ แต่ตูนศตวรรษที ่ 20 ปั จเจกชนทีไ่ ดูรับการยอมรับใหู
สามารถมี สิ ท ธิ ใ ชู สิ ท ธิ เ รี ย กรู อ งในทางระหว่ า งประเทศและมี
ความรับผิดโดยตรง ตามกฎหมายระหว่างประเทศบางประการ
แต่มีขอบเขตทีจ
่ ำากัดอย่างมาก
2. มี ห ลั ก ฐานที แ
่ สดงถึ ง การยอมรั บ ว่ า ปั จเจกชนตู อ งรั บ ผิ ด
โดยตรงในการกระทำาบางอย่างทีเ่ ป็ นการละเมิดกฎหมายระหว่าง
ประเทศ
3. บรรษัทขูามชาติแมูจะมีบทบาทในสังคมระหว่างประเทศ คง

มีสถานะเป็ นเพียงบุคคลตามกฎหมายภายในเท่านัน

2.3.1 สถานะของปั จเจกชนตามกฎหมายระหว่างประเทศ


ศาลอาญาระหว่ า งประเทศมี ข อบเขตอำา นาจเพี ย งใดตาม
ธรรมน้ญกรุงโรมว่าดูวยศาลอาญาระหว่างประเทศ
ตามขู อ บทที ่ 5 แห่ ง ธรรมน้ ญ กรุ ง โรมว่ า ดู ว ยศาลอาญา
ระหว่ างประเทศ ศาลอาญาระหว่า งประเทศมี เ ขตอำา นาจเหนื อ
ปั จเจกชน มิไดูมีเขตอำานาจเหนือรัฐหรือองค์การระหว่างประเทศ
17

และมี เ พี ย งเขตอำา นาจเหนื อ อาชญากรรม 4 ประเภท ตามที ่


กำา หนดไวู ใ นธรรมน้ ญ ศาลอาญาระหว่ า งประเทศ ซึ่ ง ไดู แ ก่
อาชญากรรมฆ่ า ลู า งเผ่ า พั น ธ์ุ อาชญากรรมต่ อ มนุ ษ ยชาติ
อาชญากรรมสงคราม และอาชญากรรมรุกรานเท่านัน

2.3.2 สถานะของบริษัทขูามชาติตามกฎหมายระหว่าง
ประเทศ
บรรษัทขูามชาติมีสถานะเป็ นบุคคลในกฎหมายระหว่าง
ประเทศหรือไม่
บรรษั ทขู ามชาติ แ มู จ ะมี ส่ ว นร่ ว มในสั ง คมระหว่ า งประเทศ
แต่รัฐต่างๆก็ยังไม่ใหูการยอมรับว่าเป็ นบุคคลในกฎหมายระหว่าง
ประเทศ และไม่สามารถใชูสิทธิเรียกรูองในทางระหว่างประเทศ
ไดูโดยตรง แต่ยังคงตูองอาศัยความคูุมครองทางการท้ตจากรัฐ
ซึง่ บรรษัทขูามชาตินัน
้ ถือสัญชาติ

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 2
1. องค์ประกอบสำาคัญของรัฐในกฎหมายระหว่างประเทศไดูแก่ รัฐบาล
การใชู อำา นาจปกครองประชาชนอย่ า งแทู จ ริ ง ดิ น แดน และเอกราช
อธิปไตย
2. รัฐมีนิติฐานะเป็ นนิติบุคคลระหว่างประเทศเมื่อ เกิดขึน
้ มาพรูอมกับ
เมื่อรัฐนัน
้ มีองค์ประกอบทีส
่ ำา คัญครบถูวนตามหลักของกฎหมายระหว่าง
ประเทศ
3. การรับรองรัฐตามหลักของกฎหมายระหว่างประเทศคือ การกระทำา
เช่น รัฐอืน
่ ๆ ใหูการรับรองอย่างเป็ นลายลักษณ์อักษรหรือโดยพฤตินัย
18

4. เมื่อรัฐไดูรับการรับรองจะเกิดผลตามกฎหมายระหว่า งประเทศคือ
รั ฐ นั ้ น มี ค วามสามารถที ่จ ะดำา เนิ น การเกี ่ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
ประเทศไดูอย่างสมบ้รณ์
5. ตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยการสืบสิทธิของรัฐต่อสนธิสัญญา
เมื่อดินแดนทีเ่ คยเป็ นอาณานิค มไดูเป็ นเอกราชและเป็ นรั ฐที เ่ กิ ด ใหม่ รัฐ
ใหม่ ไ ม่ จำา เป็ นที จ
่ ะตู อ งสื บ สิ ท ธิ สนธิ สัญ ญาที ร
่ ั ฐ แม่ ไ ดู ทำา ไวู เพราะรั ฐ ไม่
อาจถ้กผ้กพันไดูจากสนธิสัญญาทีต
่ นเองไม่ไดูใหูความยินยอม
6. ตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยการสืบสิทธิของรัฐต่อสนธิสัญญา
เมือ
่ รัฐผู้สืบสิทธิเห็นว่าสนธิสัญญากำาหนดเสูนเขตแดนซึ่งรัฐแม่เป็ นผู้ทำาไวู
ไม่ ใ หู ค วามเป็ นธรรมแก่ ต น รั ฐ ผู้ สื บ สิ ท ธิ จ ะตู อ งดำา เนิ น การ สื บ สิ ท ธิ
เขตแดนทีม
่ ีผลสืบเนื่องมาจากการทำา สนธิสัญญากำา หนดเสูนเขตแดนนัน

ของรัฐแม่แลูวจึงขอเจรจากับรัฐเพือ
่ นบูานภายหลัง
7. องค์การระหว่างประเทศมีความหมายอย่างแคบคือ องค์การระหว่าง
ประเทศระดับรัฐบาลซึง่ เป็ นนิติบุคคลระหว่างประเทศตัง้ ขึน
้ โดยรัฐ เพือ
่ ใหู
ดำาเนินงานตามวัตถุประสงค์ทีธ
่ รรมน้ญก่อตัง้ องค์การไดูกำาหนดไวู
8. การใชูอำานาจหนูาทีข
่ ององค์การระหว่างประเทศโดยทัว
่ ไปจะตูองอย่้
ภายในกรอบ ของบทบั ญ ญั ติ ข องรั ฐ ธรรมน้ ญ ก่ อ ตั ้ ง องค์ ก ารระหว่ า ง
ประเทศนั ้น และภายในขอบเขตที เ่ ป็ นประโยชน์ ต่ อ การดำา เนิ น งานของ
องค์การระหว่างประเทศนัน

9. รัฐเป็ นบุคคลระหว่างประเทศทีม
่ ีสิทธิและหนูา ทีท
่ ีส
่ มบ้รณ์ทีส
่ ุดตาม
กฎหมายระหว่ า งประเทศ องค์ ก ารระหว่ า งประเทศเป็ นบุ ค คลระหว่ า ง
ประเทศอั น ดั บ รอง ซึ่ง รั ฐ สรู า งขึ้น เพื่อ ร่ ว มดำา เนิ น กิ จ การในสาขาต่ า งๆ
ตามทีไ่ ดูกำาหนดไวูล่วงหนูา
10. รัฐมีองค์ประกอบสำาคัญในกฎหมายระหว่างประเทศคือ มี
รัฐบาลซึ่งใชูอำา นาจอย่างแทูจริงเหนือประชาชนและดินแดนซึ่งมีเอกราช
และอธิปไตย
19

11. สถานะของการเป็ นบุคคลระหว่างประเทศของรัฐ เกิดขึน



เองเมือ
่ รัฐมีองค์ประกอบครบถูวนตามกฎหมายระหว่างประเทศ
12. การรั บ รองของรั ฐ อาจกระทำา ไดู โ ดยวิ ธี รั ฐ อื่น ๆ เป็ นผู้
ใหู ก ารรั บ รองโดยอาจใหู ก ารรั บ รองเป็ นลายลั ก ษณ์ อั ก ษร หรื อ ใหู ก าร
รับรองโดยพฤตินัย
13. การรั บ รองรั ฐ มี ผ ลคื อ รั ฐ ที ่ไ ดู รั บ การรั บ รองมี ค วาม
สามารถที จ
่ ะดำา เนิ น การเกี ย
่ วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศไดู อ ย่ า ง
สมบ้รณ์
14. ตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ดู วยการสืบ สิท ธิข องรัฐ ต่อ
สนธิ สั ญ ญา เมื่ อ ดิ น แดนซึ่ ง เคยเป็ นอาณานิ ค มของรั ฐ ก ไดู เ ปลี ่ย น
สถานภาพไปเป็ นรัฐ ข ทีม
่ ีเอกราชและอธิ ปไตย ดั งนี ้ จะมีผ ลต่อ รัฐ ข
ซึ่งเป็ นรัฐเกิดใหม่ คือ รัฐ ข จะตัดสินใจดูวยตนเองว่าสมควรทีจ
่ ะรับสืบ
สิทธิสนธิสัญญาทีร
่ ัฐ ก ไดูทำา ไวูหรือไม่ โดยยึดหลักทีว
่ ่า รัฐเกิดใหม่ย่อม
ปลอดจากพันธกรณีระหว่างประเทศทีต
่ นไม่ไดูใหูความยินยอม
15. ตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ดู วยการสืบ สิท ธิข องรัฐ ต่อ
สนธิ สั ญ ญา เมื่อ มี ก ารสื บ สิ ท ธิ ร ะหว่ า งรั ฐ กล่ า วคื อ รั ฐ ที เ่ กิ ด ขึ้น ใหม่ เ ป็ น
ผู้รับผิดชอบในการดูานความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแทนรัฐเก่า (รัฐแม่)
และเมื่อรัฐทีเ่ กิดใหม่นัน
้ เห็นว่า ตนเป็ นผู้เสียเปรียบในสนธิสัญญากำา หนด
เสูนเขตแดนเดิม รัฐเกิดใหม่จะตูอ งปฏิบัติคือ รับเอาสนธิสัญญากำา หนด
เสูนเขตแดนทีร
่ ัฐแม่ไดูทำาไวูต่อไปก่อน ถึงแมูว่าผลของการรับสนธิสัญญา
นัน
้ จะทำา ใหูตนเสียดินแดนไปก็ตาม แลูวจึงหาทางเจรจากับรัฐเพื่อนบูาน
ในภายหลัง
16. องค์การระหว่างประเทศคือ นิติบุคคลระหว่างประเทศที ่
รั ฐ เป็ นผู้ ร่ ว มก่ อ ตั ้ง ขึ้น เพื่อ ใหู ดำา เนิ น งานตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที ก
่ ำา หนดไวู ใ น
ธรรมน้ญก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศนัน

20

17. องค์ ก ารระหว่ า งประเทศโดยทั่ว ไปอาจใชู อำา นาจหนู า ที ่


เพื่อการบริหารงานภายในขอบเขตคือ (ก) เท่าทีอ
่ ำา นาจนัน
้ ไดูถ้กระบุไ วู
้ ๆ (ข) มากกว่าทีธ
ในธรรมน้ญก่อตัง้ องค์การระหว่า งประเทศนั น ่ รรมน้ญ
ก่ อ ตั ้ง องค์ ก ารระหว่ า งประเทศนั ้น ไดู ร ะบุ ร ายละเอี ย ดไวู โดยมี เ งื่ อ นไข
ว่ า การใชู อำา นาจดั ง กล่ า วจะตู อ งเป็ นประโยชน์ ต่ อ การดำา เนิ น งานของ
องค์การระหว่างประเทศ นัน
้ เอง
18. องค์การระหว่ า งประเทศเป็ น นิติบุคคลระหว่ า งประเทศ
อันดับรอง เมือ
่ เปรียบเทียบกับรัฐ
19. องค์การระหว่างประเทศ ไม่ สามารถใชูสท
ิ ธิเรียกรูองใน
ทางระหว่างประเทศไดูโดยผ่านรัฐสมาชิก

หน่วยที ่ 3 เขตแดนและเขตอำานาจรัฐ

1. เขตแดนของรั ฐ เป็ นการกำา หนดขอบเขตแห่ ง ดิ น แดนของ

แต่ ล ะรั ฐ ที ม
่ ี อำา นาจอธิ ป ไตยเหนื อ ดิ น แดน บุ ค คลและกิ จ การ
ภายในรัฐนัน
้ และแยกจากดินแดนของรัฐอื่นๆ ในประชาคมโลก
ดั ง นั ้น การมี เ ขตแดนที แ
่ น่ น อนจึ ง เป็ นองค์ ป ระกอบที ส
่ ำา คั ญ ของ
การเป็ นรัฐ และเป็ นขอบเขตดินแดนทีร
่ ัฐสามารถใชูอำานาจส้งสุด
แห่ ง อธิ ป ไตยแห่ ง ตนโดยไม่ มี รั ฐ ใดสามารถเขู า มากู า วล่ ว งหรื อ
แทรกแซงไดู
2. เขตแดนของรัฐประกอบดูวยส่วนต่างๆไดูแก่พื้นดิน พืน
้ นำ้า
แม่ นำ้ า ลำา คลอง อั น เป็ นน่ า นนำ้ า ภายใน รวมทั ้ง แม่ นำ้ า ระหว่ า ง
ประเทศในส่วนทีผ
่ ่านดินแดนรัฐนั น
้ ๆ อ่าว และทะเลอาณาเขต
อากาศเหนือพืน
้ ดินและพื้นนำ้าตลอดจนลึกลงไปใตูผิวดินถึงแก่น
โลก นอกจากนัน
้ บางประเทศยั งมี ลัก ษณะทางภ้มิ ศ าสตร์ ทีแ
่ ตก
21

ต่ า งจากดิ น แดนปกติ ซึ่ ง มี ลั ก ษณะดิ น แดนเป็ นหม่้ เ กาะและ


เขตแดนของรัฐทีเ่ ป็ นน่านนำา
้ ของหม่้เกาะดูวย
3. การกำาหนดเขตแดนของรัฐมีทัง้ การกำาหนดเขตแดนทางบก
ทางนำ้า และทางอากาศซึ่งอาจกระทำา ไดูหลายลักษณะเช่น โดย
การตกลงใหู ใ ชู อุ ป สรรคทางธรรมชาติ อั น เป็ นลั ก ษณะทาง
ภ้ มิ ศ าสตร์ เ ป็ นพรหมแดนไดู แ ก่ สั น เขา สั น ปั นนำ้ า ร่ อ งนำ้ า เสู น
กึง่ กลางของลำา นำ้า ทะเลสาบ เกาะ หรือโดยการทำา ความตกลง
กันกำา หนดเสูนเขตแดนโดยผลของสนธิสัญญา หรือโดยผลของ
คำาพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
4. การไดูดินแดนของรัฐมีหลายร้ปแบบ ไดูแก่ การไดูดินแดน
โดยการไดูรับการยกใหูซึง่ ดินแดนจากรัฐอื่น การครอบครองดิน
แดน การงอกขึน
้ ของแผ่นดิน หรือส่วนต่อเนือ
่ งของดินแดน การ
ผนวกดิ น แดนโดยการเขู า ยึ ด ครองโดยสมบ้ ร ณ์ และการไดู ดิ น
แดนโดยการครอบครองปรปั กษ์ สำา หรับการส้ญเสียดินแดนก็มี
หลายลั ก ษณะ ไดู แ ก่ การยกดิ น แดนใหู รั ฐ อื่น การถ้ ก ยึ ด ครอง
โดยสมบ้ ร ณ์ แ ละถ้ ก ผนวกดิ น แดนโดยรั ฐ อื่ น การถ้ ก ปฏิ วั ติ
เปลี ย
่ นแปลงเขตแดน การส้ ญ เสี ย ดิ น แดนโดยถ้ ก ครอบครอง
ปรปั กษ์ การส้ญเสียดินแดนโดยการเปลีย
่ นแปลงทางธรรมชาติ
และการละทิง้ ดินแดน
5. เจตอำา นาจรั ฐ หมายถึ ง อำา นาจตามกฎหมายของรั ฐ เหนื อ
บุคคล ทรัพย์สิน หรือเหตุการณ์ต่างๆ
22

6. เขตอำา นาจรัฐ อาจจำา แนกตามเนื้อหาของอำา นาจไดูเป็ น 2


ประเภทคื อ (1) เขตอำา นาจในการสรู า งหรื อ บั ญ ญั ติ ก ฎหมาย
และ (2) เขตอำานาจในการบังคับการตามกฎหมาย
7. การใชู เ ขตอำา นาจย่ อ มเป็ นไปตามกฎหมายภายในของรั ฐ

แต่ทัง้ นีต
้ ูองอย่้ภายในขอบเขตของกฎหมายระหว่างประเทศดูวย
กล่าวคือ รัฐสามารถใชูเขตอำานาจของตนเหนือบุคคล ทรัพย์สิน
หรือ เหตุก ารณ์ ต่างๆ ตามกฎหมายภายใน โดยมี ก ารเชื่อ มโยง
บางประการ ซึง่ กฎหมายระหว่างประเทศรับรอง
8. เ ข ต อำา นา จ ข อ ง รั ฐ มี ม้ ลฐ าน ม า จ า ก ห ลั ก ก า ร สำา คั ญ 5

ประการ ไดู แ ก่ (1) หลั ก ดิ น แดน Territorial Principle (2) หลั ก


สั ญ ช า ติ National Principle (3) ห ลั ก ผู้ ถ้ ก ก ร ะ ทำา Passive
Personality Principle (4) ห ลั ก ปู อ ง กั น Protective Principle (5)
หลั ก สากล Universality Principle ซึ่ ง แต่ ล ะหลั ก การดั ง กล่ า วมี
สาระสำาคัญทีส
่ นับสนุนการใชูเขตอำานาจรัฐดูวยเหตุผลทีแ
่ ตกต่าง
กัน

3.1 เขตแดนของรัฐ
1. เขตแดนเป็ นเครื่องกำา หนดขอบเขตของดินแดนทีอ
่ ย่้ภายใตู
อำานาจอธิปไตยของรัฐ กำาหนดขอบเขตแห่งการมีสิทธิและหนูาที ่
ระหว่ างประเทศของรั ฐ ในความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ และ
แบ่งแยกอำานาจของรัฐออกจากกันโดยเด็ดขาด เวูนแต่กรณีทีร
่ ัฐ
ต่ า งๆ ไดู แ สดงเจตจำา นงในการใหู ค วามร่ ว มมื อ ระหว่ า งกั น ใน
กรอบของความร่วมมือทีไ่ ดูตกลงระหว่างกันไวู เขตแดนจึงเป็ น
23

ทัง้ เครือ
่ งชีแ
้ สดงและจำากัดขอบเขตการใชูอำานาจอธิปไตยของรัฐ
ในประชาคมระหว่างประเทศ
2. องค์ประกอบของดินแดนของรัฐ คือพืน
้ ดิน ใตูดอน น่านนำ้า
ภายใน ทะเลอาณาเขต และน่ า นฟู าเหนื อ ดิ น แดน น่ า นนำ้ า
ภายในและทะเลอาณาเขต
3. แม่ นำ้ า ลำา คลอง ทะเลสาบ อ่ า วและช่ อ งแคบ ก็ เ ป็ นองค์
ประกอบของเขตแดนของรัฐซึง่ อาจมีลักษณะเป็ นเขตแดนภายใน
ของรัฐ หรือเป็ นเจตแดนระหว่างประเทศไดู
4. รัฐทีม
่ ีลักษณะเป็ นหม่้เกาะ ไดูแก่ รัฐทีม
่ ีดินแดนประกอบไป
ดูวยเกาะหลายเกาะ การกำาหนดขอบเขตของเขตแดนของรัฐนัน

จึ ง แตกต่ า งจากการกำา หนดขอบเขตของเขตแดนของรั ฐ ทั่ว ไป
รวมทั ้ง การกำา หนดน่ า นนำ้ า และทะเลอาณาเขตของเกาะดู ว ย
รัฐชายฝั ่ งทีม
่ ีลักษณะพิเศษทางภ้มิ ศาสตร์ก็จะไดูรับการกำา หนด
เขตแดนทีแ
่ ตกต่างจากหลักเกณฑ์ทัว
่ ไปดูวยเช่นกัน
5. การกำา หนดเสู น เขตแดนของรั ฐ มี ทั ้ง ทางบก ทางนำ้ า และ
ทางอากาศ โดยมั ก จะอาศั ย อุ ป สรรคทางภ้ มิ ศ าสตร์ เ ป็ นแนว
เขตแดน ไดูแก่สันเขา สันปั นนำา
้ แม่นำา
้ ลำานำา
้ ทะเลสาบ ซึง่ แบ่ง
แยกดินแดนของรัฐตามธรรมชาติ ส่วนการกำา หนดเสูนเขตแดน
ทางอากาศมั ก จะเป็ นน่ า นฟู าเหนื อ ขอบเขตอั น เป็ นเสู น เขตแดน
ทางพื้น ดิ น และทะเลอาณาเขต กล่ า วคื อ น่ า นฟู าเหนื อ พื้น ดิ น
น่านนำา
้ ภายใน และทะเลอาณาเขต
6. ขั ้น ตอนและวิ ธี ก ารกำา หนดเสู น เขตแดนกระทำา โดยคณะ
กรรมการปู องกั นเขตแดน คณะกรรมการกำา หนดจุ ดพิ กัด และ
24

คณะกรรมการปั กหลั ก เขต ซึ่ ง มั ก จะเป็ นคณะกรรมการผสม


ประกอบดู ว ยผู้ เ ชี ่ย วชาญทางเทคนิ ค ของภาคี ค่้ สั ญ ญา และ
อำา นาจหนู าที ข
่ องคณะกรรมการทัง้ สามจะเป็ นไปตามที ร
่ ั ฐ ภาคี
กำา หนด โดยทำา ใหู ก ารกำา หนดเสู น เขตแดนเป็ นไปตามที ภ
่ าคี ค่้
สัญญาไดูตกลงกันไวู

3.1.1 แนวความคิดความหมาย และความสำาคัญของเขต


อำานาจรัฐ
อธิบายแนวคิดและความหมายของเขตแดนของรัฐ
เขตแดนเป็ นเครื่องกำา หนดขอบเขตของดินแดนทีอ
่ ย่้ภายใตู
อำา นาจอธิ ป ไตยของรั ฐ เขตแดนจึ ง เป็ นทั ้ง เครื่ อ งชี แ
้ สดง และ
จำากัดขอบเขตการใชูอำานาจอธิปไตยของรัฐในประชาคมระหว่าง
ประเทศ

เขตแดนมีความสำาคัญอย่างไร
ก ารมี เ ข ตแ ดนที ่แ น่ น อนขอ งรั ฐ มี ค วามสำา คั ญอ ย่ าง ยิ ่ ง
เนื่องจากเป็ นองค์ประกอบอันบ่งชีถ
้ ึงการมีสภาพการเป็ นรัฐ ไม่
ว่ ารัฐ นัน
้ จะมีเ ขตแดนขนาดเล็ก หรื อใหญ่ก็ ตาม เสู นเขตแดนจึ ง
เป็ นสิ ่ง ที ่กำา หนดขอบเขตแห่ ง การมี สิ ท ธิ แ ละหนู า ที ่ร ะหว่ า ง
ประเทศของรั ฐ ในความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ กฎหมาย
ระหว่ า งประเทศไดู รั บ รองถึ ง อำา นาจอธิ ป ไตยภายในกรอบแห่ ง
เขตแดนของรัฐนัน
้ ๆ ดังนัน
้ ไม่ว่าบุคคลใดๆ ทรัพย์สิง่ ของวัตถุสิง่
ใดเมือ
่ เขูาไป หรืออย่้ภายในเขตแดนของรัฐใดย่อมตูองอย่้ภายใตู
อำานาจอธิปไตยของรัฐนัน
้ ตลอดจนเคารพต่อกฎหมายของรัฐนัน

25

อธิบายหลักกฎหมายว่าดูวยการแบ่งแยกอำานาจอธิปไตย
แห่งดินแดน
ดิ น แดนหนึ่ ง หรื อ ดดิ น แดนเดี ย วกั น ย่ อ มมี อำา นาจอธิ ป ไตย
เพี ย งหนึ่ง เดี ย ว เหนื อ ดิ น แดนนั ้น เนื่อ งจากเขตแดนทำา ใหู มี ก าร
แบ่ งแยกอำา นาจของรั ฐ ออกจากกั น เด็ ด ขาด และรั ฐ มี อำา นาจใน
การใชูอธิปไตยแห่งตนโดยสมบ้รณ์เวูนแต่กรณีทีร
่ ัฐต่างๆไดูแสดง
ความจำา นงในการใหูความร่วมมือระหว่างกันในกรอบของความ
ร่วมมือทีไ่ ดูตกลงระหว่างกั นไวูหรือการยอมรั บใหูสิทธิ พิเ ศษซึ่ง
กั น และกั น บ าง ปร ะก ารแก่ รั ฐที ่ เ ป็ นค่้ ภาคี ค ว าม ตก ลง นั ้ น ๆ
นอกจากนัน
้ อาจจะปรากฏว่ามีการแบ่งแยกอำานาจอธิปไตยเหนือ
ดิ นแดนนัน
้ หรื อมี รัฐ มากกว่ า รั ฐ หนึ่ง ใชู อำา นาจอธิ ป ไตยเหนื อ ดิ น
แดนนั น
้ ๆ แลู วแต่ ก รณี ไม่ว่ า เป็ นการชั่ว คราวหรื อ ถาวร ไม่ ว่ า
โดยผลของความตกลงระหว่างกันในลักษณะทวิภาคี หรือโดยผล
ของสนธิสัญญาพหุ ภาคี หรือโดยผลของมติส หประชาชาติห รือ
องค์ ก ารระหว่ า งประเทศอื่ น ใด เช่ น การใหู เ ช่ า ดิ น แดน การ
ปกครองร่ ว มกั น ตามหลั ก คอนโดมี เ นี ย ม ดิ น แดนภายใตู ภ าวะ
ทรัสตี เป็ นตูน

3.1.2 องค์ประกอบของดินแดนของรัฐ
อธิ บ ายความแตกต่ า งที ่สำา คั ญ ของ Innocent Passage กั บ
Transit Passage ของเรือหรืออากาศยานทีเ่ ดินเรือหรือบินผ่านช่อ
แคบ
26

ความแตกต่างทีส
่ ำาคัญของการเดินเรือ หรือการบินผ่านโดย
สุ จ ริ ต กั บ สิ ท ธิ ก ารบิ น ผ่ า นชั่ว คราวของเรื อ หรื อ อากาศยานที ่
เดินเรือ หรือบินผ่านช่องแคบจำาแนกไดูดังต่อไปนี ้

การเดินเรือผ่านโดยสุจริต ่ คราว (Transit


สิทธิการผ่านชัว
(Innocent Passage) Passage)
**อากาศยานไม่ มี สิ ท ธิ บิ น ผ่ า น **ทั ้ ง เ รื อ แ ล ะ อ า ก า ศ ย า น
ช่ อ แคบในลั ก ษณะของการบิ น สามารถเดิ น เรื อ และบิ น ผ่ า น
โดยสุจริตโดยเด็ดขาด ช่องแคบชัว
่ คราวโดยสุจริตไดู
**เ รื อ ดำา นำ้ า ตู อ ง ล อ ย ลำา ขึ้ น **เรือดำานำา
้ สามารถดำานำ้าอย่้ใตู
เหนือผิวนำา
้ ผิวนำา
้ เมือ
่ ผ่านช่องแคบ
**ใ น บ า ง ก ร ณี ห รื อ ภ า ย ใ ตู **ไม่ มี ก ารใชู สิ ท ธิ ระงั บ ยั บ ยั ้ง
สถานการณ์ทีจ
่ ำาเป็ น รัฐชายฝั ่ ง หรื อ หยุ ด การเดิ น เรื อ หรื อ บิ น
เจู า ของช่ อ งแคบอาจจะขอใหู ผ่านช่องแคบโดยสุจริตไดู
ระงับ ยับยัง้ การเดินเรือผ่านไดู

อธิบายคำา ว่า นโยบาย “ฟูาเปิ ด” (Open Skies) หมายความ


ว่าอย่างไร
นโยบายฟูาเปิ ด (Open Skies) หมายถึงหลักการในการทีร
่ ัฐ
ต่างๆ จะผ่อนคลายกฎระเบียบทีก
่ ำาหนดเกีย
่ วกับการบิน และใหู
เสรีภาพในการบินมากขึน
้ ทัง้ นีเ้ ป็ นไปตามวิวัฒนากาเทคโนโลยี
และความกูาวหนูาทางการพาณิชย์ทีม
่ ีความจำา เป็ นใหูมีการเปิ ด
น่านฟูาของรัฐต่างๆ เพือ
่ การบินระหว่างประเทศของอากาศยาย
พาณิชย์มากขึน
้ มิใหูเป็ นอุปสรรคของการติดต่อคูาขาย และการ
27

ใหู บ ริ ก ารทางการบิ น ระหว่ า งประเทศ ซึ่ง เดิ ม ที นั ้น อากาศยาน


เป็ นสิง่ ทีน
่ ่ากลัว และถือเป็ นอาวุธสงคราม ไม่อาจจะใหูมีการบิน
ผ่านเขตแดนไดูโดยเสรี ทัง้ นีด
้ ูวยเหตุผลเกีย
่ วกับความปลอดภัย
ของรัฐต่างๆ นัน
่ เอง

3.1.3 การกำาหนดเสูนเขตแดนของรัฐและขัน
้ ตอนการปั กปั น
เขตแดน
อธิบายวิธีการกำาหนดเสูนเขตแดนทางบก ทางนำ้า และทาง
อากาศ และการตกลงกำาหนดอุปสรรคทางธรรมชาติใหูเป็ นเสูน
เขตแดนของรัฐ
ลั ก ษณะการกำา หนดเสู น เขตแดนของรั ฐ มี ส องลั ก ษณะ
ลักษณะแรกคือการกำาหนดเสูนเขตแดนของรัฐทีก
่ ำาหนดในแผนที ่
โดยอาศัยการกำา หนดจุดพิกัดทางภ้มิศาสตร์ แลูวกำา หนดลงบน
แผนที ่ เป็ นการกำาหนดจุดเพือ
่ การลากเสูนสมมติทีล
่ ากขึน
้ มาเพือ

กำา หนดเสู น ของรั ฐ บนผื น โลก เพื่อ แบ่ ง แยกดิ น แดนของรั ฐ หนึ่ง
ออกจากดินแดนของรัฐอีกรัฐหนึง่ ใหูเห็นชัดเจนลงบนแผนที ่ อีก
ลั ก ษณะหนึ่ ง คื อ การกำา หนดเขตแดนตามธรรมชาติ (Natural
Boundaries) กล่าวคือเป็ นการกำา หนดเขตแดนโดยอาศัยอุปสรรค
ทางธรรมชาติเช่น แม่นำ้า ทะเล ภ้เขา ทะเลสาบ และยังจำา เป็ น
จะตูองกำาหนดเสูนเขตแดนทีช
่ ัดเจนแน่นอนลงไปบนพืน
้ ทีจ
่ ริงแห่ง
ดินแดนนัน
้ ๆ มีการกำาหนดหลักเขต มีการปั กหลักเขตลงบนพืน

ดิ น เพื่อ กำา หนดเขตแดนที แ
่ ทู จ ริ ง และการกระทำา ดั ง กล่ า วย่ อ ม
ตูองอาศัยคณะกรรมการร่วมหลายฝ่ ายเป็ นผู้ดำา เนินการ ซึง่ เริม

28

ตั ง้ แต่ ก ารแต่ ง ตั ง้ คณะกรรมการปั กปั นเขตแดน คณะกรรมการ


กำาหนดจุดพิกัด และคณะกรรมการปั กหลักเขต
(1) การกำาหนดเสูนเขตแดนทางบก การกำาหนดเสูนเขตแดน

ทางบกมั ก จะอาศั ย อุ ป สรรคทางภ้ มิ ศ าสตร์ เ ป็ นแนวเขตแดน


ไดูแก่ สันเขา สันปั นนำ้า เป็ นตูน เขตแดนทีเ่ ป็ นภ้เขา หรือภ้เขา
เขตแดน (Mountain Boundaries) นั ้น ถื อ ว่ า เป็ นเขตแดนที ม
่ ี ค วาม
ถาวร โดยทัว
่ ไปเขตแดนทางบกจึงมักจะเป็ นไปตามแนวเทือกเขา
ซึง่ อาศัยเป็ นเครื่องกัน
้ พรหมแดนระหว่างประเทศหรือระหว่างรัฐ
แต่ ใ นกรณี ที ่เ ป็ นแนวเทื อ กเขาซึ่ ง มี ลั ก ษณะสลั บ ซั บ ซู อ น มี
โ ค ร ง ส รู า ง ส ลั บ ซั บ ซู อ น ก า ร กำา ห น ด จุ ด แ บ่ ง เ ข ต แ ด น
(Delimitation) จะตู อ งตกลงกั น ใหู แ น่ น อน และพิ จ ารณาว่ า จะใชู
จุดใด เช่น ตำา แหน่งของสันเขาซึ่งเป็ นจุดส้งสุดของสันเขา (The
highest Peaks หรือ Crete) ซึง่ นิยมใชูสันเขาในกรณีทีม
่ ีแนวเขาต่อ
เนื่องอย่้ บนพื้นทีภ
่ าคี ค่้ สั ญ ญา โดยใชู ยอดส้ ง สุ ด ของเขานั น
้ เป็ น
หลั ก เพื่ อ ลากเสู น เขตแดนเชื่ อ มต่ อ กั น หรื อ จะใชู สั น ปั นนำ้ า
(Watershed) ซึง่ หมายถึงแนวสันเขาบริเวณทีแ
่ บ่งนำ้าใหูไหลลงลาด
เขาไปยังทีล
่ ุ่มนำา
้ ของทัง้ สองฝั ่ งฟากของเขานัน

(2) การกำาหนดเสูนเขตแดนทางนำ้า การกำาหนดเสูนเขตแดน

ทางนำา
้ มักจะอาศัย แม่นำา
้ ลำานำ้า ทะเลสาบ ซึง่ แบ่งแยกเขตแดน
ของรั ฐ ตามธรรมชาติ การกำา หนดเสู น เขตแดนอาจจะอาศั ย ฝั ่ ง
ของรัฐใดรัฐหนึง่ เป็ นเขตแดน หรือใหูฝั่งของแต่ละรัฐเป็ นเขตแดน
หรื อ ใหู ใ ชู จุ ด กึ่ง กลางลำา นำ้า เป็ นเขตแดน หรื อ อาจกำา หนดใหู ใ ชู
29

ร่องนำา
้ ลึกเป็ นเสูนแบ่งเขตแดน แลูวแต่กรณี ซึง่ เป็ นไปตามความ
ตกลง หรือตามคำาพิพากษาของศาลระหว่างประเทศ
(3) การกำาหนดเสูนเขตแดนทางอากาศ การกำาหนด
เสู น เขตแดนทางอากาศมั ก จะเป็ นไปตามขอบเขตอั น เป็ นเสู น
เขตแดนทางพืน
้ ดิน และทะเลอาณาเขต กล่าวคือน่านฟูาเหนือ
พื้น ดิ น น่ า นนำ้ า ภายในและทะเลอาณาเขต และย่ อ มมี อำา นาจ
อธิปไตยในน่านฟูาเหนือดินแดนของรัฐ แต่ตูองเคารพหลักการ
บินผ่านของอากาศยานของรัฐอืน
่ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ

อธิ บ ายขั ้น ตอนและการกำา หนดเสู น เขตแดนของรั ฐ และ


อธิ บ ายถึ ง บทบาทและหนู า ที ่ข องคณะกรรมการปั กปั นเสู น
เขตแดน คณะกรรมการกำา หนดจุดพิกัด และคณะกรรมการปั ก
หลักเขต ในการกำาหนดเสูนเขตแดน
ขั ้น ตอนและวิ ธี ก ารกำา หนดเสู น เขตแดนกระทำา โดยคณะ
ก ร ร ม ก า ร ปั ก ปั น เ ข ต แ ด น (Delimitation Commission) ค ณ ะ
กรรมการกำา หนดจุ ด พิ กั ด (Demarcation Commission) และคณะ
กรรมการปั กหลักเขต ซึง่ มักจะเป็ นคณะกรรมการผสมประกอบ
ดูวยผู้เชีย
่ วชาญทางเทคนิคของภาคีค่้สัญญา และอำา นาจหนูาที ่
ของคณะกรรมการทั ้ง สามจะเป็ นไปตามที ร
่ ั ฐ ภาคี กำา หนด โดย
ทำาใหูการกำาหนดเสูนเขตแดนเป็ นไปตามทีภ
่ าคีค่้สัญญาไดูตกลง
กั น ไวู ทั ง้ นี เ้ นื่อ งจากความตกลงกำา หนดเสู น เขตแดนมั ก จะระบุ
หลักการในการทีร
่ ัฐแต่ละฝ่ ายจะตูองกระทำาในการปั กหลักเขตไวู
เท่ า นั ้น แต่ ก ารกำา หนดเสู น เขตแดนที ถ
่ ้ ก ตู อ งลงบนพื้น ที จ
่ ริ ง จะ
ตูองมีการกระทำาอย่างละเอียดทัง้ ในแง่เทคนิค วิทยาการ ความ
30

แม่นยำาของตำาแหน่ง เช่นในการกำาหนดจุดพิกัดทางภ้มิศาสตร์จะ
ตูองมอบใหูคณะกรรมการไปดำาเนินการจัดทำาระบนเสูนเขตแดน
ใหูถ้กตูองตามภ้มิศาสตร์ ภ้มิประเทศ และสภาพในทูองถิน

บทบาทและอำานาจหนูาทีข
่ องคณะกรรมการทัง้ สามมีดังต่อ
ไปนีค
้ ือ
(1) ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ปั ก ปั น เ ข ต แ ด น เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ผ ส ม

ประกอบดู ว ยผู้ เ ชี ย
่ วชาญทางกฎหมายและคณะกรรมการทำา
แผนที ่ ซึง่ รัฐบาลทัง้ สองฝ่ ายเป็ นผู้แต่งตัง้ ขึน
้ คณะกรรมการร่วม
นีม
้ ีหนูาทีส
่ ำารวจและดำาเนินการปั กปั นเสูนเขตแดนลงบนพืน
้ ทีจ
่ ริง
โดยอาศั ย การเดิ น สำา รวจเพื่ อ ตรวจสอบความถ้ ก ตู อ งแลู ว ทำา
เครื่ อ งหมาย หรื อ ปั กหลั ก เขตชั่ว คราว เพื่ อ ใหู ค ณะกรรมการ
ปั กปั นเสูนเขตแดนจะตูองยึดถือหลั กบทบั ญญั ติข องความตกลง
กำาหนดเสูนเขตแดน หรือคำาพิพากษาของศาลเป็ นพืน
้ ฐานในการ
ดำา เนินงานของตน และในความเป็ นจริง คณะกรรมการอาจจะ
ตูองปรับเสูนเขตแดนใหูเป็ นไปตามสภาพภ้ มิศ าสตร์ ทีแ
่ ทูจ ริง ใน
ทุ ก กรณี และคำา นึ ง ถึ ง สภาพความเป็ นจริ ง แห่ ง บ้ ร ณภาพของ
ชุมชน แหล่งกสิกรรม หรือความเป็ นอย่้ในพืน
้ ทีจ
่ ริง สภาพทาง
สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา
(2) คณะกรรมการกำา หนดจุ ด พิ กั ด มี หนู าที ่ รั บ
ขูอม้ลจากคณะกรรมการปั กปั นเสูนเขตแดน เพือ
่ กำาหนดจุดพิกัด
ลงบนแผนทีใ่ หูแน่นอน
(3) คณะกรรมการปั กปั นหลักเขต มีหนูาทีท
่ ำา หลัก
เขตถาวรลงบนพื้ น ดิ น จั ด ทำา บั น ทึ ก รายละเอี ย ดเกี ย
่ วกั บ เสู น
31

เขตแดนเป็ นลายลั ก ษณ์ อั ก ษร จั ด เตรี ย มการพิ ม พ์ แ ผนที ่ ออก


ตรวจ ด้แล หรือซ่อมแซมหลักเขตทีช
่ ำารุด หรือส้ญหายตามแต่ที ่
รัฐจะทำาความตกลงเป็ นครัง้ คราว

3.1.4 การไดูมาและการส้ญเสียดินแดนของรัฐ
อธิบายองค์ประกอบทีส
่ ำา คัญของการไดูดินแดนมาโดยการ
ครอบครอง Occupation
การครอบครอง (Occupation) นัน
้ หมายถึงการกระทำาของรัฐ
ใดรัฐหนึง่ ในการเขูายึดครองเอาดินแดนใดดินแดนหนึง่ โดยจงใจ
ทีจ
่ ะไดูมาซึ่งอำา นาจอธิปไตยเหนือดินแดนนัน
้ ๆ ในลักษณะทีด
่ ิน
แดนนัน
้ ในขณะนัน
้ ไม่ไดูอย่้ในอธิปไตยแห่งรัฐใดเลย โดยลักษณะ
นี ก
้ ารครอบครองจึ ง เป็ นร้ ป แบบดั ้ง เดิ ม ของการไดู ม าซึ่ง อำา นาจ
อธิปไตย (An original mode of acquisition of sovereignty ) และไม่
ถือว่าเป็ นการไดูมาซึง่ อำานาจอธิปไตยจากรัฐอืน
่ การครอบครอง
สามารถกระทำา ไดู แ ต่ โ ดยรั ฐ และเพื่ อ รั ฐ เท่ า นั ้ น และจะตู อ ง
เป็ นการกระทำา ของรั ฐ หรื อ กระทำา ในการปฏิ บั ติ ก ารของรั ฐ
เท่ า นั ้น หรื อ รั ฐ ตู อ งเขู า รั บ เอาการปฏิ บั ติ ก ารนั ้น ๆว่ า เป็ นการ
ก ร ะ ทำา โ ด ย รั ฐ (it must be acknowledged by a state after its
performance)
ดิ น แดนที จ
่ ะถ้ ก ครอบครองไดู ไดู แ ก่ ดิ น แดนซึ่ง ยั ง ไม่ เ ป็ น
ของรัฐใด ทีเ่ รียกว่าดินแดนทีไ่ ม่มีใครเป็ นเจูาของ (Terra Nullius)
หรือ สิง่ ทีไ่ ม่มีใครเป็ นเจู าของ (Res nullius) ไม่ว่าจะมีประชากร
อย่้ อ าศั ย หรื อ ไม่ ก็ ต าม และหากเป็ นประชาคมแลู ว ก็ ไ ม่ ตู อ งมี
ลักษณะเป็ นรัฐ
32

องค์ประกอบของการครอบครองมีสามประการคือ 1. ไดูมี
การครอบครองอย่ างแทู จริ ง เหนื อ ดิ น แดน 2. ไดูมีก ารสถาปนา
้ ๆ 3. ไดูกระทำา ในนามของ
ระบอบการปกครองเหนือดินแดนนัน
ประเทศทีไ่ ดูมาซึง่ การครอบครองดินแดนนัน
้ ซึง่ ตูองเป็ นไปอย่าง
แทู จ ริ ง (Real Occupation) หากภายในระยะเวลาหนึ่ง รั ฐ ที ค
่ รอบ
ครองไม่ ส ามารถสถาปนาระบอบการปกครอง หรื อ ใชู อำา นาจ
อธิ ป ไตยเหนื อ ดิ น แดนนั ้น ไดู ก็ เ รี ย กว่ า ไม่ มี ก ารครอบครองที ม
่ ี
ประสิ ท ธิ ผ ล หรื อ ไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการครอบครอง (No
effective Occupation) รัฐนัน
้ ย่อมไม่ไดูไปซึง่ ดินแดน

อธิ บ ายความแตกต่ า งระหว่ า งการครอบครองปรปั กษ์


(Prescription) ตามกฎหมายโรมัน และกฎหมายระหว่างประเทศ
ความแตกต่างระหว่างการครอบครองปรปั กษ์ (Prescription)
ตามกฎหมายโรมัน และกฎหมายระหว่างประเทศนัน
้ แตกต่างกัน
ในส่ ว นที ่เ กี ่ย วกั บ เจตนาสุ จ ริ ต ในการครอบครอง (Bona fide
Possession) ตามกฎหมายโรมัน แต่ตามกฎหมายระหว่างประเทศ
การครอบครองปรปั กษ์อาจจะกระทำาไดูทัง้ โดยสุจริตและไม่สุจริต
(Mala fide) ตามกฎหมายโรมันการครอบครองจะตูองกระทำาเป็ น
ระยะเวลาเนิน
่ นานนับตัง้ แต่บรรพกาล ส่วนตามกฎหมายระหว่าง
ประเทศ เป็ นทีย
่ อมรับกันว่าไม่มีกำา หนดทีแ
่ น่นอน แต่ใหูมีระยะ
เวลาที เ่ นิ น
่ นานพอสมควรที จ
่ ะมี อิ ท ธิ พ ล หรือ เป็ นส่ ว นหนึ่ง แห่ ง
วิวัฒนาการของดินแดนส่วนนัน

33

หลั ก กฎหมายว่ า ดู ว ยการครอบครองดิ น แดน และการ


กำาหนดเสูนเขตแดน ตามหลักทีเ่ รียกว่า Uti possidetis มีลักษณะ
อ ย่ า ง ไ ร แ ล ะ แ ต ก ต่ า ง กั บ ห ลั ก “ Usucapio ห รื อ Usucaptio”
อย่างไร
หลั ก กฎหมายว่ า ดู ว ยการครอบครองดิ น แดน และการ
กำา หนดเสู น เขตแดน ตามหลั ก ที เ่ รี ย กว่ า Uti possidetis หรื อ มี
ลั ก ษ ณ ะ แ ต ก ต่ า ง กั บ ห ลั ก “ Usucapio ห รื อ Usucaptio ห รื อ
Usucaption” ดังนี ้ หลักการครอบครองตามหลัก Uti possidetis ซึง่
เป็ นห ลั ก เก ณฑ์ ก าร ค รอ บ ค รอ ง ที ่ ย อ ม รั บ โ ด ยก ลุ่ ม ป ร ะเ ทศ
สาธารณรัฐสเปนอเมริกัน (Spanish-American Republics) ซึง่ หมาย
ถึงกลุ่มประเทศทีเ่ คยเป็ นเมืองขึน
้ ของสเปนในอเมริกากลางหรือ
แอฟริกาใตู การครอบครองตามหลักดังกล่าวไดูวิวัฒนาการมา
เป็ นกฎหมายระหว่ า งประเทศ ที ห
่ มายถึ ง การที ค
่ ่้ ภ าคี ใ นสนธิ
สั ญ ญาฝ่ ายหนึ่ ง แมู โ ดยการใชู กำา ลั ง และไดู ชั ย ชนะตั ้ ง แต่ ใ น
ระหว่างคราม และต่อมาเมื่อสงครามไดูยุติลงแลูว สนธิ สัญ ญา
สันติภาพทีก
่ ระทำาการยุติสงครามดังกล่าว อาจจะยอมรับผลของ
สนธิ สัญ ญาที ก
่ ระทำา ขึ้น เดิ ม ที ไ ดู มี ก ารแสดงการครอบครองดิ น
แดนโดยรัฐทีม
่ ีชัยชนะเหนือดินแดนของอีกฝ่ ายหนึง่ ดังกล่าว และ
บั ง คั บ ก า ร ใ หู เ ป็ น ไ ป ต า ม ค ว า ม ต ก ล ง นั ้ น ๆ เ ดิ ม ที ห ลั ก Uti
possidetis ถ้กนำา มาใชูในช่วงประกาศอิสรภาพของรัฐอาณานิคม
ต่างๆ ซึง่ หมายถึงหลักการยอมรับเขตแดนอย่างทีเ่ ป็ นอย่้ในขณะ
ที ป
่ ระเทศที เ่ คยเป็ นอาณานิ ค มนั ้น ๆ ไดู รั บ เอกราช ซึ่ง เป็ นการ
แกูไขปั ญหาเรือ
่ งเสูนเขตแดนของรัฐระหว่างรัฐทัง้ หลายทีเ่ คยตก
34

เป็ นอาณานิ ค มของประเทศเจู า อาณานิ ค มต่ า งๆ เมื่ อ ไดู รั บ


เอกราชก็มีการขัดแยูงกันเกีย
่ วกับเสูนเขตแดนทีม
่ ีการกำาหนดกัน
ใหม่เพื่อแบ่งเขตแดนของรัฐใหม่เหล่านี ้ ดังนัน
้ เขตแดนทีเ่ ป็ นอย่้
อย่ า งไรในขณะไดู รั บ เอกราชของแต่ ล ะรั ฐ ก็ ใ หู ค งเป็ นเช่ น นั ้น
สำา หรั บ เขตแดนของรั ฐ อิ ส ระใหม่ นั ้น ดั ง นั ้น หลั ก เกณฑ์ นี จ
้ ึ ง มี
่ ีการยอมรับหลัก Uti Possidetis
ความสำา คัญมาก และโดยเหตุทีม
นีเ้ องทำา ใหูไม่มีดินแดนทีไ่ ม่มีเจูาของในขณะนัน
้ ในดินแดนส่วน
นัน
้ ๆ ทีเ่ คยเป็ นเจูาของอาณานิคมมาก่อน
ส่ ว นหลั ก การครอบครองที ่ว่ า “Usucapio หรื อ Usucaptio
หรือ Usucaption” ซึง่ มีความหมายถึงการไดูดินแดนมาจาก “การ
ไดูใชู” หรือ “ไดูครอบครองทำาประโยชน์” เหนือดินแดนนัน
้ เป็ น
เวลานาน ต่อเนือ
่ งกันโดยไม่มีการขัดขวาง และจำาเป็ นตูองครอบ
ครองนานนับตัง้ แต่บรรพกาล (Immemmorial) และมีเจตนาสุจริต
ในการครอบครอง (Bonna fide Possession) อัน เป็ นองค์ ป ระกอบ
ในการครองครองปรปั กษ์ตามกฎหมายโรมันนัน
่ เอง

3.2 เขตอำานาจรัฐ
1. เขตอำา นาจรัฐ หมายถึง อำา นาจตามกฎหมายของรัฐเหนือ

บุคคล ทรัพย์สิน หรือเหตุการณ์ต่างๆ โดยอาจแบ่งเขตอำา นาจ


รั ฐ ตามเนื้อ หาของอำา นาจออกเป็ น 1) เขตอำา นาจในการสรู า ง
หรือบัญญัติกฎหมาย และ 2) เขตอำา นาจในการบังคับการตาม
กฎหมาย
35

2. รั ฐ อ า จ ใ ชู อำา นา จ ข อ ง ต นเ ห นื อ บุ ค ค ล ทรั พย์ สิ น ห รื อ


เหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ ตามกฎหมายภายในโดยมี ก ารเชื่ อ มโยงบาง
ประการตามกฎหมายระหว่างประเทศ
3. ตามหลั ก ดิ น แดน รั ฐ มี เ ขตอำา นาจที ส
่ มบ้ ร ณ์ เ หนื อ บุ ค คล
ทรัพย์สิน หรือเหตุการณ์ต่างๆ ทีอ
่ ย่้หรือเกิดขึน
้ ภายในดินแดน
ของรั ฐ โดยมี ขู อ ยกเวู น บางประการตามกฎหมายระหว่ า ง
ประเทศ
4. ตามหลั ก สั ญ ชาติ รั ฐ มี เ ขตอำา นาจเหนื อ บุ ค คล ตลอดจน
ทรัพย์สินทีม
่ ีสัญชาติของรัฐ แมูอย่้ภายนอกดินแดนของรัฐ
5. ตามหลักผู้ถ้กกระทำา รัฐมีเขตอำานาจเหนือบุคคล โดยอาศัย
สัญชาติของบุคคลเป็ นตัวเชื่อมโยงเช่นเดียวกับหลักสัญชาติ แต่
มี ขู อ แตกต่ า งกั น คื อ ตามหลั ก สั ญ ชาติ อาศั ย สั ญ ชาติ ข องผู้
กระทำา ความผิ ด เป็ นม้ ล ฐานของเขตอำา นาจรั ฐ ส่ ว นหลั ก ผู้ ถ้ ก
กระทำา อาศัยสัญชาติของผู้ทีต
่ กเป็ นเหยื่อหรือไดูรับผลรูายจาก
การกระทำาความผิดเป็ นม้ลฐานของเขตอำานาจรัฐ
6. ตามหลักปู องกัน รัฐมีเขตอำา นาจเหนือบุคคลซึง่ กระทำา การ
อั น เป็ นภั ย หรื อ กระทบต่ อ ความมั่น คงของรั ฐ แมู ผู้ ก ระทำา มิ ใ ช่
บุคคลสัญชาติของรัฐ และการกระทำา นัน
้ มิไดูเกิดขึ้นภายในดิน
แดนของรัฐ
7. ต า ม ห ลั ก ส า ก ล รั ฐ ใ ด ๆ ก็ ต า ม มี เ ข ต อำา น า จ เ ห นื อ
อาชญากรรมทีก
่ ระทบต่อประชาคมระหว่างประเทศโดยส่วนรวม
แมูว่าอาชญากรรมนัน
้ จะเกิดขึน
้ ภายนอกดินแดนของรัฐนัน
้ โดย
36

ผู้ กระทำา และผู้ ไดู รับ ผลเสี ยหายจากการกระทำา มิ ใช่ คนสัญ ชาติ
ของรัฐนัน
้ ก็ตาม

3.2.1 แนวคิดทัว
่ ไปเกีย
่ วกับเขตอำานาจรัฐ
อธิบายความหมายของเขตอำานาจรัฐ
เขตอำา นาจรัฐ หมายถึง อำา นาจตามกฎหมายของรัฐเหนือ
บุ ค คล ทรั พ ย์ สิ น หรื อ เหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆซึ่ ง หากพิ จ ารณาเขต
อำา นาจรั ฐ ในฐานะที เ่ ป็ นส่ ว นสำา คั ญ ของแนวคิ ด ว่ า ดู ว ยอธิ ป ไตย
แ ลู ว อ า จ แ บ่ ง เ ข ต อำา น า จ รั ฐ อ อ ก เ ป็ น เ ข ต อำา น า จ ใ น ท า ง
นิ ติ บั ญ ญั ติ เขตอำา นาจในทางศาล และเขตอำา นาจในทาง
บังคับการตามกฎหมายในทางบริหาร
แต่หากคำานึงถึงประโยชน์ในการทำาความเขูาใจขอบเขตของ
เขตอำานาจรัฐ อาจจำาแนกเขตอำานาจของรัฐออกตามเนือ
้ หาของ
อำานาจ (Substance of power) ดังนี ้
1) เขตอำานาจในการสรูางหรือบัญญัติกฎหมาย ซึง่ โดยปกติ
แลูวใชูอำานาจโดยฝ่ ายนิติบัญญัติ
2) เขตอำานาจในการบังคับใชูกฎหมายหรือบังคับการใหูเป็ น
ไปตามกฎหมาย ซึ่ง ใชู อำา นาจโดยฝ่ ายตุ ล าการ และโดยฝ่ าย
บริหาร

ม้ลฐานของเขตอำานาจรัฐมีอะไรบูาง
ม้ ล ฐานของเขตอำา นาจเนื่ อ งมาจากหลั ก การสำา คั ญ 5
ประการ ไดูแก่
1) หลักดินแดน
37

2) หลักสัญชาติ
3) หลักสากล
4) หลักปู องกัน
5) หลักผู้ถก
้ กระทำา

3.2.2 เขตอำานาจรัฐตามหลักดินแดน
เขตอำานาจรัฐตามหลักดินแดน มีสาระสำาคัญอย่างไร
สาระสำา คั ญ ของเขตอำา นาจรั ฐ ตามหลั ก ดิ น แดนก็ คื อ รั ฐ มี
เขตอำา นาจเหนือบุคคล ทรัพย์สิน หรือเหตุการณ์ต่างๆ ภายใน
ดินแดนของรัฐ โดยไม่จำาตูองคำานึงว่า บุคคลนัน
้ มีสัญชาติของรัฐ
ใด หรือทรัพย์สินนัน
้ เป็ นของบุคคลสัญชาติใด

3.2.3 เขตอำานาจรัฐตามหลักสัญชาติ
อธิบายสาระสำาคัญของเขตอำานาจรัฐตามหลักสัญชาติ
ตามหลัก สัญชาติ ถือว่ าสั ญชาติ เ ป็ นสิง่ เชื่อมโยงที ท
่ ำา ใหู รัฐ
สามารถใชู เ ขตอำา นาจของตนเหนื อ บุ ค คลซึ่ง ถื อ สั ญ ชาติ ข องรั ฐ
ตลอดจนทรัพย์สินทีม
่ ีสัญชาติของรัฐ โดยไม่ตูองคำา นึงว่าบุคคล
หรือทรัพย์สินนัน
้ จะอย่้ทีใ่ ด

3.2.4 เขตอำานาจรัฐตามหลักผู้ถ้กกระทำา
อธิ บ ายหลั ก Passive Personality มี ค วามคลู า ยคลึ ง และแตก
ต่างกับหลักสัญชาติอย่างไร
ห ลั ก สั ญ ช า ติ แ ล ะ ห ลั ก Passive Personality ต่ า ง ก็ อ า ศั ย
สัญชาติของบุคคลเป็ นตัวเชื่อมโยงระหว่างบุคคลและรัฐผู้ใชูเขต
อำา นาจ แต่ก็มีขูอแตกต่างกันคือ ตามหลักสัญชาติ รัฐสามารถ
38

ใชู เ ขตอำา นาจของตนโดยมี ม้ ล ฐานมาจากสั ญ ชาติ ข องผู้ ก ระทำา


่ ามหลัก Passive Personality เขตอำา นาจของ
ความผิด ในขณะทีต
รั ฐ กลั บ อาศั ย ม้ ล ฐานจากสั ญ ชาติ ข องเหยื่ อ หรื อ ผู้ ไ ดู รั บ ผลรู า ย
จากการกระทำาความผิด

3.2.5 เขตอำานาจรัฐตามหลักปู องกัน


อธิบายถึงเขตอำานาจรัฐตามหลักปู องกัน พรูอมยกตัวอย่าง
การกระทำาทีร
่ ัฐอาจอูางหลักปู องกันไดู
ตามหลั ก ปู องกั น รั ฐ สามารถใชู เ ขตอำา นาจของตนเหนื อ
บุ ค คลซึ่ ง กระทำา การอั น เป็ นภั ย ต่ อ ความมั่ น คงของรั ฐ ทั ้ ง ใน
ทางการเมื อ งและในทางเศรษฐกิ จ เช่ น การคบคิ ด กั น ลู ม ลู า ง
รัฐบาล การจารกรรม การปลอมแปลงเงินตรา ตั๋วเงิน ดวงตรา
แสตมป์ หนังสือเดินทาง หรือเอกสารมหาชนอื่นๆ ซึ่งออกโดย
รั ฐ เป็ นตู น แมู ว่ า ผู้ ก ระทำา จะมิ ใ ช่ บุ ค คลสั ญ ชาติ ข องรั ฐ และ
การกระทำานัน
้ จะมิไดูเกิดขึน
้ ภายในดินแดนของรัฐนัน
้ ก็ตาม

3.2.6 เขตอำานาจรัฐตามหลักสากล
หลักเขตอำานาจสากลมีสาระสำาคัญอย่างไร
ตามหลักเขตอำานาจสากล รัฐใดๆ ก็ตามย่อมมีเขตอำา นาจ
เหนืออาชญากรรมทีก
่ ระทบต่ อประชาคม ระหว่า งประเทศโดย
ส่ ว นรวม โดยไม่ คำา นึ ง ว่ า อาชญากรรมนั ้น จะเกิ ด ขึ้น ในดิ น แดน
ของรัฐใด และผู้กระทำาหรือผู้ไดูรับผลเสียหายจากการกระทำาจะ
เป็ นคนสัญชาติของรัฐใด ดังนัน
้ เขตอำานาจสากลจึงมีความเชือ
่ ม
39

โยงอย่้กับลักษณะของการกระทำาความผิดหรืออาชญากรรมเป็ น
สำาคัญ

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 3
1. ทฤษฎี ก ารปกครองแบบคอนโดมี เ นี ย มมี ค วามหมายคื อ รั ฐ สองรั ฐ
หรือกว่านัน
้ ขึน
้ ไปใชูอำานาจอธิปไตยร่วมกันเหนือเขตแดนใดเขตแดนหนึง่
2. ทะเลสาบระหว่างประเทศไดูแก่ ทะเลสาบคอนสแตนซ์ ทะเลสาบเจนี
วา ทะเลสาบฮ้รอน และทะเลสาบออนตาริโอ แต่ ทะเลสาบวินเดอร์เมียร์
ไม่ใช่ ทะเลสาบระหว่างประเทศ
3. ประเทศที ม
่ ี ลั ก ษณะเป็ นหม่้ เ กาะนั ้น จะมี วิ ธี กำา หนดเสู น ฐาน เพื่อ จะ
กำา หนดเขตน่านนำ้าภายในคือ จะกำา หนดเสูนฐานโดยการลากเสูนฐานตรง
(Straight Baselines) เชือ
่ มจุดซึง่ อย่้นอกสุดของเกาะทีอ
่ ย่้นอกสุดของหม่้เกาะ
นัน
้ เป็ นเสูนฐานตรงทีล
่ ูอมรอบหม่้เกาะ และทำา ใหูเกิดน่านนำ้าภายในเสูน
ฐานตรงทีถ
่ ้กลูอมรอบนัน
้ ส่วนพืน
้ นำา
้ ดังกล่าวเป็ นน่านนำา
้ ภายในหม่้เกาะ
4. องค์ประกอบของการครอบครองดินแดน (Occupation) คือ (ก) เป็ น
ดินแดนทีไ่ ม่มีเจูาของ (ข) มีการครอบครองดินแดนอย่างแทูจริง (ค) มีการ
่ รอบครอง (ค) ไดู มี ก ารสถาปนาการ
ใชู อำา นาจอธิ ป ไตยเหนื อ ดิ น แดนที ค
ปกครองเหนื อ ดิ น แดนนัน
้ โดยรั ฐ แต่ที ่ ไม่ ใ ช่ องค์ ประกอบของการครอบ
ครองดินแดนไดูแก่ เป็ นดินแดนทีไ่ ม่มีใครเคยครอบครองมาก่อนเลยโดย
เด็ดขาด
5. การส้ ญ เสี ย ดิ น แดนโดยการที ร
่ ั ฐ ละทิ ง้ ดิ น แดนของตนโดยสิ น
้ เชิ ง
(Deleliction) ทำาใหูรัฐอืน ้ โดยวิธี Occupation
่ อาจจะไดูดินแดนนัน
6. นักกฎหมายระว่างประเทศอาศัยเนือ
้ หาของอำา นาจเป็ นเกณฑ์ในการ
จำา แนกเขตอำา นาจรั ฐ ออกเป็ น 2 ประเภท คื อ เขตอำา นาจในการสรู า ง
กฎหมาย และเขตอำานาจในการบังคับการใหูเป็ นไปตามกฎหมาย
40

7. ทฤษฎีใดมีแนวคิดว่า รัฐมีเขตอำา นาจเหนือกว่าการกระทำา ความผิด


ซึง่ เริมภายในดินแดนของรัฐ แมูว่าบางส่วนของความผิด หรือการบรรลุผล
สำา เร็จจะเกิดขึน
้ ภายนอกดินแดนของรัฐนัน
้ คือ ทฤษฎีเขตอำา นาจเหนือดิน
แดนตามอัตวิสัย
8. เขตอำา นาจรั ฐ ตามหลั ก ผู้ ถ้ ก กระทำา (Passive Personality Principle)
อาศัยม้ลฐานตาม สัญญาติของผู้ถ้กกระทำา
9. ในบรรดาหลั ก การอั น เป็ นพื้น ฐานของการใชู เ ขตอำา นาจของรั ฐ นั ้น
หลักการทีไ่ ดูรับการยอมรับน้อยทีส
่ ุดคือ หลักผู้ถ้กกระทำา
10. นักกฎหมายระหว่างประเทศเห็นว่า การปราศจากองค์กร
ตุ ล าการระหว่ า งประเทศในอดี ต ที จ
่ ะมี เ ขตอำา นาจเหนื อ ปั จเจกชนซึ่ ง ก่ อ
อาชญากรรมระหว่างระหว่างประเทศนัน
้ มีความเกีย
่ วขูองกับการเกิดหลัก
เขตอำานาจรัฐ ตามหลักสากล
11. ทฤษฎี ก ารปกครองแบบคอนโดมี เ นี ย ม (Condominium)
เคยใชูเป็ นมาตรการในการแกูไขปั ญหา เป็ นมาตรการชัว
่ คราวในการแกูไข
ปั ญหาเขตแดนทีย
่ ังไม่สามารถตกลงกันไดู เช่น กรณีของประเทศค้เวต กับ
ซาอุดิอาระเบีย ซึง่ พิพาทกันในพืน ่ ระมาณ 2,000 ตารางไมล์ เมือ
้ ทีป ่ ตกลง
กั น ไม่ ไ ดู ทั ้ ง สองฝ่ ายจึ ง ทำา ความตกลงตั ้ ง เป็ นเขต Kuwait Saudi Arabia
Neutral Zone
12. ทะเลส า บ คอนส แต นซ์ เป็ นท ะเล ส า บกั ้ น พรมแดน
ระหว่างประเทศเยอรมนี ออสเตรีย และสวิสเซอร์แลนด์
13. ประเทศทีเ่ ป็ นหม่้เกาะนัน
้ มีวิธีกำา หนดทะเลอาณาเขตของ
หม่้เกาะคือ กำา หนดเสูนฐานตรง (Straight Baseline) รอบเกาะแลูววัดระยะ
จากเสู น ฐานตรงออกไปในทะเล 12 ไมล์ ท ะเล เพื่ อ กำา หนดเขตของ
ทะเลอาณาเขตของรัฐหม่้เกาะนัน
้ ๆ
41

14. องค์ประกอบของการครอบครองดินแดน (Occupation) ดัง


ตัวอย่างเช่น กลุ่มชนพืน
้ เมืองดัง้ เดิมทีร
่ วมกลุ่มอย่้ในดินแดนหนึง่ และมีการ
ปกครองตนเองแลูวไม่ถือว่าเป็ นดินแดนทีไ่ ม่มีเจูาของ
15. การส้ญเสียดินแดนไปโดยการเปลีย
่ นแปลงของธรรมชาติ
ทำาใหูรัฐอืน ้ โดยวิธี Accretion
่ อาจจะไดูดินแดนนัน
16. แนวคิดทีว
่ ่า รัฐมีเขตอำา นาจเหนือการกระทำา ความผิดซึ่ง
แมูจะเริม
่ ขึ้นภายนอกดินแดนของรัฐ แต่ไดูบรรลุผลสำา เร็จภายในดินแดน
ของรัฐนัน
้ เป็ นแนวคิดของ ทฤษฎีเขตอำานาจเหนือดินแดนตามภววิสัย
17. ตามหลั ก ผู้ ถ้ ก กระทำา (Passive Personality Principle) รั ฐ
สามารถใชูเขตอำานาจโดยอาศัยความเชือ
่ มโยงกับ สัญชาติของผู้กระทำา
18. ห ลั ก เ ข ต อำา น า จ รั ฐ ภ า ย น อ ก ดิ น แ ด น (Extraterritorial
jurisdiction) ที ย
่ ั ง มี ขู อ โตู แ ยู ง และไดู รั บ การยอมรั บ นู อ ยที ส
่ ุ ด คื อ หลั ก ผู้ ถ้ ก
กระทำา
19. หลั ก เขตอำา นาจรั ฐ ซึ่ ง มี ส าระสำา คั ญ ว่ า รั ฐ ทุ ก รั ฐ มี เ ขต
อำานาจเหนืออาชญากรรมทีก
่ ระทบต่อประชาคม ระหว่างประเทศโดยส่วน
รวม แมูว่าจะเกิดขึน
้ นอกดินแดนของรัฐ และผู้กระทำา ความผิด ผู้เสียหาย
จะมิใช่คนชาติของรัฐนัน
้ ก็ตาม เป็ นไปตามหลักสากล

หน่วยที ่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศ
กับกฎหมายภายใน

1. ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมาย

ภายใน สามารถอธิบายไดูดูวยทฤษฎีต่างๆของนักนิติศาสตร์ อัน


ไดู แ ก่ ทฤษฎี เ อกนิ ย ม และทฤษฎี ท วิ นิ ย ม อย่ า งไรก็ ดี ค วาม
42

สัมพันธ์อันแบ่งออกไดูเป็ นหลายประเภทตามแต่ละที ม
่ าหรื อบ่ อ
เกิดของกฎเกณฑ์ของกฎหมายทีเ่ กีย
่ วขูอง และตามลักษณะของ
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายทัง้ สองระดับ
2. สภาพปั ญหาในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่าง

ประเทศกับกฎหมายภายใน อย่้ทีว
่ ่าฝ่ ายตุลาการผู้มีหนูาทีป
่ รับใชู
กฎหมายระหว่ า งประเทศซึ่ง ค่้ ค วามยกอู า งขึ้น มิ ไ ดู มี ส่ ว นร่ ว ม
โดยตรงในการสรูางกฎหมายเหล่านัน
้ จึงทำา ใหูเกิดความยุ่งยาก
ในทางปฏิ บั ติ ซึ่ ง มี ส าเหตุ ม าจากการที ก
่ ฎเกณฑ์ ใ นกฎหมาย
ระหว่ า งประเทศ ประเทศมี วิ วั ฒ นาการในทิ ศ ทางที ่ใ หู สิ ท ธิ
ประโยชน์ กั บ บุ ค คลตามกฎหมายภายในของรั ฐ มากยิ ง่ ขึ้น โดย
มิไดูจำา กัดอย่้เพียงสำา หรับรัฐอีก ต่อไปดั งเช่น ในอดี ต นอกจากนี ้
ความแตกต่ า งในระบบกฎหมายของแต่ ล ะรั ฐ ในเรื่ อ งท่ า ที แ ละ
ความเป็ นอิสระของฝ่ ายตุ ล าการจากการครอบงำา ของฝ่ ายอื่นๆ
ก็เป็ นสาเหตุหลักอีกประการหนึง่
3. ปั ญหาในความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับ

กฎหมายภายใน ในทางปฏิ บั ติ จ ะเนู น อย่้ ที ่ก ารรั บ กฎหมาย


ระหว่างประเทศมาปรับใชูในประเทศ และปั ญหาเรื่องการขัดกัน
ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน
4. รั ฐ ธรรมน้ ญ ฉบั บ ปั จจุ บั น ของไทยกำา หนดใหู ก ารทำา สนธิ

สั ญ ญา เป็ นอำา นาจของฝ่ ายบริ ห าร สำา หรั บ สนธิ สั ญ ญาบาง


ประเภทตู อ งไดู รั บ ความเห็ น ชอบจากฝ่ ายนิ ติ บั ญ ญั ติ แต่ ก าร
วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมน้ญในคดีเกีย
่ วกับอนุสัญญาความหลาก
43

หลายทางชีวภาพทำาใหูต่อไปการทำาสนธิสัญญาทัง้ ปวงตูองไดูรับ
ความเห็นชอบจากฝ่ ายนิติบัญญัติเสียก่อน
5. ในทางปฏิบัติของศาลไทย สำาหรับกฎเกณฑ์ของสนธิสัญญา

โดยทัว
่ ไปจะปรับใชูเมือ
่ แปรร้ปเขูามาเป็ นกฎหมายภายใน เวูนแต่
ในกรณีความจำาเป็ นของรัฐและเมือ
่ กฎเกณฑ์ทีเ่ กีย
่ วขูองอาจใชูไดู
โดยไม่ จำา เป็ นตู อ งมี ก ฎหมายรองรั บ ในกรณี ข องกฎเกณฑ์ ที ไ่ ม่
เป็ นลายลักษณ์อักษร ศาลมีดุลพินิจโดยอาจนำามาปรับใชูโดยตรง
ไดู เ มื่ อ เป็ นกฎเกณฑ์ ที ่มุ่ ง ใชู ต่ อ รั ฐ และไม่ ตู อ งอาศั ย กฎหมาย
รองรับ

4.1 หลั ก การและข้ อ พิ จ ารณาทั่ ว ไปเกี ย


่ วกั บ ความสั ม พั น ธ์
ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน
1. ในทางทฤษฎี วิธีนำา กฎหมายระหว่างประเทศมาปรั บใชูใ น

ระบบกฎหมายภายในมีอย่้ 2 แนวทาง คือแนวทางของทฤษฎีเอก


นิยม และทฤษฎีทวินิยม
2. ในทางปฏิ บั ติ ลั ก ษณะของความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกฎหมาย

ระหว่ า งประเทศ กั บ กฎหมายภายในนั ้น จะแตกต่ า งกั น ออกไป


ตามแต่ละทีม
่ าหรือบ่อเกิดของกฎเกณฑ์ของกฎหมายทีเ่ กีย
่ วขูอง
ทั ง้ นี ค
้ วามสัม พันธ์ตามลั กษณะของความเกี ย
่ วขูอ ง ไดูแ ก่ เรื่อ ง
การรับเอากฎหมายระหว่างประเทศมาใชูในประเทศ การขัดกัน
การยูอนส่ง หรือการเสริมซึง่ กันและกัน
3. ปั ญหาในทางปฏิบัติคือ การทีฝ
่ ่ ายตุลาการซึง่ มิไดูมีส่วนร่วม
โดยตรงในการสรูางหลักเกณฑ์ในกฎหมายระหว่างประเทศ แต่
ในบางสถานการณ์ ก ลั บ มี ห นู า ที ต
่ ู อ งปรั บ ใชู ก ฎหมายระหว่ า ง
44

ประเทศจึงทำาใหูเกิดความยุ่งยากในทางปฏิบัติ ทัง้ นีโ้ ดยมีสาเหตุ


หลัก 2 ประการคือ 1) วิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศ
ในปั จจุบั นทำา ใหูเ กิด กฎเกณฑ์ที ใ่ หู สิท ธิป ระโยชน์ แก่ค นชาติ ของ
รัฐ ซึง่ อาจยกอูางสิทธิเหล่านีไ้ ดูในศาลภายใน 2) องค์กรทางการ
ศาลของแต่ละรัฐมีอำานาจความเป็ นอิสระและจุดยืนทีแ
่ ตกต่างกัน
ทำาใหูแนวทางในการปรับใชูกฎหมายระหว่างประเทศแตกต่างกัน
ออกไปดูวย

4.1.1 ความสัมพันธ์ในทางทฤษฎีและลักษณะของความ
สัมพันธ์
ทฤษฎีเอกนิยมมีแนวคิดอย่างไร
ในแนวทางของทฤษฎีเอกนิยม ถือว่ากฎหมายในสังคมโลก
มี อ ย่้ เ พี ย งระบบเดี ย ว ดั ง นั ้ น กฎหมายระหว่ า งประเทศและ
กฎหมายภายในเป็ นกฎหมายทีอ
่ ย่้ใ นระบบเดียวกัน จึงสามารถ
นำา กฎหมายระหว่ า งประเทศเขู า มาปรั บ ใชู ใ นระบบกฎหมาย
ภายในไดู โ ดยตรง และความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งกฎหมายสอง
ประเภทนีเ้ ป็ นความสัมพันธ์ในลักษณะลำา ดับศักดิ ์ แนวความคิด
และทฤษฎีของสำา นักนีย
้ ังแบ่งออกเป็ นสองสาขา คือ สาขาหนึ่ง
ถื อ ว่ า กฎหมายระหว่ า งประเทศมี ลำา ดั บ ศั ก ดิ ท
์ ีส
่ ้ ง กว่ า กฎหมาย
ภายใน แต่ อี ก สาขาหนึ่ ง ถื อ ว่ า กฎหมายภายในมี ลำา ดั บ ศั ก ดิ ท
์ ี่
เหนือกว่ากฎหมายระหว่างประเทศ ทัง้ นีท
้ ัง้ สองแนวความคิดนีม
้ ี
ความแตกต่างกันเพียงในแง่ของการมองปั ญหาเท่านัน
้ จะมองใน
ระดับระหว่างประเทศหรือในระดับประเทศ
45

ทฤษฎีทวินิยมมีแนวคิดอย่างไร
ทฤษฎีทวินิยม ถือว่ากฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมาย
ภายในเป็ นกฎหมายคนละระบบกั น เพราะมี ที ม
่ าและอย่้ บ นพื้น
ฐานทีแ
่ ตกต่างกั น ดังนั น
้ โดยหลั กการแลู วการที จ
่ ะนำา กฎหมาย
ระหว่ า งประเทศมาปรั บ ใชู ใ นระบบกฎหมายภายในกฎหมาย
ระหว่างประเทศนัน
้ จำาเป็ นทีจ
่ ะตูองผ่านกระบวน การรับเอาเสีย
ก่ อ นซึ่ง กระทำา ไดู โ ดยการแปรร้ ป กฎหมายระหว่ า งประเทศ ใหู
เป็ นกฎหมายภายในเสีย ก่อนหรือโดยการออกกฎหมายอนุวัตร
การ เมื่อยังไม่มีกฎหมายรองรับ หรืออาจทำาโดยการประกาศใชู
ก็ไดู

ทางปฏิ บั ติ ข องนานาชาติ ใ ชู ท ฤษฎี อ ะไรในการปรั บ ใชู


กฎหมายระหว่างประเทศ
ระบบกฎหมายของประเทศต่างๆ ในโลกนีม
้ ีแนวโนูมทีเ่ ห็น
ไดู ว่ า ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามแนวความคิ ด หรื อ ทฤษฎี เ อกนิ ย ม หรื อ ทวิ
นิยม แต่ก็ไม่มีกฎหมายของประเทศใดเลยทีถ
่ ือปฏิบัติตามทฤษฎี
ของสำา นั ก หนึ่ง สำา นั ก ใดอย่ า งเคร่ ง ครั ด จึ ง มั ก จะตู อ งถื อ ปฏิ บั ติ
ควบค่้ กั น ไป โดยมี แ นวทางพอที จ
่ ะทำา ใหู เ ห็ น แนวโนู ม ในทาง
ปฏิ บั ติ ข องแต่ ล ะรั ฐ ไดู เ ท่ า นั ้น ว่ า เป็ นไปในแนวทางของสำา นั ก ใด
เพราะทฤษฎี แ ละแนวความคิ ด ของทั ง้ สองสำา นั ก นี ต
้ ่ า งก็ มี ทั ้ง จุ ด
อ่อนและจุดแข็งดูวยกันทัง้ ค่้

ลั ก ษ ณ ะ ต่ า ง ๆ ข อ ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กั บ
กฎหมายภายในเป็ นอย่างไร
46

ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศ กับ
กฎหมายภายในอาจแตกต่ า งกั น ออกไปตามแต่ ล ะที ม
่ าหรื อ บ่ อ
เกิ ด ของกฎเกณฑ์ ที เ่ กี ย
่ วขู อ งกล่ า วคื อ ในกรณี ข องกฎเกณฑ์ ที ่
เป็ นลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเช่ น สนธิ สั ญ ญาอาจมี ขู อ กำา หนดตาม
กฎหมายภายในใหู มี ก ารดำา เนิ น การตามกระบวน การรั บ เอา
กฎหมายระหว่ า งประเทศเขู า มาใชู ใ นประเทศ แต่ ถู า เป็ นกฎ
เกณฑ์ ที ไ่ ม่ เ ป็ นลายลั ก ษณ์ อั ก ษรอาจนำา มาใชู ไ ดู โ ดยตรงในบาง
กรณี
ส่ ว นความสั ม พั น ธ์ ต ามลั ก ษณะของความเกี ย
่ วพั น ระหว่ า ง
กฎหมายระหว่ างประเทศ กับกฎหมายภายใน อาจแบ่งออกไดู
เป็ น การรับเอา การขัดกัน การยูอนส่ง และการเสริมกัน
4.1.2 สภาพปั ญหาในทางปฏิบัติและสาเหตุ
สภาพปั ญหาที เ่ กิ ด ขึ้น ในทางปฏิ บั ติ สำา หรั บ ความสั ม พั น ธ์
ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน และสาเหตุ
ของปั ญหาเป็ นอย่างไร
การที ฝ
่ ่ ายตุ ล าการหรื อ ศาลมิ ไ ดู มี ส่ ว นร่ ว มโดยตรงในการ
สรูางกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศแต่มีหนูาทีต
่ ูองปรับ
ใชู ก ฎเกณฑ์ เ หล่ า นี ้ ทำา ใหู เ กิ ด ปั ญหายุ่ ง ยากในทางปฏิ บั ติ อั น มี
สาเหตุหลักมาจากการทีก
่ ฎเกณฑ์บางเรื่องของกฎหมายระหว่าง
ประเทศ ในปั จจุบันใหูสิทธิแก่บุคคลในกฎหมายภายใน สามารถ
ยกขึน
้ อูางไดูในศาลภายในซึ่งอาจมีท่าทีแตกต่างกันออกไปตาม
แต่ ล ะรั ฐ ขึ้นอย่้ กั บ ความเป็ นอิ ส ระของศาลและระบบกฎหมาย
ของแต่ละรัฐ
47

4.2 ปั ญหาในทางปฏิ บั ติ เ กี ย
่ วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
กฎหมาย ระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน
1. สำา หรั บ การรั บ กฎหมายระหว่ า งประเทศมาใชู ใ นประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศมิไดูกำาหนดวิธีการใหูรัฐนำาไปปฏิบัติ จึง
ทำาใหูเกิดทางปฏิบัติทีแ
่ ตกต่างหลากหลายออกไป ทัง้ นีโ้ ดยทัว
่ ไป
แ ลู ว ใ นกร ณี ข อง ก ฎเก ณฑ์ ที ่ ไ ม่ เ ป็ นล าย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ห าก
รั ฐ ธรรมน้ ญ ของรั ฐ มิ ไ ดู กำา หนดวิ ธี ก ารไวู ก็ ตู อ งขึ้น อย่้ กั บ การใชู
ดุ ล ยพิ นิ จ ภายใน แต่ สำา หรั บ กฎเกณฑ์ ข องสนธิ สั ญ ญามั ก มี ขู อ
กำา หนดใหู มีก ารแปรร้ป เป็ นกฎหมายภายในเสีย ก่อ น หรือพิ มพ์
เผยแพร่แลูวถือว่ามีผลใชูไดูเลยก็ไดู
2. ใ นส่ ว นที ่เ กี ่ย วกั บ ปั ญหาการขั ด กั น ร ะห ว่ างก ฎ ห ม าย

ระหว่างประเทศกับกฎหมายภายในโดยทัว
่ ไปแลูว แต่ละรัฐจะมี
ระบบการแกูไขปั ญหาแตกต่างกันออกไปขึน
้ อย่้กับว่าเป็ นการขัด
กันระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายในประเภท
ใด เช่น กฎหมายรัฐธรรมน้ญ หรือกฎหมายธรรมดา ในกรณีที ่
ปราศจากการวางขู อ กำา หนดไวู ศาลภายในก็ จ ะมี ดุ ล ยพิ นิ จ ใน
การแกูไขปั ญหาซึง่ อาจมีขูอยุติแตกต่างกันออกไปตามแต่ละรัฐ

4.2.1 ปั ญหาในดูานร้ปแบบหรือวิธีการทีน
่ ่าจะนำากฎหมาย
ระหว่างประเทศมาปรับใชูในระบบกฎหมายภายใน
แนวทางการรั บ รองกฎหมายระหว่ า งประเทศมาใชู ใ น
ประเทศเป็ นอย่างไร
วิธีก ารรั บกฎหมายระหว่ า งประเทศมาใชู ใ นประเทศขึ้น อย่้
กั บ กฎเกณฑ์ ต ามรั ฐ ธรรมน้ ญ ของแต่ ล ะประเทศ แต่ ใ นกรณี ที ่
48

รัฐธรรมน้ญมิไดูบัญญัติหลักการในเรือ
่ งนีไ้ วู หากเป็ นกฎหมายที ่
ไม่เป็ นลายลักษณ์อักษรก็ตูองขึน
้ อย่้กับดุลยพินิจของศาลภายใน
ซึ่ง ตู อ งพิ จ ารณาเป็ นรายกรณี ต ามแต่ รั ฐ ถู า เป็ นกฎเกณฑ์ ข อง
สนธิ สั ญ ญาก็ แ ลู ว แต่ ว่ า รั ฐ นั ้น เลื อ กที จ
่ ะรั บ ระบบการแปรร้ ป ใหู
เป็ น กฎหมายภายในเสียก่อน หรือกำาหนดใหูมีการพิมพ์เผยแพร่
เพือ
่ ใหูมีผลใชูบังคับไดูเลย

4.2.2 ปั ญหาการขัดกันระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับ
กฎหมายภายใน
แนวทางในการแกู ไ ขปั ญหาการขั ด กั น ระหว่ า งกฎหมาย
ระหว่างประเทศกับกฎหมายภายในเป็ นอย่างไร
แนวทางในการแกูไขปั ญหาแตกต่างกันออกไปตามแต่ละรัฐ
ทั ้ง นี ข
้ ึ้ น อย่้ กั บ กฎหมายรั ฐ ธรรมน้ ญ ของรั ฐ ที เ่ กี ย
่ วขู อ งว่ า มี ขู อ
กำา หนดในเรื่ อ งนี ว
้ ่ า อย่ า งไร แต่ ใ นกรณี ที ไ่ ม่ มี ขู อ กำา หนดของ
กฎหมายภายในเรื่ อ ง ศาลภายในจะมี ดุ ล ยพิ นิ จ ในการแกู ไ ข
ปั ญหาซึง่ อาจมีขูอยุติซึ่งแตกต่างกันออกไป ขึน
้ อย่้กับจุดยืนและ
ความเป็ นอิสระขององค์กรฝ่ ายตุลาการของรัฐทีเ่ กีย
่ วขูอง

4.3 ทางปฏิบัติของไทยในการนำากฎหมายระหว่างประเทศมา

ปรับใช้ในประเทศ
1. รั ฐ ธรรมน้ ญ ฉบั บ ปั จจุ บั น ของไทยกำา หนดใหู ก ารทำา สนธิ
สัญญาเป็ นอำา นาจของของฝ่ ายบริหารซึ่งดำา เนินการในนามพระ
ปรมาภิไ ธยของพระมหากษัต ริย์ แต่ใ หูส นธิ สัญ ญาบางประเภท
ตูองไดูรับความเห็นชอบจากฝ่ ายนิติบัญญัติเสียก่อน
49

2. เงื่อนไขเกีย
่ วกับความเห็นชอบของฝ่ ายนิติบัญญัติทำา ใหูเกิด
ปั ญหาว่ า เอกสารใดมี นิ ติ ฐ านะเป็ นสนธิ สั ญ ญาตู อ งไดู รั บ ความ
เห็นชอบจากฝ่ ายนิติบัญญัติ ดังเช่น ในกรณีตามคำา วินิจฉัยของ
ศาลรัฐธรรมน้ญเกีย
่ วกับหนังสือแสดงเจตจำา นง นอกจากนีย
้ ังมี
ปั ญหาสืบเนื่องจากการใหูความหมายอย่างกวูางกับคำา ว่า “เขต
อำานาจแห่งรัฐ” ในกรณีคำาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมน้ญเกีย
่ วกับ
อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ ซึง่ ยังผลใหูการทำา สนธิ
สั ญ ญาทุ ก ฉบั บ ตู อ งผ่ า นความเห็ น ชอบจากฝ่ ายนิ ติ บั ญ ญั ติ เ สี ย
ก่อน
3. ในกรณี ที เ่ ป็ นกฎหมายระหว่ า งประเทศอย่้ ใ นร้ ป ของสนธิ

สัญญา ถูายังไม่มีกฎหมายรับรอง การนำา เอากฎหมายระหว่าง


ประเทศมาปรับใชูในประเทศไทย จะตูองผ่านกระบวนการรับเอา
เสี ย ก่ อ นซึ่ง อาจจะกระทำา ไดู โ ดยการออกกฎหมายอนุ วั ต รการ
การแปรร้ปใหูเป็ นกฎหมายภายใน หรือการแกูไขกฎหมายทีม
่ ีอย่้
ใหูครอบคลุมถึงขูอตกลงทัง้ หมดในสนธิสัญญานัน
้ ๆ ก็ไดู
4. ในบางกรณีองค์กรของรัฐฝ่ ายตุลาการ หรือฝ่ ายบริหารอาจ

จะนำา สนธิสัญญามาใชูบังคับโดยตรงโดยยังไม่มีกฎหมายรองรับ
หรื อ กฎหมายอนุ วั ต รการ เมื่ อ มี ค วามจำา เป็ นของรั ฐ (raison
d’Etat) ทีจ
่ ะตูองปฏิบัติตามพันธกรณีในสนธิสัญญานัน
้ ๆ หรือเมือ

ลัก ษณะของขูอตกลงในสนธิสัญ ญานั น
้ ๆ ไม่มี ความจำา เป็ นที จ
่ ะ
ตูองมีกฎหมายรองรับหรือกฎหมายอนุวัตรการ
5. ในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับหลักกฎหมายทัว
่ ไป กฎหมายปล่อยใหูอย่้
ในดุลยพินิจของรัฐทีจ
่ ะพิจารณานำามาใชูตามร้ปแบบหรือวิธีการ
50

ใดก็ไ ดู ตามความเหมาะสมเป็ นแต่ ล ะกรณี ไ ป ซึ่ง หากเป็ นหลั ก


กฎหมายทัว
่ ไปในกฎหมายภายใน หากเป็ นเรื่องในทางแพ่งหรือ
พาณิชย์ก็มีมาตรา 4 ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ
1 เป็ นกฎหมายรองรั บ โดยทางอู อ มอย่้ แ ลู ว จึ ง นำา มาปรั บ ใชู ไ ดู
โดยตรง แต่ถูาเป็ นหลักกฎหมายทัว
่ ไปในทางอาญา โดยลักษณะ
ของกฎหมายประเภทนีย
้ ่อมจำาเป็ นทีจ
่ ะตูองมีกฎหมายรองรับหรือ
กฎหมายอนุวัตรการดูวย ถูาเป็ นหลักกฎหมายทัว
่ ไปในกฎหมาย
ระหว่างประเทศซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ นเรือ
่ งทีใ่ ชูบังคับต่อรัฐมิใช่ในรัฐ
ย่อมไม่จำาเป็ นตูองออกกฎหมายอนุวัตรการ แต่ถูาเป็ นเรือ
่ งทีต
่ ูอ ง
นำา มาปรั บ ใชู ใ นประเทศ โดยหลั ก การแลู ว จะตู อ งมี ก ฎหมาย
รับรอง หรือมิฉะนัน
้ ก็ตูองออกกฎหมายอนุวัตรการ
6. ในกรณีทีก
่ ฎหมายระหว่างประเทศนัน
้ อย่้ในร้ปของกฎหมาย
จารีตประเพณีระหว่างประเทศ การนำามาปรับใชูในประเทศอย่้ใน
ดุ ล ยพิ นิ จ ของรั ฐ ที จ
่ ะนำา มาปรั บ ใชู ตามความเหมาะสมเป็ น
แต่ ล ะกรณี ไ ป เช่ น เดี ย วกั น กั บ ในกรณี ข องหลั ก กฎหมายทั่ว ไป
กล่าวคือ สามารถนำาเอากฎหมายระหว่างประเทศชนิดนีม
้ าปรับ
ใชูในระบบกฎหมายไทยไดูโดยตรง เวูนแต่ในกรณีทีล
่ ักษณะของ
หลักกฎหมายนัน
้ เองทำา ใหู จำา เป็ นตู อ งออกกฎหมายอนุ วั ต รการ
ดูวย

4.3.1 ทางปฏิบัติของไทยตามรัฐธรรมน้ญในส่วนทีเ่ กีย


่ วกับ
การรับสนธิสัญญามาปรับใชูในประเทศไทยและปั ญหาในคดี
ต่างๆในปั จจุบัน
51

อ ธิ บ า ย ห ลั ก ก า ร ข อ ง รั ฐ ธ ร ร ม น้ ญ ฉ บั บ ปั จ จุ บั น ข อ ง
ประเทศไทย ในเรือ
่ งการทำาสนธิสัญญาและการนำากฎหมายสนธิ
สัญญามาใชูในประเทศว่าเป็ นอย่างไร และปั ญหากฎหมายทีเ่ กิด
ขึน
้ จากการใชูบทบัญญัติทีเ่ กีย
่ วขูองเป็ นอย่างไรบูาง
มาตรา 24 ของรัฐธรรมน้ญฉบับปี 2540 กำาหนดใหูการทำา
สนธิสัญญาเป็ นอำานาจของฝ่ ายบริหาร ซึง่ กระทำาการในนามพระ
ปรมาภิ ไ ธยของพระมหากษั ต ริ ย์ อย่ า งไรก็ ต าม การทำา สนธิ
สัญญา 3 ประเภท ตูองไดูรับความเห็นชอบจากฝ่ ายนิติบัญ ญัติ
เสียก่อน กล่าวคือ สนธิสัญญาทีม
่ ีบทเปลีย
่ นแปลงอาณาเขตของ
ราชอาณาจั ก รไทย สนธิ สั ญ ญาที ต
่ ู อ งออกพระราชบั ญ ญั ติ เ พื่อ
ใหู ก ารเป็ นไปตามสนธิ สั ญ ญา และสนธิ สั ญ ญาที ม
่ ี ผ ลเป็ นการ
เปลีย
่ นแปลงเขตอำานาจของรัฐ
อย่างไรก็ตาม การตีความในคำาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมน้ญ
ในกรณีเกีย
่ วกับอนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพเมือ
่ ปลาย
พ.ศ. 2543 ซึง่ ใหูความหมายอย่างกวูางกับคำา ว่า เขตอำา นาจแห่ง
รัฐ ใหูหมายถึงขอบเขตหรือสารัตถะของอำา นาจรัฐ อันจะทำา ใหู
เกิ ด ความยุ่ ง ยากขึ้น ในทางปฏิ บั ติใ นอนาคต เนื่อ งจากจะทำา ใหู
การทำา สนธิ สั ญญาทั ง้ ปวง ซึ่ง ในทุ ก กรณี มี ผ ลเปลี ย
่ นแปลงหรื อ
จำากัดอำานาจรัฐ ตูองผ่านความเห็นชอบจากฝ่ ายนิติบัญญัติอย่าง
ไม่มีขอ
ู ยกเวูน

4.3.2 ทางปฏิบัติของศาลไทยเกีย
่ วกับการปรับใชูกฎหมาย
ระหว่างประเทศ
52

แนวทางปฏิบัติของศาลไทยในการปรับใชูกฎหมายระหว่าง
ประเทศในประเทศไทยเป็ นอย่างไร
ในส่ ว นที ่เ กี ่ย วขู อ งกั บ การพิ ส้ จ น์ ก ารมี อ ย่้ ข องกฎหมาย
ระหว่ า งประเทศ ศาลจะพิ จ ารณาประกอบกั บ ความเห็ น ของผู้
เชี ย
่ วชาญซึ่ง มี บ ทบาทสำา คั ญ ในการแนะนำา และกำา หนดทิ ศ ทาง
ของคำาตัดสิน
สำา ห รั บ ท า ง ป ฏิ บั ติ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น เ รื่ อ ง นี ้ ต า ม
รัฐธรรมน้ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 โดยหลักการแลูว
ในกรณีทีเ่ ป็ นกฎหมายระหว่างประเทศทีอ
่ ย่้ในร้ปของสนธิสัญญา
ระบบกฎหมายไทยจะเป็ นไปในทิศทางเดียวกับแนวคิดและทฤษฎี
ของ “สำานักทวินิยม” กล่าวคือถูายังไม่มีกฎหมายรองรับการนำา
เอากฎหมายระหว่ า งประเทศมาปรั บ ใชู ใ นประเทศไทย จะตู อ ง
ผ่ า นกระบวนการรั บ เอาเสี ย ก่ อ น ซึ่ง อาจจะกระทำา ไดู โ ดยการ
ออกกฎหมายอนุ วั ต รการ โดยการแปรร้ ป ใหู เ ป็ นกฎหมายใน
ประเทศ หรื อ แกู ไ ขกฎหมายที ม
่ ี อ ย่้ ใ หู ค รอบคลุ ม ถึ ง ขู อ ตกลง
ทั ้ง หมดในสนธิ สั ญ ญานั ้น ก็ ไ ดู โดยทางปฏิ บั ติ จ ริ ง ในบางกรณี
องค์กรของรัฐฝ่ ายตุลาการหรือฝ่ ายบริหารอาจจะนำา มาใชูบังคับ
โดยตรง โดยยังไม่มีกฎหมายรองรั บหรือ มีกฎหมายอนุ วัต รการ
เมื่ อ มี ค วามจำา เป็ นของรั ฐ (raison d’Etat) ที ่จ ะตู อ งปฏิ บั ติ ต าม
พั น ธกรณี ใ นสนธิ สั ญญานั น
้ ๆ หรือ เมื่อ ลั กษณะของขู อ ตกลงใน
สนธิ สั ญ ญากำา หนดและปั กปั นเขตแดน สนธิ สั ญ ญาการบิ น
พลเรื อ น หรื อ สนธิ สั ญ ญาที ่ใ หู สิ ท ธิ แ ก่ รั ฐ เช่ น ในเรื่ อ งการ
กำาหนดอาณาเขตทางทะเลเป็ นตูน
53

สำา หรับกฎหมายระหว่างประเทศทีไ่ ม่เป็ นลายลักษณ์อักษร


แยกพิจารณาไดูดังนี ้
ในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับหลักกฎหมายทัว
่ ไป ซึง่ มีทัง้ หลักกฎหมาย
ทั่ว ไปในกฎหมายระหว่ า งประเทศ และหลั ก กฎหมายทั่ว ไปใน
กฎหมายในประเทศ ไม่มีบทบัญญัติใดๆ ในรัฐธรรมน้ญทีจ
่ ะเป็ น
แนวทางใหู ตี ค วามไดู เ ลยว่ า การนำา กฎหมายระหว่ า งประเทศ
ชนิ ด นี ม
้ าปรั บ ใชู จ ะตู อ งโดยวิ ธี ใ ด จึ ง ตู อ งตี ค วามว่ า กฎหมาย
ปล่อยใหูอย่้ในดุลยพินิจของรัฐทีจ
่ ะพิจารณานำามาใชูตามร้ปแบบ
หรือวิธีการใดก็ไดูตามความเหมาะสมเป็ นแต่ละกรณีไป กรณีที ่
เป็ นหลั ก กฎหมายทั่ว ไปในกฎหมายในประเทศ ถู า เป็ นเรื่อ งใน
ทางแพ่ ง หรื อ พาณิ ช ย์ ก็ มี ม าตรา 4 ใน ป.พ.พ. บรรพ 1 เป็ น
กฎหมายรองรับโดยทางอูอมอย่้แลูว จึงนำา มาปรับใชูไดูโดยตรง
แต่ ถู า เป็ นหลั ก กฎหมายทั่ ว ไปในทางอาญา โดยลั ก ษณะของ
กฎหมายประเภทนี ย
้ ่ อ มจำา เป็ นที จ
่ ะตู อ งมี ก ฎหมายรองรั บ หรื อ
กฎหมายอนุ วั ติ ก ารดู ว ย กรณี ที ่เ ป็ นหลั ก กฎหมายทั่ ว ไปใน
กฎหมายระหว่างประเทศ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ นเรื่องทีใ่ ชูบังคับต่อ
รัฐ มิชาในรัฐ ย่อมไม่จำาเป็ นตูองออกกฎหมายอนุวัติการ ถูาเป็ น
เรื่ อ งที ต
่ ู อ งนำา มาปรั บ ใชู ใ นประเทศโดยหลั ก การแลู ว จะตู อ งมี
กฎหมายรองรับหรือมิฉะนัน
้ ก็ตูองออกกฎหมายอนุวัติการ เช่น
ความผิ ด ทางอาญาในเรื่ อ งการสั ง หารลู า งเผ่ า พั น ธ์ุ (Genocide)
หรือการก่อการรูายระหว่างประเทศ เป็ นตูน
ใ นก ร ณี ที ่ ก ฎ ห ม า ย ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ นั ้ น อ ย่้ ใ น ร้ ป ข อ ง
กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ รัฐธรรมน้ญก็ปราศจาก
54

บทบัญญัติทีจ
่ ะทำา ใหูตีความไดูว่า จะนำา มาปรับใชูในประเทศไดู
อย่ า งไร และปล่ อยใหู อ ย่้ ใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของรั ฐ ที จ
่ ะนำา มาปรั บ ใชู ต าม
ความเหมาะสมเป็ นแต่ละกรณีไป เช่นเดียวกันกับกรณีของหลัก
กฎหมายทัว
่ ไป จึงตูองถือว่าโดยหลักการแลูวระบบกฎหมายไทย
ในเรื่องนี ้ ถือปฏิบัติตามแนวความคิดและทฤษฎีของ “สำานักเอก
นิยม” กล่าวคือสามารถนำา เอากฎหมายระหว่า งประเทศชนิด นี ้
มาปรั บ ใชู ใ นระบบกฎหมายไทยไดู โ ดยตรง เวู น แต่ ใ นกรณี ที ่
ลั ก ษณะขอ งหลั ก ก ฎห มายนั ้ น เ อง ทำา ใหู จำา เป็ นจ ะตู อ ง ออ ก
กฎหมายอนุวัติการดูวย เช่น เมือ
่ เป็ นกฎหมายทีใ่ หูรัฐมีสิทธิทีจ
่ ะ
ใชูเขตอำา นาจในอาณาบริ เวณต่ า งๆ ทางภ้มิ ศาสตร์ไ ดู เช่ น ใน
หู ว งอากาศเหนื อ ดิ น แดนของรั ฐ หรื อ ในอาณาเขตทางทะเล
เป็ นตู น ซึ่ ง ใ นก ร ณี เช่ นนั ้ น รั ฐจ ะ ตู อ ง อ อ ก ก ฎ ห ม า ยอ าก าศ
กฎหมายการเดินเรือ หรือกฎหมายทะเลของรัฐดูวย จึงจะใชูเขต
อำา นาจทีร
่ ั ฐมี สิทธิที จ
่ ะใชู ต ามกฎหมายระหว่ า งประเทศไดู และ
โดยทีส
่ าเหตุหลักทีท
่ ำาใหูไม่ตูองออกกฎหมายอนุวัติการ ก็เพราะ
โดยธรรมชาติ และลักษณะของกฎหมายจารีตประเพณี การทีจ
่ ะ
ออกกฎหมายอนุวัติการเป็ นสิง่ ทีท
่ ำา ไดูยากเพราะเป็ นกฎหมายที ่
ไม่เป็ นลายลักษณ์อักษร จึงขาดความแน่นอนในดูานขอบเขตและ
สารัตถะ ดังนัน
้ เมื่อกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศนัน

ไดูถ้กประมวลขึน
้ มาเป็ นลายลักษณ์อักษรแลูวขูอขัดขูองนัน
้ ย่อม
หมดไป นานาชาติ ซึ่ ง รวมทั ้ง ประเทศไทยดู ว ยจึ ง มั ก นิ ย มออก
กฎหมายอนุวัตรการ ถูายังไม่มีกฎหมายรองรับ เวูนแต่ว่าเมื่อมี
ความจำา เป็ นในความสัมพั นธ์ระหว่างประเทศทีร
่ ัฐตูองถือปฏิบัติ
55

ตาม เพื่อใหูสอดคลูองกับทางปฏิบัติของนานาชาติ บางครัง้ รัฐก็


จะนำา มาปรับ ใชู ทัง้ ๆ ทีย
่ ั งไม่ มีกฎหมายรองรั บหรือกฎหมายอนุ
วัตรการ หรือเมือ
่ ธรรมชาติและลักษณะพิเศษของกฎหมายจารีต
ประเพณีนัน
้ เอง ทำา ใหูไม่จำา เป็ นตูองมีกฎหมายอนุวัตรการ เช่น
กฎหมายภาคสงครามเป็ นตูน

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 4
1. การตีความ มิใช่ ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับ
่ วขูอง ส่วน การรับเอา การ
กฎหมายภายในตามลักษณะ ของความเกีย
ขั ดกั น การยู อนส่ง และการเสริ ม กั น และกั น เป็ นความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
กฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายภายใน
2. สาเหตุ ข องปั ญหาในทางปฏิ บั ติ เ กี ่ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
กฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายในไดู แก่ (ก) วิวัฒ นาการของ
กฎหมายระหว่างประเทศ (ข) ทางปฏิบัติของฝ่ ายตุลาการทีแ
่ ตกต่างกันใน
แต่ละประเทศ
3. วิธีการนำากฎหมายระหว่างประเทศในร้ปของสนธิสัญญามาปรับใชูใน
กฎหมายภายในไดู แ ก่ (ก) การผ่ า นกระบวนการพิ เ ศษเพื่อ รั บ เขู า มาใน
ระบบกฎหมายภายใน (ข) การประกาศและเผยแพร่ในเอกสารทางการ
4. การแกูไขในทางปฏิบัติสำาหรับรัฐต่างๆเมือ
่ มีปัญหาการขัดกันระหว่าง
กฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายภายในไดูแก่ (ก) กฎหมายภายใน
้ ภายหลังไม่มีผลใหูกฎหมายระหว่างประเทศไรูผล (ข) กฎหมาย
ทีเ่ กิดขึน
ภายในที เ่ กิ ด ขึ้น ภายหลั ง มี ผ ลใหู ตู อ งระงั บ ใชู ก ฎหมายระหว่ า งประเทศ
เป็ นการชั่ ว คราว (ค) กฎหมายภายในที เ่ กิ ด ขึ้ น ภายหลั ง ขั ด ขวางมิ ใ หู
กฎหมายระหว่างประเทศมีผลภายในประเทศ (ง) ศาลภายในจะใชูดุลพินิจ
ในการวินิจฉัย
56

5. รั ฐ ธรรมน้ ญ ฉบั บ ปี พ.ศ. 2540 ของประเทศไทย กำา หนดใหู ฝ่ าย


บริหารตูองขอความเห็นชอบจากฝ่ ายนิติบัญญัติก่อนทีจ
่ ะจะทำาสนธิสญ
ั ญา
บางประการ
6. ทางปฏิบัติของไทยในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับการรับสนธิสัญญามาปรับใชูใน
ประเทศไทยถือตามทฤษฎีของ สำานักทวินิยมอย่างยืดหยุ่น
7. สนธิ สั ญ ญาที ฝ
่ ่ ายบริ ห ารสามารถทำา ไดู โ ดยลำา พั ง ตามรั ฐ ธรรมน้ ญ
ฉบับปี พ.ศ. 2540 คือ สนธิสัญญาสันติภาพ
8. ในคำาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมน้ญที ่ 33/2543 ในกรณีอนุสัญญาความ
หลากหลายทางชีว ภาพ ศาลรั ฐธรรมน้ ญ ตี ค วามคำา ว่ า “เขตอำา นาจรั ฐ ”
หมายถึง ขอบเขตหรือสารัตถะของอำานาจรัฐ
9. ฝ่ ายบริ ห ารหรื อ ฝ่ ายตุ ล าการของไทย อาจนำา กฎหมายระหว่ า ง
ประเทศในร้ปสนธิสัญญามาใชูโดยตรงโดยไม่มีกฎหมายรองรับหรืออนุวัติ
มาก่อนไดูในกรณีดังต่อไปนี ้ (ก) เมือ
่ มีความจำาเป็ นของรัฐทีต
่ ูองปฏิบัติตาม
พั นธกรณี ข องสนธิ สั ญ ญานั ้น (ข) เมื่อ ลั ก ษณะของสนธิ สั ญ ญาไม่ จำา เป็ น
ตู อ งมี ก ฎหมายรองรั บ หรื อ กฎหมายอนุ วั ติ ก าร (ค) สนธิ สั ญ ญาปั กปั น
เขตแดน สนธิสัญญาการบินพลเรือน (ง) สนธิสัญญาทีใ่ หูสิทธิแก่รัฐ เช่น
เรือ
่ งการกำาหนดอาณาเขตทางทะเล
10. รัฐมีดุล พินิจทีจ
่ ะนำา กฎหมายจารีต ประเพณีร ะหว่า งประเทศ
ซึ่งไม่เป็ นลายลักษณ์อักษรมาปรับใชูในระบบกฎหมายภายในของไทยไดู
โดยตรงเมื่อ ตามลักษณะของกฎเกณฑ์ ทีเ่ กี ย
่ วขู อ งไม่ มีค วามจำา เป็ นตูอ ง
ออกกฎหมายรองรับหรือกฎหมายอนุวัติการ
11. ่ ่ ายบริ ห ารหรื อ ฝ่ ายตุ ล าการของไทย ไม่ ส ามารถนำา
กรณี ที ฝ
กฎหมายระหว่างประเทศในร้ปสนธิสัญญามาใชูโดยตรงโดยไม่มีกฎหมาย
รองรับหรือกฎหมายอนุวัติการก่อน ไดูแก่ สนธิสัญญาส่งผู้รูา ยขูามแดน
และสนธิสญ
ั ญาว่าดูวยการคูุมครองทรัพย์สินทางปั ญญา
57

หน่วยที ่ 5 สนธิสัญญา

1. สนธิ สั ญ ญาวิ วั ฒ นาการมาจากจารี ต ประเพณี ร ะหว่ า ง


ประเทศ ต่อมาไดูมีการประมวลหลักเกณฑ์ในการทำาสนธิสัญญา
ไวูในอนุสัญญากรุงเวียนนา ว่าดูวยสนธิสัญญา ค.ศ. 1969 ซึง่ ไดู
บัญญัติเกีย
่ วกับความหมาย ขัน
้ ตอน ผลของสนธิสัญญา การใชู
การตี ค วาม และการสิ น
้ ผลของสนธิ สั ญ ญาอั น เป็ นแนวปฏิ บั ติ
สำาหรับการทำาสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
2. การทำาสนธิสัญญาขึน
้ อย่้กับการแสดงเจตจำานงของรัฐ และ
มีกระบวนการ ขัน
้ ตอนทีส
่ ำา คัญๆในการทำา สนธิสัญญา คือการ
แต่งตัง้ ผู้มีอำา นาจเต็ม หรือโดยผู้อำา นาจหนูาทีโ่ ดยตำา แหน่ง เช่น
ประมุขของรัฐหรือหัวหนูารัฐบาล วิธีการเจรจา การยอมรับขูอ
บทสนธิสัญญา การยอมรับขัน
้ สุดทูาย การประกาศใชู และการ
จดทะเบียนสนธิสัญญา
3. คว ามสมบ้ ร ณ์ ข องสนธิ สั ญญาขึ้ น อ ย่้ กั บ เ งื่ อ นไข ห ลาย

ประการ ไดู แ ก่ คุ ณ สมบั ติ แ ละความ สามารถของค่้ ภ าคี ก ารใหู


ความยินยอมเหตุแห่ง โมฆะกรรมของสนธิสัญญาสนธิสัญญาทีม
่ ี
ผลสมบ้รณ์ ย่อมมีผลบังคั บระหว่ างค่้ภาคี ซึ่ง สามารถทำา ความ
ตกลงเกี ย
่ วกั บ การใชู การตี ค วาม การตั ้ง ขู อ สงวน การแกู ไ ข
เปลีย
่ นแปลงสนธิสัญญา และในบางกรณีสนธิสัญญาอาจจะมีผล
ต่อรัฐทีส
่ ามไดู
4. สนธิ สั ญ ญาอาจจะสิ น
้ ผลโดยเหตุ ห ลายประการทั ้ง เหตุ ที ่
กำาหนดไวูในสนธิสัญญา เหตุจากพฤฒิการณ์ภายนอก เหตุจาก
58

การละเมิ ด สนธิ สั ญ ญา หรื อ การกระทำา ที ไ่ ม่ ช อบดู ว ยกฎหมา


ยอื่ น ๆ ตลอดจนเหตุ สุ ด วิ สั ย และการมี เ หตุ ก ารณ์ ที ่ทำา ใหู ไ ม่
สามารถปฏิบัติตามสนธิสัญญาไดู ซึง่ ค่้ภาคีอาจจะจดแจูงการไม่
ใชู หรื อ การสิ น
้ ผลของสนธิ สั ญ ญา การสิ น
้ สุ ด ของสนธิ สั ญ ญา
อาจจะไม่กระทบต่อพันธกรณีของรัฐค่้ภาคีตามกฎหมายระหว่าง
ประเทศอืน
่ ๆ หรือจารีตประเพณีระหว่างประเทศ

5.1 วิวัฒนาการของกฎหมายสนธิสัญญา
1. กฎหมายสนธิ สั ญ ญาวิ วั ฒ นาการมาจากจารี ต ประเพณี
ระหว่างประเทศ ซึง่ เป็ นแนวทางในการปฏิบัติของรัฐเกีย
่ วกับการ
ทำา สนธิ สั ญ ญา ความตกลง ระหว่ า งกั น มาชู า นาน ต่ อ มาคณะ
กรรมาธิ ก ารกฎหมายระหว่ า งประเทศซึ่ง ตั ้ง ขึ้น มาโดยองค์ ก าร
สหประชาชาติไดูจัดทำาประมวล กฎ ระเบียบ ทางปฏิบัติเหล่านี ้
ขึ้น เป็ นอนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนา ค.ศ. 1969 โดยกำา หนดแนวทาง
ปฏิ บั ติใ นการทำา สนธิ สั ญ ญาระหว่ า งรั ฐ เท่ า นั ้น ต่ อ มาในปี ค.ศ.
1986 จึ ง ไดู มี ก ารจั ด ทำา อนุ สั ญ ญาอี ก ฉบั บ หนึ่ ง ซึ่ ง กำา หนดหลั ก
เกณฑ์ ใ นการทำา สนธิ สั ญ ญาระหว่ า งรั ฐ กั บ องค์ ก ารระหว่ า ง
ประเทศ หรือระหว่างองค์การระหว่างประเทศดูวยกัน
2. อนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนา ค.ศ. 1969 ใชู บั ง คั บ เฉพาะกั บ สนธิ
สัญญาทีก
่ ระทำา ระหว่างรัฐอย่างไรก็ตามจารีตประเพณีร ะหว่า ง
ประเทศยังคงใชูไดูกับสนธิสัญญาระหว่างประเทศในส่วนทีไ่ ม่ไดู
บัญญัติไวูในอนุสัญญาดังกล่าว
3. คำา นิยมของสนธิสัญญา ตามมาตรา 2(1)(a) อนุสัญญากรุง

เวี ย นนา ค.ศ. 1969 หมายถึ ง ความตกลงระหว่ า งประเทศที ่


59

กระทำา ขึ้นโดยรั ฐ ตามกฎหมายระหว่ า งประเทศเป็ นลายลั ก ษณ์


อั ก ษรไม่ ว่ า จะกระทำา ขึ้น เป็ นตราสารฉบั บ เดี ย วหรื อ หลายฉบั บ
ก็ตาม และไม่ว่าจะใชูชือ
่ เรียกตราสารนัน
้ อย่างไรก็ตาม
4. สนธิสัญญาอาจจะจำา แนกประเภทตามจำา นวนของภาคีของ

สนธิสัญญา หรืออาจจำาแนกตามสถานะของผู้เจรจา ลงนามซึ่ง


ทำา ใหู ส นธิ สั ญ ญามี ชื่ อ ที แ
่ ตกต่ า งไปตามความสำา คั ญ ของสนธิ
สัญญาทีก
่ ระทำาโดยบุคคลเหล่านัน
้ และตามเจตจำานงของรัฐภาคี

5.1.1 วิวัฒนาการและหลักการเกีย
่ วกับกฎหมายสนธิสัญญา
จงอธิบายหลักกฎหมายทีส
่ ำาคัญเกีย
่ วกับสนธิสัญญา
หลั ก กฎหมายที ส
่ ำา คั ญ เกี ย
่ วกั บ สนธิ สั ญ ญา เป็ นกฎหมาย
จารี ต ประเพณี ร ะหว่ า งประเทศ และแนวทางปฏิ บั ติ ข องรั ฐ ที ่
ปฏิบัติกันมาชูานาน จนเป็ นทีย
่ อมรับ และต่อมาไดูมีการประมวล
กฎหมายลายลักษณ์อักษร คืออนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1969
ขณะทีจ
่ ารีตประเพณีอืน
่ ๆ ทีม
่ ิไดูระบุไวูในอนุสัญญาดังกล่าวก็ยัง
มีผลบังคับอย่้เช่นกันทัง้ นีต
้ ามกฎหมายระหว่างประเทศ หลักการ
ทีส
่ ำาคัญอันเป็ นพืน
้ ฐานของกฎหมายสนธิสัญญาคือ หลักอำานาจ
อธิปไตย (Sovereignty) ทีเ่ ท่าเทียมกันของรัฐทัง้ ปวง หลักการกระ
ทำา โดยสุ จ ริ ต (Good Faith) และการแสดงเจตจำา นงโดยสมั ค รใจ
(Free consent) ต ล อ ด จ น ห ลั ก สั ญ ญ า ย่ อ ม ผ้ ก พั น (Pacta sunt
servanda) เป็ นหัว ใจที ส
่ ำา คัญ ยิง่ ของหลักการทำา สนธิสัญญา และ
เป็ นหลักการพืน
้ ฐานในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศดูวย
60

5.1.2 ขอบเขตของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยกฎหมาย
สนธิสัญญา ค.ศ. 1969
อธิบายขอบเขตการบังคับใชูของอนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ.
1969
ขอบเขตของอนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนาว่ า ดู ว ยกฎหมายสนธิ
สัญญา ค.ศ. 1969 ไดูกำาหนดและวางหลักเกณฑ์เป็ นกฎหมายใชู
สำาหรับการจัดทำา และขัน
้ ตอนต่างๆ ในการทำาสนธิสัญญา รวม
ทั ้ง การมี ผ ลบั ง คั บ การสิ น
้ ผลบั ง คั บ หรื อ การสิ น
้ สุ ด ของสนธิ
สัญญา อย่างไรก็ตามอนุสัญญาฉบับดังกล่าวไมูไดูครอบคลุมถึง
หรือปรับ ใชูกับ สนธิสั ญญาทุก ฉบั บ แต่ จำา กัด เพี ยงสนธิสัญญาที ่
กระทำาระหว่างรัฐเท่านัน
้ อนุสัญญากรุงเวียนนามิไดูใชูบังคับกับ
สนธิสัญญาทีท
่ ำาระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศ หรือสนธิ
สั ญ ญาที ่ทำา ระหว่ า งองค์ ก ารระหว่ า งประเทศดู ว ยกั น และ
อนุ สั ญญากรุ ง เวี ย นนา ค.ศ. 1969 ก็ ไ ม่ ไ ดู กู า วล่ ว งไปกำา หนดใน
ส่วนเนือ
้ หาสาระของตัวสนธิสัญญาทีร
่ ัฐกระทำาระหว่างกัน คงใหู
เป็ นไปตามแต่เ จตจำา นงของภาคี สนธิสัญ ญาจะตกลงกัน สำา หรั บ
ตั ว อนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนาดั ง กล่ า วก็ มิ ไ ดู เ ป็ นการประมวลและ
ประกาศหลักกฎหมายระหว่างประเทศทัง้ หมดทัง้ ปวง ทีว
่ ่าดูวย
ก า ร ทำา ส น ธิ สั ญ ญ า จ า รี ต ป ร ะ เ พ ณี ใ ด ที ่ มิ ไ ดู บั ญ ญั ติ ไ วู ใ น
อนุสัญญาดังกล่าวก็ยังคงใชูบังคับอย่้ เช่น สนธิสัญญาทีท
่ ำา ดูวย
วาจาเป็ นตูน

5.1.3 คำานิยามของสนธิสัญญา
61

อธิบายว่าอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยกฎหมายสนธิสัญญา
ค.ศ. 1969 ไดูบัญญัติเกีย
่ วกับบทนิยามของสนธิสัญญาไวูอย่างไร
อนุสั ญญากรุง เวียนนาไดู ใ หู บ ทนิ ย ามของสนธิ สัญ ญาไวู ใ น
มาตรา 2(1)(a) ความว่าสนธิสัญญาหมายถึงความตกลงระหว่าง
ประเทศทีก
่ ระทำาขึน
้ ระหว่างรัฐเป็ นลายลักษณ์อักษร และอย่้ภาย
ใตู บั ง คั บ กฎหมายระหว่ า งประเทศ ไม่ ว่ า จะกระทำา ขึ้ น เป็ น
ตราสารฉบับเดียว หรือสองฉบับ หรือหลายฉบับทีม
่ ีความเกีย
่ ว
เนื่อ งสั ม พั นธ์ กั น และไม่ ว่ า จะมี ชื่อ เฉพาะเรี ย กว่ า อย่ า งไรก็ ต าม
ดั ง นั ้น จึ ง เห็ น ไดู ว่ า อนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนาว่ า ดู ว ยกฎหมายสนธิ
สั ญ ญา ค.ศ. 1969 จำา กั ด คำา นิ ย าม สนธิ สั ญ ญา เฉพาะสนธิ
สัญญาทีก
่ ระทำาระหว่างรัฐเท่านัน
้ ไม่ไดูหมายรวมถึงสนธิสัญญาที ่
กระทำาโดยรัฐกับองค์การระหว่างประเทศ หรือระหว่างองค์การ
ระหว่ า งประเทศดู ว ยกั น หรื อ ระหว่ า งองคาพยพอื่ น ๆ และไม่
ครอบคลุมถึงความตกลงทีม
่ ิไดูกระทำาเป็ นลายลักษณ์อก
ั ษร

5.1.4 ประเภทของสนธิสัญญา
อธิบายการจำาแนกประเภทของสนธิสัญญา ว่ามีหลักเกณฑ์
ในการพิจารณาจำาแนกอย่างไร
การจำา แนกประเภทของสนธิ สัญ ญามั ก จะจำา แนกไดู ห ลาย
ประเภท และอาจจะพิ จ ารณาไดู ห ลายลั ก ษณะ กล่ า วคื อ การ
จำา แนกโดยจำา นวนผู้ เ ขู า ร่ ว มเป็ นภาคี ข องสนธิ สั ญ ญาที เ่ รี ย กว่ า
เป็ น “Law Making Treat” ซึ่ ง หมายถึ ง สนธิ สั ญ ญาที เ่ ป็ นบ่ อ เกิ ด
ของกฎหมาย อันทีจ
่ ริงสนธิสัญญาทุกฉบับทีก
่ ระทำา ขึน
้ โดยชอบ
ตามกฎหมายก็ ถื อ ว่ า เป็ น “Source of Law” ทั ้ ง สิ ้น แต่ สนธิ
62

่ ีฐานะเป็ น “Law making treaty” จะมีบทบาทในการวาง


สัญญาทีม
หลั กกฎหมายระหว่ างประเทศ เป็ นตู น นั ก กฎหมายบางท่ า นก็
เห็นว่าการจำาแนกประเภทของสนธิสัญญาไม่ค่อยจะเป็ นสิง่ สำาคัญ
มากนัน
้ อย่างไรก็ตามการจำา แนกประเภทสนธิสัญ ญาทีน
่ ั บว่ ามี
ความสำาคัญคือ สนธิสัญญาทวิภาคี กับสนธิสัญญาพหุภาคี ซึง่ มี
นัยอันสำาคัญเนือ
่ งจากกฎหมายระหว่างประเทศทีป
่ รับใชูกับกรณี
ทั ง้ สองมีค วามแตกต่างกั นเกีย
่ วกั บสิ ทธิ และหนูา ที ่ ความผ้ ก พั น
และความสัมพันธ์ระหว่างค่้ภาคีซึง่ มีอย่้หลายฝ่ ายนัน
่ เอง

5.2 การทำาสนธิสัญญา
1. การเจรจาเป็ นขัน
้ ตอนเบือ
้ งตูนในการทำาสนธิสัญญา ซึง่ ภาคี
สนธิ สั ญ ญาโดยตั ว แทนผู้ มี อำา นาจหนู า ที ใ่ นการเจรจาในฐานะ
ตั ว แทนรั ฐ จะปรึ กษาหารื อ แลกเปลี ย
่ นความคิ ด เห็ น เจรจาต่ อ
รอง กำา หนดเงื่อ นไขความตกลงต่ า งๆ ระหว่ า งกั น แลู ว จั ด ทำา
เป็ นร่างสนธิสัญญาเพือ
่ การรับรองต่อไป
2. การรับรองเบือ
้ งตูน หรือทีเ่ รียกว่าการรับรองชัว
่ คราว เป็ น
ขัน
้ ตอนตรวจสอบร่างสนธิสัญญาว่าเป็ นไปตามทีเ่ จรจาตกลงกัน
เป็ นทีแ
่ น่นอนแลูว และยืนยันความถ้กตูองของสนธิสัญญา และ
แสดงความเห็นชอบของรัฐผู้เจรจาในสนธิสัญญานัน
้ ๆ ว่าพรูอม
ทีจ
่ ะใหูรั ฐดำา เนิ นการรับ รองขัน
้ สุด ทูา ย ส่ วนการยืน ยัน ในความ
ถ้ ก ตู อ งแทู จ ริ ง ของขู อ บทของสนธิ สั ญ ญา เพื่ อ ที ร
่ ั ฐ ภาคี จ ะไดู
ยึดถือ ตามขู อบทสนธิ สัญ ญาที ไ่ ดู รับ การยื นยั นว่ าถ้ กตู องแทู จริง
และแน่นอนนัน

63

3. การใหู ค วามยิ น ยอมผ้ ก พั น ตามผลของสนธิ สั ญ ญา หรื อ ที ่

เรี ย กว่ า การยอมรั บ ขั ้น สุ ด ทู า ย เป็ นขั ้น ตอนที ร


่ ั ฐ ภาคี ข องสนธิ
สั ญ ญาแสดงความจำา นงที ่จ ะรั บ ผ้ ก พั น ตามพั น ธกรณี ใ นสนธิ
สั ญ ญา การยอมรั บ ขั ้น สุ ด ทู า ยนี อ
้ าจจะกระทำา โดยการลงนาม
การใหูสัตยาบัน การภาคยานุวัติ หรือการแสดงความยินยอมใน
ร้ปแบบอื่นๆ ตามทีก
่ ำาหนดในสนธิสัญญา หรือตามหนังสือมอบ
อำานาจเต็ม Full Powers
4. หลังจากการทำาสนธิสัญญาเสร็จเรียบรูอยแลูว โดยปกติจะ
มีก ารประกาศใชูสนธิ สัญ ญา และมีก ารจดทะเบี ย นสนธิ สั ญ ญา
กับสำานักงานเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ

5.2.1 การเจรจาและผู้มีอำานาจในการทำาสนธิสัญญาผ้กพัน
รัฐ
อธิบายว่าบุคคลผู้มีอำา นาจในการทำา สนธิสัญญาแทนรัฐคือ
ใครบู าง และจะตู อ งดำา เนิ น การอย่ า งไร ตามกฎหมายระหว่ า ง
ประเทศ
การทำา สนธิ สั ญ ญานั ้ น ย่ อ มกระทำา ไดู โ ดยบุ ค คลภายใตู
กฎหมายระหว่ า งประเทศเท่ า นั ้น (Subject of International Law)
ไดู แ ก่ รั ฐ และองค์ ก ารระหว่ า งประเทศ เมื่ อ สนธิ สั ญ ญาย่ อ ม
กระทำา ไดูแ ต่โ ดยบุ ค คลในกฎหมายระหว่ า งประเทศคื อ รั ฐ หรื อ
องค์การระหว่างประเทศดังกล่าว ซึง่ เป็ นนิติบุคคล ก็ย่อมจะตูอง
มี ผู้ แ ทนนิ ติ บุ ค ค ล หรื อ ตั ว แ ท นที ่ มี อำา น าจ ก ร ะทำา ก าร แ ท น
นิ ติ บุ ค คล หากในกรณี ข องรั ฐ ก็ ไ ดู แ ก่ ป ระมุ ข ของรั ฐ หั ว หนู า
รั ฐ บาลหรื อ รั ฐ มนตรี เ ป็ นตู น ซึ่ ง จะเป็ นตั ว แทนในการเจรจา
64

ตกลง และร่ า งสนธิ สั ญ ญา ตลอดจนขั ้น ตอนอื่ น ๆ จนกว่ า จะ


่ ี อำา นาจตามตำา แหน่ ง Ex
เสร็ จ สมบ้ ร ณ์ โดยถื อ ว่ า เป็ นบุ ค คลที ม
Officio
แ ต่ ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ โ ด ย ทั่ ว ไ ป มั ก จ ะ มี ตั ว แ ท น รั ฐ ใ น ร ะ ดั บ
รั ฐ มนตรี หรื อ ในบางกรณี ส นธิ สั ญ ญาอาจจะกระทำา โดยเจู า
หนู า ที ข
่ องรั ฐ ในระดั บ รองลงมา เช่ น โดยตั ว แทนของกระทรวง
หรือหน่วยงานอื่นๆ ทีเ่ กีย
่ วขูองจำา แนกตามความเหมาะสมและ
ลั ก ษณะของสนธิ สั ญญา ตลอดจนระดั บ ของความเป็ นทางการ
หรือร้ปแบบของการทำา สนธิสัญญา โดยจะตูองมีการแต่งตัง้ โดย
ชอบและมีการออกหนังสือมอบอำานาจเต็ม Full Powers ใหูบุคคล
นั ้ น ซึ่ ง หมายถึ ง หนั ง สื อ ที ่อ อกโดยหน่ ว ยงานหรื อ บุ ค คลที ่มี
อำา นาจของรั ฐ ซึ่ง แต่ ง ตั ้ง บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ง หรื อ หลายคนเพื่อ
เป็ นตัวแทนของรัฐในการเจรจายอมรับ รับรอง ขูอบทของสนธิ
สั ญ ญา ในการแสดงเจตนาของรั ฐ ในการที ร
่ ั ฐ จะผ้ ก พั น ตามผล
ของสนธิ สั ญ ญา หรื อ เพื่ อ ที ่จ ะกระทำา การใดๆ ใหู เ สร็ จ สิ ้น
สมบ้ ร ณ์ เ กี ย
่ วกั บ การทำา สนธิ สั ญ ญา และบุ ค คลที จ
่ ะถื อ ว่ า เป็ น
ตัวแทนของรัฐซึ่งมีอำา นาจในการรับรองความถ้กตูองของขูอบท
ของสนธิสัญญา หรือในการทีจ
่ ะแสดงเจตนาในนามของรัฐในอัน
ทีจ ้ จะตูอง (ก) ไดูแสดงหนังสือมอบ
่ ะผ้กพันตามสนธิสัญญาไดูนัน
อำา นาจเต็ม Full Powers หรือ (ข) โดยทางปฏิบัติของรัฐ หรือใน
สถานการณ์แวดลูอมอืน
่ ๆ พิจารณาไดูว่ารัฐนัน
้ มีเจตนาใหูบุคคล
ดังกล่าวเป็ นตัวแทนของรัฐ และไดูรับการมอบอำานาจเต็ม
65

5.2.2 การรับรองและยืนยันความถ้กตูองของขูอบทในสนธิ
สัญญา
อธิบายความแตกต่างของการรับรอง (Adoption) ขูอบทของ
สนธิ สั ญ ญา กั บ การยื น ยั น ความถ้ ก ตู อ งแทู จ ริ ง (Authentication)
ของขูอบทของสนธิสัญญา
การรั บ รอง (Adoption) ขู อ บทของสนธิ สั ญ ญาที ไ่ ดู ร่ ว มกั น
เจรจาตกลงกั น โดยรั ฐ ภาคี ข องสนธิ สั ญ ญาเป็ นการยื น ยั น ว่ า
ขูอความเงื่อนไข ถูอยคำา ทีบ
่ รรจุอย่้ในสนธิสัญญาเป็ นไปตามที ่
ไดูเจรจากันไวูทุกประการ และรัฐภาคีเห็นชอบตามทีไ่ ดูบัญญัติ
ไวู เป็ นขูอ บทนัน
้ ๆ แลูว ทัง้ นีเ้ พื่อ ปู องกั น การขั ดแยู ง หรือ การโตู
แยู ง ในภายหลั ง ที ว
่ ่ า เจรจากั น ไปนั ้น ไม่ ไ ดู เ ขี ย นไวู เ ช่ น นั ้น ถื อ ว่ า
เป็ นการรับรองร่างสนธิสัญญาว่าเป็ นไปตามทีต
่ กลงกัน
ส่วนการยืนยันความถ้กตูองแทูจริง (Authentication) ของขูอ
บทสนธิสัญญานัน
้ ขูอบทของสนธิสัญญาทีไ่ ดูรับการรับรองแลูว
ย่อมตูองมาส่้การยอมรับหรือยืนยันในความถ้กตูองแทูจริงของตัว
้ ๆ ว่าถูอยคำามีความถ้กตูอง (Authentic)
ขูอบทของสนธิสัญญานัน
แน่นอน (Definitive) ชัดเจน เป็ นขูอบททีแ
่ สดงถึงเจตนารมณ์ของ
สนธิ สัญ ญาฉบั บ นั ้นๆและรั ฐ ภาคี ทั ง้ ปวงที เ่ ขู า ร่ ว มเจรจาเมื่อ ไดู
รับรอง และยืนยันความถ้กตูองแทูจริงของขูอบทสนธิสัญญาแลูว
ย่อมผ้กพันตนปฏิบัติตามสนธิสัญญาฉบับทีเ่ ป็ น authentic หรือที ่
เป็ นฉบั บ ถ้ ก ตู อ งแทู จ ริ ง นั ้น ๆ โดยจะมี อี ก ขั ้น ตอนหนึ่ ง คื อ การ
แสดงเจตนารมณ์ผ้กพันตามสนธิสัญญา

5.2.3 การใหูความยินยอมผ้กพันตามผลของสนธิสัญญา
66

อธิ บ ายความแตกต่ า งของการแสดงเจตนายิ น ยอมของรั ฐ


เพื่อผ้กพันตามสนธิสัญญาโดยการใหูสัตยาบัน (Ratification) กับ
การภาคยานุวัติ (Accession)
การใหู สั ต ยาบั น (Ratification) คื อ ขบวนการหรื อ ขั ้น ตอนที ่
กำาหนดใหูรัฐแสดงเจตนารมณ์ใหูความยินยอมผ้กพันรัฐตามสนธิ
สัญญา ดังนัน
้ หากในสนธิสัญญาใดทีม
่ ีการกำา หนดใหูตูองมีการ
ใหูสัตยาบันกันก่อนสนธิสัญญาจึงจะผ้กพันรัฐนัน
้ หากรัฐภาคีใด
ยังไม่ไดูใหูสัตยาบันรัฐนัน
้ ก็ยังไม่ตูองผ้กพันตามสนธิสัญญาแมูว่า
รัฐ นัน
้ จะไดู ลงนามในสนธิ สัญ ญาแลู วก็ ตาม การใหู สัต ยาบั น จึ ง
เป็ นการแสดงความยินยอมขัน
้ สุดทูายทีจ
่ ะผ้กพันตามสนธิสัญญา
ทีร
่ ัฐภาคีนัน
้ ไดูเขูาร่วมเจรจา ตกลงทำาสนธิสัญญา
ส่วนการภาคยานุวัติ (Accession) ก็เป็ นอีกวิธีหนึง่ ในการทีร
่ ัฐ
แสดงความยิ น ดี เ ขู า ผ้ ก พั น ตามสนธิ สั ญ ญาการภาคยานุ วั ติ จ ะ
กระทำา ในกรณี ทีร
่ ั ฐนั น
้ ไม่ไ ดูเ ป็ นรัฐ ภาคีที เ่ ขู าร่ ว มเจรจา และลง
นามในสนธิสัญญาตัง้ แต่แรก แต่เขูามารับเอาผลของสนธิสัญญา
ในภายหลัง ซึง่ การจะเขูามาภาคยานุวัติสนธิสัญญาไม่ใช่สิง่ ทีจ
่ ะ
กระทำาไดูโดยอำาเภอใจ แต่จะตูองเป็ นกรณีทีส
่ นธิสัญญาฉบับนัน

ไดู กำา หนดไวู ใ หู ก ระทำา ไดู หรื อ รั ฐ ภาคี ที เ่ ขู า ร่ ว มเจรจาทำา สนธิ
สัญญาไดูตกลงใหูกระทำาไดู หรือต่อมาในภายหลังรัฐภาคีทัง้ ปวง
ไดูตกลงกันใหูมีการภาคยานุวัติไดู

5.2.4 กระบวนการภายหลังการทำาสนธิสัญญา
อธิ บ ายว่ า หลั ง จากการทำา สนธิ สั ญ ญาแลู ว มี ขั ้น ตอนอื่น ที ่
สำาคัญอะไรบูาง
67

เมื่อรั ฐภาคี ไดู ทำา สนธิสัญ ญาเรี ยบรูอ ยแลู ว กล่ า วคื อ มี ก าร
ลงนาม หรือไดู มีก ารลงนามโดยมี การใหูสัตยาบั น การยอมรั บ
การใหูความเห็นชอบ หรือภาคยานุวัติแลูว และสนธิสัญญามีผล
บั ง คั บ ตามกระบวนการที ก
่ ำา หนดแลู ว จะมี ก ารแต่ ง ตั ้ง รั ฐ ผู้ ทำา
หนู า ที เ่ ก็ บ รั ก ษา ด้ แ ล สนธิ สั ญ ญา ที เ่ รี ย กว่ า Depositary ซึ่ง ผู้
รั ก ษาสนธิ สั ญ ญานี ้ จะตู อ งดำา เนิ น การจั ด ส่ ง สนธิ สั ญ ญาไปยั ง
สำา นั ก เลขาธิ ก ารสหประชาชาติ เพื่ อ การจดทะเบี ย น และจั ด
พิ ม พ์ เผยแพร่ สนธิ สั ญญานั ้น ต่ อ ไป กล่ า วโดยสรุ ป คื อ ขั น
้ ตอน
หลังจากการทำา สนธิสัญญาแลูวประกอบดูวย การแต่งตัง้ ผู้ด้แล
รั ก ษาสนธิ สั ญ ญา การจดทะเบี ย นสนธิ สั ญ ญา การจั ด เก็ บ
บันทึก และการจัดตีพิมพ์เผยแพร่สนธิสัญญา

5.3 ความสมบูรณ์และผลของสนธิสัญญา
1. สนธิสัญญาทุกฉบับทีม
่ ีผลบังคับใชูแลูว ย่อมผ้กพันภาคีของ
สนธิสัญญานัน
้ ๆ และภาคีทัง้ ปวงตูองปฏิบัติตามสนธิสัญญานัน
้ ๆ
โดยสุจริต และบทบัญญัติของสนธิสัญญาย่อมมีผลบังคับทีเ่ หนือ
กว่ากฎเกณฑ์ใดๆ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามกฎหมายระหว่างประเทศ และ
จารีตประเพณีระหว่างประเทศ
2. การตั ง
้ ขู อ สงวนในสนธิ สั ญ ญาเป็ นถู อ ยแถลงฝ่ ายเดี ย ว ซึ่ง
กระทำาโดยรัฐภาคีใดรัฐหนึ่งซึ่งกระทำา ในขณะทีม
่ ีการลงนาม ใหู
สัตยาบน ใหูการยอมรับ ใหูความเห็นชอบ หรือทำา ภาคยานุวัติ
ในสนธิ สั ญ ญาเพื่ อ ที จ
่ ะแกู ไ ขเปลี ย
่ นแปลงผลทางกฎหมายบาง
ประการของสนธิ สั ญ ญา หรื อ เพื่ อ ไม่ ตู อ งถ้ ก ผ้ ก พั น ในขู อ บทใด
ของสนธิสัญญา ทีจ
่ ะมีต่อรัฐทีต
่ ัง้ ขูอสงวนนัน
้ อันเป็ นเงื่อนไขใน
68

การทีจ
่ ะเขูาเป็ นภาคีของสนธิสัญญา และผ้กพันโดยสนธิสัญญา
นัน

่ เติม (Amendment) หมายถึงการแกูไขเพิม
3. การแกูไขเพิม ่ เติม
บทบัญญัติแห่งสนธิสัญญาอย่างเป็ นทางการเพือ
่ ใหูมีผลบังคับต่อ
รั ฐ ภาคี แ ห่ ง สนธิ สั ญ ญานั ้น ทุ ก รั ฐ และกระทำา ไดู โ ดยอาศั ย หลั ก
เกณฑ์เดียวกันกับการทำาสนธิสัญญาและการมีผลบังคับของสนธิ
สัญญา เวูนแต่สนธิสัญญานัน
้ จะกำาหนดไวูเป็ นอย่างอืน
่ ส่วนการ
่ นแปลงสนธิ สั ญ ญา (Modification) นั ้ น เป็ นการเปิ ด
แกู ไ ขเปลี ย
โอกาสใหูรัฐภาคีแห่งสนธิสัญญาบางรัฐทีจ
่ ะทำา ความตกลงใหูใน
ระหว่างกันเอง เพือ
่ แกูไขเปลีย
่ นแปลงบทบัญญัติแห่งสนธิสัญญา
ใหูมีผลบังคับเป็ นการเฉพาะในระหว่างกันเองไดู และจะกระทำา
ไดูต่อเมื่อสนธิสัญญานั น
้ เปิ ดโอกาสใหูกระทำา ไดู และไม่หูา มใน
การแกูไขเปลีย
่ นแปลงเช่นว่านัน
้ โดยจะตูองไม่กระทบกระเทือน
ต่อการใชูสิทธิของภาคีอืน
่ ภายใตูสนธิสัญญานัน
้ ๆ
4. การตี ความสนธิสั ญญานั น
้ ใหูตีความดูว ยดู วยความสุจ ริต
(Good Faith) เป็ นไปตามความหมายปกติธรรมดาแห่งถูอยคำาของ
สนธิ สั ญ ญาในบริ บ ทของสนธิ สั ญ ญาโดยคำา นึ ง ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์
และความมุ่งหมายของสนธิสัญญานัน
้ ดูวย
5. สนธิ สั ญ ญาที ก
่ ระทำา ขึ้ น ย่ อ มไม่ ก่ อ ใหู เ กิ ด ผลความผ้ ก พั น
หรือก่อสิทธิใดๆ ต่อรัฐทีส
่ าม โดยปราศจากความยินยอมของรัฐ
ทีส
่ ามนัน
้ ดังนัน
้ ความผ้กพันต่อ หรือสิทธิทีจ
่ ะใหูแก่รัฐทีส
่ ามจะ
บังเกิดขึน
้ ไดูต่อเมื่อสนธิสัญญานัน
้ มีบทบัญญัติกำา หนดไวูเช่นนัน

โดยภาคีของสนธิสัญญาประสงค์ใหูมีผลเช่นว่านัน
้ และรัฐทีส
่ าม
69

ไดู แ สดงเจตนาโดยชั ด แจู ง เป็ นลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเขู า รั บ ความ


ผ้กพันนัน

5.3.1 ผลบังคับของสนธิสัญญา
อธิ บ ายผลบั ง คั บ ของสนธิ สั ญ ญาต่ อ ค่้ ภ าคี ต ามกฎหมาย
ระหว่างประเทศ
ผลบั ง คั บ ของสนธิ สั ญ ญาต่ อ ค่้ ภ าคี ต ามกฎหมายระหว่ า ง
ประเทศนัน
้ มีหลักการว่าสนธิสัญญาทุกฉบับทีม
่ ีผลบังคับใชูแลูว
ย่อมผ้กพันภาคีของสนธิสัญญานัน
้ ๆ และภาคีทัง้ ปวงตูองปฏิบัติ
ตามสนธิ สั ญ ญานั ้น ๆ โดยสุ จ ริ ต “Good Faith” รั ฐ นั ้น ย่ อ มตู อ ง
ผ้ ก พั น ตามที ไ่ ดู ต กลงกั น ตามหลั ก การพื้น ฐานของหลั ก “Pacta
Sunt Servanda” นอกจากนั ้ น การมี ผ ลบั ง คั บ ในตั ว เองของสนธิ
สัญญาตามกฎหมายจารีตประเพณี ตามหลักทีว
่ ่า “สัญญาย่อม
ผ้ ก พั น รั ฐ ผู้ ก ระทำา ” ทำา ใหู สั ญ ญามี ผ ลบั ง คั บ ความผ้ ก พั น ตาม
สนธิ สั ญ ญาต่ อ รั ฐ ดั ง นี ้ เป็ นความผ้ ก พั น ที ่มี อ ย่้ เ หนื อ ดิ น แดน
ทั ้ง หมดของรั ฐ และสนธิ สั ญ ญาไม่ มี ผ ลยู อ นหลั ง ยิ ง่ กว่ า นั ้น รั ฐ
ภาคีทีต
่ ูองผ้กพันตามสนธิสัญญาจะตูองอนุวัติการตามผลบังคับ
ของสนธิ สั ญ ญาโดยจะกล่ า วอู า งกฎหมายภายในเพื่ อ ไม่ ป ฏิ บั ติ
ตามสนธิ สั ญญาไม่ ไ ดู หากไม่ ป ฏิ บั ติต ามสนธิ สัญ ญาย่ อ มก่ อ ใหู
เกิดความรับผิดตามกฎหมายระหว่างประเทศ และโดยหลักทัว
่ ไป
สนธิสัญญาย่อมผ้กพันเฉพาะต่อรัฐภาคีไม่ผ้กพันต่อรัฐทีส
่ าม เวูน
แต่ ใ นสนธิ สั ญ ญา หรื อ รั ฐ ภาคี จ ะกำา หนดไวู และรั ฐ ที ส
่ ามตู อ ง
ยินยอมทีจ
่ ะผ้กพันตามสนธิสัญญาดูวย
70

5.3.2 การตัง้ ขูอสงวนในสนธิสัญญา


อธิบายความหมายและผลทางกฎหมายของขูอสงวน
ขูอสงวน หมายถึงถูอยแถลงฝ่ ายเดียวไม่ว่าจะมีชือ
่ เรียกหรือ
มี วลีอ ย่างไรก็ ตาม ซึ่งกระทำา โดยรัฐ ภาคในขณะที ม
่ ี ก ารลงนาม
ใหู สั ต ยาบั น ใหู ก าร ยอมรั บใ หู ค ว าม เห็ นช อบ หรื อ ใหู ก าร
ภาคยานุวัติ ในสนธิสัญญา โดยมีวัตถุประสงค์ทีจ
่ ะยกเวูน หรือ
เปลี ย
่ นแปลงผลบั ง คั บ ทางกฎหมายของขู อ บทในสนธิ สั ญ ญา
เฉพาะบทใดบทหนึง่ หรือบางบทในการทีจ
่ ะบังคับใชูต่อรัฐทีต
่ ัง้ ขูอ
สงวนนั ้น การตั ้ง ขู อ สงวนมั ก จะกระทำา ในกรณี ข องสนธิ สั ญ ญา
พหุภาคี ดังนัน
้ การทำาสนธิสัญญาพหุภาคีโดยรัฐภาคีหลายฝ่ ายที ่
บางรั ฐ ประสงค์ ที จ
่ ะผ้ ก พั น ตามสนธิ สั ญ ญาในสาระสำา คั ญ ส่ ว น
ใหญ่ แต่ไม่เห็นดูวย หรือไม่ประสงค์ทีจ
่ ะรับบทเฉพาะบางบทจึง
จำาเป็ นตูองมีกระบวนการในการตัง้ ขูอสงวน ทัง้ นีเ้ พื่อเปิ ดโอกาส
ใหูรัฐภาคีเหล่านัน
้ ไดูเป็ นภาคีของสนธิสัญญาแต่ตัง้ ขูอสงวนทีจ
่ ะ
ไม่ ผ้ ก พั น หรื อ เปลี ่ย นแปลงความผ้ ก พั น บางประการในสนธิ
สั ญ ญานั ้น ๆ โดยมี รั ฐ ภาคี บ างรั ฐ หรื อ ทั ้ง หมดใหู ค วามเห็ น ชอบ
ดูวย ขณะเดียวกันก็อาจจะมีกรณีทีบ
่ างรัฐภาคีทีไ่ ม่เห็นชอบดูวย
กับขูอสงวนดังกล่าวก็สามารถคัดคูานขูอสงวนนัน
้ ไดู การตัง้ ขูอ
สงวนจะกระทำา ไดูหรือไม่จึงขึ้นอย่้กับบทบัญญัติของสนธิสัญญา
หรื อ การตกลงของรั ฐ ภาคี แ ห่ ง สนธิ สั ญ ญานั ้น การตั ้ง ขู อ สงวน
และการคั ด คู า นขู อ สงวนนั ้น อาจจะถอนไดู ใ นเวลาใดเวลาหนึ่ง
ก็ไดู เวูนแต่สนธิสัญญาจะกำาหนดไวูเป็ นอย่างอืน
่ และจะมีผลต่อ
71

เมือ
่ รัฐภาคีอืน
่ ๆ ในความสัมพันธ์กับการตัง้ ขูอสงวน หรือคัดคูาน
ขูอสงวนนัน
้ ไดูรับหนังสือบอกกล่าวเช่นว่านัน

5.3.3 การแกูไขเพิม
่ เติมและการแกูไขเปลีย
่ นแปลงสนธิ
สัญญา
อ ธิ บ า ย ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ร ะ ห ว่ า ง ก า ร แ กู ไ ข เ พิ ่ ม เ ติ ม
(Amendment) กั บ ก า ร แ กู ไ ข เ ป ลี ่ ย น แ ป ล ง (Modification) ส น ธิ
สัญญา โดยนัยของอนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1969
่ เติ ม สนธิ สั ญ ญา (Amendment) หมายถึ ง การ
การแกู ไ ขเพิ ม
แกูไขเพิม
่ เติมบทบัญญัติแห่งสนธิสัญญาอย่างเป็ นทางการเพือ
่ ใหู
มี ผ ลต่ อ ภาคี แ ห่ ง สนธิ สั ญญานั ้ น ทุ กรั ฐ ในขณะที ่ ก ารแกู ไ ข
่ นแปลงสนธิสัญญา (Modification) นัน
เปลีย ้ เป็ นการเปิ ดโอกาสใหู
รัฐภาคีแห่งสนธิสัญญาบางรัฐทีท
่ ำาความตกลงระหว่างกันเองเพื่อ
แกู ไ ขเปลี ่ย นแปลงบทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง สนธิ สั ญ ญาใหู มี ผ ลบั ง คั บ
เป็ นการเฉพาะในระหว่างกันเองเพื่อใหูมีการแกูไขเปลี ย
่ นแปลง
นั ้ น ๆ ไดู แ ละไม่ บั ง คั บ ต่ อ รั ฐ ภาคี ทุ ก รั ฐ ทั ้ ง นี พ
้ ิ จ ารณาไดู จ าก
มาตรา 39 40 และ 41 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1969

5.3.4 การตีความสนธิสัญญา
อธิบายหลักทัว
่ ไปในการตีความสนธิสัญญา
หลั ก ทั่ ว ไปในการตี ค วามสนธิ สั ญ ญา ตามที บ
่ ั ญ ญั ติ ไ วู ใ น
อนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนา ค.ศ. 1969 ไดู ว างหลั ก เกณฑ์ ใ นการ
ตี ค วามสนธิ สั ญ ญา โดยยึ ด หลั ก การตี ค วามโดยสุ จ ริ ต ตามตั ว
อักษร โดยคำานึงถึงเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ของสนธิสัญญา
72

ทัง้ นีไ้ ดูพิจารณาจากบริบ ทแห่งถูอ ยคำา ความสอดคลูองของขูอ


บทแห่งสนธิสัญญา ตลอดจนพิจารณาจากเอกสารเกีย
่ วกับการ
ทำาสนธิสัญญาและทางปฏิบัติของรัฐประกอบดูวยเป็ นวิธีเสริมใน
การตี ค วามสนธิ สั ญ ญา โดยสรุ ป หลั ก เก ณฑ์ ดั ง ก ล่ า วไ ดู 5
ประการคือ
1) หลั ก การตี ค วามตามตั ว อั ก ษรและตามเจตนารมณ์ ข อง
ภาคี ซึ่ง ไดู บั ญญั ติไ วู ใ นสนธิ สัญ ญา หรือ ตามที ร
่ ั ฐ ภาคี ไ ดู ต กลง
กันไวู
2) หลักการตีความตามวัตถุประสงค์ และความมุ่งหมายของ
สนธิสัญญา
3) หลักการตีความตามหลักเหตุผลและความสอดคลูองของ
ถูอยคำา และเนือ
้ หาของสนธิ สัญญา
4) หลั ก การตี ค วามตามความเป็ นมาของสนธิ สั ญ ญา โดย
ศึกษาจากหลักฐานต่างๆ
5) หลั ก การตี ค วามตามหลั ก ประสิ ท ธิ ผ ล เพื่ อ ก่ อ ใหู เ กิ ด
ประโยชน์อย่างแทูจริงใหูเกิดผลในทางปฏิบัติและมีผลทีเ่ หมาะสม
ตามความมุ่งหมายของสนธิสัญญา

5.3.5 ผลของสนธิสัญญาต่อรัฐทีส
่ าม
อธิบายผลบังคับของสนธิสัญญาต่อรัฐทีส
่ าม
โดยหลักทัว
่ ไปแลูว สนธิสัญญาผ้กพันและมีผลบังคับเฉพาะ
ต่ อ รั ฐ ค่้ ภาคี เ ท่ านั ้น กล่ า วคือ สนธิ สัญ ญาไม่ ก่ อ ใหู เ กิ ด พั น ธกรณี
หรือสิทธิใดๆ แก่รัฐทีส
่ าม โดยปราศจากความยินยอมของรัฐที ่
สามนั น
้ อย่ า งไรก็ ต ามในบางกรณี ส นธิ สั ญ ญาอาจกำา หนดใหู มี
73

การก่อใหูเกิดสิทธิและหนูาที ่ ความผ้กพัน หรือพันธกรณีต่อรัฐที ่


สามหากรั ฐ ที ส
่ ามนั น
้ ยิ นยอม หรื อ แมู ใ นกรณี ที ส
่ นธิ สั ญ ญามิ ไ ดู
ก่อใหูเกิดสิทธิ พันธกรณีต่อรัฐทีส
่ ามเลยโดยตรง แต่โดยผลของ
การบั ง คั บ ใชู สนธิ สั ญญาอาจจะส่ ง ผลต่ อ รั ฐ ที ส
่ ามไดู เช่ น สนธิ
สั ญ ญาความตกลงว่ า ดู ว ยเรื่ อ งการขยายผลบั ง คั บ ของสิ ท ธิ
ประโยชน์ทางการคูาภายใตูหลักการชาติทีไ่ ดูรับการอนุเคราะห์
อ ย่ า ง ยิ ่ ง (A Most-Favored-Nations Clause) ห รื อ ใ น ก ร ณี ที ่ ส น ธิ
สัญญาไดูระบุใหูภาคีของสนธิสัญญาตูองถอนตัวออกจากความ
ผ้กพันตามสนธิสัญญาฉบับอื่นทีภ
่ าคีรัฐนัน
้ ไดูทำา ไวูกับรัฐอื่น ผล
ของการปฏิบัติดังกล่าวย่อมกระทบต่อสิทธิและหนูา ทีข
่ องรัฐอื่น
ภายใตูสนธิสัญญาฉบับหลังดังกล่าวนัน
้ หรือในสนธิสัญญาอาจมี
ผลผ้กพันต่อรัฐทีส
่ ามในฐานะทีห
่ ลักเกณฑ์ หรือกฎระเบียบเหล่า
นัน
้ เป็ นกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
การมีผลบังคับของสนธิสัญญาต่อรัฐทีส
่ ามอาจมีลักษณะที ่
เป็ นพั น ธะหนู า ที ่ หรื อ การใหู สิ ท ธิ ก็ ไ ดู แ ละหนู า ที ห
่ รื อ สิ ท ธิ ต าม
สนธิ สั ญ ญาต่ อ รั ฐ ที ส
่ ามดั ง กล่ า ว สามารถที จ
่ ะถ้ ก ยกเลิ ก หรื อ
แกูไขเปลีย
่ นแปลงไดูทัง้ นี ้ รัฐภาคีของสนธิสัญญา และรัฐทีส
่ าม
นัน
้ จะตูองใหูความยินยอมดูวย

5.4 การสิน
้ สุดของสนธิสัญญาและการสิน
้ ผลบังคับของ
สนธิสัญญาต่อรัฐภาคี
1. ความไม่สมบ้รณ์โดยทัว
่ ไปของสนธิสัญญามีหลายกรณี ซึ่ง
อาจจะเกิ ด จากเรื่ อ งความสามารถในการทำา สนธิ สั ญ ญาของ
ตัวแทนรัฐภาคี ความไม่สมบ้รณ์เกีย
่ วกับการใหูความยินยอมของ
74

รั ฐ ภาคี ความสำา คั ญผิ ด ในการทำา สนธิ สั ญ ญา การฉู อ ฉล การ


ประพฤติ มิ ช อบ การข่ ม ข่้ หรื อ เกิ ด จากความไม่ ส มบ้ ร ณ์ ใ นตั ว
สนธิ สั ญ ญาเอง หรื อ มี เ หตุ จ ากปั จจั ย ภายนอกอั น ทำา ใหู ส นธิ
สัญญาไม่สมบ้รณ์ ทัง้ นีเ้ ป็ นไปตามหลักเกณฑ์ตามทีก
่ ำาหนดไวูใน
อนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1969
2. ภายใตูความตกลงในสนธิสัญญา ภาคีของสนธิสัญญาย่อม

มีสิทธิทีจ
่ ะถอนตัวจากสนธิสัญญา บอกเลิกทำา ใหูสนธิสัญญาสิน

ความผ้ก พันหรื อทำา ใหูสนธิ สัญ ญาระงั บสิ น
้ ผลบั งคั บ ไป หรือ ยุ ติ
สนธิ สั ญ ญานั ้น เสี ย ไดู ในแต่ ล ะกรณี ย่ อ มมี ผ ลทางกฎหมายที ่
แตกต่างกันไป กล่าวโดยสังเขปคือการทำาใหูสนธิสัญญาสิน
้ ผลไป
กั บ การที ร
่ ั ฐ ภาคี ใ ดบอกเลิ ก สนธิ สั ญ ญา ออกจากการเป็ นภาคี
หรือไม่ผ้กพันตนตามสนธิสัญญา ในกรณีนีส
้ นธิสัญญายังคงมีผล
บังคับ หากแต่รัฐภาคีทีบ
่ อกเลิกเพิกถอน หรือออกจากการเป็ น
ภาคี ย่อมไม่มีผลบังคับผ้กพันตามสนธิสัญญา
3. โดยเหตุทีส
่ นธิสัญญาไดูกระทำา ขึน
้ ภายใตูสถานการณ์ และ
กรณีแวดลูอมอันนำา มาส่้การทำา สนธิสัญญาและเป็ นสาระสำา คัญ
ของการที ส
่ นธิ สั ญ ญาไดู ก ระทำา ขึ้น ดั ง นั ้น หากสถานการณ์ อั น
เ ป็ น ส า ร ะ สำา คั ญ ซึ่ ง เ ป็ น ส า เ ห ตุ ใ หู มี ก า ร ทำา ส น ธิ สั ญ ญ า ไ ดู
เปลี ย
่ นแปลงไป ย่อ มทำา ใหูไ ม่มี ความจำา เป็ นในความผ้ ก พั น ตาม
สนธิ สั ญ ญานั ้น อี ก ต่ อ ไปแลู ว จึ ง เป็ นเหตุ ใ หู มี ก ารยุ ติ ห รื อ สิ น
้ สุ ด
สนธิสัญญาไดูตามหลักการ Rebus sic stantibus
่ ั ด ต่ อ กฎหมายเด็ ด ขาด หรื อ Jus cogens อัน
4. สนธิ สั ญ ญาที ข

เป็ นกฎเกณฑ์ แบบแผนที เ่ ป็ นที ย


่ อมรั บ ทั่ว โลก และไม่ อ าจที จ
่ ะ
75

อนุญาตใหูมีการยกเวูน หรือเบีย
่ งเบนเป็ นอย่างอื่นไดูนัน
้ ย่อมตก
เป็ นโมฆะ
5. เมื่อภาคีของสนธิสัญญาทวิภาคีสิน
้ สถานภาพทางกฎหมาย
หรือเปลีย
่ นแปลงสถานภาพไป ทำาใหูไม่มีฐานะเป็ นภาคีของสนธิ
สัญญา กล่าวคือไม่มีค่้สัญญาทำาใหูสนธิสัญญานัน
้ สิน
้ สุดลง แต่มี
แนวคิ ด ที ถ
่ ื อ ว่ า สามารถนำา เรื่อ งการสื บ สิ ท ธิ ข องสนธิ สั ญ ญามา
ปรับใชูในกรณีทีเ่ กีย
่ วขูองไดู หรืออาจเป็ นเรือ
่ งสุดวิสัยทีจ
่ ะปฏิบัติ
ตามสนธิ สั ญ ญาไดู หรื อ เป็ นกรณี ส ถานการณ์ เ ปลี ย
่ นแปลงไป
อย่างสำาคัญไดูเช่นกัน หรือถือว่าเป็ นการถอนตัวจากสนธิสัญญา

5.4.1 ความไม่สมบ้รณ์โดยทัว
่ ไป และความบกพร่องในการ
แสดงเจตนาในการทำาสนธิสัญญา
อธิบายว่ากรณีใดบูางทีท
่ ำาใหูสนธิสัญญาเป็ นโมฆะเสียไปทัง้
ฉบับ และกรณีใดบูางทีเ่ ป็ นเพียงเหตุที ่รัฐภาคีกล่าวอูางไดูว่าสนธิ
สัญญา หรือการแสดงเจตนานัน
้ ไม่สมบ้รณ์
กรณีทีส
่ นธิสัญญาตกเป็ นโมฆะเสียไปทัง้ ฉบับตัง้ แต่เริม
่ แรก
(Void ab initio) ไดู แ ก่ ก ารทำา สนธิ สั ญ ญาอั น เกิ ด ขึ้น จากการถ้ ก
คุกคาม ข่มข่้ หรือการใชูกำาลังฝ่ าฝื นกฎบัตรสหประชาชาติ และ
การทำา สนธิ สั ญ ญาที ่ขั ด ต่ อ Jus cogens หรื อ peremptory norm
แห่งกฎหมายระหว่างประเทศ
ส่ วนกรณี ที ส
่ นธิ สั ญ ญาไม่ ส มบ้ ร ณ์ และสามารถยกขึ้น เป็ น
เหตุ ก ล่ า วอู า งเพื่ อ ไม่ ผ้ ก พั น ตามสนธิ สั ญ ญาไดู แ ก่ ความไม่
สมบ้รณ์ในการใหูความยินยอมของรัฐเพื่อผ้กพันตามสนธิสัญญา
หรือบุคคลทีท
่ ำาการเจรจาทำาสนธิสัญญาไม่มีอำานาจ หรือกระทำา
76

การเกินขอบอำานาจทีไ่ ดูรับมอบหมายจากรัฐบาล ซึง่ ในกรณีเช่น


นี ้ โดยปกติ ไ ม่ ทำา ใหู ส นธิ สั ญ ญาเป็ นโมฆะ แต่ เ ปิ ดโอกาสใหู รั ฐ
ภาคี ที แ
่ สดงเจตนาโดยบกพร่ อ งดั ง กล่ า วยกขึ้น เป็ นเหตุ ที จ
่ ะไม่
ผ้กพันตามสนธิสัญญา หรือเกิดความผิดพลาด หรือความสำาคัญ
ผิ ด ในขู อ เท็ จ จริง หรือ สถานการณ์ ใ นขณะทำา สนธิ สั ญ ญา หรื อ
การฉูอฉลเพื่อใหูรัฐผ้กพันตามสนธิสัญญา การประพฤฒิมิชอบ
ของผู้แทนในการเจรจาทำาสนธิสัญญา และผู้แทนรัฐถ้กข่มข่้

5.4.2 การลาออกจากการเป็ นภาคี การสิน


้ สุด และการระงับ
สิน
้ ไปของสนธิสัญญา
อธิบายเหตุต่างๆ ทีร
่ ัฐภาคีจะกล่าวอูางเพื่อเลิกสนธิสัญญา
หรือถอนตัวจากสนธิสัญญาไดู
เหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ ที ร
่ ั ฐ ภาคี ส ามารถกล่ า วอู า งเพื่ อ ยกเลิ ก
หรือถอนตัวจากสนธิสัญญาไดู มีหลายกรณีไดูแก่ 1. การยกเลิก
หรือการถอนตัวจากสนธิสัญญาตามบทบั ญ ญั ติข องสนธิสัญญา
่ ๆ 2. จำานวนรัฐภาคีของสนธิ
หรือโดยความยินยอมของรัฐภาคีอืน
สั ญญาพหุ ภาคี ลดนู อ ยลงจนตำ่ า กว่ า จำา นวนที ก
่ ำา หนดไวู เ พื่อ เป็ น
เงื่อนไขในการทีส ่ มีผลบังคับใชูไดู 3. การระงับ
่ นธิสัญญาจะเริม
การใชูบังคับสนธิสัญญาโดยบทบัญญัติแห่งสนธิสัญญาหรือโดย
ความยิ น ยอมของรั ฐ ภาคี อื่ น ๆ 4. การระงั บ การใชู บั ง คั บ สนธิ
สัญญาพหุภาคีโดยความตกลงระหว่างรัฐภาคีบางรัฐ 5. การพูน
วิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ต ามสนธิ สั ญ ญา 6. การยกเลิ ก สนธิ สั ญ ญา
หรือ การระงับการใชูบังคับสนธิสัญญาโดยการทำาสนธิสัญญาใน
ภายหลั ง เพื่อ การเช่ น ว่ า นั ้น 7. การยกเลิ ก สนธิ สั ญ ญาหรื อ การ
77

ระงั บ การบั ง คั บ ใชู สนธิ สั ญ ญาอั น เป็ นผลเนื่อ งมาจากการฝ่ าฝื น


สนธิสัญญา

5.4.3 สถานการณ์เปลีย
่ นแปลงไปอย่างสำาคัญ
อ ธิ บ า ย ว่ า ก ร ณี อ ย่ า ง ไ ร จึ ง จ ะ ถื อ ว่ า มี พ ฤ ฒิ ก า ร ณ์ ที ่
่ นแปลงไปอย่างมาก () อันเป็ นเหตุใหูรัฐภาคีกล่าวอูางเป็ น
เปลีย
เหตุผลทีจ
่ ะยกเลิกสนธิสัญญาไดู
รั ฐ ภาคี จ ะกล่ า วอู า งว่ า มี พ ฤฒิ ก ารณ์ เ ปลี ย
่ นแปลงไปอย่ า ง
มากจนเป็ นเหตุใหูอูางขึน
้ เพือ
่ ยกเลิกสนธิสัญญานัน
้ ไดูต่อเมือ

(1) การมีอย่้ของพฤฒิการณ์เหล่านัน
้ เป็ นพืน
้ ฐานสำาคัญของ
การใหูความยินยอมของรัฐภาคีเพือ
่ ผ้กพันตามสนธิสัญญา
(2) ผลของการเปลี ่ย นแปลงนั ้ น ก่ อ ใหู เ กิ ด การแปร
เปลี ย
่ นอย่ า งมากของร้ ป แบบ และขอบเขตแห่ ง สารั ต ถะแห่ ง
พันธะกรณีซึง่ รัฐภาคียังคงตูองปฏิบัติต่อไปตามสนธิสัญญา

5.4.4 สนธิสัญญาขัดกับ “Jus cogens” หรือเกิด “Jus cogens”

ใหม่
อธิบายความแตกต่างของการเป็ นโมฆะของสนธิสัญญาตาม
หลั ก เกณฑ์ ข องมาตรา 53 และมาตรา 64 แห่ ง อนุ สั ญ ญากรุ ง
เวียนนาว่าดูวยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969
หลักเกณฑ์ของมาตรา 53 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ.
1969 ทีท
่ ำาใหูสนธิสัญญาเป็ นโมฆะนัน
้ เนื่องจากสนธิสัญญาทีท
่ ำา
ขึน ้ ไปขัด หรือแยูงกับหลักกฎหมายระหว่างประเทศทีเ่ ป็ น Jus
้ นัน
cogens ตัง้ แต่ขณะทีท
่ ำาสนธิสัญญาๆ นัน
้ จึงเป็ นโมฆะตัง้ แต่แรกใน
78

ขณะทีท ้ เลยเพราะกฎหมายทีเ่ ป็ น Jus cogens นัน


่ ำาสนธิสัญญานัน ้
มีอย่้กอ
่ นแลูว
ส่วนหลักเกณฑ์ในการทำา สนธิสัญ ญาเป็ นโมฆะตามมาตรา
64 ของอนุสัญญากรุงเวียนนานัน
้ สนธิสัญญาทีท
่ ำา ขึน
้ และบังคับ
ใชู อ ย่้ นั ้ น สมบ้ ร ณ์ และบั ง คั บ ระหว่ า งรั ฐ ภาคี ไ ดู จ นกว่ า จะมี
กฎหมายระหว่างประเทศทีเ่ ป็ น Jus cogens เกิดขึน
้ ใหม่ และเป็ น
หลักเกณฑ์ทีม
่ าขัด หรือแยูงกับบทบัญญัติของสนธิสัญญา หรือ
มาหูามมิใหูกระทำา ตามขูอบทแห่งสนธิ สัญ ญานั น
้ ๆ ดังนั น
้ เหล่ า
บรรดาสนธิสัญญาทีม
่ ีผลบังคับอย่้นัน
้ ย่อมเป็ นโมฆะและสิน
้ สุดลง
ทั น ที ท ่ ี ก ฎหมายระหว่ า งประเทศที เ่ ป็ น Jus cogens เกิ ด ขึ้น แต่
่ ีม
ไม่มีผลไปกระทบต่อการปฏิบัติตามสนธิสัญญาทีเ่ คยสมบ้รณ์อย่้
ก่อนนัน

5.4.5 ค่้ภาคีของสนธิสัญญาสิน
้ สภาพสถานภาพทาง
กฎหมาย หรือเปลีย
่ นแปลงสถานะ
อธิ บ ายผลทางกฎหมายของสนธิ สั ญ ญา เมื่ อ รั ฐ ภาคี แ ห่ ง
สนธิสัญญานัน
้ ๆ ไดูตัดความสัมพันธ์ทางการท้ตต่อกัน
การตัดความสัมพันธ์ทางการท้ต หรือทางกงสุลระหว่างรัฐ
ภาคีแห่งสนธิสัญญานัน
้ ไม่กระทบกระเทือนผลทางกฎหมายของ
สนธิสัญญา ซึง่ รัฐภาคีดังกล่าวมีผลผ้กพันตามสนธิสัญญา เวูน
แต่ ก ารคงอย่้ แ ห่ ง ความสั ม พั น ธ์ ท างการท้ ต นั ้น เป็ นสาระสำา คั ญ
แห่ ง สนธิ สั ญญา และเป็ นเงื่อ นไขในการปฏิ บั ติต ามสนธิ สั ญ ญา
ดู วยย่อ มทำา ใหูไ ม่อาจคงสนธิ สัญ ญาไวู ไ ดู แต่ ห ากสนธิ สัญ ญามี
ขูอบททีเ่ ป็ นกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศรัฐภาคียังจะ
79

ตู อ งปฏิ บั ติต ามจารี ต ประเพณี ร ะหว่ า งประเทศนั ้น ๆ ในฐานะที ่


เป็ นกฎหมายจารีตประเพณี

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 5
1. Jus Cogens มิ ใ ช่ ห ลั ก เกณฑ์ ใ นการทำา สนธิ สั ญ ญา ส่ ว น Good Faith
,Free Consent ,Pacta Sunc Servanda , Rebus sic stantibus เป็ นหลั ก เกณฑ์ ใ น
การทำาสนธิสัญญา
่ ีอำานาจลงนามในสนธิสัญญาไดูโดยตำา แหน่ง Ex Officio คือ
2. บุคคลทีม
ตัวแทนทีไ่ ดูรับแต่งตัง้ ในการประชุมระหว่างประเทศ รับรองขูอบทในสนธิ
สัญญาในการประชุมนัน
้ ๆ
3. สนธิสัญ ญาทีบ
่ รรลุถึง ขูอ บทที เ่ ป็ นที ย
่ อมรั บ ในความถ้ ก ตู อ งแน่ น อน
Authentic Text แลู ว นั ้น จะแกู ไ ขเปลี ่ย นแปลงเพื่ อ เป็ นเงื่ อ นไขในการใหู
สัตยาบัน ไม่ไดู และตูองไปเจรจากันใหม่
4. รัฐทีต
่ ัง้ ขูอสงวน จะถอนขูอสงวนไดู ในเวลาใดๆ ก็ไดู
5. การตีความตามหลักแห่งความยุติธรรม มิใช่หลักทัว
่ ไปในการตีความ
ตามสนธิสัญญา
6. เหตุทท
ี ่ ำาใหูสนธิสัญญาเป็ นโมฆะคือ มีการข่มข่้รัฐทีท
่ ำาสนธิสัญญา
7. เรื่องของสถานการณ์ทีเ่ ปลีย
่ นแปลงไปอย่า งมากจนทำา ใหูเป็ นเหตุไม่
สามารถปฏิบัติตามสนธิสัญญาไดูคือ การขยายเขตเศรษฐกิจจำาเพาะ
8. ขูอแตกต่างระหว่า งมาตรา 53 และมาตรา 64 แห่งสนธิสัญญากรุง
เวียนนา ค.ศ. 1969 คือการเป็ นโมฆะของสนธิสัญญา
9. ผลของสนธิสัญญาเมื่อรัฐภาคีทำาสงครามระหว่างกัน สนธิสัญญานัน

ยังไม่สิน
้ สุดลง
10. เมื่อสหภาพโซเวียตรัสเซียล่มสลาย ทำา ใหูสนธิสัญญาทีท
่ ำา
กับสหรัฐอเมริกาสิน
้ สุดลงดูวยเหตุ รัฐภาคีสิน
้ สภาพทางกฎหมาย
11. ่ ั ฐ บาลไทยว่ า จู า ง UNOCAL สำา รวจและวาง
ความตกลงที ร
ท่อแก๊ส มิใช่สนธิสญ
ั ญา
80

12. บุ คคลที เ่ ป็ นตั ว แทนรั ฐ ผู้ มี อำา นาจเต็ ม ในการเจรจาทำา สนธิ


สัญญาโดยตูองมีหนังสือมอบอำานาจเต็ม Full Power คือ บุคคลซึง่ ไดูแสดง
หนังสือมอบอำานาจเต็ม
13. การแสดงเจตนารมณ์ ยิ น ยอมผ้ ก พั น ตามสนธิ สั ญ ญา การ
ภาคยานุวัติ ทีร่ ัฐภาคีไม่จำาเป็ นตูองเขูาร่วมเจรจาตัง้ แต่แรก
14. การคัดคูานขูอสงวนมีผลต่อสนธิสัญญาคือ สนธิสัญญานัน

ไม่ บั ง คั บ ระหว่ า งกั น เฉพาะส่ ว นที ม
่ ี ก ารตั ้ง ขู อ สงวนหากรั ฐ ที ค
่ ั ด คู า นมิ ไ ดู
คัดคูานการมีผลบังคับของสนธิสัญญาดูวย
15. หลั ก การตี ค วามสนธิ สั ญ ญาตามความเป็ นมาของสนธิ
สัญญานัน
้ ใหูศึกษาจากหลักฐานเอกสารต่างๆ ทีบ
่ ันทึกการเจรจา
16. สนธิสญ
ั ญาขัดกับหลักกฎหมายเด็ดขาดทีม
่ ีอย่้แลูว เป็ นเหตุ
ทีท
่ ำาใหูสนธิสัญญาโมฆะทันทีทีก
่ ระทำา
17. ตัวอย่างของการปฏิบัติตามสนธิสัญญาไม่ไดูเพราะเหตุพูน
วิสัยเช่น เกาะถ้กแผ่นดินไหวจนจมหายไป
18. ความเหมือนของมาตรา 53 และมาตรา 64 แห่งอนุสัญญา
กรุงเวียนนา ค.ศ. 1969 คือ การทีส
่ นธิสัญญาขัดกับกฎหมายเด็ดขาด
19. ผลของสนธิสัญญาเมื่อรัฐภาคีตัดความสัมพันธ์ทางการท้ต
ระหว่างกันคือ สนธิสัญญายังไม่สิน
้ สุดลง
20. เมื่อ สหภาพโซเวี ย ตล่ ม สลายทำา ใหู ส นธิ สั ญ ญา Warsaw มี
ผลกระทบคือ รัฐภาคีถอนตัวจากสนธิสัญญา

หน่วยที ่ 6 การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ
วิธี
81

1. รั ฐ มี ห นู า ที ใ่ นการระงั บ ขู อ พิ พ าทที เ่ กิ ด ขึ้น ระหว่ า งกั น โดย


สันติวิธี ทัง้ นีร้ ัฐมีเสรีภาพในการเลือกใชูวธ
ิ ีการทีต
่ นเห็นว่าเหมาะ
สมไดู
2. การระงับขูอพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธีอาจแบ่งออก
ไดู เ ป็ น การระงั บ ขู อ พิ พ าททางการเมื อ งหรื อ ทางการท้ ต และ
การระงับขูอพิพาททางการศาล

6.1 การระงับข้อพิพาททางการเมือง
1. การระงั บ ขู อ พิ พ าทระหว่ า งประเทศทางการเมื อ ง หรื อ

ทางการท้ ต อาจเกิ ด ขึ้นไดู จ ากการดำา เนิ น การของรั ฐ ที เ่ กี ย


่ วขู อ ง
เอง หรือโดยผ่านองค์การระหว่างประเทศ
2. การระงับขูอพิพาททางการเมืองระหว่างรัฐโดยสันติมีหลาย

วิธีขึน
้ อย่้กับว่ามีฝ่ายอืน
่ นอกเหนือ จากรัฐค่้พิพาทเขูามาเกีย
่ วขูอง
ดูวยหรือไม่ กล่าวคือหากเป็ นการระงับโดยรัฐฝ่ ายต่างๆทีพ
่ ิพาท
กันก็คือ การเจรจา แต่ในกรณีทีม
่ ีฝ่ายทีส
่ าม เขูามาช่วยดำา เนิ น
การ ก็มีอีกหลายวิธี อันไดูแก่ การจัดเจรจา การไกล่เกลีย
่ การ
ประนีประนอม และการสืบสวนขูอเท็จจริง
3. องค์การระหว่างประเทศก็มีส่วนร่วมทีส
่ ำาคัญในการระงับขูอ
พิ พ าทระหว่ า งรั ฐ โดยเฉพาะพวกที ่เ ป็ นสมาชิ ก ขององค์ ก าร
ระหว่ า งประเทศ นั ้น โดยองค์ ก ารระหว่ า งประเทศที ม
่ ี ข อบเจต
อำา นาจดูานการเมืองจะมีระบบหรือวิธีการในการระงับขูอพิพาท
ทางการเมืองซึง่ แตกต่างกันออกไปบูางก็ตาม
4. องค์ก ารระหว่างประเทศทีม
่ ี เ ขตอำา นาจดู า นเศรษฐกิ จ หรือ
เทคนิ ค จะมี ร ะบบการระงั บ ขู อ พิ พ าทที แ
่ ตกต่ า งวิ ธี ก ารที ใ่ ชู กั น
82

ทั่ว ไปในแง่ ที ต
่ ู อ งอาศั ย กระบวนการที ม
่ ี ค วามยื ด หยุ่ น เป็ นพิ เ ศษ
สำา หรับขูอ พิพ าททางเศรษฐกิจ และมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ในการ
แกูปัญหา แต่มิใช่เพือ
่ ตัดสินปั ญหา

6.1.1 การระงับขูอพิพาทโดยสันติวิธีทางการเมืองระหว่างรัฐ
ลักษณะร่วมกันของวิธีการต่างๆ ในการระงับขูอพิพาทโดย
สันติวิธีทางการเมืองระหว่างรัฐคืออะไร
ลักษณะร่วมกันของวิธีการต่างๆ ในการระงับขูอพิพาทโดน
สันติวิธีทางการเมืองระหว่างรัฐคือ การปราศจากผลบังคับทาง
กฎหมายสำาหรับรัฐทีเ่ กีย
่ วขูอง กล่าวคือรัฐทีพ
่ ิพาทกันไม่ผ้กพันที ่
จะตูองปฏิบัติตามขูอเสนอต่างๆทีไ่ ดูรับจากการใชูวิธก
ี ารนัน
้ ๆ

6.1.2 การระงับขูอพิพาทโดยองค์กรระหว่างประเทศ
คณะมนตรีความมัน
่ คงแห่งสหประชาชาติซึง่ เป็ นองค์กรทีไ่ ดู
รั บ มอบหมาย ความรั บ ผิ ด ชอบหลั ก ในการระงั บ ขู อ พิ พ าท
ระหว่างรัฐสมาชิก สามารถใชูวิธก
ี ารใดไดูบูางเพือ
่ การนี ้
คณะมนตรีความมัน
่ คงแห่งองค์การสหประชาชาติมีอำา นาจ
ดังนี ้ ประการแรกอำานาจในการเขูามาจัดการระงับขูอพิพาทดูวย
ตนเอง เช่ น ดำา เนิ น การไกล่ เ กลี ย
่ หรื อ สื บ สวนหาขู อ เท็ จ จริ ง
และประการทีส
่ อง ทำาขูอเสนอแนะวิธีการระงับขูอพิพาทใหูรัฐที ่
เกีย
่ วขูองนำาไปใชูเพือ
่ การระงับขูอพิพาทระหว่างกัน

6.2 การระงับข้อพิพาททางการศาล
1. การระงั บ ขู อ พิ พ าททางการศาลแตกต่ า งจากการระงั บ ขู อ
พิพาททางการเมือง ในแง่ทีม
่ ีผลบังคับและผ้กพันรัฐค่้กรณีใหูตูอง
83

ปฏิ บั ติ ต าม แต่ อ งค์ ก รผู้ ทำา หนู า ที ต


่ ั ด สิ น ชี ข
้ าดตู อ งไดู รั บ ความ
ยิ นยอมพรู อ มใจจากรั ฐ ฝ่ ายต่ า งๆ ที พ
่ ิ พ าทกั น จึ ง จะมี อำา นาจใน
การพิจารณาและพิพากษาคดีไดู
2. การระงั บขู อ พิ พ าทโดยอนุ ญ าโตตุ ล าการแตกต่ า งจากการ
ระงั บ ขู อ พิ พ าทโดยศาลระหว่ า งประเทศ เนื่ อ งจากในการใชู
อนุญาโตตุลาการเป็ นวิธีการระงับขูอพิพาทระหว่างประเทศ รัฐ
ฝ่ า ย ต่ า ง ๆ ที ่ พิ พ า ท กั น มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร จั ด ตั ้ ง ค ณ ะ
อนุ ญ าโตตุ ล าการ รวมทั ้ ง กำา หนดประเด็ น ปั ญหาตลอดจน
กระบวนการและกฎหมายทีใ่ ชูในการพิจารณาไดู ในขณะทีก
่ าร
ระงับขูอพิพาทโดยศาลระหว่างประเทศ สิทธิดังกล่าวจะถ้กกำาจัด
ลงอย่างมาก

6.2.1 การระงับขูอพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ
ลั ก ษณะสำา คั ญ ของการระงั บ ขู อ พิ พ าททางการศาลโดย
อนุญาโตตุลาการคืออะไร
ลั ก ษณะสำา คั ญ ของการระงั บ ขู อ พิ พ าททางการศาลโดย
อนุ ญ าโตตุ ล าการคื อ การที ร
่ ั ฐ ฝ่ ายต่ า งๆ ที พ
่ ิ พ าทกั น มี สิ ท ธิ ใ น
การคัดสรรตุลาการเพือ
่ เขูามาทำาหนูาทีต
่ ัดสินชีข
้ าดปั ญหาพิพาท
ที เ่ กิ ดขึ้น อีก ทัง้ ยังสามารถร่ วมกั นกำา หนดประเด็น ปั ญหาที ต
่ ูอง
พิจารณารวมทัง้ กฎหมาย และกระบวนการพิจารณาสำา หรับคดี
ของตนเองไดู

6.2.2 การระงับขูอพิพาทโดยสารระหว่างประเทศ
84

เ ข ต อำา น า จ ข อ ง ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ก า ร
พิจารณาขูอพิพาทระหว่างรัฐขึน
้ อย่้กับการยินยอมร่วมกันของรัฐ
ฝ่ ายต่างๆ ทีพ
่ ิพาทกัน แต่การใหูการยินยอมดังกล่าวอาจกระทำา
ไดูหลายลักษณะอย่างไรบูาง
การมอบความยินยอมใหูศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เป็ น
ผู้ มีเ ขตอำา นาจในการพิจ ารณาพิ พ ากษาขู อขั ด แยู ง ที เ่ กิ ด ขึ้น อาจ
กระทำา ไดูหลายลักษณะกล่าวคือ การทำา ความตกลงเมื่อเกิดขูอ
้ (Compromis) การใหูความยินยอมในสนธิสัญญาต่างๆ
พิพาทขึน
ทีท
่ ำาขึน
้ ล่วงหนูาก่อนทีจ
่ ะเกิดขูอพิพาทขึน
้ และการทีร
่ ัฐซึง่ พิพาท
กัน ต่า งก็ ใหู ความยิ นยอม โดยการยอมรั บเขตอำา นาจศาล ตาม
มาตรา 36 วรรค 2 ของธรรมน้ญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 6
1. การอนุ ญ าโตตุ ล าการ มิ ใ ช่ วิ ธี ก ารระงั บ ขู อ พิ พ าทระหว่ า งประเทศ
ทางการเมือง
2. การกล่าวถึงบทบาทขององค์การสหประชาชาติไดูถ้กตูองไดูแก่ คณะ
มนตรีความมัน
่ คงแห่งสหประชาชาติอาจเป็ นผู้ดำา เนินการระงับขูอพิพาท
ดูวยวิธีการต่างๆทางการเมืองดูวยตนเองหรือเสนอแนะวิธีการใหูรัฐฝ่ ายที ่
พิพาท นำาไปดำาเนินการ
3. ขูอแตกต่างทีส
่ ำา คัญ ระหว่างวิธีการระงับขูอพิพาททางการเมืองและ
ทางการศาลคือ (ก) การระงับขูอพิพาททางการศาลจะมีผลผ้กพันรัฐฝ่ าย
่ ิพาทกัน (ข) การระงับขูอพิพาททางการศาลเกิดจากองค์กรที ่
ต่า งๆ ทีพ
ปฏิบัติหนูาทีอ ่ ิพาทกัน (ค) ผลการตัดสินตูองขึ้น
่ ย่างเป็ นอิสระจากรัฐทีพ
้ ฐานของขูอพิจารณาทางกฎหมาย (ง) กระบวนการวิธีพิจารณา
อย่้บนพืน
ตัดสินตูองประกันสิทธิความเท่าเทียมกันของรัฐทีพ
่ ิพาทกัน
85

4. ขูอแตกต่างของอนุญาโตตุล าการและศาลระหว่า งประเทศคือ รัฐที ่


พิพาทกันมีสิทธิและส่วนร่วมในการแต่งตั ้งอนุญ าโตตุล าการในขณะทีไ่ ม่
อาจทำาไดูในศาลระหว่างประเทศ
5. เกีย ้ าดของอนุญ าโตตุล าการไดูแก่ (ก) การโตู
่ วกับการโตูแยูงคำา ชี ข
้ าด (ข) การโตู แ ยู ง อาจ
แยู ง อาจกระทำา ไดู เ มื่ อ มี ก ารขอใหู ตี ค วามคำา ชี ข
กระทำา ไดูเมื่อมี การคู น พบขู อ เท็ จจริ งใหม่ ทีย
่ ั ง ไม่ มี การล่ ว งรู้ ข ณะทีท
่ ำา คำา
ชีข ้ าดไดู (ค) การโตูแยูงอาจกระทำา
้ าดและก่อใหู เกิดผลกระทบต่อคำา ชีข
ไดู เ มื่ อ อนุ ญ าโตตุ ล าการไม่ เ คารพเงื่ อ นไขของความตกลงอนุ ญาโต
ตุ ล าการ (ง) การโตู แ ยู ง อาจกระทำา ไดู ใ นกรณี ก ารทุ จ ริ ต ประพฤติ มิ ช อบ
ของอนุญาโตตุลาการ
6. อำา นาจในการพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี พิ พ าทระหว่ า งรั ฐ หรื อ องค์ ก าร
ระหว่างประเทศ มิใช่ อำานาจของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
7. ขู อ ตกลงใหู ศ าล พิ จ ารณาคดี ที ก
่ ำา หนดไวู ใ นขู อ บทพิ เ ศษของสนธิ
สัญ ญา (COMpromissory clause) มิใ ช่ เป็ นความตกลงกำา หนดเขตอำา นาจ
ศาลของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
8. ตามกฎบัตรสหประชาชาติ คณะมนตรีความมั่นคง มีอำา นาจในการ
บังคับคำาพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
9. ศาลอาญาระหว่างประเทศ เป็ นศาลระหว่างประเทศทีก
่ ่อตัง้ ขึน
้ ล่าสุด
10. ศาลอาญาระหว่างประเทศไม่มีขอบเขตอำานาจในการพิจารณา
คดีเกีย
่ วกับ การก่อการรูาย
11. การอนุ ญ าโตตุ ล าการ เป็ นวิ ธี ก ารระงั บ ขู อ พิ พ าทระหว่ า ง
ประเทศทีม
่ ีผลผ้กพันทางกฎหมาย
12. ขูอแตกต่างของการอนุญาโตตุลาการและศาลระหว่างประเทศ
คื อ รั ฐที พ
่ ิพ าทกั นมี สิท ธิแ ละส่ วนร่ว มในการแต่ง ตั ง้ อนุ ญ าโตตุ ล าการใน
ขณะทีไ่ ม่อาจทำาไดูในศาลระหว่างประเทศ
86

13. อำา นาจในการบั ญ ญั ติ ก ฎเกณฑ์ แ ห่ ง กฎหมายที ่ใ ชู บั ง คั บ ใน


อนาคต มิใช่ อำานาจของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
14. ตามกฎบัต รสหประชาชาติ คณะมนตรีความมั่นคง มีอำา นาจ
ในการบังคับคำาพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ

หน่วยที ่ 7 กฎหมายระหว่างประเทศเกีย
่ วกับการจำากัด
การใช้กำาลังทหาร

1. กฎหมายเกี ่ย วกั บ การจำา กั ด การใชู กำา ลั ง ทหารในความ

สั มพั น ธ์ ร ะหว่ างประเทศซึ่งรู้ จัก และเรี ย กกั น แต่ เ ดิ ม ว่ า กฎหมาย


ภาคสงครามมีวิวัฒนาการเปลีย
่ นแปลงไปอย่างมาก โดยเฉพาะ
ในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับสิทธิของรัฐในการใชูกำา ลังทางทหารทีช
่ อบดูวย
กฎหมายทีจ
่ ากเดิมเป็ นสิทธิ กลายเป็ นขูอหูามไปในปั จจุบัน ดัง
นั ้น การใชู กำา ลั ง ทางทหารจึ ง เป็ นเพี ย งขู อ หู า มเท่ า นั ้น ในขณะนี ้
นอกจากนีอ
้ งค์การสหประชาชาติยังไดูรับมอบหมายหนูาทีใ่ หูเขูา
มามีส่วนในการควบคุม และจำากัดสิทธิของรัฐในการใชูกำาลังทาง
ทหารอีกดูวย โดยอาศัยกลไกกาธำา รงรักษาสันติภาพและความ
มั่น คงระหว่ า งประเทศซึ่ง มี วิ วั ฒ นาการไปจากที ไ่ ดู บั ญ ญั ติ ไ วู ใ น
กฎบัตรสหประชาชาติเป็ นอย่างมาก
2. กฎหมายและขู อ บั ง คั บ ที ่ใ ชู ใ นปฏิ บั ติ ก ารทางทหาร ก็ มี
วิ วั ฒ นาการไปในทิ ศ ทางที ใ่ หู ห ลั ก ประกั น และเสริ ม สรู า งความ
คูุมครองใหูกับผู้ทีม
่ ีส่วนโดยตรงในการทำา สงคราม และบุคคลที ่
มิไดูมีส่วนร่วมในการทำา สงคราม โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุ่มบุคคล
และทรัพย์สินต่างๆ ทีต
่ กเป็ นเหยือ
่ หรือประสบภัยสงคราม
87

7.1 กฎหมายเกีย
่ วกับการจำากัดสิทธิของรัฐในการใช้กำาลัง
ทหาร (Jus ad bellum)
1. กฎหมายระหว่างประเทศมีวิวัฒนาการไปในทิศทางของการ
จำา กัดสิทธิของรัฐในการใชูกำา ลังทางทหารซึ่งทำา ใหูในปั จจุบันรัฐ
สามารถทำาสงครามไดูโดยชอบดูวยกฎหมายเพียงในกรณียกเวูน
บางกรณีเท่านัน

2. องค์ ก ารสหประชาชาติ มี บ ทบาทที ส
่ ำา คั ญ ยิ ง่ ในการธำา รง
รั ก ษาสั น ติ ภ าพ และความมั่น คงระหว่ า งประเทศ แต่ ก็ ป ระสบ
ปั ญหาทางการเมืองทำา ใหูการปฏิบัติหนูาทีใ่ นเรื่องนีต
้ ูองปรับตัว
ไปในลักษณะทีแ
่ ตกต่างออกไปจากทีไ่ ดูกำาหนดไวูในตอนแรกของ
การจัดตัง้ องค์การ

7.1.1 กฎเกณฑ์ทีจ
่ ำากัดสิทธิของรัฐในการใชูกำาลังทางทหาร
ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
อธิ บ ายหลั ก การในเรื่ อ งการหู า มใชู กำา ลั ง ทหารในความ
สัมพันธ์ระหว่างประเทศ และขูอยกเวูนของหลักการดังกล่าว
หลั ก การหู า มใชู กำา ลั ง ทางทหารในความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
ประเทศ ถื อ ว่ า การใชู กำา ลั ง ทหารที ม
่ ี ร้ ป แบบและความรุ น แรง
ระดับหนึ่งทีก
่ ระทบความสั มพั นธ์ ระหว่ างประเทศ เป็ นสิ ง่ ที ต
่ ูอ ง
้ ี ขู อ ยกเวู น ไวู 3 ประการ กล่ า วคื อ
หู า มและผิ ด กฎหมาย ทั ง้ นี ม
การปู องกั น ตนเอง การเขู า ร่ ว มในการปฏิ บั ติ ก ารขององค์ ก าร
สหประชาชาติและการแทรกแซงดูวยเหตุผลทางมนุษยธรรม
88

7.1.2 การธำารงรักษาสันติภาพและความมัน
่ คงระหว่าง
ประเทศโดยองค์การสหประชาชาติ
องค์ ก ารสหประชาชาติ มี บ ทบาทสำา คั ญ ในการธำา รงรั ก ษา
สันติภาพและความมัน
่ คงระหว่างประเทศอย่างไร
กฎบั ต รสหประชาชาติ ไ ดู จั ด ตั ้ง ระบบความมั่ น คงร่ ว มกั น
เพื่อ ใหูองค์การสหประชาชาติ โ ดยผ่ า นคณะมนตรี ค วามมั่น คงมี
อำา นาจ ในการลงโทษปราบปรามรัฐสมาชิกทีฝ
่ ่ าฝื นกฎเกณฑ์ใน
เรื่องสันติภาพระหว่างประเทศ แต่ใ นทางปฏิ บัติเนื่องจากความ
ขั ด แยู ง ทางการเมื อ งระหว่ า งประเทศมหาอำา นาจที เ่ ป็ นสมาชิ ก
ถาวรของคณะมนตรี ค วามมั่ น คงทำา ใหู ก ลไกที ่บั ญ ญั ติ ขึ้ น ใน
กฎบั ต รไม่ อ าจทำา งานไดู ดั ง นั น
้ องค์ ก ารสหประชาชาติ จึ ง ตู อ ง
ปรับตัวไปในทิศทางของการธำารงรักษาสันติภาพและการจัดการ
สถานการณ์ ขั ด แยู ง โดยมิ ไ ดู ใ ชู ม าตรการที ม
่ ี ลั ก ษณะของการ
ลงโทษแต่อย่างใด

7.2 กฎหมายและข้อบังคับทีใ่ ช้ในปฏิบัติการทางทหาร (Jus


in bello)
1. กฎเกณฑ์ เ กี ย
่ วกั บ ปฏิ บั ติ ท างการทหารมี วิ วั ฒ นาการจาก
ทีม
่ าทัง้ ทีเ่ ป็ นสนธิสัญญา และจารีตประเพณีระหว่างประเทศไป
ใน 3 ทิศทาง กล่าวคือ ในแง่ของเนือ
้ หาใหูปฏิบัติการทางทหาร
มีลักษณะทีม
่ ีมนุษยธรรมมากขึน
้ ในแง่ของขอบเขตการบังคับใชู
ที ก
่ วู า งขวางขึ้น และในแง่ ข องกลไกในการช่ ว ยใหู มี ก ารปฏิ บั ติ
ตามกฎเกณฑ์ก็มีการพยายามเพิม
่ ประสิทธิภาพขึน
้ ดูวย
89

2. กฎเกณฑ์เกีย
่ วกับปฏิบัติการทางทหารระหว่างรัฐค่้สงคราม
ครอบคลุ ม ถึ ง การที ก
่ ำา หนดสิ ท ธิ แ ละหนู า ที ข
่ องรั ฐ ค่้ ส งครามใน
การปฏิบัติต่อพลรบผู้มีส่วนในการสู้รบโดยตรง และในการปฏิบัติ
ต่ อ พลเรื อ นและผู้ ที เ่ ป็ นเหยื่อ หรื อ ประสบภั ย สงคราม ไม่ ว่ า เป็ น
สงครามทางบก ทางเรือ หรือทางอากาศซึง่ อาจมีกฎเกณฑ์เพิม

เติมขึน
้ เป็ นพิเศษ
3. กฎเกณฑ์ ที ใ่ ชู สำา หรั บ รั ฐ ค่้ ส งครามกั บ รั ฐ เป็ นกลางมุ่ ง ที จ
่ ะ
กำา หนดสิ ท ธิ และหนู า ที ส
่ ำา หรั บ รั ฐ ที เ่ กี ย
่ วขู อ ง เพื่ อ มิ ใ หู มี ก าร
ละเมิดสิทธิของรัฐเป็ นกลางและในทางกลับกันก็เพื่อปู องกันมิใหู
รัฐเป็ นกลางเขูามาแทรกแซงหรือดำาเนินการในลักษณะทีเ่ ป็ นการ
ฝั กใฝ่ เขูาขูางรัฐค่้สงครามฝ่ ายใด

7.2.1 ขูอพิจารณาทัว ่ วกับ Jus in bello


่ ไปเกีย
ภาพรวมของกฎหมายระหว่างประเทศทีใ่ ชูบังคับกับปฏิบัติ
การทางทหารเป็ นอย่างไร
กฎหมายระหว่างประเทศทีใ่ ชูบังคับกับปฏิบัติการทางทหาร
มีวัตถุประสงค์หลักในการใหูหลัก ประกันว่าปฏิบัติการทางทหาร
ตู อ งดำา เนิ น ไปอย่ า งมี ม นุ ษ ยธรรม ทั ้ง นี ้ กฎหมายมี พั ฒ นาการ
จากที ม
่ าต่างๆ ทัง้ ทีเ่ ป็ นสนธิสัญ ญาและจารีต ประเพณีร ะหว่ า ง
ประเทศใน 3 ทิศทาง กล่าวคือ
ประการแรก ในแง่ของเนือ
้ หาของกฎเกณฑ์ก็มีการปรับปรุง
กฎเกณฑ์ใหูสมบ้รณ์และชัดเจนยิง่ ขึน
้ ในดูานต่างๆ
90

ประการทีส
่ อง ในแง่ของขอบเขตการบังคับใชูก็มีการขยาย
ใหู กวู างขึ้นทั ง้ ในมิ ติข องเวลาและสถานที โ่ ดยเฉพาะอย่ า งยิ ง่ ใน
สถานการณ์ขัดแยูงภายในประเทศบางกรณี
ประการทีส
่ าม ในแง่ของกลไกในการบังคับใหูมีการปฏิบัติ
ตามกฎหมายเหล่ านี ้ ก็มี ก ารเพิ ม
่ ประสิ ท ธิ ภาพโดยอาศั ย หน่ ว ย
งานต่ างๆ โดยเฉพาะอย่ า งยิ ง่ จากการจั ด ตั ง้ หน่ ว ยงานระหว่ า ง
ประเทศทีม
่ ีลักษณะถาวรหรือ เฉพาะกิจ ทีม
่ ี อำา นาจในการตัด สิน
ลงโทษผู้กระทำาผิด

7.2.2 กฎเกณฑ์เกีย
่ วกับปฏิบัตก
ิ ารทางทหารสำาหรับรัฐค่้
สงคราม
หลักการรากฐานของกฎเกณฑ์เกีย
่ วกับปฏิบัติการทางทหาร
มีอะไรบูาง
หลักการรากฐานของกฎเกณฑ์เกีย
่ วกับปฏิบัติการทางทหาร
อาจแบ่งออกไดูเป็ น 3 กลุ่มกล่าว คือ กฎเกณฑ์กลุ่มแรก เกีย
่ ว
กับกฎเกณฑ์ทีใ่ ชูกับพลรบและการปฏิบัติต่อเปู าหมายทางทหาร
ซึง่ มีวัตถุประสงค์ จะประกันใหูมีการปฏิบัติอย่างมีมนุษยธรรมใน
ระหว่ า งผู้ มี ส่ ว นร่ ว มโดยตรงในการรบ และใหู มี ก ารใชู ค วาม
ระมัดระวังในการโจมตีเปู าหมาย เพือ
่ จำากัดความเสียหายเฉพาะ
ในของเขตทีส
่ มเหตุผล
กฎเกณฑ์ ก ลุ่ ม ที ส
่ อง เนู น การใหู ค วามคูุ ม ครองพลเรื อ นผู้
มิ ไ ดู มี ส่ ว นร่ ว มในการสู้ ร บรวมถึ ง ผู้ ที ป
่ ระสบภั ย หรื อ เป็ นเหยื่ อ
สงครามทีไ่ ม่อย่้ในสถานะทีจ
่ ะทำาการสู้รบไดูเช่น เชลยศึก หรือผู้
91

ไดูรับบาดเจ็บ ซึง่ ตูองไดูรับการปฏิบัติอย่างมีมนุษยธรรมและตูอง


ไม่ถก
้ นำามาพัวพันกับการสู้รบ
ส่ ว นกฎเกณฑ์ ก ลุ่ ม สุ ด ทู า ย มุ่ ง จะจำา กั ด การใชู อ าวุ ธ ที ่มี
อานุภาพในการทำา ลายอย่างรูายแรง รวมถึงอาวุธ ทีส
่ รูา งความ
เจ็บปวดทรมานโดยไม่จำาเป็ น

7.2.3 กฎเกณฑ์ เ กี ่ย วกั บ การปฏิ บั ติ ท างการทหารสำา หรั บ


ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐค่้สงครามกับรัฐทีส
่ ามหรือรัฐเป็ นกลาง
สิทธิและหนูาทีห
่ ลักของรัฐค่้สงครามและรัฐทีเ่ ป็ นกลางทีม
่ ี
ต่อกันและกันมีอะไรบูาง
รัฐ ค่้สงครามมีห นูาทีง่ ดเวูน กระทำา การทีเ่ ป็ นปฏิ ปั กษ์ ใ นดิ น
แดนของรัฐทีเ่ ป็ นกลาง หากมีการละเมิดดินแดนของรัฐเป็ นกลาง
รัฐดังกล่าวก็มีสิทธิทีจ
่ ะตอบโตูโดยใชูกำา ลังทหารไดู และสำา หรับ
สงครามในทะเลรัฐค่้สงครามมีสิท ธิที จ
่ ะยึ ดเรือ รัฐ เป็ นกลางและ
สิ น คู า ตู อ งหู า มไดู หรื อ แมู แ ต่ จ มเรื อ ดั ง กล่ า วหากทำา การต่ อ สู้
ขัดขืน
ส่วนรัฐเป็ นกลางมี หนู าที ว
่ างตั วเป็ นกลางไม่ เขู าขู างฝ่ ายใด
ซึง่ รวมถึงการควบคุมเอกชนคนชาติของตนมิใหูกระทำาการทีม
่ ีผล
เป็ นการละเมิ ด หนู า ที ข
่ องรั ฐ เป็ นกลาง นอกจากนี ้ ยั ง ตู อ งไม่
ปล่อยใหูดินแดนถ้กใชูในลักษณะทีเ่ ป็ นโทษต่อรัฐค่้สงครามฝ่ าย
ใดฝ่ ายหนึง่

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 7
92

1. ในปั จจุ บั น หลั ก พื้น ฐานของการหู า มใชู กำา ลั ง ทหารในความสั ม พั น ธ์


ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ถ้ ก นำา ม า บั ญ ญั ติ อ ย่ า ง เ ป็ น ท า ง ก า ร ต า ม ก ฎ บั ต ร
สหประชาชาติ
2. การใชูความกดดันทางเศรษฐกิจและสังคม และการใชูกำา ลังของรัฐ
ภายในประเทศ เป็ นการใชูกำาลังทีไ่ ม่เขูาข่ายตูองหูามตามมาตรา 2 วรรค
4 ของกฎบัตรสหประชาชาติ
3. การปูองปั นตนเองและการแทรกแซงดูวยเหตุผลทางมนุษยธรรม เป็ น
ขู อ ยกเวู น ในปั จจุ บั น ของหลั ก การหู า มใชู กำา ลั ง ทหารในความสั ม พั น ธ์
ระหว่างประเทศ
4. ก า ร ปู อ ง กั น ต น เ อ ง แ ล ะ ก า ร เ ขู า ร่ ว ม ใ น ก อ ง กำา ลั ง ข อ ง อ ง ค์ ก า ร
สหประชาชาติ เป็ นขูอยกเวูนของหลักเรื่องการหูามใชูกำา ลังทางทหารใน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งกฎบัตรสหประชาชาติไดูกำา หนดไวูอย่าง
ชัดแจูง
5. การปูองกันตัวตามมาตรา 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ ซึ่งเป็ นข้อ
ยกเว้ น ของหลั ก การหู า มใชู กำา ลั ง ทางทหารในความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
ประเทศมีเงื่อนไขคือ การตกเป็ นเหยื่อของการรุกราน การตอบโตูทีเ่ ป็ น
สัดส่วนกับการรุกราน และเป็ นมาตรการทีใ่ ชูชัว
่ คราว
6. คณะมนตรีความมัน
่ คงแห่งสหประชาชาติมีอำา นาจในการธำา รงรักษา
สั น ติ ภ าพและความมั่น คงระหว่ า งประเทศตามหมวดที ่ 7 ของกฎบั ต ร
สหประชาชาติโดยวิธี การสั่งใหูรัฐสมาชิกโดดเดีย
่ วรัฐผู้ล ะเมิดสันติภาพ
และการใชูมาตรการบังคับทางทหาร
7. ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ธำา รงรั ก ษาสั น ติ ภ าพในกรอบของหมวดที ่ 7 ของ
กฎบั ต รสหประชาชาติ มี เ งื่ อ นไขสำา คั ญ คื อ เป็ นปฏิ บั ติ ก ารขององค์ ก าร
สหประชาชาติและขึน
้ อย่้กับความยินยอมของรัฐทัง้ ปวงทีเ่ กีย
่ วขูอง
8. กรณีสงคราอ่าวเปอร์เซี ยเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็ น ปฏิบัติการทางทหาร
ของรัฐสมาชิกซึง่ ผ่านความเห็นชอบจากองค์การสหประชาชาติ
93

9. กฎหมายระหว่างประเทศทีว
่ ่าดูวยกฎเกณฑ์ในการทำา สงครามซึ่งใชู
บังคับต่อปฏิบัติการทางทหารทีเ่ รียกว่า jus in bello ในปั จจุบันมีขอบเขต
และเงื่อนไขในการบั ง คั บ ใชู ใ นกรณี มี การรั บรองสภาวะสงครามจากรั ฐ
ต่างๆ ทีเ่ ป็ นค่้สงคราม
10. กฎเกณฑ์ที ใ่ หู สิท ธิกั บ ประชาชนในการใชู กำา ลั ง เพื่อ ต่ อ สู้ กั บ ฝ่ าย
่ วกับปฏิบัติการทางทหารตาม jus bello
รัฐบาล มิใช่กฎเกณฑ์รากฐานเกีย

หน่วยที ่ 8 ความรับผิดชอบของรัฐ

1. การอย่้รวมกันในประชาคมระหว่างประเทศรัฐอธิปไตยต่าง
มีหนูาที ่ ทีจ
่ ะไม่ล่วงละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศก่อความเสีย
หายใหู แ ก่ อี ก รั ฐ หนึ่ ง หากรั ฐ ไดู ก ระทำา ความผิ ด ไม่ ว่ า โดยการ
จงใจหรือประมาทเลินเล่อรัฐจะตูองรับผิดชอบและมีพันธกรณีที ่
จะตูองชดใชูค่าสินไหมทดแทน
2. ปั จจุ บั น มี กิ จ กรรมของรั ฐ มากมายที ่ไ ม่ ขั ด ต่ อ กฎหมาย

ระหว่ า งประเทศ แต่ มี ค วามเสี ย


่ งภั ย ส้ ง ดั ง นั ้น กฎหมายระหว่ า ง
ประเทศในร้ปของสนธิสัญญา จึงกำาหนดความรับผิดใหูตกแก่รัฐ
ผู้เป็ นเจูาของดินแดนอันเป็ นทีต
่ ัง้ หรือตูนกำาเนิดของกิจกรรมเสีย
่ ง
ภัยดังกล่าว ใหูรับผิดเด็ดขาดกล่าวคือรัฐผู้เสียหาย ไม่ตูองพิส้จน์
ความผิด

8.1 หลักเกณฑ์เกีย
่ วกับระบอบความรับผิดชอบของรัฐใน
แนวดัง
้ เดิม
94

1. การกระทำา ที ่จ ะเรี ย กรู อ งใหู รั ฐ รั บ ผิ ด ชอบไดู นั ้ น จะตู อ ง

เป็ นการกระทำา ทีส


่ ามารถกล่ า วอู า งไดู ว่ า เป็ นการกระทำา ของรั ฐ
ภายใตูกฎหมายระหว่างประเทศ
2.นอกจากจะตู อ งเป็ นการกระทำา ของรั ฐ แลู ว การกระทำา ดั ง
กล่าวจะตูองละเมิดพันธกรณีระหว่างประเทศอีกดูวย
3.กฎหมายระหว่างประเทศรับรองร้ปแบบของการชดใชูค่าเสีย
หายไวู ห ลายร้ ป แบบ ขึ้ น อย่้ กั บ ว่ า ความเสี ย หายที เ่ กิ ด ขึ้ น เป็ น
ความเสียหายทีค
่ ำานวณเป็ นจำานวนเงินไดู หรือเป็ นความเสียหาย
ทีค
่ ำานวณเป็ นจำานวนเงินไม่ไดู

8.1.1 การกระทำาของรัฐภายใตูกฎหมายระหว่างประเทศ
อธิบายลักษณะการกระทำา ของรัฐ ภายใตูก ฎหมายระหว่า ง
ประเทศ
การกระทำาของรัฐหรือการกระทำา ทีอ
่ าจกล่าวอูางไดูว่าเป็ น
ของรัฐ () ภายใตูกฎหมายระหว่างประเทศนัน
้ แบ่งออกเป็ นสอง
กรณีหลักคือ การกระทำาโดยองค์กรของรัฐ ไดูแก่ฝ่ายนิติบัญญัติ
ฝ่ ายบริ ห าร และฝ่ ายตุ ล าการ ซึ่ง กระทำา ผ่ า นบุ ค คลธรรมดาที ่
เป็ นเจูาหนูาทีข
่ องรัฐทีม
่ ีอำา นาจหนูาที ่ และการกระทำา ทีม
่ ิใช่เกิด
จากองค์กรของรัฐ เช่น บุคคลธรรมดาทีเ่ ป็ นพลเมืองทัว
่ ไป ฝ่ าย
กบฏเป็ นตูน อย่างไรก็ตามโดยหลักแลูวการกระทำา ของพลเมือง
หรือฝ่ ายกบฏจะถ้กถือว่าเป็ นการกระทำา ของรัฐต่อเมื่อมีการกระ
ทำาของเจูาหนูาทีร
่ ัฐเขูาไปเกีย
่ วขูองดูวย

8.1.2 การละเมิดพันธกรณีระหว่างประเทศ
95

การละเมิดพันธกรณีระหว่างประเทศหมายความว่าอย่างไร
กฎหมายระหว่ า งประเทศไดู กำา หนดพั น ธกรณี ร ะหว่ า ง
ประเทศในเรื่ อ งต่ า งๆ ซึ่ง อาจปรากฏอย่้ ใ นร้ ป ของสนธิ สั ญ ญา
กฎหมายประเพณี ร ะหว่ า งประเทศ หรื อ หลั ก กฎหมายทั่ว ไกู ไ ดู
การไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีทีเ่ ป็ นกฎหมายนัน
้ นำา มาซึ่งความรับ
ผิดชอบของรัฐไดู

8.1.3 การชดใชูค่าเสียหาย
อธิบายว่ากฎหมายระหว่างประเทศรับรองร้ปแบบของการ
ชดใชูค่าเสียหายอย่างไรบูาง
กฎหมายระหว่างประเทศไดูรับรองร้ปแบบของการชดใชูค่า
เสี ย หาย 2 วิ ธี คื อ วิ ธี แ รก เป็ นการชดใชู ค่ า เสี ย หายที ่อ าจ
คำานวณเป็ นตัวเงินไดู ในเบือ
้ งตูนจะใชูวิธีชดใชูค่าเสียหายทีจ
่ ะใหู
โจทก์ ก ลั บ คื น ส่้ ส ถานะเดิ ม ก่ อ นที จ
่ ะไดู รั บ ความเสี ย หายใหู ม าก
ที ส
่ ุ ด เท่ า ที จ
่ ะทำา ไดู เช่ น คื น ทรั พ ย์ ที พ
่ ิ พ าท คื น ดิ น แดนที ค
่ รอบ
ครองโดยมิชอบดูวยกฎหมาย คืนตัวประกัน เป็ นตูน ส่วนในกรณี
ทีม
่ ิอาจทำา ใหูโจทก์กลับคืนส่้สถานะเดิ ม ไดู โดยปกติ แลู วก็จะใชู
ดู ว ยเงิ น โดยคำา นวณค่ า เสี ย หายเป็ นจำา นวนเงิ น เพื่อ เรี ย กรู อ งใหู
จำา เลยเป็ นผู้ ช ดใชู วิธี ทีส
่ อง เป็ นการชดใชูค่ าเสี ย หายที ม
่ ิ อ าจ
คำา นวณเป็ นตัวเงินไดู เช่ นการละเมิด อธิ ปไตยของรัฐ กฎหมาย
ระหว่างประเทศกำาหนดใหูรัฐชดใชูค่าเสียหายดูวยการกระทำาใหู
รัฐผู้เสียหายไดูรับความพึงพอใจ
96

8.2 หลักเกณฑ์เกีย
่ วกับระบอบความรับผิดชอบของรัฐ
ตามแนวโน้มใหม่
1. ความรับผิดเด็ดขาดนัน
้ หมายถึง ความรับผิดทีร
่ ัฐตูองรับผิด
สำา หรับความเสียหายที เ่ กิ ด ขึ้น จากการกระทำา ของตน แมู ว่ า จะ
ไม่มีความจงใจหรือความประมาทเลินเล่อ ดังนัน
้ รัฐผู้เสียหายจึง
ไม่มีภาระการพิส้จน์ความผิดของรัฐผู้กระทำาความเสียหาย
2. ปั จจุบันมีกิจกรรมของรัฐเป็ นจำานวนมาก ทีไ่ ม่ตูองหูามตาม
กฎหมายระหว่ างประเทศแต่ กิ จ กรรมเหล่ า นี ม
้ ี ค วามเสี ย
่ งภั ย ส้ ง
จึงตูองการระบอบความรับผิดพิเศษในอันทีจ
่ ะกำาหนดความรับผิด
ของรัฐในกรณีทีเ่ กิดความเสียหายขึน

3. เนื่องจากกิจกรรมเสีย
่ งภัยมีแนวโนูมทีจ
่ ะก่อใหูเกิดอันตราย
ไดู ง่ า ยและรุ น แรง กฎหมายระหว่ า งประเทศจึ ง ตู อ งกำา หนด
มาตรการทัง้ ในทางปู องกันและชดใชูค่าเสียหาย

8.2.1 ขูอความคิดทัว
่ ไปว่าดูวยความรับผิดเด็ดขาด
อธิบายลักษณะของความรับผิดเด็ดขาด
ลักษณะของความรับผิดเด็ดขาดคือ รัฐจะตูองรับผิดโดยที ่
รั ฐ ผู้ เ สี ย หายหรื อ โจทก์ ไ ม่ ตู อ งพิ ส้ จ น์ อ งค์ ป ระกอบภายในที เ่ ป็ น
ความผิ ด ของจำา เลยว่ า ความผิ ด นั ้น จะเกิ ด จากความจงใจหรื อ
ความประมาทเลิ น เล่ อ หรื อ ไม่ รั ฐ ผู้ เ สี ย หายพิ ส้ จ น์ แ ต่ เ พี ย งว่ า
ความเสี ย หายที ต
่ นไดู รั บ นั ้น เป็ นผลโดยตรงมาจากการดำา เนิ น
กิจกรรมเสีย
่ งภัยของจำาเลยก็เพียงพอแลูว ลักษณะทีเ่ ด่นชัดของ
ความรั บ ผิ ด เด็ ด ขาดอย่้ ที ค
่ วามเสี ย หายเป็ นผลโดยตรงจากการ
ดำาเนินกิจกรรมเสีย
่ งภัยดังกล่าว มิใช่อย่้ทีว
่ ่ารัฐผู้ประกอบกิจการ
97

จงใจที จ
่ ะสรู า งความเสี ย หายหรื อ ความเสี ย หายเกิ ด จากความ
ประมาทเลินเล่อหรือไม่ ดูวยเหตุนี ้ แมูรัฐจะใชูความระมัดระวัง
แลูวก็ตามหากความเสียหายเกิดขึน
้ รัฐก็ยังคงตูองรับผิดชอบอย่้
เวูนแต่ว่าความเสียหายนัน
้ เป็ นผลมาจากเหตุสุดวิสัย เช่น แผ่น
ดินไหว หรือเกิดจากความผิดของรัฐผู้เสียหายเอง

8.2.2 กิจกรรมเสีย
่ งภัยของรัฐทีอ
่ ย่้ภายใตูบังคับความรับผิด
เด็ดขาด
อธิ บ ายกิ จ กรรมเสี ย
่ งภั ย ของรั ฐ ที ต
่ กอย่้ ภ ายใตู ก ฎหมาย
ระหว่างประเทศว่ามีลักษณะทีส
่ ำาคัญอย่างไร
โดยหลั ก แลู ว กิ จ กรรมเสี ย
่ งภั ย ของรั ฐ มั ก จะมี ลั ก ษณะที ่
สำา คั ญดู งนี ้ เป็ นกิจกรรมทีต
่ กอย่้ภายใตู การควบคุ ม ด้ แ ลของรั ฐ
เป็ นกิ จ กรรมที ่อ าจก่ อ ใหู เ กิ ด อั น ตรายขู า มพรหมแดน เป็ น
กิจกรรมทีต
่ ูองมีการประกันภัยล่วงหนูา เป็ นกิจกรรมทีจ
่ ะตูองมี
มาตรการควบคุมความปลอดภัยและความร่วมมือในทางระหว่าง
ประเทศ และเป็ นกิจกรรมทีก
่ ่อใหูเกิดความเสียหายทางกายภาพ
ไดูอย่างรุนแรง

8.2.3 มาตรการในการปู องกันและการชดใชูค่าเสียหาย


อธิบายมาตรการในการปู องกันและชดใชูค่าเสียหาย
เนื่องจากกิจกรรมทีม
่ ีความเสีย
่ งภัยส้งนีอ
้ าจเกิดอันตรายไดู
ง่าย และรุนแรงกฎหมายระหว่างประเทศในร้ปของอนุสัญญาจึง
ไดูกำาหนดมาตรการทัง้ ในเชิงปู องกันและชดใชูค่าเสียหายแก่รัฐ

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 8
98

1. การชดใชู ดู ว ยสิ ่ง เดี ย วกั น ถื อ ว่ า เป็ นวิ ธี ก ารชดใชู ค่ า เสี ย หายที ่


สามารถคำานวณเป็ นจำานวนเงินไดู
2. การกระทำา ของเจูาหนูาทีใ่ นลักษณะปูองกันตัว เถือเป็ นกรณีทีร
่ ัฐไม่
ตูองรับผิดชอบ
3. การกระทำา ของฝ่ ายนิ ติ บั ญ ญั ติ ที ่รั ฐ ตู อ งรั บ ผิ ด ชอบคื อ การออก
กฎหมายทีข
่ ัดหรือแยูงกับพันธกรณีระหว่างประเทศ
4. การโอนกิจการของคนต่างดูาวเป็ นของรัฐตูองปฏิบัติตามเงื่อนไขคือ
(ก) ตูองมีวัตถุประสงค์เพื่อผลประโยชน์ แห่งชาติ (ข) ตูองไม่เลือกปฏิบัติ
(ค) ตูองจ่ายค่าชดเชยอย่างรวดเร็ว เพียงพอ และสัมฤทธิผล
5. การปฏิ เ สธที จ
่ ะบั ง คั บ คดี แ ก่ ค นต่ า งดู า ว ไม่ เ ขู า ข่ า ยที ร
่ ั ฐ ตู อ งรั บ ผิ ด
ชอบในกรณีปฏิเสธความยุติธรรม
6. การละเมิ ดพั นธะกรณี ต าม หลัก กฎหมายทั่ว ไป กฎหมายประเพณี
ระหว่างประเทศ และสนธิสญ
ั ญา จะก่อใหูเกิดความรับผิดชอบของรัฐ
7. กิจกรรมอวกาศมีลักษณะทีเ่ ป็ นภัยต่อสันติภาพและความมัน
่ คงของ
ประชาคมระหว่างประเทศ มิใช่เหตุผลทีส
่ นับสนุนใหูใชูบังคับหลักความรับ
ผิดเด็ดขาดกับกิจกรรมในอวกาศ
8. อนุสัญญาความรับผิด ค.ศ. 1972 กำา หนดขูอยกเวูนของความรับผิด
เด็ดขาดไวูคือ (ก) เป็ นความผิดของผู้เสียการเองทีจ
่ งใจก่อใหูเกิดความเสีย
หาย (ข) ผู้เสียหายประมาทเลินเล่ออย่างรูายแรง
9. กฎหมายระหว่างประเทศกำา หนดใหูรัฐมีความผิดระหว่างประเทศใน
ความเสียหายอันเนื่องมาจากกิจกรรมในอวกาศคือ (ก) รัฐผู้ส่ง (ข) รัฐผู้
จัดหา (ค) รัฐเจูาของดินแดนซึง่ เป็ นสถานทีส
่ ำาหรับยิงจรวด
10. กิ จ กรรมซึ่ ง อาจก่ อ ใหู เ กิ ด อั น ตรายโดยรั ฐ มิ ไ ดู จ งใจหากแต่
ประมาทเลินเล่อ มิใช่ลักษณะสำาคัญของกิจกรรมเสีย
่ งภัยของรัฐทีอ
่ ย่้ภาย
ใตูระบอบความรับผิดเด็ดขาด
99

11. แนวคิดทีจ
่ ัดกิจกรรมในอวกาศไวูภายใตูหลักความรับผิดเด็ด
้ มีเหตุผลสนับสนุนคือ (ก) กิจกรรมอวกาศเป็ นกิจกรรมซึ่งอาศัย
ขาดนัน
ความกู า วหนู า ทางเทคโนโลยี ชั ้น ส้ ง (ข) บุ ค คลภายนอกไม่ อ าจเขู า ถึ ง
ขูอม้ลไดู

หน่วยที ่ 9 กฎหมายองค์การระหว่างประเทศ

1. การก่ อ ตั ้ง องค์ ก ารระหว่ า งประเทศจะกระทำา ไดู โ ดยสนธิ

สั ญ ญาพหุ ภ าคี หรื อ ขู อ มติ ข องที ่ป ระชุ ม ระหว่ า งประเทศใน


องค์ ก ารระหว่ า งประเทศซึ่ ง เรี ย กรวมๆ กั น ว่ า ตราสารก่ อ ตั ้ง
องค์ ก ารระหว่ า งประเทศ สถานภาพทางกฎหมายหรื อ สภาพ
บุคคลขององค์การระหว่างประเทศ ย่อมขึน
้ อย่้กับตราสารก่อตัง้
องค์การระหว่างประเทศ
2.โครงสรูางขององค์กรระหว่า งประเทศประกอบดูว ยสมัช ชา
คณะมนตรีและเลขาธิการเสมอ
3. สถานภาพขององค์การระหว่างประเทศอันไดูแก่ การเขูามา

เป็ นสมาชิก ผู้แทนของรัฐหรือผู้แทนขององค์การระหว่างประเทศ


การสิน
้ สุดสมาชิกภาพย่อมเป็ นไปตามทีต
่ ราสารก่อตัง้ ไดูระบุไวู
4. การลงคะแนนเสียงในองค์การระหว่างประเทศมีอย่้ 2 วิธีคือ

การลงคะแนนเสียงแบบเอกฉันท์กับการลงคะแนนเสียงโดยอาศัย
เสียงขูางมาก
100

5.ผลทางกฎหมายของขูอ มติ ภายในองค์ก ารระหว่า งประเทศ


ย่ อมแตกต่างกั นไป ทั ง้ นี ย
้ ่ อ มขึ้น อย่้ กั บ เจตนารมณ์ ข องตราสาร
ก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศ
6.เจู า พนั ก งานองค์ ก ารระหว่ า งประเ ทศสาม าร ถอุ ปโ ภค
เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม ครองทางการท้ ต มี สิ ท ธิ จ ะไดู รั บ ความ
คูุ ม ครองจากองค์ ก ารระหว่ า งประเทศ และมี เ สู น สั ม พั น ธ์ กั บ
องค์การระหว่างประเทศโดยสัญญาจูางและขูอบังคับเกีย
่ วกับเจูา
พนักงานองค์การระหว่างประเทศ

9.1 การก่ อตั้ งและสถานภาพทางกฎหมายขององค์ ก าร


ระหว่างประเทศ
1. เมือ
่ สังคมระหว่างประเทศไดูมีการพัฒนาทางดูานเทคโนโลยี
ทางดูานการสือ
่ สารคมนาคมมากขึน
้ รัฐจำาตูองร่วมมือกันเพือ
่ แกู
ปั ญหาต่างๆ การร่วมมือกันนีเ้ ป็ นปั จจัยสำาคัญทีท
่ ำาใหูรัฐตูองราม
ตั ว กั น ในร้ ป ขององค์ ก ารระหว่ า งประเทศ องค์ ก ารระหว่ า ง
่ มี ก ารพั ฒ นาในกลางศตวรรษที ่ 19 และไดู เ พิ ม
ประเทศไดู เ ริ ม ่
จำานวนขึน
้ อย่างมากมายภายหลังสงครามโลกครัง้ ทีส
่ อง
2. องค์ก ารระหว่างประเทศพอจะใหูคำา จำา กัดความไดูว่า เป็ น

รัฐสมาคมซึง่ ก่อตัง้ โดยสนธิสัญญา มีกฎขูอบังคับและองค์กรร่วม


กัน มีสภาพบุคคลเป็ นของตนเองแตกต่างไปจากรัฐสมาชิก
3. องค์ก ารระหว่า งประเทศอาจก่ อ ตั ง
้ ไดู ส องวิ ธี คื ออาศั ย สนธิ
สัญญาพหุภาคี เป็ นเครือ
่ งมือในการก่อตัง้ กับอาศัยขูอมติของที ่
ประชุมระหว่างประเทศในองค์การระหว่างประเทศเป็ นเครื่องมือ
ในการก่อตัง้
101

4. โดยปกติแลูวสภาพบุคคลขององค์การระหว่างประเทศ ย่อม

ระบุไวูในตราสารก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศนัน
้ ๆ ในกรณีที ่
ตราสารก่อตัง้ มิไดูกล่าวถึงสภาพบุคคลดังกล่าว องค์การระหว่าง
ประเทศย่ อ มมี ส ภาพบุ ค คลในทรรศนะของกฎหมายระหว่ า ง
ประเทศ เสมอ ถู า วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการก่ อ ตั ้ง องค์ ก ารระหว่ า ง
ประเทศชอบดู วยกฎหมายระหว่ างประเทศ มีอ งค์ก ารต่ า งๆ ที ่
สามารถจะปฏิบัติหนูาทีไ่ ดูอย่างมีประสิทธิภาพเพือ
่ บรรลุตามเปู า
หมายทีว
่ างไวู
5. ขอบข่ า ยอำา นาจขององค์ ก ารระหว่ า งประเทศย่ อ มแปรผั น

ตามวัตถุประสงค์ในการก่อตัง้ และเปู าหมายทีจ


่ ะดำา เนินการของ
องค์การระหว่างประเทศนัน
้ ๆ

9.1.1 แนวคิดเกีย
่ วกับองค์การระหว่างประเทศ
ระบุความเป็ นมาและสาเหตุในการก่อตัง้ ตลอดจนคำาจำากัด
ความขององค์การระหว่างประเทศ
ความคิดในการก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศมีมานานแลูว
ในอดีต แต่ เป็ นเพียงความคิ ดที ป
่ รากฏในนิ พ นธ์ ข องนั ก ปราชญ์
ชาวตะวันตกหลายท่ าน ต่อมาในปลายศตวรรษที ่ 19 ความคิ ด
ในการก่ อ ตั ้ ง องค์ ก ารระหว่ า งประเทศก็ สั ม ฤทธิ ผ ล องค์ ก าร
ระหว่างประเทศไดูเพิม
่ อำานาจมากขึน
้ ภายหลังสงครามโลกครัง้ ที ่
สอง อั น มี ส าเหตุ ม าจากความกู า วหนู า ทางเทคโนโลยี การ
สื่ อ สารโทรคมนาคมในสั ง คมระหว่ า งประเทศ เพราะปั จจั ย ดั ง
กล่าวทำา ใหูปัญหาทีเ่ กิดขึน
้ มีความเกีย
่ วเนื่องและเกีย
่ วพันกับทุก
102

ประเทศ ทำา ใหูทุ กประเทศตูอ งหั นหนูา เขู าหากั นเพื่อ ร่ว มมื อกั น
แกูไขปั ญหาระหว่างประเทศ
องค์การระหว่างประเทศ หมายความถึง รัฐสมาคมซึง่ ก่อตัง้
โดยสนธิ สั ญ ญา มี ก ฎขู อ บั ง คั บ และองค์ ก ารร่ ว มกั น มี ส ภาพ
บุคคลเป็ นของตนเองแตกต่างไปจากรัฐสมาชิก

9.1.2 การก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศ


องค์การระหว่างประเทศอาจก่อตัง้ ไดูโดยวิธีใดบูาง
องค์การระหว่างประเทศก่อตัง้ โดยสนธิสัญญาพหุภาคี ขูอ
มติของทีป
่ ระชุมระหว่างประเทศในองค์กรระหว่างประเทศ หรือ
ขูอมติของทีป
่ ระชุมระหว่างประเทศ

9.1.3 สภาพบุคคลขององค์การระหว่างประเทศในกฎหมาย
ระหว่างประเทศ
องค์การระหว่างประเทศจะตูองมีสภาพบุคคลตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศเสมอไปหรือไม่
โดยหลั กแลู ว องค์ ก ารระหว่ า งประเทศย่ อ มมี ส ภาพบุ ค คล
ระหว่ า งประเทศเสมอ แมู ว่ า ตราสารก่ อ ตั ้ ง องค์ ก ารระหว่ า ง
ประเทศจะมิไดูระบุไวูก็ตาม องค์การระหว่างประเทศจะมีสภาพ
บุคคลภายใตูเงือ
่ นไข ดังนีค
้ ือ
1. มีการรวมกลุ่มอย่างถาวรของรัฐ
2. มีก ารแบ่งแยกอย่า งเด็ด ขาดถึ ง จุ ด มุ่ ง หมาย และอำา นาจ
หนูาทีร
่ ะหว่างองค์การระหว่างประเทศกับรัฐสมาชิก
3. มีการปฏิบัติภาระหนูาทีโ่ ดยเอกเทศ
103

9.1.4 ขอบข่ายอำานาจขององค์การระหว่างประเทศ
เมือ
่ เนือ
้ หาขอบข่ายอำานาจขององค์การระหว่างประเทศย่อม
แตกต่ า งกั น ออกไป อะไรคื อ เกณฑ์ ที จ
่ ะใชู พิ จ ารณาขอบข่ า ย
อำานาจขององค์การระหว่างประเทศว่ามีมากนูอยแค่ไหน
เกณฑ์ในการพิจารณาขอบข่ายอำานาจขององค์การระหว่าง
ประเทศคื อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ห รื อ เปู าหมายขององค์ ก ารระหว่ า ง
ป ร ะ เ ท ศ ก ล่ า ว คื อ ข อ บ ข่ า ย อำา น า จ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ย่ อ ม ตู อ ง มี
ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง โ ด ย ส อ ด ค ลู อ ง กั บ เ ปู า ห ม า ย แ ล ะ
วัตถุประสงค์

9.2 โครงสร้าง สมาชิกภาพ การลงคะแนนเสียง และผล


ทางกฎหมายของข้อมติในองค์การระหว่างประเทศ
1. โครงสรู า งขององค์ ก ารระหว่ า งประเทศจะประกอบดู ว ย

องค์ก รหลัก 3 องค์กรเสมอ อั น ไดู แก่ สมั ช ชา คณะมนตรี แ ละ


เลขาธิ ก าร สมั ช ชาเป็ นองค์ ก ารซึ่ ง ประกอบดู ว ยสมาชิ ก เต็ ม
จำา นวนคณะมนตรี เ ป็ นองค์ ก ารที ป
่ ระกอบดู ว ยสมาชิ ก จำา นวน
จำา กั ด และเลขาธิ ก ารเป็ นองค์ ก ารที ่ทำา หนู า ที ่ใ นการบริ ห าร
องค์การระหว่างประเทศ
2. สมาชิ ก ภาพขององค์ก ารระหว่า งประเทศนัน
้ ตู องพิจ ารณา
ถึง การเขูาเป็ นสมาชิกในองค์การระหว่างประเทศ ผู้แทนทีเ่ ขูา
ร่ ว มในองค์ ก ารระหว่ า งประเทศ และการสิ น
้ สุ ด สภาพของการ
เป็ นสมาชิกในองค์การระหว่างประเทศ
104

3. โดยหลักแลูวการลงคะแนนเสียงในองค์การระหว่างประเทศ
มีอย่้ 2 ร้ปแบบ คือ การลงคะแนนเสียงโดยเอกฉันท์ และการลง
คะแนนเสียงโดยอาศัยเสียงขูางมาก
4. การลงคะแนนเสียงโดยเอกฉันท์แบ่งไดูเป็ น 3 ประเภท คือ

การลงคะแนนเสียงโดยเอกฉันท์แบบจำา กัด การลงคะแนนเสียง


โดยเอกฉันท์แบบบางส่วน และการลงคะแนนเสีย งแบบยิน ยอม
หรือเห็นพูองตูองกันทีเ่ รียกว่า ฉันทมติ
5. การลงคะแนนเสี ย งโดยอาศั ย เสี ย งขู า งมาก แบ่ ง เป็ น 2

ประเภท คือ การลงคะแนนเสียงขูางมากโดยรัฐทุกรัฐมีคะแนน


เสียงเท่ากัน และการลงคะแนนเสียงขูางมากโดยรัฐสมาชิกมิไดูมี
คะแนนเสียงเท่ากัน
6. โดยปกติ ผลทางกฎหมายขอขูอมติย่อมแตกต่างกันออกไป

ตามตราสารก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศทีร
่ ะบุไวู แต่ สำา หรั บ
ขูอมติทีอ
่ อกมาโดยองค์การภายในขององค์การระหว่างประเทศ
เพื่อแจูงไปยั งองค์กรอื่นขององค์ก ารระหว่างประเทศ ย่อ มมี ผล
ทางกฎหมาย ถู าเป็ นกรณี ที อ
่ งค์ ก รที ม
่ ี อำา นาจในการบริ ห ารส้ ง
กว่ า แจู งไปยั ง องค์ กรที อ
่ ย่้ ภายใตู ก ารบั ง คั บ บั ญ ชา ส่ ว นขู อ มติ ที ่
ออกมาโดยองค์กรขององค์การระหว่างประเทศ เพือ
่ แจูงไปยังรัฐ
ย่อมไม่มีผลตามกฎหมาย รัฐไม่จำาเป็ นตูองปฏิบัติตาม เวูนเสียแต่
เป็ นเรือ
่ งทีป
่ ระมวลหลักกฎหมายจารีตประเพณีหรือนำาเอาพันธะ
ทางกฎหมายมาระบุไวูในขูอมตินัน
้ ๆ

9.2.1 โครงสรูางขององค์การระหว่างประเทศ
105

วิธีการแบ่งโครงสรูางขององค์การระหว่างประเทศมีอย่างไร
บูาง
วิธีแบ่งโครงสรูางขององค์การระหว่างประเทศมีดังนี ้
1.องค์การทีป
่ ระกอบดูวยสมาชิ กเต็ม จำา นวนซึ่งมั กจะไดู แก่
สมัชชา
2.องค์ ก ารซึ่ง ประกอบดู ว ยสมาชิ ก จำา นวนจำา กั ด ซึ่ ง ไดู แ ก่
คณะมนตรี
3.องค์ ก ารซึ่ ง ทำา หนู า ที ่ใ นการ บริ หารองค์ ก ารร ะห ว่ า ง
ประเทศ ซึง่ มักจะไดูแก่ สำานักงานเลขาธิการ

9.2.2 สมาชิกภาพขององค์การระหว่างประเทศ
ตั ว ตนอื่ น ที ม
่ ิ ใ ช่ รั ฐ สามารถจะเขู า มาร่ ว มในกิ จ กรรมของ
องค์การระหว่างประเทศไดูหรือไม่
ตั ว ตนอื่ น ที ่ มิ ใ ช่ รั ฐ สาม าร ถจ ะเ ขู า ร่ ว มใ นกิ จ กร ร ม ขอ ง
องค์การระหว่างประเทศไดู แต่มิใช่ฐานะสมาชิกสามัญ กล่าวคือ
สามารถเขู า มาเป็ นสมาชิ ก สมทบไดู แต่ มิ ไ ดู มี สิ ท ธิ ห นู า ที เ่ ต็ ม
สมบ้รณ์เหมือนกับสมาชิกสามัญตามทีก
่ ำาหนดไวูในตราสารก่อตัง้
องค์การระหว่างประเทศ

จำา เป็ นหรื อ ไม่ ที ผ


่ ู้ แ ทนของรั ฐ ที ป
่ ระจำา ในองค์ ก ารระหว่ า ง
ประเทศ จะตูองเป็ นขูาราชการกระทรวงการต่างประเทศเสมอ
ไม่ จำา เป็ นเสมอไป โดยปกติ แ ลู ว ผู้ แ ทนของรั ฐ ที ่ป ระจำา
องค์การระหว่างประเทศก็จะไดูแก่ขาราชการกระทรวงการต่าง
ประเทศ แต่ ถู า มี อ งค์ ก รระหว่ า งประเทศ ที ม
่ ี ลั ก ษณะทางดู า น
106

เทคนิค ผู้แทนของรัฐก็อาจจะเป็ นขูาราชการในกระทรวง ทบวง


กรม อื่นๆ ทีเ่ กีย
่ วขูองกับสายงานขององค์การระหว่างประเทศ
นัน
้ ๆ ก็ไดู นอกจากนี ้ ผู้ แทนที เ่ ขู าร่ วมในกิจกรรมขององค์การ
ระหว่ างประเทศอาจมิ ใ ช่ ตั ว แทนรั ฐ แต่ เ ป็ นตั ว แทนภาคเอกชน
ก็ ไ ดู เ ช่ น ใ น ส ห ภ า พ แ ร ง ง า น ส า ก ล ผู้ แ ท น อ า จ ม า จ า ก
สหภาพแรงงานและสมาคมนายจูางดูวย

9.2.3 การลงคะแนนเสียงและผลทางกฎหมายของขูอมติใ น
องค์การระหว่างประเทศ
ระบุการลงคะแนนเสียงมีกีว
่ ิธี
การลงคะแนนเสี ย งมี 2 วิ ธี คื อ การลงคะแนนเสี ย งดู ว ย
คะแนนเสียงขูางมาก และการลงคะแนนเสียงโดยเอกฉันท์

ขูอมติขององค์การสหประชาชาติมีผลทางกฎหมายแค่ไหน
เพียงใด
ขูอมติขององค์การสหประชาชาติ เพื่อแจู งไปยังรัฐ สมาชิ ก
ย่ อ มไม่ มี ผ ลบั ง คั บ ตามกฎหมายเวู น แต่ เ ป็ นคำา ตั ด สิ น (Decision)
ส่วนขูอมติภายในทีอ
่ อกจากองค์กรทีม
่ ีอำา นาจบังคับบัญชาเหนือ
กว่าไปยังองค์กรอืน
่ ในองค์การสหประชาชาติย่อมมีผลผ้กพันตาม
กฎหมาย

9.3 เจ้าพนักงานองค์การระหว่างประเทศ
1. การรั บบุ คคลเพื่อ เขูา ทำา งานในองค์ ก รระหว่า งประเทศ ใน

ฐานะเจูาพนักงานระหว่างประเทศย่อมขึน
้ อย่้กับประเภทของเจูา
พนักงานนัน
้ ๆ ถูาเป็ นเจูาพนักงานระดับส้งตราสารก่อตัง้ จะระบุ
107

วิธีการแต่งตัง้ ไวูโดยละเอียด แต่ถูาเป็ นเจูาพนักงานระดับทั่วไป


การรั บ บุ ค คลเขู า ทำา งานขึ้น อย่้ กั บ กฎเกณฑ์ ที ส
่ ำา นั ก เลขาธิ ก าร
กำา หนดโดยคำา นึ ง ถึ ง สมรรถภาพความสามารถในการทำา งาน
ความซือ
่ สัตย์ต่อองค์การ ระหว่างประเทศ และคำานึงถึงการแบ่ง
โควตาโดยคำานึงถึงม้ลฐานทางภ้มิศาสตร์อย่างกวูางขวาง
2. สถานภาพทางกฎหมายของเจู า พนั ก งานองค์ ก ารระหว่ า ง

ประเทศ ถ้ ก กำา หนดโดยสั ญ ญาจู า ง และขู อ บั ง คั บ เกี ย


่ วกั บ เจู า
พนักงานขององค์การ
3. เจู า พนั ก งานองค์ ก ารระหว่ า งประเทศมี สิ ท ธิ ที จ
่ ะอุ ป โภค
เอกสิ ท ธิ และความคูุ ม กั น ทางการท้ ต เท่ า ที ่ไ ดู ป ฏิ บั ติ ภ ายใน
ขอบข่ า ยงานขององค์ ก ารระหว่ า งประเทศ เวู น เสี ย แต่ เ จู า
พนักงานองค์การระหว่างประเทศระดับส้ง ย่อมอุปโภคเอกสิทธิ
และความคูุม กันไดู ทัง้ หมด นอกจากนัน
้ ยัง มีสิทธิ ที จ
่ ะไดู รั บ การ
คูุมครองจากองค์การระหว่างประเทศในการปฏิบัติหนูาทีอ
่ ีกดูวย
4. เจูาพนักงานองค์การระหว่างประเทศมีหนูาทีท
่ ีจ
่ ะงดเวูนทีจ
่ ะ
รับนโยบายหรือคำา สั่งจากรัฐบาลหรือบุคคลภายนอกอื่นใด เชื่อ
ฟั งผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา รั ก ษาความลั บ ในการปฏิ บั ติ ห นู า ที ่ และสละ
เวลาใหูกับการทำางานในองค์การระหว่างประเทศอย่างเต็มที ่

9.3.1 การสรรหาบุ ค คลเพื่ อ เขู า ทำา งานในองค์ ก ารระหว่ า ง


ประเทศในฐานะเจูาพนักงานองค์การระหว่างประเทศ
เจูาพนักงานองค์การระหว่างประเทศคือใคร
เจู า พนั ก งานองค์ ก ารระหว่ า งประเทศเป็ นตั ว แทนของรั ฐ
สมาชิกทัง้ หลาย หรือขององค์การทีป
่ ฏิบัติหนูาทีอ
่ ย่างต่อเนือ
่ งใหู
108

แก่องค์การระหว่างประเทศเพื่อประโยชน์แก่รัฐสมาชิก และอย่้
ภายใตูกฎขูอบังคับทางกฎหมายเป็ นพิเศษ

9.3.2 สถานภาพทางกฎหมายของเจู า พนั ก งานองค์ ก าร


ระหว่างประเทศ
อธิ บ ายสถานภาพทางกฎหมายของเจู า พนั ก งานองค์ ก าร
ระหว่างประเทศ
สถานภาพทางกฎหมายของเจู า พนั ก งานองค์ ก ารระหว่ า ง
ประเทศกั บ องค์ ก ารระหว่ า งประเทศมี ลั ก ษณะผสมระหว่ า ง
สัญญาจูางกับกฎระเบียบขูอบังคับ

9.3.3 สิ ท ธิ แ ละหนู า ที ่ข องเขู า พนั ก งานองค์ ก ารระหว่ า ง


ประเทศ
อธิ บ ายสิ ท ธิ แ ละหนู า ที ข
่ องเจู า พนั ก งานองค์ ก ารระหว่ า ง
ประเทศ
สิทธิของเจูาพนักงานองค์การระหว่างประเทศไดูแก่
(1) สามารถอุปโภคเอกสิทธิและความคูุมกันไดูเท่าทีไ่ ดูปฏิบัติ

งานภายในขอบข่ายขององค์การระหว่างประเทศ
(2) ไดูรับการคูุมครองในการปฏิบัติหนูาที ่
(3) รวมกลุ่ ม ในร้ ป ของ สหบาลเจู า พนั ก งานองค์ ก าร
ระหว่างประเทศเพือ
่ แสดงความคิดเห็น
(4) การประกันสิทธิจากศาลต่อการกระทำา โดยอำา เภอ
ใจขององค์การระหว่างประเทศ
หนูาทีข
่ องเจูาพนักงานองค์การระหว่างประเทศ ไดูแก่
109

(1) การงดเวูนทีจ
่ ะรับนโยบายหรือคำาสัง่ จากรัฐบาลอืน
่ ใด
(2) ปฏิเสธทีจ
่ ะรับรางวัลตอบแทนการปฏิบัติหนูาทีเ่ วูนแต่
จะไดูรับอนุมัติจากองค์การระหว่างประเทศ
(3) ตู อ งสละเวลาใหู กั บ องค์ ก ารระหว่ า งประเทศในการ
ปฏิบัติหนูาที ่

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 9
1. แนวความคิ ดในการก่ อตั ้ง องค์ ก ารระหว่า งประเทศของนั กปราชญ์
ตะวันตกไดูปรากฏมาชูานานแลูว แต่การก่อตั ง้ องค์การระหว่า งประเทศ
สั ม ฤทธิ ์ผ ลในศตวรรษที ่ 19 เพราะสาเหตุ ความเจริ ญ กู า วหนู า ทาง
เทคโนโลยี และการสือ
่ สารคมนาคม
2. องค์การระหว่างประเทศอาจก่อตัง้ ไดูโดยอาศัย (ก) สนธิสัญญา (ข)
มติขององค์การระหว่างประเทศ
3. องค์การระหว่างประเทศหมายความถึง รัฐสมาคม ก่อตั ง้ โดยสนธิ
สั ญ ญา มี ก ฎขู อ บั ง คั บ และองค์ ก ารร่ ว มกั น มี ส ภาพบุ ค คลเป็ นของ
ตนเอง แตกต่างไปจากรัฐสมาชิก
4. องค์การย่อย (Subsidiary organ) หมายถึง องค์การทีถ
่ ้กสรูางขึน
้ โดย
ขูอมติขององค์การระหว่างประเทศทีม
่ ีมาก่อน
5. โดยทั่วไปแลูวองค์การระหว่า งประเทศจะตู องประกอบดู วยองค์ก ร
หลัก 3 องค์การคือ สมัชชา คณะมนตรี และเลขาธิการ เป็ นความจริง
เพราะองค์กรทัง้ 3 เป็ นองค์กรหลักในการดำาเนินการขององค์การระหว่าง
ประเทศ
6. ขู อ มติ ข ององค์ ก ารระหว่ า งประเทศคื อ การแสดงเจตนารมณ์ ข อง
องค์การระหว่างประเทศ
110

7. คำาว่า “คอนเซนซัล” หรือ “กองซองซ้ล” (conselsun) หมายความว่า


การยอมรั บ ขู อ มติ โ ดยมิ ไ ดู มี ก ารลงคะแนนเสี ย งแต่ เ ป็ นการยอมรั บ แบบ
ยินยอม หรือเห็นพูองตูองกัน
8. การยอมรับขูอมติเกีย
่ วกับการจัดระเบียบเศรษฐกิจใหม่ เป็ นปั ญหาที ่
ไม่ จำา เป็ นตู อ งลงคะแนนเสี ย ง 2 ใน 3 ตามมาตรา 18 แห่ ง กฎบั ต ร
สหประชาชาติ
9. ขูอมติขององค์การสหประชาชาติทีแ
่ จูงไปยังรัฐสมาชิก ไม่มีผลตาม
กฎหมาย เวูนเสียว่าสมาชิกจะแสดงเจตนายอมรับขูอมติต่างหากจากการ
ลงคะแนนเสียง
10. เจูาพนักงานองค์การระหว่างประเทศคือ บุคคลทีท
่ ำางานใหูกับ
องค์การระหว่างประเทศโดยเป็ นเอกเทศจากรัฐเจูาของสัญชาติ
11. องค์การระหว่างประเทศแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ ไดูแก่
(ก) องค์ กา รระห ว่ า งป ระเท ศ (International Organization) กั บ องค์ ก า ร
่ ิใช่รัฐบาล (Non Government International Organization)
ระหว่า งประเทศทีม
(ข) องค์การระหว่างเทศสากล กั บองค์ การระหว่า งประเทศส่ วนภ้มิ ภาค
(ค) องค์ ก ารระหว่ า งประเทศที ่มี อำา นาจเหนื อ รั ฐ กั บ องค์ ก ารระหว่ า ง
ประเทศที ม
่ ิ ไ ดู มี อำา นาจเหนื อ รั ฐ (ง) องค์ ก ารระหว่ า งประเทศที ม
่ ี จุ ด มุ่ ง
หมายอย่า งกวู างขวาง กั บองค์ การระหว่า งประเทศที จ
่ ุด มุ่ง หมายเฉพาะ
เจาะจง
12. สมาชิกสามัญขององค์การระหว่างประเทศหมายถึง รัฐ
13. การเขูาเป็ นสมาชิกในองค์การระหว่า งประเทศกระทำา ไดู โดย
กระทำาตามขัน
้ ตอนทีต
่ ราสารก่อตัง้ กำาหนดไวู
14. ขอบข่ า ยอำา นาจขององค์ ก ารระหว่ า งประเทศเป็ นไปตาม
ตราสารก่อตัง้ องค์การระหว่างประเทศ
111

15. การลงคะแนนเสี ย งตู อ งใชู ค ะแนนเสี ย งเอกฉั น ท์ ห รื อ ไม่ ไม่


ตูองใชูคะแนนเสียงเอกฉันท์ เพราะองค์การระหว่างประเทศส่วนมากใชู
การลงคะแนนเสียงขูางมาก

หน่วยที ่ 10 กฎหมายการทูต

1. ก ฎห มายก าร ท้ ต เ ป็ น สา ข า ห นึ่ ง ข อ ง ก ฎ ห ม าย ร ะ ห ว่ าง

ประเทศแผนกคดี เ มื อ ง กำา หนดสิ ท ธิ แ ละหนู า ที ่ข องตั ว แทน


ทางการท้ตและกงสุลในฐานะทีเ่ ป็ นตัวแทนของรัฐผู้ส่งเพือ
่ ปฏิบัติ
หนูาทีใ่ นรัฐผู้รับ
2. ค ณะผู้ แ ทนทาง ก าร ท้ ตป ร ะก อ บ ดู ว ยบุ ค ค ลห ลา ยฝ่ าย

กฎหมายการท้ตไดูกำาหนดถึงวิธีการเขูาดำารงตำาแหน่งการสิน
้ สุด
และหนูาทีข
่ องผู้แทนทางการท้ต
3. เอกสิ ท ธิ แ ละความคูุ ม กั น ของผู้ แ ทนทางการท้ ต ย่ อ มมี ม าก

นู อ ยแตกต่ า งกั น ออกไปตามประเภทของผู้ แ ทนทางการท้ ต


ขอบข่ า ยของเอกสิ ท ธิ ์แ ละความคูุ ม กั น ของผู้ แ ทนการท้ ต นั ้ น
ไดูแก่การยกเวูนภาษีอากร ภาษีศุลกากร ค่าธรรมเนียม ความ
คูุมกันเกีย
่ วกับตัวบุคคล ความคูุมกันในสถานที ่
4. สถาบั น กงสุ ล ประกอบดู ว ยสถานที ่ทำา การและบุ ค คลใน
สถานที ท ่ ำา การกงสุ ล นั ้น จำา แนกไดู เ ป็ น 4
่ ำา การกงสุ ล สถานที ท
ระดับคือ สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล สถานรองกงสุล สำานัก
ตัวแทนกงสุล สำาหรับบุคคลในสถานทีท
่ ำาการกงสุลนัน
้ จำาแนกไดู
112

เป็ น 4 ประเภท คือ หัวหนูาสถานทีท


่ ำา การกงสุล พนักงานฝ่ าย
กงสุล บุคคลในคณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายบริการ
5. เอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันอาจแบ่งไดูเป็ นสองประเภทใหญ่ๆ
คื อ เอกสิ ท ธิ ์แ ละความคูุ ม กั น เกี ่ย วกั บ สถานที ่ท างกงสุ ล กั บ
เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ บุ ค คลในคณะเจู า หนู า ที ฝ
่ ่ าย
กงสุล
6. เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ สถานที ท
่ างกงสุ ล ย่ อ ม
ไม่ มี ขู อ แตกต่ า งกั น ไม่ ว่ า สถานที ท
่ างกงสุ ล จะเป็ นประเภทใด
ส่ ว นเอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ บุ ค คลในสถานที ท
่ ำา การ
กงสุลจะมีมากนูอยก็ย่อมแลูวแต่ลำา ดับชัน
้ ของบุคคลในคณะเจูา
หนูาทีฝ
่ ่ ายบุคคล
7. เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น ทางกงสุ ล จำา แนกออกเป็ นความ
ละเมิดมิไดูในสถานที ่ ความละเมิดมิไดูในตัวบุคคล การยกเวูน
ภาษีอากรและภาษีศุลกากร
8. กฎหมายการท้ ต เป็ นกฎหมายระหว่ า งประเทศ การนำา

กฎหมายดังกล่าวมาใชูในประเทศไทยจะตูองมีการอนุวัติการออก
มาในร้ ป กฎหมายภายใน ซึ่ง ปั จจุ บั น นี ้ ไดู แ ก่ ระราชบั ญ ญั ติว่ า
์ ละความคูุ ม กั น ทางการท้ ต พ.ศ. 2527 และพระ
ดู ว ยเอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุมกันทางกงสุล พ.ศ. 2541
ราชบัญญัติว่าดูวยเอกสิทธิแ

10.1 แนวความคิดเกีย
่ วกับกฎหมายการทูต
1. กฎหมายว่ า ดู ว ยตั ว แทนทางการท้ ต มี วิ วั ฒ นาการมาตั ้ง แต่

โบราณ เริม
่ ตัง้ แต่ยังไม่มีกฎเกณฑ์ทีแ
่ น่ชัดจนกระทัง่ ถึงศตวรรษที ่
15 จึ ง เริ ม
่ มี ก ฎเกณฑ์ แ น่ น อนที ม
่ าจากจารี ต ประเพณี และใน
113

ปั จจุ บั น ไดู มี ค ณะกรรมาธิ ก ารกฎหมายระหว่ า งประเทศไดู


ประมวลกฎหมายจารีตประเพณีไวูในร้ปของอนุสัญญา
2. กงสุล คือบุคคลทีเ่ ป็ นตัวแทนของรัฐผู้ส่งไปประจำายังรัฐผู้รับ
เพื่ออำา นวยความสะดวกคูุมครองสิทธิและประโยชน์ของคนชาติ
ของตนในประเทศนัน
้ ๆ
3. สถาบั น กงสุ ล มี วิ วั ฒ นาการตั ้ง แต่ ศ ตวรรษที ่ 13 มาจนถึ ง

ศตวรรษที ่ 18 ซึ่ง เป็ นช่ วงเวลาเริม


่ ตูน วิวั ฒนาการของกฎหมาย
จารีตประเพณีในดู านสถาบันกงสุล และไดูถ้กนำา มาประมวลใน
ร้ ป ของอนุ สั ญ ญา โดยคณะกรรมาธิ ก ารกฎหมายระหว่ า ง
ประเทศ
่ ำา คั ญ ในปั จจุ บั น ไดู แ ก่ อนุ สั ญ ญา 2
4. กฎหมายการท้ ต ที ส

ฉบับคือ อนุสัญญาเวียนนาว่าดูวยความสัมพันธ์ทางการท้ต ค.ศ.


1961 กับอนุสัญญาเวียนนาว่า ดูวยความสัมพันธ์ ทางกงสุล ค.ศ.
1963

10.1.1 แนวความคิ ด เกี ่ย วกั บ กฎหมายว่ า ดู ว ยตั ว แทน


ทางการท้ต
ใหูกล่าวถึงวิวัฒนาการของกฎหมายการท้ต
กฎหมายการท้ตเป็ นกฎหมายทีม
่ ีวิวัฒนาการมาตัง้ แต่ครัง้
โบราณ แต่ เริ ม
่ มีก ฎเกณฑ์ขูอ บังคั บอย่ างแน่ นอนในศตวรรษที ่
15 ในฐานะเป็ นกฎหมายจารี ต ประเพณี ต่ อ มาในปี ค.ศ. 1949
คณะกรรมาธิ ก ารกฎหมายระหว่ า งประเทศของสหประชาชาติ
ไดู เ ลื อ กประมวลหั ว ขู อ เรื่ อ งความ สั ม พั น ธ์ และความคูุ ม กั น
ทางการท้ ต ซึ่ ง การดำา เนิ น งานของคณะกรรมาธิ ก ารกฎหมาย
114

้ สุดลงเมื่อ ค.ศ. 1961 โดยร่างอนุสัญญานี ้


ระหว่างประเทศไดูสิน
มีชือ
่ ว่า “อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยความสัมพันธ์ทางการท้ต”

10.1.2 แ นว ความ คิ ด เ กี ่ ย ว กั บก ฎ ห ม ายว่ าดู ว ยค ว าม


สัมพันธ์ทางกงสุล
ใหูกล่าวถึงวิวัฒนาการของกฎหมายว่าดูวยความสัมพันธ์
ดูานกงสุล
สถาบันกงสุลมีวิวัฒนาการมาตัง้ แต่ศตวรรษที ่ 13 ในสมัย
กลางแลู ว โดยกงสุ ล มั ก เป็ นพ่ อ คู า ที ไ่ ดู รั บ เลื อ กจากพ่ อ คู า ชาติ
เดียวกันเพือ
่ ติดต่อเจรจากับเจูาผู้ครอบครองของรัฐทีต
่ นพำานักอย่้
ต่ อ มาปลายศตวรรษที ่ 18 การคู า และการพาณิ ช ย์ น าวี ไ ดู เ จริ ญ
ขึน
้ มาก สถานภาพของกงสุลจึงถ้กกำา หนดโดยสนธิสัญญาพิเศษ
ทางกงสุ ล หรื อ สนธิ สั ญ ญาทางการคู า แต่ มิ ไ ดู มี แ นวทางปฏิ บั ติ
เป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน ดังนัน
้ กฎเกณฑ์ส่วนใหญ่ทางกงสุลจึงเป็ น
กฎหมายจารี ต ประเพณี ต่ อ มาคณะกรรมาธิ ก ารกฎหมาย
ระหว่างประเทศ ไดูยกร่างอนุสัญญาเกีย
่ วกับความสัมพั นธ์ ทาง
้ ใน ค.ศ. 1963 ปั จจุบันนีม
กงสุลขึน ้ ีผลบังคับแก่รัฐค่้ภาคี

10.2 คณะผู้แทนทางการทูต
1. คณะผู้ แ ทนทางการท้ ต ประกอบดู ว ยบุ ค คลหลายประเภท
ดู ว ยกั น อั นไดู แก่ หั วหนู า คณะผู้ แ ทน บุ ค คลในคณะเจู า หนู า ที ่
ฝ่ ายท้ต บุคคลในคณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายธุรการและวิชาการ บุคคล
ในคณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายบริการ ครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน
ทางการท้ต คนรับใชูส่วนตัว
115

2. การเขูาดำา รงตำา แหน่งของผู้แทนทางการท้ต ย่อ มแตกต่า ง


กันไปตามประเภทของบุคคลในคณะผู้แทนทางการท้ต
3. การเขู า ดำา รงตำา แหน่ ง ของหั ว หนู า คณะผู้ แ ทนทางการท้ ต

ย่อมตูองขอความเห็นชอบจากรัฐผู้รับ และการเขูาดำารงตำาแหน่ง
ของหัวหนูาคณะผู้แทนจะสมบ้รณ์ต่อเมื่อไดูถวายพระราชสาสน์
ตราตั ้ง หรื อ อั ก ษรสาสน์ ต ราตั ้ง ที ถ
่ ้ ก ตู อ งต่ อ กระทรวงการต่ า ง
ประเทศของรัฐผู้รับ
4. การเขู า ดำา รงตำา แหน่ ง ของบุ ค คลในคณะเจู า หนู า ที ฝ
่ ่ ายท้ ต
บุ ค คลในคณะเจู าหนู า ที ฝ
่ ่ ายบริ ก ารไม่ จำา ตู อ งขอความเห็ น ชอบ
จากรัฐผู้รับ เป็ นแต่แจูงการแต่งตัง้ บุคคลดังกล่าวไปยังกระทรวง
การต่างประเทศของรัฐผู้รับก็เป็ นการเพียงพอแลูว
5. การสิน
้ สุดของการดำา รงตำา แหน่งผู้แทนทางการท้ตอาจมีไดู
3 สาเหตุ คือสาเหตุอันเนื่องมาจากรัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับ สาเหตุ
อันเนื่องมาจากรัฐผู้รับส่งตัวกลับ และสาเหตุอื่นอันเนื่องมาจาก
ตัวแทนทางการท้ตนัน
่ เอง
6. วิ ธีก ารที ท
่ ำา ใหู ก ารดำา รงตำา แหน่ ง ของผู้ แ ทนทางการท้ ต สิ น

สุ ด ลง มี ไ ดู 2 วิ ธี คื อ การเรี ย กหั ว หนู า คณะหรื อ บุ ค คลอื่ น ใน
คณะผู้แ ทนกลั บ และการขับไล่บุ คคลในคณะผู้แ ทนทางการท้ ต
โดยรัฐผู้รับ
7. หนูาทีข
่ องคณะผู้แทนทางการท้ต มีหลายประการ คือ การ
เป็ นตั ว แทนของรั ฐ ผู้ ส่ ง การคูุ ม ครองประโยชน์ ข องคนชาติ ข อง
ตนในรัฐผู้รับ การเจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับ การเสาะแสวงหา
ข่ า วและรายงาน การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ ท าง
116

เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้รับกับรัฐผู้


ส่ง

10.2.1 การแบ่งประเภทคณะผู้แทนทางการท้ต
ระบุจำาแนกบุคคลในคณะผู้แทนทางการท้ต
บุคคลในคณะผู้แทนทางการท้ตประกอบดูวย
1. หัวหนูาคณะผู้แทนทางการท้ต
2. บุคคลในคณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายการท้ต
3. บุคคลในคณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายธุรการและวิชาการ
4. บุคคลในคณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายบริการ
5. ครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนทางการท้ต
6. คนรับใชูส่วนตัว

10.2.2 การเขูาดำารงตำาแหน่งของผู้แทนทางการท้ต
ระบุขั น
้ ตอนของการเขู า ดำา รงตำา แหน่ ง ของหั วหนู า คณะผู้
แทนทางการท้ต
ขัน
้ ตอนของการเขูาดำา รงตำา แหน่งของหัวหนูาคณะผู้แทน
ทางการท้ตมีดังนีค
้ ือ
1. การขอความเห็นชอบของรัฐผู้รับ
2. การถวายพระราชสาสน์ ต ราตั ้ง หรื อ เสนออั ก ษรสาสน์
ตราตัง้ แก่ประมุ ขของรัฐ ผู้รั บ หรือ ไดู บอกการมาถึ งของตนและ
เสนอสำาเนาทีถ
่ ้กตูองต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ

10.2.3 การสิ น
้ สุ ด ของการดำา รงตำา แหน่ ง ผู้ แ ทนทางการ
ท้ต
117

ระบุ ส าเหตุ แ ห่ ง การสิ ้น สุ ด ของการดำา รงตำา แหน่ ง ผู้ แ ทน


ทางการท้ต
สาเหตุแห่งการสิน
้ สุดการดำา รงตำา แหน่งผู้แทนทางการท้ต
มีดังต่อไปนีค
้ อ

1.สาเหตุอันเนือ
่ งมาจากรัฐผู้ส่ง สาเหตุอาจเป็ นสาเหตุปกติ
เช่น การเปลีย
่ นแปลงตำา แหน่ ง หรือ สาเหตุ ที ไ่ ม่ ป กติ เช่ น การ
ประทูวงเรียกท้ตกลับ
2. สาเหตุ อั น เนื่ อ งมาจากรั ฐ ผู้ รั บ รั ฐ ผู้ รั บ อาจประกาศใหู

บุ ค คลใดในคณะผู้ แ ทนทางการท้ ต เป็ นบุ ค คลไม่ พึ ง ปรารถนา


(Persons non Grata) ไดู หากกระทำา การทีก
่ ระทบกระเทือนถึงผล
ประโยชน์หรือความมัน
่ คงของรัฐผู้รับ
3.สาเหตุ อื่ น อั น เนื่ อ งมาจากตั ว ผู้ แ ทนทางการท้ ต นั่ น เอง
เช่นการลาออก

10.2.4 หนูาทีข
่ องผู้แทนทางการท้ต
ระบุหนูาทีข
่ องคณะผู้แทนทางการท้ต
คณะผู้แทนทางการท้ตมีหนูาทีด
่ ังนี ้
1.เป็ นตัวแทนของรัฐผู้ส่ง
2.คูุมครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชองรัฐผู้ส่ง
3.เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับ
4.เสาะแสวงหาข่าวและรายงาน
118

5.ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ
แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ
วิทยาศาสตร์ของรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ

10.3 เอกสิทธิและความคุ้มกันของผู้แทนทางการทูต
1. เอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันมีความหมายทีแ
่ ตกต่างกันแต่มักใชู
ควบค่้ กั น ไป เอกสิ ท ธิ เ์ ป็ นเรื่ อ งสิ ท ธิ ข องผู้ ใ หู ที จ
่ ะใหู แ ก่ ผู้ แ ทน
ทางการท้ ต แห่ ง รั ฐ ผู้ ส่ ง ในส่ ว นที เ่ กี ย
่ วกั บ ประโยชน์ พิ เ ศษนอก
เหนือจากกฎหมายธรรมดา ส่วนความคูุมกันเป็ นสิทธิข
์ องรัฐผู้ส่ง
ตามกฎหมายระหว่างประเทศ เพื่อยกเวูนจากการบังคับของกฎ
เกณฑ์แห่งรัฐผู้รับ
2. รากฐานทางทฤษฎี เ กี ย ์ ละความคูุ ม กั น มี 3
่ วกั บ เอกสิ ท ธิ แ
ทฤษฎี คือ ทฤษฎีลักษณะตัวแทนของผู้แทนทางการท้ต ทฤษฎี
สภาพนอกอาณาเขต ทฤษฎี ป ระโยชน์ ใ นการปฏิ บั ติ ห นู า ที แ
่ ละ
การถูอยทีถูอยปฏิบัติ ปั จจุบันนีไ้ ดูยอมรับนับถือทฤษฎีหลังนีเ้ ป็ น
รากฐานของเอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกัน
3. เอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันของตัวแทนทางการท้ตมีขอบข่าย
ถึ ง เรื่อ งการยกเวู นภาษี อ ากร ภาษี ศุล กากร ค่ า ธรรมเนี ย ม ค่ า
ภาระ เสรีภาพในการสื่อสารคมนาคม ความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ ตั ว
บุ ค คล ความคูุ ม กั น ทางศาลในตั ว บุ ค คล ความละเมิ ด มิ ไ ดู ใ น
สถานท้ต
4. เอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันของตัวแทนทางการท้ต จะเริม
่ ขึน

เมื่อบุคคลดังกล่าวไดูเขามาในอาณาเขตของผู้รับ และจะสิน
้ สุด
ลงเมือ
่ ภาระหนูาทีท
่ ีไ่ ดูรับมอบหมายยุติลง หรือถึงแก่กรรม
119

10.3.1 แนวคิ ด ทั่ ว ไปเกี ย


่ วกั บ เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น
ของผู้แทนทางการท้ต
คำาจำากัดความของเอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันทางการท้ต
เอกสิทธิท
์ างการท้ต หมายความถึง สิทธิของผู้ใหูหรือเกิด
ขึ้น ทางดู า นผู้ ใ หู ที จ
่ ะใหู สิ ท ธิ พิ เ ศษในร้ ป ผลประโยชน์ ห รื อ ผล
ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึง่ หรืออาจเป็ นการยกเวูนใหูไม่ตูองปฏิบัติ
หรือไม่ตูองมีภาระอย่างใดอย่างหนึง่
ความคูุมกันทางการท้ต หมายความถึง สิทธิของผู้รับหรือ
เกิ ด ขึ้ น ทางดู า นผู้ รั บ ผู้ ใ หู จำา จะตู อ งใหู ค วามคูุ ม กั น แก่ ผู้ ไ ดู รั บ
เพราะผู้ไดูรับมีสิทธิทีจ
่ ะไดูรับความคูุมกันนัน
้ อย่้ในตัวเอง ผู้ใหูจะ
ไม่ ใ หู ไ ม่ ไ ดู ความคูุ ม กั น ออกมาในร้ ป ของการยกเวู น ใหู ผู้ ไ ดู รั บ
ปลอดหรื อ หรื อ หลุ ด พู น จากอำา นาจหรื อ ภาระหรื อ ภั ย อย่ า งใด
อย่างหนึง่

10.3.2 ขอบเขตของเอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันทางการท้ต
จำาแนกประเภทของความคูุมกันทางการท้ตโดยสังเขป
ความคูุมกันทางการท้ตพอจำาแนกไดูเป็ น 3 ประเภท คือ
1.ความคูุ ม กั น เกี ่ย วกั บ ตั ว บุ ค คล หมายความถึ ง ความ
ละเมิ ด มิ ไ ดู ใ นตั ว แทนทางการท้ ต ปลอดจากการจั บ กุ ม หรื อ
กักขัง เป็ นตูน
2.ความคูุ ม กั น เกี ่ย วกั บ สถานที ่ หมายความถึ ง ความ
ละเมิดมิไดูในสถานทีท
่ ำา การของผู้แทนทางการท้ตและทีอ
่ ย่้ส่วน
120

ตัวของผู้แทนทางการท้ตดูวย รัฐผู้รับจำาตูองงดเวูนการกระทำาทีม
่ ี
ลักษณะเป็ นการบังคับ เช่น การบุกรุกเขูาไปในสถานท้ตเป็ นตูน
3.ความคูุ ม กั น ทางศาล หมายความถึ ง การหลุ ด พู น จาก
อำานาจศาลในรัฐผู้รับ ความคูุมกันนีม
้ ีไดูทัง้ ทางคดีอาญา คดีแพ่ง
และคดีปกครอง

10.4 สถาบันกงสุล
1.กงสุ ล แบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คื อ พนั ก งานฝ่ าย
กงสุลอาชีพ กับพนักงานฝ่ ายกงสุลกิตติมศักดิ ์
2. อนุสัญญากรุง เวียนนา ค.ศ. 1963 ว่าดูวยความสัมพันธ์ทาง

กงสุล ไดูเนูนถึงสถานทีท
่ ีท
่ ำาการของกงสุลเป็ นสำาคัญ โดยจัดแบ่ง
เป็ น 4 ระดับคือ สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล สถานรองกงสุล
สำานักตัวแทนทางกงสุล
3.บุ คคลในสถานที ท
่ ำา การกงสุ ล อาชี พ อาจจำา แนกไดู ดั ง นี ้ คื อ
หั ว หนู า สถานที ท
่ ำา การกงสุ ล และบุ ค คลในคณะเจู า หนู า ที ฝ
่ ่ าย
กงสุล ซึง่ ไดูแก่ พนักงานฝ่ ายกงสุล ล้กจูางฝ่ ายกงสุล บุคคลใน
คณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายบริการ
4.กงสุ ล มี ห นู า ที ค
่ ูุ ม ครองผลประโยชน์ ข องรั ฐ ผู้ ส่ง และคนของ
ชาติ แ ห่ ง รั ฐ ผู้ ส่ ง สื บ เสาะดู ว ยวิ ธี ก ารอั น ชอบดู ว ยกฎหมาย ถึ ง
ภาวะเศรษฐกิ จ พาณิ ช ย์ วั ฒ นธรรมของรั ฐ ผู้ รั บ และส่ ง เสริ ม
ความสัมพันธ์อันดีในดูานต่างๆ ดังกล่าวขูางตูน
5.การแต่ ง ตั ้ ง หั ว หนู า เจู า หนู า สถานที ่ทำา การกงสุ ล ตู อ งไดู
รับคำา ยอมรับจากรัฐผู้รับเสมอ โดยคำา ยอมรับ นีจ
้ ะออกมาในร้ ป
ของอนุมัติบัตร
121

6.การสิ น ่ างกงสุ ล มี ไ ดู 3
้ สุ ด ของการดำา รงตำา แหน่ ง หนู า ที ท
สาเหตุ คือ สาเหตุอันเนือ
่ งมาจากรัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับ สาเหตุอัน
เนื่องมาจากรัฐผู้รับส่งตัวกลับ และสาเหตุอันเนื่องมาจากกงสุล
นัน
้ เอง

10.4.1 การแบ่งประเภทของกงสุล
กงสุลแบ่งออกเป็ นกีป
่ ระเภท อะไรบูาง
กงสุ ล แบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท คื อ พนั ก งานฝ่ ายกงสุ ล
อาชีพ และพนักงานฝ่ ายกงสุลกิตติมศักดิ ์

10.4.2 สถานทีท
่ ำาการกงสุล
การแบ่งลำาดับของกงสุลตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวย
ความสัมพันธ์ทางกงสุล ค.ศ. 1963
อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยความสัมพันธ์ทางกงสุล ค.ศ.
1963 ไดูแบ่งลำาดับของกงสุลโดยถือเอาสถานทีท
่ ำาการเป็ นสำาคัญ
มิ ใ ช่ ตั ว บุ ค คลในคณะผู้ แ ทนตามอนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนาว่ า ดู ว ย
ความสัมพันธ์ทางการท้ต ค.ศ. 1961 ดังนัน
้ กงสุลจึงแบ่งออกเป็ น
4 ลำาดับ คือ
1. สถานกงสุลใหญ่
2. สถานกงสุล
3. สถานรองกงสุล
4. สำานักตัวแทนทางกงสุล

10.4.3 หนูาทีข
่ องกงสุล
ใหูระบุหนูาทีข
่ องกงสุล
122

หนูาทีข ่ ำาคัญ 3 ประการคือ


่ องกงสุลทีส
1. ออกรายการตรวจตราหนังสือเดินทาง
2. เป็ นตัวแทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง ในองค์กรตุลาการ หรือ
ในสถาบันหรือต่อเจูาหนูาทีอ
่ ืน
่ ใดของรัฐ
3. พิ ทั ก ษ์ รั ก ษาผลประโยชน์ ข องผู้ เ ยาว์ บุ ค คลไรู ค วาม
สามารถ และพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของคนชาติของรัฐผู้ส่ง

10.4.4 การแต่งตัง้ และการสิน


้ สุดของการดำา รงตำา แหน่ ง
หนูาทีท
่ างกงสุล
ขัน
้ ตอนของการแต่งตัง้ หัวหนูาสถานทีท
่ ำาการกงสุล
สำาหรับการแต่งตัง้ หัวหนูาสถานทีท
่ ำา การกงสุลนัน
้ เมื่อรัฐ
ผู้ส่งพิจารณาเห็นชอบจะแต่งตัง้ บุคคลใดก็ย่อมแจูงไปยังรัฐผู้รับ
เพื่อใหูยอมรับบุคคลดังกล่าว หากรัฐผู้รับเห็นชอบดูวยก็จะออก
เอกสารในร้ปสัญญาบัตรตราตัง้ หรือร้ปตราสารอืน
่ ใดทีค
่ ลูายคลึง
กั น ต่ อ หั ว หนู า สถานที ท
่ ำา การกงสุ ล โดยรั บ รองตำา แหน่ ง ฐานะ
ของหัวหนูาสถานทีท
่ ำาการกงสุลว่าเป็ นสถานทีป
่ ระเภทใด แสดง
นามเต็ม ประเภทกงสุลว่าเป็ นกงสุลอาชีพหรือกงสุลกิตติมศักดิ ์

10.5 เอกสิทธิและความคุ้มกันทางกงสุล
1. เอกสิ ทธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น ทางกงสุ ล จำา แนกไดู เ ป็ น 2 ประ
เภทใหญ่ ๆ คื อ เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ สถานที ท
่ าง
กงสุ ล และเอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ บุ ค คลในคณะเจู า
หนูาทีฝ
่ ่ ายกงสุล
123

2. เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ สถานที ท
่ างกงสุ ล แบ่ ง
ออกไดู เ ป็ น 4 ประเภทคื อ ความละเมิ ด มิ ไ ดู ใ นสถานที ก
่ งสุ ล
ความละเมิ ด มิ ไ ดู ข องบรรณสารและเอกสารทางกงสุ ล การ
ยกเวู น การเก็ บ ภาษี อ ากรสถานที ่ท างกงสุ ล เสรี ภ าพในการ
สือ
่ สาร
3. เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ บุ ค คลในคณะเจู า หนู า ที ่
ฝ่ ายกงสุ ล ย่ อ มแตกต่ า งไปตามลำา ดั บ ของพนั ก งานฝ่ ายกงสุ ล
อ าชี พ ขอบข่ า ยของเอกสิ ทธิ ์ แ ละค วามคูุ มกั นเ กี ่ย วกั บ เ จู า
พนักงานฝ่ ายกงสุลมาในร้ปของ ความละเมิดมิไดูส่วนบุคคลของ
พนั ก งานฝ่ ายกงสุ ล ความคูุ ม กั น จากการพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี
เอกสิทธิเ์ กีย
่ วกับภาษีอากรและภาษีศุลกากร
4. โดยหลั ก แลู ว เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น ของเจู า หนู า ที ฝ
่ ่ าย
กงสุ ล จะเริ ่ม เมื่ อ เขู า มาในอาณาเขตของรั ฐ ผู้ รั บ เพื่ อ เขู า รั บ
ตำาแหน่งและจนสิน
้ สุดลงเมือ
่ หนูาทีข
่ องเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายกงสุลไดูสิน

สุดลงและเดินทางออกนอกรัฐผู้รับแลูว

10.5.1 เอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันทางกงสุล
จำาแนกประเภทของเอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันเกีย
่ วกับสถาน
ทีท
่ างการกงสุล
เอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น เกี ย
่ วกั บ สถานที ท
่ างกงสุ ล แบ่ ง
ออกเป็ น 4 ประเภท คือ
1. ความละเมิดมิไดูในสถานทีท
่ างกงสุล
2. ความละเมิดมิไดูของบรรณสารและเอกสารทางกงสุล
3. การยกเวูนการเก็บภาษีอากรสถานทีท
่ างกงสุล
124

4. เสรีภาพในการสือ
่ สาร

จำา แนกประเภทของความคูุ ม กั น ของบุ ค คลในคณะเจู า


หนูาทีฝ
่ ่ ายกงสุล
ความคูุมกันของบุคคลในคณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายกงสุลประกอบ
ดูวย
1. ความละเมิ ด มิ ไ ดู ใ นตั ว พนั ก งานฝ่ ายกงสุ ล แต่ ค วาม

ละเมิดมิไดูนีม
้ ิไดูเด็ดขาด โดยหลักแลูวพนักงานฝ่ ายกงสุลจะไม่
ตกเป็ นผู้ถ้กกักขังหรือจับกุมในระหว่างพิจารณาคดี เวูนแต่ เป็ น
อาชญากรรมทีร
่ ูายแรง และความคำาวินิจฉัยของศาล
2. ความคูุ ม กั น เกี ่ย วกั บ การพิ จ ารณาคดี พนั ก งานฝ่ าย
กงสุลและล้กจูางฝ่ ายกงสุลจะมีความคูุมกันเกีย
่ วกับการพิจารณา
คดี ในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับกิจกรรมทีไ่ ดูกระทำา ไปในการปฏิบัติหนูาที ่
ทางกงสุล เวูนแต่
1) การดำา เนิ น คดี แ พ่ ง เกี ย
่ วกั บ สั ญ ญา ซึ่ง พนั ก งานฝ่ าย
กงสุ ล และล้ ก จู า งฝ่ ายกงสุ ล ไดู ก ระทำา ไปโดยมิ ใ ช่ ใ นฐานะของ
ตัวแทนของรัฐผู้ส่งอย่างแจ่มแจูงหรือโดยปริยาย
2) คดีแ พ่งโดยฝ่ ายที ส
่ าม สำา หรั บ ความเสี ย หายอั น เกิ ด
จากอุ บั ติ เ หตุ ใ นรั ฐ ผู้ รั บ โดยเนื่ อ งมาจากยวดยาน เรื อ หรื อ
อากาศยาน

10.5.2 การเริม
่ ตูนและการสิน
้ สุดของเอกสิทธิแ
์ ละความ
คูุมกันทางกงสุล
125

บุ ค คลในสถานที ท
่ ำา การกงสุ ล เริ ม
่ ตู น อุ ป โภคเอกสิ ท ธิ แ
์ ละ
ความคูุมกันเมือ
่ ใด
บุคคลในสถานทีท
่ ำา การกงสุลเริม
่ ตูนอุปโภคเอกสิทธิ ์ และ
ความคูุม กันในเวลาทีเ่ ขู า มาในอาณาเขตของรั ฐ ผู้ รั บ เพื่อ เขู า รั บ
ตำาแหน่ง หรือถูาอย่้ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแลูว ใหูเริม
่ ตูนเวลา
ทีเ่ ริม
่ ปฏิบัติหนูาทีใ่ นสถานทีท
่ ำาการกงสุล

10.6 การบังคับใช้กฎหมายการทูตในประเทศไทย
1.ประเทศไทยมี พระราชบัญ ญั ติว่ า ดูว ยเอกสิท ธิ แ
์ ละความคูุ ม
กั น ทางการท้ ต พ.ศ. 2527 และพระราชบั ญ ญั ติว่ า ดู ว ยเอกสิ ท ธิ ์
และความคูุม กันทางกงสุ ล พ.ศ. 2541 เพื่ออนุวั ติก ารอนุ สัญ ญา
กรุ ง เวี ย นนาว่ า ดู ว ยความสั ม พั น ธ์ ท างการท้ ต ค.ศ. 1961 และ
อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าดูวยความสัมพันธ์ทางกงสุล ค.ศ. 1963
ตามลำาดับ
2.ประเทศไทยมีปัญหาทางปฏิบัติบางประการเกีย
่ วกับการใหู
เอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันทางการท้ตและกงสุล

10.6.1 สาระของพระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ดู ว ยเอกสิ ท ธิ ์แ ละ


ความคูุม กันทางการท้ ต พ.ศ. 2527 และพระราชบัญ ญั ติว่ า ดู ว ย
์ ละความคูุมกันทางกงสุล พ.ศ. 2541
เอกสิทธิแ
ประเทศไทยไดูตรากฎหมายภายในฉบับใด เพื่ออนุวัติการ
อนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนาว่ า ดู ว ยความสั ม พั น ธ์ ท างการท้ ต ค.ศ.
1961 และอนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนาว่ า ดู ว ยความสั ม พั น ธ์ ท างการ
กงสุล ค.ศ. 1963
126

ประเทศไทยไดูประกาศใชูพระราชบัญญัติว่าดูวยเอกสิทธิ ์
และความคูุ ม กั นทางการท้ ต พ.ศ. 2527 และพระราชบั ญ ญั ติว่ า
์ ละความคูุมกันทางกงสุล พ.ศ. 2541 เพือ
ดูวยเอกสิทธิแ ่ อนุวัติการ
อนุ สั ญ ญากรุ ง เวี ย นนาว่ า ดู ว ยความสั ม พั น ธ์ ท างการท้ ต ค.ศ.
1961 และอนุสั ญญากรุง เวี ยนนาว่า ดูว ยความสั ม พั นธ์ ท างกงสุ ล
ค.ศ. 1963 ตามลำาดับ

10.6.2 ปั ญหาทางปฏิ บั ติ บ างประการเกี ย


่ วกั บ เอกสิ ท ธิ ์
และความคูุมกัน
ยกตั ว อย่ า งปั ญหาทางปฏิ บั ติ ข องไทยเกี ่ย วกั บ การใหู
เอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันทางการท้ต
ก. ล้ ก จู า งทู อ งถิ น
่ ของสถานเอกอั ค รราชท้ ต ออสเตรเลี ย
ประจำา ประเทศไทยไดู รั บ หมายศาลใหู ไ ปปรากฏตั ว ต่ อ ศาลเป็ น
พ ย า น เ กี ่ ย ว ขู อ ง กั บ ค ดี ย า เ ส พ ติ ด ส ถ า น เ อ ก อั ค ร ร า ช ท้ ต
ออสเตรเลี ยสามารถอู างความคูุม กัน ใหูกั บ ล้ ก จู า งทูอ งถิ น
่ ที เ่ ป็ น
คนไทย ในฐานะเป็ นบุ ค คลในคณะเจู า หนู า ที ข
่ องคณะผู้ แ ทนใน
ส่วนทีเ่ กีย ่ ่ ายธุรการตามขูอ 38 (2) ของอนุสัญญา
่ วกับเจูาหนูาทีฝ
กรุ ง เวี ย นนาว่ า ดู ว ยความสั ม พั น ธ์ ท างการท้ ต ค.ศ. 1961 ซึ่ ง
กำาหนดไวูว่า “บุคคลอื่นในคณะเจูาหนูาทีข
่ องคณะผู้แทนและคน
รับใชูส่วนตัวซึ่งเป็ นคนชาติของรัฐผู้รับหรือมีถิน
่ ทีอ
่ ย่้ถาวรในรัฐ
ผู้รับ จะไดูอป
ุ โภคเอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันเท่าทีร
่ ัฐผู้รับไดูยอมใหู
เท่านัน
้ อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับตูองใชูอำานาจของตนเหนือบุคคลเช่น
127

ว่ านี ใ้ นทำา นองเช่นทีจ


่ ะไม่แ ทรกสอดโดยไม่ สมควรในการปฏิ บั ติ
หนูาทีข
่ องคณะผู้แทน”
ข. สถานเอกอัครราชท้ตสหรัฐอเมริกาประจำา ประเทศไทย
จะทำา การก่อสรูางอาคารทีท
่ ำา การแห่ง ใหม่ โดยในการก่อสรู าง
อาคารดั ง กล่ า ว สถานเอกอั ค รราชท้ ต สหรั ฐ อเมริ ก าไดู ว่ า จู า ง
บ ริ ษั ท FMI Corp. ซึ่ ง ตั ้ ง ขึ้ น ต า ม ก ฎ ห ม า ย ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ
สหรัฐอเมริกา เป็ นตัวแทนในการทำา สัญญาจูางบริษัทอิตาเลีย
่ น
ไทย ใหูเป็ นผู้รับเหมาในการก่อสรูาง บริษัทอิตาเลีย
่ นไทยไดูรับ
สิ ท ธิ ใ นการเสี ย ภาษี ม้ ล ค่ า เพิ ่ม อั ต รารู อ ยละ 0 ตามมาตรา
80/1(5) แ ห่ ง ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย รั ษ ฎ า ก ร ใ น ก ร ณี นี ้ ส ถ า น
เอกอัครราชท้ตสหรัฐ อเมริก ามี หนั งสือ แต่ ง ตั ง้ บริษั ท FMI Corp.
เป็ นตั ว แทนของสถานเอกอั ค รราชท้ ต สหรั ฐ อเมริ ก า ในการว่ า
จูางบริษัท อิตาเลีย
่ น-ไทย ทำาการก่อสรูางอาคารดังกล่าว จึงถือ
ไดู ว่ า บริ ษั ท อิ ต าเลี ย
่ น-ไทยใหู บ ริ ก ารแก่ ส ถานเอกอั ค รราชท้ ต
สหรัฐอเมริกา บริษัทอิตาเลีย
่ น-ไทยจึงไดูรับสิทธิในการเสียภาษี
่ ในอั ต รารู อ ยละ 0 ตามมาตรา 80/1(5) แห่ ง ประมวล
ม้ ล ค่ า เพิ ม
กฎหมายรัษฎากร

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 10
1. กฎหมายการท้ตหมายความถึง กฎหมายทีว
่ างนิติสัมพันธ์ของบุคคล
ระหว่างประเทศในการดำาเนินความสัมพันธ์ภายนอก
2. กฎหมายการท้ ต มี บ่ อ เกิ ด ที ส
่ ำา คั ญ คื อ สนธิ สั ญ ญา และกฎหมาย
จารีตประเพณีทางดูานการท้ต
128

3. สถาบันสำา คัญ ในการดำา เนิ นความสั มพั นธ์ ท างการท้ ต ไดูแ ก่ ผู้แทน
ทางการท้ต และกงสุล
4. ผู้ แ ทนทางการท้ ต ประกอบดู ว ย บุ ค คลในคณะเจู า หนู า ที ฝ
่ ่ ายท้ ต
บุคคลในคณะเจูาหนูาทีฝ
่ ่ ายธุรการและวิชาการ บุคคลในคณะเจูาหนูาที ่
ฝ่ ายบริหาร
5. การเขูาดำารงตำาแห่งของเอกอัครราชท้ตไม่จำา เป็ นจะตูองมีการเสนอ
อั ก ษรสาสน์ ต ราตั ้ง หรื อ ถวายพระราชสาสน์ ต ราตั ้ง เพราะว่ า การเขู า
ดำารงตำาแหน่งอาจกระทำาไดูเมือ
่ บอกกล่าวการมาถึงพรูองทัง้ ส่งสำาเนาทีถ
่ ้ก
ตูองต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ
6. อุปท้ตมี 2 ประเภทคือ อุปท้ตทีด
่ ำารงตำาแหน่งเป็ นหัวหนูาคณะผู้แทน
่ คราวเรียกว่าอุปท้ต ad interim
ทางการท้ต กับอุปท้ตผู้รักษาการแทนชัว
7. หนู า ที ส
่ ำา คั ญ ของผู้ แ ทนทางการท้ ต มี ห นู า ที ่ เจรจา ส่ ง เสริ ม ความ
สัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้รับกับรัฐผู้ส่ง
8. เอกสิท ธิค
์ ือ สิทธิพิเศษทีร
่ ัฐผู้ใหูแก่ตัวแทนของรัฐผู้ส่งดูว ยอัธ ยาศัย
ไมตรี ส่วนความคูุมกันคือสิทธิของรัฐผู้รับทีจ
่ ะไดูมาตามกฎหมาย
9. กงสุ ล แบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คื อ กงสุ ล อาชี พ และกงสุ ล
กิตติมศักดิ ์
10. กงสุลย่อมมีเอกสิทธิแ
์ ละความคูุมกันนูอยกว่า ผู้แทนทางการ
ท้ต
11. รั ฐ ที ด
่ ำา เนิ น ความสั ม พั น ธ์ ท างการท้ ต ไดู แ ก่ รั ฐ อธิ ป ไตย และ
สมาชิกของสหพันธรัฐ ถูารัฐธรรมน้ญของสหพันธรัฐกำา หนดถึงสิทธิน
์ ีเ้ อา
ไวู
12. สถาบันทางการท้ตทีเ่ ป็ นแม่แบบของสถาบัน ทางการท้ตใน
ปั จจุบันมีกำาเนิดในสมัย ยุคศตวรรษที ่ 15
13. บุคคลที ่มิได้อยู่ในคณะผู้แทนทางการท้ตไดูแก่ คนรับใชูส่วน
ตัวของคณะผู้แทนทางการท้ต และกงสุล
129

14. บุ ค คลที ่ มิ ไ ด้ สั ง กั ด อยู่ ใ นลำา ดั บ ชั ้ น ของหั ว หนู า คณะผู้ แ ทน


ทางการท้ต ตามอนุสัญญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1961 คือ ผู้แทนสันตะปาปา
(LEGAT)
15. อุปท้ต ad interim ไดูแก่ ผู้รักษาการแทนชัว
่ คราว เมื่อหัวหนูา
คณะผู้แทนไม่อย่้
16. การขจั ด ขู อ พิ พ าทระหว่ า งประเทศ ไม่ ถื อ ว่ า เป็ นหนู า ที ห
่ ลั ก
ของผู้แทนทางการท้ต
17. ทฤษฎี ที ถ
่ ื อ ว่ า เป็ นรากฐานของเอกสิ ท ธิ แ
์ ละความคูุ ม กั น ใน
ปั จจุบันไดูแก่ทฤษฎี ประโยชน์ในการปฏิบัติหนูาที ่ และถูอยทีถูอยปฏิบัติ
18. การลดภาษี อ ากร และ ภาษี ศุ ล กากร มิ ไ ด้ สั ง กั ด อย่้ ใ นเรื่อ ง
ความคูุมกันทางการท้ต

หน่วยที ่ 11 กฎหมายทะเล

1.กฎหมายทะเลเป็ นแขนงหนึ่ ง ของของกฎหมายระหว่ า ง


ประเทศแผนกคดี เ มื อ ง ซึ่ ง กล่ า วถึ ง อำา นาจอธิ ป ไตยและสิ ท ธิ
อธิปไตยของรัฐต่างๆ ในส่วนต่างๆของทะเล
2. กฎหมายทะเลไดูมีการบัญญัติไวูในร้ปของอนุสัญญาระหว่าง

ประเทศ 2 ฉบั บ คื อ อนุ สั ญ ญากรุ ง เจนี ว า ค.ศ. 1958 และ


อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่า ดูว ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรือ
UNCLOS 1982
3.การขยายอาณาเขตทางทะเลของรั ฐ ชายฝั ่ งอาจทำา ไดู โ ดย
การประกาศขยายทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง ช่องแคบ รัฐหม่้
เกาะ เขตประมงและเขตเศรษฐกิจจำาเพาะ เป็ นตูน
4.หลักเสรี ภาพในทู องทะเลหลวงเป็ นเสรี ภาพที ม
่ ี ม านานแลู ว
ไดูแก่ เสรีภาพในการเดินเรือ เสรีภาพในการประมง เสรีภาพใน
130

ก า ร ว า ง ส า ย แ ล ะ ท่ อ ใ ตู ท ะ เ ล แ ล ะ เ ส รี ภ า พ ใ น ก า ร บิ น เ ห นื อ
ทะเลหลวง
5.เขตไหล่ทวีปเป็ นแหล่งทีน
่ ับว่าอุดมสมบ้รณ์ไปดูวยทรัพยากร
ทั ้ ง ที ่มี ชี วิ ต และไม่ มี ชี วิ ต อั น นำา ไปส่้ ก ารพิ พ าทในการแบ่ ง เขต
ไหล่ทวีประหว่างรัฐทีอ
่ ย่้ตรงขูามหรือประชิดกันมาตลอด
6. ความเจริ ญ อย่ า งรวดเร็ ว และกู า วหนู า ของเทคโนโลยี ทำา ใหู

มนุ ษ ย์ ส ามารถทำา การแสวงหาและขุ ด คู น ผลประโยชน์ จ าก


ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที ไ่ ม่ มี ชี วิ ต ในทะเลที ม
่ ี ค วามลึ ก มากๆ ไดู
ทำา ใหู เ กิ ด แนวความคิ ด ว่ า อาณาบริ เ วณพื้น ดิ น นอกเขตอำา นาจ
ศาลของรัฐต่างๆ เป็ นทรัพย์มรดกตกทอดร่วมกันของมนุษยชาติ
และกำา หนดใหู ท รั พ ยากรในบริ เ วณดั ง กล่ า วเป็ นไปเพื่ อ อำา นวย
ประโยชน์แก่ทุกรัฐดูวย
7.มลพิ ษ ในทะเลเป็ นสภาพการเปลี ย
่ นแปลงสภาวะทางทะเล
ในดู า นคุ ณ ภาพจากที เ่ คยเป็ นอย่้ ต ามปกติ ไ ปอย่้ ใ นสภาพที ม
่ ีผล
เสียต่อความเป็ นอย่้ อันมีสาเหตุมาจากการเจือปนของสารพิษซึง่
ถ้ ก ย่ อ ยสลายไม่ ไ ดู การเจื อ ปนของเสี ย ที เ่ ป็ นอิ น ทรี ย์ ส ารซึ่ง ถ้ ก
ย่อยสลายไดู และเกิดจากตูนเหตุทางกายภาพและนำา
้ มัน

11.1 ความรู้พ้ืนฐานเกีย
่ วกับกฎหมายทะเล
1.กฎหมายทะเลเกิดจากจารีตประเพณีทีย
่ ึดถือปฏิบัติกันมาชา
นาน และอนุสัญญาระหว่างประเทศก็มีส่วนสำา คัญในการทำา ใหู
เกิดหลักกฎหมายทะเลขึ้นมาใชูบังคับ ในกรณีทีเ่ กี ย
่ วกั บการใชู
ประโยชน์จากทะเล
131

2.กฎหมายทะเลเป็ นแขนงหนึ่งของกฎหมายระหว่ า งประเทศ


แผนกคดีเมือง ซึง่ กล่าวถึงอำา นาจอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยของ
รัฐต่างๆ ในส่วนต่างๆ ของทะเล ตลอดจนการดำา เนินงานของ
การทรัพยากรพืน
้ ดินทูองทะเลระหว่างประเทศรวมทัง้ การปู องกัน
และควบคุมการเกิดสภาพมลพิษในทะเล
3.กฎหมายทะเลเริ ม
่ มี ขึ้น ในสมั ย โรมั น และมี วิ วั ฒ นาการมา
เรื่ อ ยๆ โดยยึ ด หลั ก กฎหมายขั ้น พื้น ฐานของเสรี ภ าพแห่ ง ทู อ ง
ทะเล และในปั จจุ บั น นี ก
้ ฎหมายทะเลไดู บั ญ ญั ติ ไ วู ใ นร้ ป ของ
อนุ สั ญ ญาระหว่ า งประเทศ ซึ่ง จากช่ ว ง ค.ศ. 1958 จนถึ ง ค.ศ.
1982 นี ้ มีอนุสัญญาระหว่างประเทศเกีย
่ วกับกฎหมายทะเลเพียง
2 ฉบับ

11.1.1 ทีม
่ าและความหมายของกฎหมายทะเล
อธิบายถึงทีม
่ าของกฎหมายทะเลโดยสังเขป
่ าจาก 2 แหล่ง คือ
กฎหมายทะเลมีทีม
1.หลักกฎหมายทีม
่ ีจากจารีตประเพณี อันเป็ นแนวปฏิบัติที ่
นิ ย มและยึ ด ถื อ ความเป็ นแนวทางมาเป็ นเวลานาน เช่ น หลั ก
เสรีภาพแห่งทูองทะเล
2.หลักกฎหมายทีม
่ าจากอนุสัญญาระหว่างประเทศ อันเกิด
จากความร่วมมือของรัฐทัง้ ปวง เพื่อหากฎเกณฑ์ทั่วไปมาบังคับ
ใชู ใ นการใชู ป ระโยชน์ จ ากทะเลใหู เ ป็ นไปโดยความสงบและ
ยุ ติธ รรม เช่ น อนุ สั ญญากรุ ง เจนี ว าว่ า ดู ว ยกฎหมายทะเล ค.ศ.
1958
132

11.1.2 วิวัฒนาการของกฎหมายทะเล
อธิบายถึงวิวัฒนาการทางกฎหมายทะเลพอสังเขป
ในศตวรรษที ่ 18 จนถึงปั จจุบั น เป็ นระยะเจริ ญ ส้ ง สุ ด ของ
กฎหมายทะเล มีก ารครอบครองอาณาเขตทางทะเลเพิม
่ ขึ้น อีก
หลายบริเวณ โดยอูางความจำาเป็ นทางเศรษฐกิจและความมัน
่ คง
ของรั ฐ ชายฝั ่ ง โดยการสรู า งอนุ สั ญ ญากรุ ง เจนี ว า ค.ศ. 1958
และอนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ ว่ า ดู ว ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982
ขึ้น รองรั บ การใชู สิ ท ธิ ค รอบครองและกำา หนดหนู า ที ข
่ องรั ฐ ใน
บริเวณต่างๆ ของทะเล

11.2 การขยายอาณาเขตทางทะเลของรัฐ
1. ทะเลอาณาเขตเป็ นทะเลส่วนทีป
่ ระชิดชายฝั ่ งโดยอย่้ถัดออก
มาจากน่านนำ้าภายใน และมีความกวูางออกไปในทะเลไดูไม่เกิน
12 ไมล์ทะเลจากเสูนฐาน
2. การขยายอาณาเขตทางทะเลของรัฐต่างๆ เริม
่ ทำา การอย่าง
จริงจังภายหลังทีส
่ งครามโลกครัง้ ทีส
่ องเสร็จสิน
้ ลง ดูวยเหตุผลที ่
ตูองการอูางสิทธิในบริเวณต่างๆ ของทะเลและสงวนไวูใหูคนใน
ชาติ ซึง่ ทรัพยากรในบริเวณทะเลทีป
่ ระชิดชายฝั ่ ง โดยทีร
่ ัฐต่างๆ
มักจะทำาคำาประกาศฝ่ ายเดียวเพื่ออูางสิทธิครอบครองในบริเวณ
ชายฝั ่ งรวมทัง้ ทรัพยากรในบริเวณดังกล่าว
3. รั ฐ มี อำา นาจอธิ ป ไตยในบริ เ วณทะเลอาณาเขต ทั ง
้ นี ร
้ วมถึ ง
หูวงอวกาศเหนือทะเลอาณาเขตและพื้น ดิ นทู องทะเลและดิ น ใตู
ผิวดินของบริเวณนีด
้ ูวย
133

4. ในบริ เ วณเขตต่ อ เนื่อ งซึ่ง มี ร ะยะทางห่ า งฝั ่ งไม่ เ กิ น 24 ไมล์

จากเสูนฐาน รัฐชายฝั ่ งมีอำา นาจควบคุมและปู องกันมิใหูเกิดการ


ละเมิด
5. รั ฐ ชายฝั ่ ง ช่ อ งแคบไม่ ว่ า รั ฐ เดี ย วหรื อ 2 รั ฐ ขึ้น ไป มี อำา นาจ

และสิทธิเหนือบริเวณช่องแคบทีต
่ ิดอย่้กับชายฝั ่ งของตน แต่ไม่มี
สิทธิในการขัดขวางการใชู สิท ธิใ นการผ่า นช่ องแคบของรัฐอื่นๆ
เพือ
่ การคมนาคมระหว่างประเทศ
6. รั ฐ หม่้ เ กาะมี สิ ท ธิ แ ละหนู า ที เ่ ช่ น เดี ย วกั บ รั ฐ ชายฝั ่ งในการ

ขยายอาณาเขตทางทะเล
7. เขตประมงเป็ นอาณาเขตในทะเลทีอ
่ ำา นวยประโยชน์ใหูแก่รัฐ
ชายฝั ่ งในดูานประมงมานาน แต่ในปั จจุบันนีไ้ ดูลดความสำาคัญลง
ไปมากนับแต่ไดูมีแนวคิดเรือ
่ งเขตเศรษฐกิจจำาเพาะ
8. เขตเศรษฐกิจจำา เพาะเป็ นบริเวณอาณาเขตทางทะเลของรัฐ

ชายฝั ่ ง ซึ่ง ขยายออกไปเพื่ อ ประโยชน์ ใ นทางเศรษฐกิ จ ของรั ฐ


ชายฝั ่ งเป็ นสำาคัญ โดยเฉพาะรัฐทีม
่ ีสภาพทางเศรษฐกิจทีจ
่ ำา เป็ น
ตู องพึ่งพาการแสวงหาประโยชน์จ ากทรัพ ยากรที ม
่ ี ชี วิ ต ในทะเล
บริเวณนีเ้ ป็ นส่วนใหญ่

11.2.1 ทะเลอาณาเขต (The Territorial Sea)


อ ธิ บ า ย ถึ ง สิ ท ธิ แ ล ะ ห นู า ที ่ ข อ ง รั ฐ ซึ่ ง มี อ ย่้ ใ น บ ริ เ ว ณ
ทะเลอาณาเขตเกีย
่ วกับการใชูสิทธิในการผ่านโดยสุจ ริต ของรั ฐ
อืน

ในบริเวณทะเลอาณาเขต รัฐชายฝั ่ งย่อมมีอำา นาจอธิปไตย
ซึง่ ขยายต่ออกไปจากบริเวณชายฝั ่ ง (พืน
้ ดินและน่านนำ้าภายใน)
134

แ ล ะ อำา น า จ อ ธิ ป ไ ต ย นี ้ ยั ง ข ย า ย ไ ป ใ น หู ว ง อ า ก า ศ เ ห นื อ
ทะเลอาณาเขต พืน
้ ดิน ทูองทะเลและดินใตูทูองทะเลอาณาเขต
ดูวย แต่โดยหลักการของกฎหมายจารีตประเพณีแลูว ทะเลย่อม
มี เ สรี ภ าพแห่ ง การคมนาคมทุ ก รั ฐ ดั ง นั ้ น กฎหมายระหว่ า ง
ป ร ะ เ ท ศ จึ ง กำา ห น ด ใ หู รั ฐ ช า ย ฝั ่ ง ที ่ ป ร ะ ก า ศ ค ร อ บ ค ร อ ง
ทะเลอาณาเขตจำาตูองยอมใหูเรือของรัฐอื่นผ่านเขูามาในบริเวณ
ทะเลอาณาเขตของตนไดู ภ ายใตู สิท ธิ ที เ่ รี ย กว่ า สิ ท ธิ ใ นการผ่ า น
โดยสุ จ ริ ต (Right of Innocent Passage) ซึ่ ง ไดู มี ก ารรั บ รองไวู ใ น
อนุสัญญากรุงเจนีวา ค.ศ. 1958 และอนุสัญญาสหประชาชาติว่า
ดูวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982
สิ ท ธิ ใ นการผ่ า นโดยสุ จ ริ ต นี ค
้ ื อ การที ร
่ ั ฐ ทั ้ง ปวงมี สิ ท ธิ ใ น
การแล่ น ผ่ า นทะเลอาณาเขตของรั ฐ อื่ น แต่ จ ะทำา การหยุ ด หรื อ
ทอดสมอไดู ต่ อ เมื่ อ เป็ นไปตามปกติ ข องการเดิ น เรื อ และโดย
เหตุ สุ ด วิ สั ย หรื อ ทุ ก ขภั ย และการผ่ า นที ถ
่ ื อ ว่ า เป็ นการผ่ า นโดย
สุจริตก็เฉพาะตราบใดทีข
่ ณะผ่านไม่พยายามกระทำาการอย่างใด
อย่ า งหนึ่ง ที เ่ ป็ นการเสื่อ มเสี ย ต่ อ สั น ติ ภ าพ ความสงบเรี ย บรู อ ย
หรือ ความมั่นคงของรัฐ ชายฝั ่ ง ทัง้ นีจ
้ ะตู อ งปฏิ บั ติต ามกฎหมาย
และขู อ บั ง คั บ ที ร
่ ั ฐ ชายฝั ่ ง ตราขึ้น โดยสอดคลู อ งกั บ หลั ก เกณฑ์
ของกฎหมายระหว่างประเทศ
สำาหรับเรือบางชนิดก็มีขูอหูาม ไวูพิเศษ เช่น เรือใตูนำา
้ ตูอง
แล่ น ไปบนผิ ว นำ้า และตู อ งแสดงธงของตนดู ว ย และหากเป็ นเรื อ
ประมงก็หูามทำา การประมงขณะใชูสิทธิในการผ่านโดยสุจริตอย่้
135

และที ส
่ ำา คั ญ คือ รั ฐ ชายฝั ่ ง จะตู อ งไม่ ขั ด ขวางการใชู สิ ท ธิ ใ นการ
ผ่านโดยสุจริตของรัฐอืน

11.2.2 ่ ง (The Continuous Zone)


เขตต่อเนือ
อธิบายถึงความสำาคัญของเขตต่อเนือ
่ งซึง่ มีต่อรัฐชายฝั ่ ง
ในบริเวณเขตต่อเนื่องซึ่งมีความกวูางไม่เกิน 24 ไมล์ทะเล
ตามทีบ
่ ัญญัติไวูในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าดูวยกฎหมายทะเล
ค.ศ. 1982 นั ้น รั ฐ ชายฝั ่ ง ย่ อ มมี สิ ท ธิ ท
์ ีจ
่ ะใชู อำา นาจปฏิ บั ติ ก ารที ่
จำาเป็ นต่อความปลอดภัย และความมัน
่ คงในบางเรือ
่ งไดูทัง้ นีเ้ พื่อ
ปู องกัน การฝ่ าฝื นเกีย
่ วกับการศุลกากร ปู องกันการฝ่ าฝื นเกีย
่ ว
กั บ การรั ษ ฎากร ปู องกั น การฝ่ าฝื นเกี ย
่ วกั บ การอนามั ย และ
ปู องกันการฝ่ าฝื นเกีย
่ วกับคนเขูาเมือง จะเห็นไดูว่าหากรัฐชายฝั ่ ง
สามารถกำาหนดกฎหมายหรือขูอบังคับในเรื่องดังกล่าวขูางตูนนี ้
ไดู รั ฐ ชายฝั ่ งย่ อ มสามารถด้ แ ลความสงบเรี ย บรู อ ยและความ
มัน
่ คงของตนไดูไม่มากก็นูอย ทัง้ นีข
้ ึน
้ อย่้กับว่ารัฐชายฝั ่ งนัน
้ ๆ จะ
เห็ น ประโยชน์ จ าดเขตต่ อ เนื่ อ งมากนู อ ยต่ า งกั น อย่ า งไรดู ว ย
เพราะรัฐชายฝั ่ งมีอำานาจในสิทธิบางประการเท่านัน
้ นัน
่ เอง

11.2.3 ช่องแคบ (The Strait)


อธิ บ ายความหมายของช่ องแคบระหว่ า งประเทศมาใหู ถ้ ก
ตูอง
การทีจ
่ ะถือว่าช่องแคบใดเป็ นช่องแคบระหว่างประเทศนัน
้ มี
หลักเกณฑ์ดังนี ้ คือ
136

1. ช่ อ งแคบนั ้ น จะตู อ งเชื่ อ ม 2 ทะเลเปิ ดและ 2 ฝั ่ งของ

ช่องแคบอาจจะเป็ นของรัฐเดียวกัน เช่น ช่องแคบดาร์ดะแนลส์


ของประเทศตุรกี หรืออาจเป็ นของ 2 รัฐหรือมากกว่า 2 รัฐ เช่น
ช่ อ งแคบยิ บ รอลตู า ซึ่ ง มี ป ระเทศสเปนและโมร็ อ คโค เป็ นรั ฐ
ชายฝั ่ งช่องแคบ
2.ช่ อ ง แ ค บ ที ่ เ ป็ น ตั ว เ ชื่ อ ม ร ะ ห ว่ า ง ท ะ เ ล ห ล ว ง แ ล ะ
ทะเลอาณาเขตของรัฐ เช่นช่องแคบติรานซึง่ อย่้ระหว่างทะเลแดง
และอ่าวอากาบา
และนอกจากจะมีลักษณะตามขูอ 1 หรือ 2 แลูวจะตูองใชู
เพือ
่ การเดินเรือระหว่างประเทศและสำาหรับทุกชาติดูวยเท่านัน

11.2.4 รัฐหม่้เกาะ (Archipelagos)


อธิบายความเป็ นมาของรัฐหม่้เกาะโดยสังเขป
รัฐหม่้เกาะเป็ นทฤษฎีหรือแนวคิดทีเ่ พิง่ จะไดูรับการรับรอง
ในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าดูวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ซึง่ มี
่ าจากขูอ เสนอของกลุ่ มประเทศทัง้ 4 ซึ่งเรียกว่า กลุ่มรั ฐหม่้
ที ม
เกาะ ประกอบไปดูวย ฟิ จิ อินโดนีเซีย มอริเชียส และฟิ ลิปปิ นส์
ใน ค.ศ. 1973 โดยไดูนำาแนวความคิดในเรื่องรัฐหม่้เกาะเสนอต่อ
รัฐกรรมการพืน
้ ดินทูองทะเลทีก
่ รุงเจนีวา โดยมีหลักการกวูางๆ
ว่ าขอใหูมี ระบอบพิเ ศษสำา หรั บ ประเทศที ม
่ ี ลัก ษณะของรั ฐ ที เ่ ป็ น
หม่้ เ กาะ โดยมี ห ลั ก การว่ า ทฤษฎี รั ฐ หม่้ เ กาะนี จ
้ ะตู อ งพิ จ ารณา
ส ภ า พ ท า ง ภ้ มิ ศ า ส ต ร์ เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ
ประวัติศาสตร์ดูวย
137

11.2.5 เขตประมง (The Fishing Zone)


อธิบายสาเหตุสำาคัญทีท
่ ำาใหูเขตประมงหมดความสำาคัญลง
ไปมาก
การขยายอาณาเขตทางทะเลเพื่ อ สิ ท ธิ ใ นการประมงโดย
เรียกว่า เขตประมง นัน
้ เป็ นเรื่องทีไ่ ดูรับความนิยมมากในระยะ
เวลาหลายสิบปี ทีผ
่ ่านมา แต่ในปั จจุบันนับแต่เริม
่ มีการกล่าวถึง
่ วกั บ เขตเศรษฐกิ จ จำา เพาะ 200 ไมล์ เป็ นตู น มา รั ฐ
แนวคิ ด เกี ย
ต่ า งๆ ก็ หั นมาพิ จ ารณาผลประโยชน์ ที พ
่ ึ ง ไดู จ ากอาณาเขตทาง
ทะเลในเขตใหม่ นี ้ เพราะในเขตเศรษฐกิ จ จำา เพาะรั ฐ ชายฝั ่ ง
สามารถใชู สิ ท ธิ อ ธิ ป ไตยในเรื่อ งประมงไดู ใ นเวลาเดี ย วกั บ ที ร
่ ัฐ
ชายฝั ่ งก็ มี สิ ท ธิ อ ธิ ป ไตยในทรั พ ยากรธรรมชาติ ทั ้ ง หลาย ใน
บริเวณดังกล่าวดูวยนัน
้ เอง ดังนัน
้ ในปั จจุบันรัฐทัง้ หลายจึงพากัน
ประกาศสิ ท ธิ ค รอบครองในเขตเศรษฐกิ จ จำา เพาะ 200 ไมล์ กั น
แทนทีจ
่ ะประกาศสิทธิในเขตประมงเหมือนเดิม

11.2.6 เขตเศรษฐกิ จ จำา เพาะ (The Exclusive Economic


Zone)
อธิบายความสำาคัญของเศรษฐกิจจำาเพาะทีม
่ ีต่อรัฐชายฝั ่ ง
เขตเศรษฐกิ จ จำา เพาะนั ้น ไดู ก่ อ กั ้ง ขึ้น เพื่อ ตอบสนองความ
ตู อ งการของรั ฐ ทั ้ ง ปวงไม่ ว่ า จะเป็ นทางดำา รงเศรษฐกิ จ หรื อ
การเมือง และสำาหรับประเทศทีก
่ ำา ลังพัฒนาทัง้ หลายแลูว ก็เพื่อ
ความสมบ้รณ์พ้นสุขแห่งทรัพยากรธรรมชาติทัง้ ทีม
่ ีชีวิตและทีไ่ ม่มี
ชี วิ ต ในบริ เ วณทะเลรอบชายฝั ่ ง ดั ง นั ้ น การประกาศขยาย
อาณาเขตทางทะเลเพื่ออูางสิทธิอธิปไตยในทรัพยากรธรรมชาติ
138

ในบริเวณ 200 ไมล์ รอบชายฝั ่ งย่อมยังประโยชน์มหาศาลแก่รัฐ


ชายฝั ่ งเหล่ า นี ้ ดั ง นั ้ น เห็ น ไดู ว่ า เขตเศรษฐกิ จ จำา เพาะมี ค วาม
สำาคัญเป็ นอย่างมากต่อผลประโยชน์ของรัฐชายฝั ่ ง

11.3 ทะเลหลวง
1.หลักเสรีภาพในทูองทะเลหลวงเป็ นเสรีภาพทีม
่ ีมานานตัง้ แต่
ศตวรรษที ่ 2 คื อ เสรี ภ าพในการคมนาคมหรื อ เสรี ภ าพในการ
เดินเรือนัน
้ คือทะเลหลวงเปิ ดใหูแก่รัฐทัง้ ปวงนัน
้ เอง
2. เสรีภาพในทูองทะเลหลวงตามทีบ
่ ัญญัติไวูในอนุสัญญากรุง
เจนีวา ค.ศ. 1958 ไดูแก่ เสรีภาพในการเดินเรือ เสรีภาพในการ
ประมงเสรีภาพในการวางสายและท่อเคเบิลใตูทะเล และเสรีภาพ
ในการบิน
3. เสรี ภ าพในทู อ งทะเลหลวงตามที ่บั ญ ญั ติ ไ วู ใ นอนุ สั ญ ญา

สหประชาชาติ ว่ า ดู ว ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ไดู บั ญ ญั ติ เ พิ ม



่ ี อ ย่้ เ ดิ ม อี ก 2 ประการ คื อ เสรี ภ าพในการ
เติ ม จากเสรี ภ าพที ม
ก่ อ สรู า งประภาคารและสิ ง่ ก่ อ สรู า งอื่ น ๆ และเสรี ภ าพในการ
คูนควูาทางวิทยาศาสตร์
4.รัฐทุกรัฐมีหนูาทีต
่ ูองใชูทะเลหลวงเพื่อความมุ่งประสงค์ทาง
สันติเท่านัน

5.รัฐทุกรัฐมีหนูาทีใ่ นการอนุรักษ์และตูองจัดการทรัพยากรทีม
่ ี
ชี วิ ต ในทะเลหลวงเพื่อ ใหู ท รั พ ยากรเหล่ า นี ม
้ ี ส ภาพคงตั ว และใชู
ประโยชน์ไดูดีทีส
่ ุดดูวย

11.3.1 หลักเสรีภาพในทะเลหลวง
139

ใหูบอกชนิดของเสรีภาพในทะเลหลวง ตามทีบ
่ ัญญัติไวูใน
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าดูวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ว่ามีกี ่
ชนิด
หลั ก เสรี ภ าพในทะเลหลวงตามที ไ่ ดู บั ญ ญั ติ รั บ รองไวู ใ น
อนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ ว่ า ดู ว ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 นั ้น
รัฐทุกรัฐมีสิทธิเสรีภาพในการใชูทะเลหลวง 6 ประการคือ
1. เสรีภาพในการเดินเรือ
2. เสรีภาพในการบิน
3. เสรีภาพในการประมง
4. เสรีภาพในการวางสายและเคเบิลใตูทะเล
5. เสรีภาพในการก่อสรูางประภาคารและสิง่ ก่อสรูางอืน
่ ๆ
6. เสรีภาพในการคูนควูาทางวิทยาศาสตร์

11.3.2 สิทธิและหนูาทีข
่ องรัฐทัง้ ปวง
อธิบายการไล่ติดตามอย่างกระชัน
้ ชิดพอเป็ นสังเขป
การไล่ ติ ด ตามอย่ า งกระชั ้น ชิ ด จะกระทำา ไดู ต่ อ เมื่ อ เจู า
หนู า ที ข
่ องรั ฐ ชายฝั ่ งมี เ หตุ อั น สมควรเชื่ อ ไดู ว่ า เรื อ นั ้น ไดู ล ะเมิ ด
กฎหมายหรื อ ขู อ บั ง คั บ ของรั ฐ ชายฝั ่ งนั ้น ๆ และการไล่ ติ ด ตาม
อย่ า งกระชั น
้ ชิ ด นั น
้ จะตู อ งเริ ม
่ ตั ง้ แต่ เ รื อ ต่ า งชาติ ห รื อ เรื อ ลำา เล็ ก
ของเรื อ ต่ างชาติ อ ย่้ ภ ายในน่ า นนำ้ า ภายใน หรื อ ทะเลอาณาเขต
หรื อ เขตต่ อ เนื่ อ งของรั ฐ ที ่ติ ด ตาม และอาจกระทำา ต่ อ ไปถึ ง
ภายนอกทะเลอาณาเขตหรื อ เขตต่ อ เนื่ อ งไดู ถู า หากการไล่
ติดตามไม่ขาดตอนลง และสิทธิในการไล่ติดตามสิน
้ สุดลงในทันที
ทีเ่ รือซึง่ ถ้กติดตามเขูาส่้ทะเลอาณาเขตของรัฐทีส
่ าม
140

11.3.3 การประมงและการอนุ รัก ษ์ ท รั พ ยากรที ม


่ ี ชี วิ ต ใน
ทะเลหลวง
อธิ บ ายความสำา คั ญ ของการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรในทู อ ง
ทะเลหลวงพอสังเขป
การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรในทู อ งทะเลหลวงนั บ ว่ า มี ค วาม
สำา คัญ และจำา เป็ นอย่างมากทีจ
่ ะตูองสนับสนุ นใหูเป็ นไปอย่างมี
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ทั ้ ง นี ้ ดู ว ย เ ห ตุ ผ ล ที ่ ว่ า ท ะ เ ล เ ป็ น แ ห ล่ ง
ทรั พ ยากรธรรมชาติ สุ ด ทู า ยของโลก และหากปล่ อ ยใหู ใ ชู กั น
อย่างเสรีไม่มีขอบเขตและวิธีก ารทีเ่ หมาะสมแลู วย่ อมก่อใหูเกิ ด
ผ ล เ สี ย ไ ดู ม ห า ศ า ล เ พ ร า ะ ใ น ปั จ จุ บั น ค ว า ม กู า ว ห นู า ท า ง
เทคโนโลยีและความตูองการอาหารโปรตีนราคาถ้ก เป็ นตัวการ
สำา คั ญ ที ท
่ ำา ใหู ท รั พ ยากรธรรมชาติ ทั ้ง ที ม
่ ี ชี วิ ต และไม่ มี ชี วิ ต ถ้ ก
ทำา ลายลงไปมากที เ ดี ย ว ดั ง นั ้น การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรในทู อ ง
ทะเลหลวงใหูมีสภาพคงตัวหรือในสภาพทีด
่ ีทีส
่ ุดย่อมเป็ นสิง่ ทีท
่ ุก
รั ฐ ควรจะช่ ว ยกั น สนั บ สนุ น และร่ ว มมื อ กั น ซึ่ง ตั ว อย่ า งของการ
ร่วมมือทีม
่ องเห็นไดูง่ายคือ อนุสัญญาระหว่างประเทศทัง้ หลายที ่
สรูางขึน
้ เพือ
่ จุดม่งุ หมายทีจ
่ ะอนุรักษ์ทรัพยากรเหล่านีเ้ ป็ นสำาคัญ

11.4 เขตไหล่ทวีป
1. ความหมายของไหล่ ทวี ปแบ่ง ออกเป็ นสองนั ย ไดู แ ก่ ความ

หมายในทางภ้มิศาสตร์ทีใ่ ชูเรียกบริเวณพืน
้ ดินทูองทะเลทีอ
่ ย่้ตรง
ขอบพืน
้ ทวีปซึง่ เป็ นบริเวณพืน
้ ดินทีค
่ ่อยๆ เอียงลาดสุด และเริม

่ ำ้าลึกประมาณ 200 เมตร และ
หัวหักมุมลึกลงไปจนถึงบริเวณทีน
141

ความหมายในทางกฎหมายทีไ่ ดูบัญญัติไวูในอนุสัญญากรุงเจนีวา
ค.ศ. 1958 ว่าดูวยไหล่ทวีปและในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าดูวย
กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982
2. เขตไหล่ ท วี ป เกิ ด มี ขึ้ น นั บ แต่ ไ ดู มี ก ารการประกาศสิ ท ธิ ใ น

ไหล่ทวีปของประธานาธิบดี ทร้แมน แห่งสหรัฐอเมริกา และไดู


นำาไปบัญญัติไวูในอนุสัญญากรุงเจนีวา ค.ศ. 1958 ในส่วนทีเ่ กีย
่ ว
กั บ ไหล่ ท วี ป และในสนธิ สั ญ ญาสหประชาชาติ ว่ า ดู ว ยกฎหมาย
ทะเล ค.ศ. 1982
3.เขตไหล่ทวีปเป็ นแหล่งทีอ
่ ุดมสมบ้รณ์

11.4.1 ความรู้ทัว
่ ไปกับเขตไหล่ทวีป
อธิบายความสำาคัญของเขตไหล่ทวีป
เขตไหล่ ท วี ป เป็ นอาณาเขตทางทะเลที ร
่ ั ฐ ชายฝั ่ งทั ้ง หลาย
ตระหนั ก ถึ ง ความสำา คั ญและพยายามอย่ า งยิ ง่ ที จ
่ ะประกาศใหู มี
อาณาบริ เ วณมากที ่สุ ด เท่ า ที ่จ ะมากไดู ซึ่ ง เหตุ ผ ลและความ
จำา เป็ นที ่รั ฐ ชายฝั ่ งตู อ งประกาศสิ ท ธิ ์ค รอบครองในไหล่ ท วี ป
เพราะเขตไหล่ ทวี ป เป็ นแหล่ ง อุ ด มสมบ้ ร ณ์ ข องทรั พ ยากรทั ง้ ที ม
่ ี
ชี วิ ต และไม่ มี ชี วิ ต นั่ น เอง การที ไ่ หล่ ท วี ป กลายเป็ นแหล่ ง อุ ด ม
สมบ้รณ์แห่งทรัพยากรธรรมชาติทัง้ ทีม
่ ีชีวิตก็เพราะมีความเหมาะ
สมของอุณหภ้มิความลึกของนำ้า อาหารของสัตว์นำ้า และยังเป็ น
แหล่งรวมของทรัพยากรธรรมชาติทีไ่ ม่มีชีวิติ เช่น ทองคำา ดีบุก
ดังนัน
้ เขตไหล่ทวีปจึงเป็ นอาณาเขตทางทะเลที น
่ ับไดูว่ามี
ความสำา คัญต่อรัฐชายฝั ่ งอย่างมากจนในบางภ้มิภาคเกิดเป็ นขูอ
142

พิพาทจากการแบ่งเขตไหล่ทวีปกันก็มีใหูเห็น เช่น ในบริเวณอ่าว


ไทยของเรา เป็ นตูน

11.4.2 ขูอจำากัดสิทธิและพันธะของรัฐชายฝั ่ ง
ใหู บ อกถึ ง ขู อ จำา กั ด สิ ท ธิ ข องรั ฐ ชายฝั ่ งในบริ เ วณไหล่ ท วี ป
ตามอนุสัญญากรุงเจนีวา ค.ศ. 1958
ในอนุสั ญญากรุ ง เจนี ว า ค.ศ. 1958 ไดูกำา หนดถึ ง ขูอ จำา กั ด
สิทธิของรัฐชายฝั ่ งไวูดงั นี ้
1.รั ฐ ชายฝั ่ งมี สิ ท ธิ อ ธิ ป ไตยเหนื อ ไหล่ ท วี ป เพื่ อ ความมุ่ ง
ประสงค์ ใ นการสำา รวจไหล่ ท วี ป และการแสวงประโยชน์ จ าก
ทรัพยากรธรรมชาติของไหล่ทวีป
2.การใชูสิทธิของรัฐชายฝั ่ งเหนือไหล่ทวีป จะตูองไม่กระทบ
กระเทื อ นต่ อ สถานภาพทางกฎหมายของน่ า นนำ้ า ที อ
่ ย่้ เ หนื อ ใน
ฐานะทีเ่ ป็ นทะเลหลวง หรือหูวงอากาศเหนือน่านนำา
้ เหล่านัน

3.รัฐชายฝั ่ งตูองรักษาไวูซงึ่ เสรีภาพในการวางหรือการบำารุง
รักษาสายหรือท่อใตูนำา
้ บนไหล่ทวีป
4. รั ฐ ชายฝั ่ งตู อ งรั ก ษาไวู ซึ่ ง เสรี ภ าพในการเดิ น เรื อ การ

ประมง หรื อ การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรที ่มี ชี วิ ต ในทะเลหรื อ การ


สำารวจสมุทรศาสตร์จะตูองไม่ถก
้ แทรกแซงโดยรัฐชายฝั ่ ง
5.รัฐชายฝั ่ งจะตูองไม่ติดตัง้ ซึง่ สิง่ ติดตัง้ หรือกลอุปกรณ์ หรือ
เขตปลอดภั ยของสิ ง่ เหล่ า นี ใ้ นที ซ
่ ึ่ง อาจจะรบกวนต่ อ การใชู ช่ อ ง
ทางเดินเรือในทะเลทีเ่ ป็ นทีย
่ อมรับนับถือกันว่าเป็ นการอันจำาเป็ น
แก่การเดินเรือระหว่างประเทศ
143

11.5 เขตพื้นดินท้องทะเลและดินใต้ผิว
1. ความเจริญกูาวหนูาทางเทคโนโลยี ทำา ใหูมนุษย์สามารถขุด

คูนทรัพยากรทีไ่ ม่มีชีวิตในทะเลในระดับความลึกเกิน 200 เมตร


ไดู อันเป็ นใหูผู้แทนของประเทศมอลตาตามเสนอความคิดต่อที ่
ประชุมใหญ่ในสหประชาชาติ ใหูเขตบริเวณพืน
้ ดินทูองทะเลนอก
เขตอำา นาจศาลของรั ฐ ต่ า งๆ เป็ นสมบั ติ ต กทอดร่ ว มกั น ของ
มนุ ษ ยชาติ แ ละกำา หนดใหู ท รั พ ยากรในบริ เ วณดั ง กล่ า วอำา นวย
ประโยชน์แก่ทุกรัฐ
2. ทรัพยากรในบริเวณพืน
้ ดินใตูทูองทะเลและดินใตูผิวดิน แบ่ง
ออกเป็ นพวกนำ้ามั นดิ บ และก๊ า ซธรรมชาติ และแมงกานี ส โนด้ ล
และแร่ธาตุต่างๆ
3. การทรั พ ยากรพื้น ดิ น ทู อ งทะเลระหว่ า งประเทศ ประกอบ

ดู ว ย สมั ช ชา คณะมนตรี แ ละสำา นั ก เลขาธิ ก าร มี ห นู า ที บ


่ ริ ห าร
ใหู ก ารทรั พ ยากรพื้น ดิ น ทู อ งทะเลระหว่ า งประเทศดำา เนิ น ไปไดู
อย่างมีประสิทธิภาพ

11.5.1 ความเป็ นมาของเขตพืน


้ ดินทูองทะเลและดินใตูผิว
ดิน
อธิ บายความเป็ นมาของเขตพื้น ดิ น ทู อ งทะเลและดิ น ใตู ผิ ว
ดิน
จุดเริม
่ แรกของความวิต กของนักกฎหมายนานาชาติ เกี ย
่ ว
กับ การขุดคูนทรัพยากรในทะเลเกิดจากการทีใ่ นปั จจุบันนีค
้ วาม
เจริ ญ กู า วหนู า ทางเทคโนโลยี เปิ ดโอกาสใหู ส ามารถขุ ด คู น
ทรัพยากรไม่มีชีวิตไดู แมูกระทัง่ ในระดับความลึกเกิน 200 เมตร
144

อั น เป็ นระยะความลึ ก ที ม
่ ี ไ วู เ พื่ อ เป็ นการกำา หนดเบื้ อ งตู น ของ
ขอบเขตไหล่ทวีปโดยอนุสัญญาว่าดูวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958
้ ในวันที ่ 2 พฤศจิกายน 1967 โดยคำาประกาศของนาย อาร์
ดังนัน
วิ ด ป า ร์ โ ด (Arvid Pardo) ต่ อ ที ่ ป ร ะ ชุ ม ใ ห ญ่ ข อ ง อ ง ค์ ก า ร
สหประชาชาติไดูทำาใหูเกิดหลักการทีเ่ รียกกันว่า เขตพืน
้ ดินทูอง
ทะเลและดินใตูผิวดินนัน
้ “สมบัติตกทอดร่วมกันของมนุษยชาติ”
(Common Heritage of Mankind)
ในการประกาศต่ อ ที ่ป ระชุ ม ใหญ่ ใ น ค.ศ. 1967 นั ้ น นา
ยอาร์ วิ ด ปาร์ โ ด ซึ่ ง เป็ นผู้ แ ทนของประเทศมอลตู า ไดู ก ล่ า ว
ปราศรั ย และเสนอว่ า บริ เ วณพื้ น ดิ น ทู อ งทะเลที ่อ ย่้ น อกเขต
อำา นาจของรั ฐ ต่ า งๆ นั ้น ควรจะไดู รั บ การประกาศใหู ต กเป็ น
สมบัติตกทอดร่วมกันของมนุษยชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ทีม
่ ุ่งต่อ
ความสงบสุขและการนำาทรัพยากรในบริเวณนีม
้ าใชูจะตูองเป็ นไป
โดยคำา นึงถึงผลประโยชน์ร่วมกันของมนุษยชาติทัง้ มวลดูวย นั่น
คือ ทรั พยากรในบริ เวณพื้นดิ นทู องทะเลสากลนั น
้ จะตู อ งอำา นวย
ประโยชน์ใหูแก่ทุกรัฐ
ต่อมาใน ค.ศ. 1970 ไดูมีการแถลงปฏิญญาเกีย
่ วกับบริเวณ
นีโ้ ดยเฉพาะในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับทรัพยากรโดยสหประชาชาติ ซึง่ มี
เ นื้ อ ห า สำา คั ญ ข อ ง ป ฏิ ญ ญ า ห รื อ ม ติ ขู อ ป ร ะ ชุ ม ห ม า ย เ ล ข
2749(XXV) ของสมั ย ประชุ ม ที ่ 25 ลงวั น ที ่ 17 ธั น วาคม ค.ศ.
1970 ว่ามี “พืน
้ ดินทูองทะเลและดินใตูผิวดินภายนอกเขตรัฐและ
ทรั พ ยากรทั ้ง มวลในบริ เ วณนี ต
้ กเป็ นมรดกตกทอดร่ ว มกั น ของ
มนุษยชาติ” แมูว่าปฏิญญาฉบับนีจ
้ ะไม่มีขูอผ้กพันทางกฎหมาย
145

แต่ก็อาจถือไดูว่าเป็ นการวางกรอบของวิวัฒนาการทางกฎหมาย
ทะเลไดู อันแสดงใหูเห็นถึงว่าในปั จจุบันกฎหมายทะเลไดูเขูามามี
บทบาทสำา คั ญ ในวงการของเศรษฐกิ จ ระหว่ า งประเทศ และ
กระตูุ น ใหู รั ฐ ทั ้ง ปวงหั น มาหาประโยชน์ แ ละสนใจทะเลอั น เป็ น
แหล่งทรัพยากรสุดทูายของโลก แต่อย่างไรก็ตาม ปฏิญญาฉบับ
ดังกล่าวในสายตาของกลุ่มประเทศทีก
่ ำา ลังพัฒนาแลูวกลายเป็ น
กฎเกณฑ์ทีส
่ ำาคัญและจะตูองยึดถือปฏิบัติเลยทีเดียว ทัง้ นีอ
้ าจจะ
เป็ นเพราะว่าเหตุผลทางเศรษฐกิจเป็ นสำาคัญนัน
่ เอง
และในที ่สุ ด การประชุ ม กฎหมายทะเลยครั ้ ง ที ่ 3 ของ
สหประชาชาติจนกระทัง่ เกิดอนุสัญญาฉบับมองเตโกเบย์ ขึน
้ ใน
ค.ศ. 1982 หลักการขูางตูนทีก
่ ล่าวมานีไ้ ดูบัญญัติไวูในภาคที ่ 11
ซึ่ง มี ผ ลบั ง คั บ ใชู เ มื่อ ใดก็ ต ามที ผ ลที ไ่ ดู อ าจจะช่ ว ยทำา ใหู เ กิ ด การ
แบ่ ง สั น ปั นส่ ว นในผลประโยชน์ เ กี ย
่ วกั บ ทรั พ ยากรในบริ เ วณนี ้
ระหว่างประเทศทีพ
่ ัฒนาแลูวและประเทศทีก
่ ำาลังพัฒนาหรือดูอย
พัฒนา

11.5.2 ทรัพยากรพืน
้ ดินทูองทะเล
ใหู บ อกประเภทของทรั พ ยากรในบริ เ วณพื้น ดิ น ทู อ งทะเล
และดินใตูผิวดินว่ามีกีช
่ นิดอะไรบูาง
ทรัพ ยากรที ม
่ ีป ริ ม าณและม้ ล ค่ า มหาศาลในบริ เ วณพื้น ดิ น
้ มีอย่้ 3 ชนิดคือ
ทูองทะเล และดินใตูผิวดินนัน
1. พวกนำ้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ ซึง
่ เป็ นทรัพยากรทีม
่ ี ค่ า
่ ุดใน 3 ชนิดนี ้ มีการขุดนำา
มากทีส ้ มันดิบประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์
และก๊าซธรรมชาติ 10 เปอร์เซ็นต์ จากไหล่ทวีป ทัง้ นีเ้ ชื่อกันว่า
146

้ มันอย่้ส้ง 160 พันลูานบาร์เรลและ


บริเวณรอบฝั ่ งทะเลทัง้ โลกมีนำา
มีก๊าซธรรมชาติมากกว่า 14 ลูานคิวบิกเมตร
2. แมงกานีสโนด้ล คือกูอนแร่ธาตุสีดำา ทีอ
่ ย่้บริเวณกูนทะเล
ลึ ก ตั ้ ง แ ต่ ร ะ ดั บ ค ว า ม ลึ ก 12,000 ฟุ ต ขึ้ น ไ ป โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น
มหาสมุ ทรแปซิ ฟิกมี อ ย่้ ป ระมาณ 1.5 ลู า นตั น สำา หรั บ เหตุ ผ ลที ่
ทำาใหูแมงกานีสโนด้ลมีความสำาคัญอย่างมากก็เนือ
่ งจากการทีม
่ ัน
ประกอบไปดูวยแร่ธาตุแมงกานีสซึ่งเมื่อเอาไปผสมกับแร่เหล็กก็
สามารถผลิตเหล็กกลูาไดูนัน
่ เอง
3. แร่ ธ าตุ ต่ า งๆ ในทะเล เป็ นทรั พ ยากรที ม
่ ี ม ากที ส
่ ุ ด ซึ่ง
นิ ย มรวมเรี ยกแร่ ธ าตุ ที ม
่ าจากทะเลเหล่ า นี ว
้ ่ า สิ น แร่ ซึ่ง มี ห ลาย
ชนิด เช่น ทองคำา ทองแดง เหล็ก ดีบุก ถ่านหิน และโปแตสเซี
ยม

11.5.3 บริเวณเขตพืน
้ ดินทูองทะเลและดินใตูผิวดิน
อธิบายสาเหตุทีท
่ ำาใหูจำาตูองมีการกำาหนดใหูมีบริเวณทรัพย์
มรดกร่วมกันของมนุษยชาติ
เหตุผลสำาคัญทีท
่ ำาใหูจำาตูองมีการกำาหนดใหูมีบริเวณทรัพย์
มรดกร่วมกันของมนุษยชาติก็คือเหตุผลทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะ
รัฐทีถ
่ ือว่าอย่้ในกลุ่มโลกทีส
่ าม ซึง่ มีความตูองการอย่างมากทีจ
่ ะ
พัฒนาประเทศใหูพูนจากสภาพทีเ่ ป็ นอย่้ และทางเดียวทีจ
่ ะช่วย
ใ หู ไ ดู คื อ ก า ร ไ ดู มี ก า ร จั ด ส ร ร แ บ่ ง ส่ ว น ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก
ทรัพยากรธรรมชาติทีส
่ ันนิษฐาน และเชื่อว่ามีอย่้อย่างหนาแน่น
ในบริ เ วณเขตพื้ น ดิ น ทู อ งทะเลและใตู ผิ ว ดิ น ซึ่ ง หากไม่ มี ก าร
กำา หนดใหู บ ริ เ วณดั ง กล่ า วเป็ นบริ เ วณทรั พ ย์ ม รดกร่ ว มกั น ของ
147

มนุ ษ ยชาติ แ ลู ว รั ฐ ที ่ส ามารถจะแสวงหาผลประโยชน์ จ าก


ทรัพ ยากรธรรมชาติ ในบริ เวณนี ค
้ งจะไม่ พูน ประเทศที เ่ จริญ ทาง
เทคโนโลยีหรือประเทศมหาอำานาจทัง้ หลายนัน
้ เอง
ดั ง นั ้น เพื่ อ ใหู มี ค วามยุ ติ ธ รรมต่ อ ทุ ก รั ฐ การกำา หนดใหู มี
บริ เ วณเขตพื้น ดิ น ทู อ งทะเลและดิ น ใตู ผิ ว ดิ น เป็ นบริ เ วณทรั พ ย์
มรดกร่วมกันของมนุษยชาติจึงเป็ นสิง่ จำา เป็ นและมีผ ลประโยชน์
อย่างยิง่

11.6 มลพิษในทะเล
1.มลพิษในทะเลเป็ นการเปลีย
่ นแปลงสภาวะของทะเลในดูาน
คุ ณ ภาพจากที เ่ คยเป็ นอย่้ ต ามปกติ ไ ปอย่้ ใ นสภาพที ม
่ ี ผ ลเสี ย ต่ อ
ความเป็ นอย่้ อันมีสาเหตุจากการเจือปนของสารมีพิษซึง่ ถ้กย่อย
สลายไม่ไดู การเจือปนของของเสียทีเ่ ป็ นอินทรีย์สารซึ่งถ้กย่อย
สลายไดูและเกิดจากตูนเหตุทางกายภาพและนำา
้ มัน
2.มาตรการในการปู องกันมลพิษในทะเลไดูถ้กกำาหนดไวูในร้ป
ของอนุสัญญาหลายฉบับ เพื่อร่วมมือกันปู องกันมิใหูสภาวะของ
ทู องทะเลตู องเสี ยหายจากผลของมลพิ ษ ในทะเล ตลอดจนเพื่อ
ร่วมมือกันแกูไขความเสียหายทีเ่ กิดจากมลพิษ

11.6.1 ความหมายและทีม
่ าของมลพิษในทะเล
อธิบายสาเหตุทีท
่ ำาใหูเกิดมลพิษในทะเลว่ามีกีช
่ นิด
มลพิษในทะเลคือ การเปลีย
่ นแปลงสภาวะของทะเลในดูาน
คุณภาพจากทีเ่ คยเป็ นอย่้ตามปกติไปส่้ในสภาพทีม
่ ีผลเสียต่อ
148

ความเป็ นอย่้ของบริเวณนิเวศวิทยา มลพิษนีเ้ กิดมาจาก 3


สาเหตุใหญ่คือ
1.มลพิษทีเ่ กิดจากการเจือปนของสารมีพิษซึง่ ถ้กย่อยสลาย
ไม่ไดู
2.มลพิษทีเ่ กิดจากการเจือปนของของเสียทีเ่ ป็ นอินทรีย์สาร
ซึง่ ถ้กย่อยสลายไดู
3.มลพิษทีเ่ กิดจากตูนเหตุทางกายภาพและนำา
้ มัน

11.6.2 มาตรการในการปู องกันมลพิษในทะเล


ระบุชือ
่ ของอนุสัญญาระหว่างประเทศทีเ่ กีย
่ วขูองกับการ
ปู องกันมลพิษในทะเล
รายชือ
่ ของอนุสัญญาระหว่างประเทศทีเ่ กีย
่ วขูองกับการ
ปู องกันมลพิษในทะเล 2 ฉบับคือ
1. อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าดูวยการปู องกันมลพิษที ่
้ มันในทะเล ค.ศ. 1962
เกิดจากนำา
2. อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าดูวยการปู องกันมลพิษจาก
เรือ ค.ศ. 1973

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 11
1. กฎหมายทะเลคือ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
2. กฎหมายทะเลเริม
่ มีมาตัง้ แต่ สมัยโรมัน
3. หลักเสรีภาพแห่งทูองทะเลเป็ นแนวคิดของ ชาวโรมันสมัยโบราณ
4. บั ก กฎหมายที ไ่ ดู ชื่ อ ว่ า เป็ นบิ ด าแห่ ง กฎหมายระหว่ า งประเทศและ
กฎหมายทะเลคือ Grotius
5. อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าดูวยกฎหมายทะเลไดูทำาขึน ่ ค.ศ. 1958
้ เมือ
149

6. อนุสัญญาฉบับมองเตโกเบย์ว่าดูวยกฎหมายทะเลไดูทำา ขึน
้ เมื่อ ค.ศ.
1982
7. ในสมัยก่อนทีม
่ ีการสรูางอนุสัญ ญาขึน
้ บังคับใชูไดูแบ่งทะเลออกเป็ น
สองส่วนคือ ทะเลอาณาเขตและทะเลหลวง
8. ทะเลอาณาเขตมีความกวูาง เท่าทีร
่ ัฐจะกำาหนดเอาเอง
9. ประเทศสหรัฐอเมริกา ประกาศสิทธิในเขตไหล่ทวีปเป็ นประเทศแรก
10. แนวความคิดเกีย
่ วกับเขตเศรษฐกิจจำาเพาะไดูถ้กบัญญัติไวู
ในอนุสัญญาว่าดูวยกฎหมายทะเล ฉบับ ค.ศ. 1982
11. ่ าคือ ก. จารีตประเพณี และ ข.
กฎหมายทะเลมีแหล่งทีม
อนุสัญญาระหว่างประเทศ
12. อนุสัญญาว่า ดูวยกฎหมายทะเลฉบับ แรกทำา ขึ้นเมื่อ ค.ศ .
1982
13. อนุสัญญากรุงเจนีวาประกอบไปดูวย อนุสัญญา 4 ฉบับ
14. อนุสัญญาว่าดูวยกฎหมายทะเลฉบับมองเตโกเบย์ไดูมีการ
่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1982
ลงนามกันเมือ
15. ประเทศอั ง กฤษ เป็ นประเทศที ค
่ ั ด คู า นหลั ก เสรี ภ าพแห่ ง
ทูองทะเลในสมัยศตวรรษที ่ 17
16. ในบริเวณเขตเศรษฐกิจจำาเพาะรัฐชายฝั่ งมี สิทธิพิเศษ ใน
ทรัพยากรชายฝั่ ง
17. สิ ท ธิ ใ น ก า ร ผ่ า น โ ด ย สุ จ ริ ต เ ป็ น สิ ท ธิ ที ่ อ ย่้ ใ น บ ริ เ ว ณ
ทะเลอาณาเขต
18. แนวความคิดทีใ่ หูทรัพยากรในบริเวณพืน
้ ดินทูองทะเลและ
ใตูผิวดินเป็ นสมบัติตกทอดโดยธรรมชาติร่วมกันของมนุษย์ เป็ นแนวความ
คิดของ นายอาวิด ปาร์โด
19. ใ นบ ริ เ วณ พื้ น ดิ นทู อ งท ะเ ล แ ล ะ ดิ นใ ตู ผิ ว ดิ น ป ร ะ ดู ว ย
ทรัพยากร นำา
้ มัน ก๊าซธรรมชาติ แมงกานีสโนด้ล และแร่ธาตุ
150

20. มลพิษทีเ่ กิดจากตูนเหตุทางกายภาพมีสาเหตุมาจาก (ก)


การพังทลายของหาดทราย (ข) การทำา เหมืองแร่บ นชายฝั่ ง (ค) การทำา
เหมืองแร่ในทะเล

หน่วยที ่ 12 กฎหมายว่าด้วยสัญชาติ และนิติฐานะของ


คนต่างด้าวในประเทศไทย

1.หลักเกณฑ์เกีย
่ วกับกฎหมายสัญชาตินัน
้ เป็ นกฎหมายภายใน
รั ฐ มี อำา นาจอธิ ป ไตยที จ
่ ะกำา หนดวิ ธี ก ารไดู ม า การเสี ย ไปและ
การกลับคืนซึง่ สัญชาติว่ามีหลักเกณฑ์อย่างไรบูาง โดยกฎหมาย
ว่ าดู วยสัญชาตินีจ
้ ัด เป็ นกฎหมายปกครองซึ่ง เป็ นสาขาหนึ่ง ของ
กฎหมายมหาชนโดยปกติ ทั่ ว ไปแลู ว หลั ก เกณฑ์ การไดู ม าซึ่ ง
้ สามารถแบ่ งออกไดู เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ การ
สัญชาตินั น
ไดูมาซึ่งสัญชาติโดยการเกิด และการไดูมาซึ่งสัญชาติภายหลั ง
การเกิด
2. ภายใตู ก ฎหมายระหว่ า งประเทศ เมื่อ คนต่ า งดู า วไดู เ ขู า มา

พำา นั ก อาศั ย ในประเทศหนึ่ง ประเทศใดแลู ว คนต่ า งดู า วผู้ นั ้น จะ


ตูองตกอย่้ใตูอำา นาจอธิปไตยของรัฐเจูาของดินแดนนัน
้ ตามหลัก
ดินแดน ดังนัน
้ สิทธิและหนูาทีข
่ องคนต่างดูาวจะมีมากนูอยเพียง
ใด ย่ อ มเป็ นไปตามกฎหมายมหาชนภายในของรั ฐ เจู า ของดิ น
แดน ทัง้ นี ้ เวูนแต่จะมีการทำา สนธิสัญญาทวิภาคีตกลงกันไวูเป็ น
ประการอื่น สิทธิและหนูาทีข
่ องคนต่างดูาวนัน
้ ก็เป็ นไปตามสนธิ
สัญญาดังกล่าว
151

12.1 หลักกฎหมายเกีย
่ วกับสัญชาติไทย
1. บุ ค คลทุ ก คนที เ่ กิ ด มาควรจะมี สั ญ ชาติ ไ ทย เพราะสั ญ ชาติ

ไทยเป็ นสิ ง่ ที ก
่ ำา หนดความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คลนั ้น กั บ รั ฐ ที ใ่ หู
สัญชาติ กฎหมายระหว่างประเทศยอมรับว่า หลักเกณฑ์ในการ
ใหูสัญชาติไทยนัน
้ ขึน
้ อย่้กับกฎหมายภายในของแต่ละรัฐ สำาหรับ
กฎหมายสัญชาติของไทยนัน
้ รับรองวิธีการใหูสัญชาติทัง้ โดยการ
เกิดและภายหลังการเกิด
2.กฎหมายสั ญชาติ รั บ รองวิ ธี ก ารเสี ย สั ญ ชาติ ไ วู ส ามประการ
คือ การสละสัญชาติ การแปลงสัญชาติเป็ นคนต่างดูาว และการ
ถ้กถอนสัญชาติ โดยการเสียสัญชาติไดูหรือไม่ และดูวยวิธีการ
ใดนัน
้ ขึน
้ อย่้กับว่า บุคคลนัน
้ ไดูสัญชาติไทยแบบใด
3.กฎหมายสั ญ ชาติ รั บ รองว่ า บุ ค คลประเภทใดบู า งที ่เ สี ย
สั ญ ชาติ ไ ดแลู ว ต่ อ มาภายหลั ง ประสงค์ จ ะถื อ สั ญ ชาติ ไ ทยอี ก ก็
สามารถทำาไดู

12.1.1 การไดูมาซึง่ สัญชาติไทย


อธิบายหลักเกณฑ์การไดูสัญชาติ
บุ ค คลธรรมดาอาจไดู สั ญ ชาติ ไ ทยไดู 2 วิ ธี คื อ การไดู
สั ญ ชาติ ไ ทยโดยการเกิ ด และการไดู สั ญ ชาติ ภ ายหลั ง การเกิ ด
โดยสัญชาติโดยการเกิดนีเ้ ป็ นการไดูมาโดยหลักสืบสายโลหิต ซึง่
ผู้จะไดูสัญชาติไทยโดยวิธีนีจ
้ ะตูองมีบิดาหรือมารดาทีม
่ ีสัญชาติ
ไทย ส่วนผู้ทีจ
่ ะไดูสัญชาติไทยตามหลักดินแดนนัน
้ ก็จะตูองเกิด
ในราชอาณาจั ก รไทย นอกจากนี ้แ ลู ว คนต่ า งดู า วก็ อ าจไดู
152

สั ญ ชาติ ไ ทยภายหลั ง การเกิ ด ไดู ดู ว ยการที ห


่ ญิ ง ต่ า งดู า วขอถื อ
สัญชาติตามสามีและดูวยการขอแปลงสัญชาติเป็ นไทย

12.1.2 การเสียสัญชาติไทย
หลักเกณฑ์การเสียสัญชาติไทย
บุคคลอาจเสียสัญชาติไทยไดู 3 วิธีคอ
ื การเสียสัญชาติไทย
โดยการแปลงสัญชาติเป็ นคนต่างดูาว การสละสัญชาติ และการ
ถ้ ก ถอนสั ญ ชาติ ซึ่ง สามารถแบ่ ง ไดู อ อกเป็ นสองกรณี คื อ การ
ถอนโดยองค์กรตุลาการ และการถอนโดยฝ่ ายปกครอง

12.1.3 การกลับคืนสัญชาติไทย
อธิบายหลักเกณฑ์การกลับคืนส่้สัญชาติไทย
บุคคลธรรมดาอาจกลับคืนส่้สัญชาติไทยไดูดูวยการขอกลับ
คื น ส่้ สั ญ ชาติ ไ ทย แต่ วิ ธี ก ารนี ใ้ ชู เ ฉพาะกั บ บุ ค คลสองประเภท
เท่านัน
้ คือ กรณีทีห
่ ญิงไทยสมรสกับชายต่างดูาวและต่อมาไดูเสีย
สัญชาติไทยไป และกรณีทีผ
่ ู้เยาว์เสียสัญชาติไทยตามผู้แทนโดย
ชอบธรรม และต่ อ มาภายหลั ง บุ ค คลประเภทนี ป
้ ระสงค์ จ ะมี
สัญชาติไทยอีกครัง้ หนึง่

12.2 นิติฐานะของคนต่างด้าวในประเทศไทย
1. การทีค
่ นต่างดูาวเขูามาในราชอาณาจักรไทยย่อมตกอย่้ภาย
ใตูเขตอำานาจ หรืออำานาจอธิปไตยของประเทศไทย ดังนัน
้ โดย
หลั ก แลู ว สิ ท ธิ ห นู า ที ต
่ ลอดจนความรั บ ผิ ด ทั ้ง หลายลู ว นตกอย่้
ภายใตู ก ฎหมายไทยทั ้ง สิ น
้ ซึ่ง โดยปกติ แ ลู ว กฎหมายที ว
่ ่ า นี จ
้ ะ
เป็ นกฎหมายมหาชนหรือกฎหมายปกครอง
153

2. ก ฎ ห ม า ย ไ ท ย รั บ ร อ ง ก า ร ทำา ง า น ข อ ง ค น ต่ า ง ดู า ว ใ น

ประเทศไทยไดู เพี ย งแต่ ก ฎหมายไดู กำา หนดหลั ก เกณฑ์ บ าง


ประการเพื่อควบคุมการทำา งานของคนต่างดูาว โดยมีอาชีพและ
วิชาชีพ 39 รายการ ทีค
่ นต่างดูาวจะทำาไม่ไดู อาชีพอื่นนอกจาก
นี ้ คนต่างดูาวจำาตูองขอใบอนุญาตทำางาน
3. กฎหมายไทยอนุ ญ าตใหู ค นต่ า งดู า วถื อ ครองที ด
่ ิ น ไดู แต่
เนื่ อ งจากที ่ดิ น เป็ นปั จจั ย การผลิ ต ที ่มี ค วามสำา คั ญ อย่ า งมาก
กฎหมายทีด
่ ินของไทยจึงเขูมงวดเกีย
่ วกับเงื่อนไขในการถือครอง
ทีด
่ ินของคนต่างดูาวทัง้ ทีเ่ ป็ นบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล
4. เช่นเดียวกับการถือครองทีด
่ ิน แมูกฎหมายไทยจะอนุญาตใหู
คนต่างดูาวสามารถมีกรรมสิทธิใ์ นหูองชุดไดูก็ตาม แต่กฎหมายก็
กำา หนดหลั ก เกณฑ์ บ างประการไวู เ พื่ อ ควบคุ ม ปริ ม าณมิ ใ หู ค น
ต่างดูาวมีกรรมสิทธิใ์ นหูองชุดมากเกินไป
5. ประเทศไทยมี ก ารแกู ไ ขกฎหมายเก่ า เกี ย
่ วกั บ การประกอบ
ธุรกิจ ของคนต่างดูาวโดยยกเลิก ป.ว. 281 และไดูมีการประกาศ
ใชูพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างดูาว พ.ศ. 2542
โดยกฎหมายฉบับ นี ไ้ ดู แ บ่ ง บั ญ ชี เ กี ย
่ วกั บ ประเภทของธุ รกิ จ ออก
เป็ น 3 บั ญ ชี คื อ บั ญ ชี ที ่ 1 หมายถึ ง ธุ ร กิ จ ที ไ่ ม่ อ นุ ญ าตใหู ค น
ต่างดูาวประกอบกิจการดูวยเหตุผลพิเศษ บัญชีที ่ 2 แบ่งออกไดู
เป็ น 3 หมวด คือ หมวดทีห
่ นึ่งเกีย
่ วกับธุรกิจเกีย
่ วกับปลอดภัย
และความมัน
่ คงของประเทศ หมวดทีส
่ องเกีย
่ วกับธุรกิจทีก
่ ระทบ
ต่อศิลปวัฒนาธรรม จารีตประเพณีและหัตถกรรมพืน
้ บูาน ส่วน
หมวดทีส
่ ามเกีย
่ วกับธุรกิจทีก
่ ระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ หรื อ
154

สิง่ แวดลูอม และบัญชีที ่ 3 หมายถึง หมายถึงธุรกิจทีค


่ นไทยยัง
ไม่มีความพรูอมทีจ
่ ะแข่งขันในการประกอบกิจการกับคนต่างดูาว
6.รัฐ ย่อ มใหูสิ ทธิ ทางการเมืองหรือ สิ ท ธิ ต ามกฎหมายมหาชน
แก่ พ ลเมื อง หรือ คนชาติ ข องรั ฐ เท่ า นั น
้ มิ ไ ดู ใ หู สิท ธิ ดั ง กล่ า วแก่
คนต่ างดูาวดู วย ส่ วนสิท ธิต ามกฎหมายเอกชนรั ฐ ใหู สิท ธิ แก่ ค น
ต่างดูาวดูวย ยกเวูนในบางกรณี
7.คนต่ า งดู า วที เ่ ขู า มาในราชอาณาจั ก รอาจถ้ ก เนรเทศออก
นอกราชอาณาจั ก ร หากมี พ ฤติ ก ารณ์ ที ข
่ ั ด ต่ อ ความมั่น คงหรื อ
ความสงบเรียบรูอยของรัฐ

12.2.1 การเขูาเมืองของคนต่างดูาวในประเทศไทย
อธิบายหลักเกณฑ์การเขูาเมืองของคนต่างดูาว
โดยหลักแลูว คนต่า งดู าวจะเขู าประเทศไทยไดู นั น
้ จะตู อ ง
ไม่มีคุณสมบัติตูองหูามตามกฎหมายเช่น ตูองไม่มีพฤติการณ์ที ่
เป็ นภัยต่อสังคม เป็ นโรคติดต่อ ไม่มีอาชีพ นอกจากนี แ
้ ลู ว คน
ต่างดูาวผู้นัน
้ ยังจะตูองไดูรับอนุญาตใหูเขูามาในประเทศไทยดูวย

12.2.2 การทำางานของคนต่างดูาวในประเทศไทย
อ ธิ บ า ย ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ใ น ก า ร ทำา ง า น ข อ ง ค น ต่ า ง ดู า ว ใ น
ประเทศไทย
โดยหลักแลูวเมื่อคนต่างดูาวมีความประสงค์ ทีจ
่ ะประกอบ
อาชี พ คนต่ า งดู า ว ผู้ นั ้น จะตู อ งมาขอใบอนุ ญ าตทำา งานจากเจู า
หนูาทีก ่ ฎหมายระบุไวู 39 รายการ
่ ่อน เวูนแต่งานบางประเภททีก
155

ว่ า คนต่ า งดู า วจะทำา ไม่ ไ ดู หมายความว่ า งานที ่ร ะบุ ไ วู 39


รายการดังกล่าวเป็ นงานทีส
่ งวนไวูใหูกบ
ั คนไทยเท่านัน

12.2.3 การถือครองทีด
่ ินของคนต่างดูาวในประเทศไทย
อธิบายหลักเกณฑ์การถือครองทีด
่ ินของคนต่างดูาว
การที ค
่ นต่ า งดู า วจะมี ก รรมสิ ท ธิ ใ์ นที ด
่ ิ น ในประเทศตาม
ประมวลกฎหมายทีด
่ ินไดูนัน
้ จะตูองอย่้ภายใตูเงือ
่ นไข ดังนี ้
ประการแรก จะตูองมีสนธิสัญญาระหว่างประเทศของคน
ต่างดูาวผู้นัน
้ กับประเทศไทยอนุญาตใหูคนต่างดูาวถือครองทีด
่ ิน
ในไทยไดู
ประการที ส
่ อง การใชู ที ด
่ ิ น ทำา ประโยชน์ นั ้น จะตู อ งเป็ นไป
ตามกฎกระทรวง
ประการสุ ด ทู า ย การถื อ ครองที ด
่ ิ น ดั ง กล่ า วจะตู อ งไดู รั บ
อนุญาตจากรัฐมนตรีมหาดไทย
นอกจากประมวลกฎหมายที ด
่ ิ น แลู ว คนต่ า งดู า วอาจมี
กรรมสิทธิใ์ นทีด
่ ินตามกฎหมายอื่นไดู เช่น ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริม
การลงทุน พ.ศ. 2520 มาตรา 27 กล่าวคือ คนต่างดูาวผู้นัน
้ เป็ น
ผู้ไดูรับบัตรส่งเสริมการลงทุนซึง่ ไดูรับอนุญาตใหูถือกรรมสิทธิใ์ น
ทีด
่ ินเพือ
่ ประกอบกิจการทีไ่ ดูรับส่งเสริมการลงทุน

12.2.4 การถือกรรมสิทธิใ์ นหูองชุด


นิ ติ บุ ค ค ล ห รื อ ค น ต่ า ง ดู า ว ซึ่ ง มี ก ร ร ม สิ ท ธิ ์ หู อ ง ชุ ด ใ น
ประเทศไทยไดูจะตูองมีคุณสมบัติอย่างไร
156

นิ ติ บุ ค คลหรื อ คนต่ า งดู า วซึ่ ง อาจถื อ กรรมสิ ท ธิ ห


์ ู อ งชุ ด ใน
ประเทศไทยไดูจะตูองมีคุณสมบัติขูอใดขูอหนึง่ ตามทีบ
่ ัญญัติไวูใน
มาตรา 19 แห่ง พ.ร.บ. อาคารชุด 2522

12.2.5 การประกอบธุรกิจของคนต่างดูาว
อธิบายหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจของคนต่างดูาว
ตามพระราชบั ญ ญั ติ ป ระกอบธุ ร กิ จ ของคนต่ า งดู า ว พ.ศ.
2542 ไดูแบ่งบัญชีออกเป็ นสามประเภท ดังนี ้ บัญชีทีห
่ นึง่ บัญชี
ทีส
่ อง และบัญชีทีส
่ าม สำาหรับบัญชีทีห
่ นึง่ เป็ นธุรกิจทีค
่ นต่างดูาว
ไม่สามารถประกอบธุรกิจไดูเลย สำาหรับบัญชีทีส
่ องนัน
้ เป็ นธุรกิจ
ที ค
่ นต่ างดู าวจะประกอบไดู ก็ ต่อ เมื่อไดู รั บอนุ ญ าตจากรั ฐ มนตรี
โดยการอนุ มั ติ จ ากคณะรั ฐ มนตรี สำา หรั บ บั ญ ชี ที ส
่ ามนั ้น เป็ น
ธุรกิจทีค
่ นต่างดูาวจะประกอบไดูก็ต่อเมื่อไดูรับอนุญาตจาอธิบดี
กรมทะเบี ย นการคู า ตามความเห็ น ชอบของคณะกรรมการ
ประกอบธุรกิจของคนต่างดูาว

12.2.6 สิทธิตามกฎหมายและสิทธิตามกฎหมายเอกชน
คนต่ า งดู า วมี สิ ท ธิ ท างการเมื อ ง และสิ ท ธิ ต ามกฎหมาย
เอกชนภายในประเทศหรือไม่
สิ ท ธิ ท างการเมื อ งนั ้น รั ฐ ใหู สิ ท ธิ เ ฉพาะพลเมื อ งหรื อ คน
สั ญ ชาติ ข องรั ฐ เท่ า นั ้น มิ ไ ดู ใ หู สิ ท ธิ แ ก่ ค นต่ า งดู า วดู ว ย สำา หรั บ
สิ ท ธิ ต ามกฎหมายเอกชนนั ้ น รั ฐ ใหู สิ ท ธิ แ ก่ ค นต่ า งดู า วดู ว ย
ยกเวูนในเรือ
่ งการถือครองทีด
่ ินทีก
่ ฎหมายบัญญัติหูามไวู

12.2.7 ปั ญหาอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วกับคนต่างดูาว
157

การเนรเทศมีความหมายอย่างไร
การเนรเทศหมายถึงการบังคับใหูคนต่างดูาวออกนอกราช
อาณาจักร เพราะคนต่างดูาวนัน
้ มีพฤติการณ์ทีข
่ ัดต่อความมัน
่ คง
หรือความสงบเรียบรูอยของรัฐ

บั ญ ชี ที ห
่ นึ่ ง หมายถึ ง ธุ ร กิ จ ที ่ ไ ม่ อ นุ ญ าตใหู ค นต่ า งดู า วประกอบ
กิจการดูวยเหตุผลพิเศษ
(1)กิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ์ การกิ จ การสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งหรื อ
สถานีวิทยุ โทรทัศน์
(2)การทำานา ทำาไร่ หรือทำาสวน
(3)การเลีย
้ งสัตว์
(4)การทำาป่ าไมูและการแปรร้ปจากป่ าธรรมชาติ
(5)การทำาการประมงเฉพาะการจับสัตว์นำ้าในน่านนำ้าไทยและในเขต
เศรษฐกิจจำาเพาะของประเทศไทย
(6)การสกัดสมุนไพรไทย
(7)การคูาและการขายทอดตลาดโบราณวัตถุของไทยหรือทีม
่ ีคุณค่า
ทางประวัติศาสตร์ของประเทศ
(8)การทำาหรือหล่อพระพุทธร้ป และการทำาบาตรร
(9)การคูาทีด
่ ิน

บัญชีทีส
่ อง แบ่งออกไดูเป็ น 3 หมวด คือ
หมวด 1 ธุรกิจเกีย
่ วกับความปลอดภัยและความมัน
่ คงของประเทศ
(1)การผลิต การจำาหน่าย และการซ่อมบำารุง
(1)อาวุธปื น เครือ
่ งกระสุน ดินดำา วัตถุระเบิด
(2)ส่ ว นประกอบของอาวุ ธ ปื น เครื่ อ งกระสุ น ปื น และวั ต ถุ
ระเบิด
158

(3)อาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ เรื อ อากาศยาน หรื อ ยานพาหนะ


ทางการทหาร
(4)อุปกรณ์หรือส่วนประกอบของอุปกรณ์สงครามทุกชนิด
(2)การขนส่งทางบก ทางนำ้า หรือทางอากาศในประเทศรวมรวม
ถึงกิจการการบินในประเทศ

หมวด 2 ธุรกิจทีม
่ ีผลกระทบต่อศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและ
หัตถกรรมพืน
้ บูาย
(1) การคูาของเก่า หรือศิลปวัตถุ ซึง่ เป็ นงานศิลปกรรมหัตถกรรม
ของไทย
(2) การผลิตเครือ
่ งไมูอักแกะสลัก
(3) การเลี ย
้ งไหม การผลิ ต เสู น ใยไหมไทย การทอผู า ไทย หรื อ
การพิมพ์ลวดลายผูาไหมไทย
(4) การผลิตเครือ
่ งดนตรีไทย
(5) การผลิ ต เครื่อ งทอง เครื่อ งเงิ น เครื่อ งถม เครื่อ งทองลงหิ น
หรือเครือ
่ งเขิน
(6) การผลิ ต ถู ว ยชามหรื อ เครื่อ งปั นดิ น เผาที เ่ ป็ นศิ ล ปวั ต นธรรม
ไทย

หมวด 3 ธุรกิจทีม
่ ีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติหรือสิง่ แวดลูอม
(1)การผลิตนำา
้ ตาลจากอูอย
(2)การทำานาเกลือ
(3)การทำาเกลือหิน
(4)การทำาเหมือง รวมทัง้ การระเบิดหินหรือย่อยหิน
(5)การแปรร้ปไมูเพือ
่ ทำาเครือ
่ งเรือนและเครือ
่ งใชูสอย

บัญชีทีส
่ าม หมายถึง ธุรกิจทีค
่ นไทยยังไม่มีความพรูอมทีจ
่ ะแข่งขัน
ในการประกอบธุรกิจกับคนต่างดูาว
159

(1) การสีขูาว และการผลิตแปูงจากขูาวและพืชไร่


(2) การทำาการประมง
(3) การทำาการป่ าไมูจากป่ าปล้ก
(4) การผลิตไมูอัด แผ่นไมูวีเนียร์ ชิปบอร์ด หรือฮาร์ดบอร์ด
(5) การผลิตป้นขาว
(6) การทำากิจการบริการทางบัญชี
(7) การทำากิจการบริการทางกฎหมาย
(8) การทำากิจการบริการทางสถาปั ตยกรรม
(9) การทำากิจการบริการทางวิศวกรรม
(10) การก่อสรูาง ยกเวูน
(1)การก่ อ สรู า งซึ่ ง เป็ นการบริ ก ารพื้ น ฐานแก่ ป ระชาชนดู า น
สาธารณ้ปโภคหรือการคมนาคมทีต
่ ูองใชูเครือ
่ งมือ เครือ
่ งจักร เทคโนโลยี
หรือความชำานาญในการก่อสรูางเป็ นพิเศษ โดยมีทุนขัน
้ ตำ่าของคนต่างดูาว
ตัง้ แต่หูารูอยลูานบาทขึน
้ ไป
(2)การก่อสรูางประเภทอืน
่ ตามทีก
่ ำาหนดในกฎกระทรวง
(11) การทำากิจการนายหนูา ตัวแทน ยกเวูน
(1)การเป็ นนายหนูาหรือตัวแทนซือ
้ ขายหลักทรัพย์หรือการ
บริการทีเ่ กีย
่ วกับการซือ
้ ขายล่วงหนูาซึง่ สินคูาเกษตรหรือตราสารทางการ
เงินหรือหลักทรัพย์
(2)การเป็ นนายหนูาหรือตัวแทน ซือ
้ ขายหรือจัดหาสินคูาหรือ
บริการทีจ
่ ำาเป็ นต่อการผลิตหรือการใหูบริการของวิสาหกิจในเครือเดียวกัน
(3)การเป็ นนายหนูาหรือตัวแทน ซือ
้ ขายจัดซือ
้ หรือจัดจำาหน่าย
หรือจัดหาตลาดทัง้ ในและต่างประเทศเพือ
่ การจำาหน่ายซึง่ สินคูาทีผ
่ ลิตใน
ประเทศหรือนำาเขูาจากต่างประเทศอันมีลักษณะเป็ นการประกอบธุรกิจ
ระหว่างประเทศ โดยมีทุนขัน
้ ตำ่าของคนต่างดูาวตัง้ แต่หนึง่ รูอยลูานบาทขึน

ไป
160

(4)การเป็ นนายหนูาหรือตัวแทน ประเภทอืน


่ ๆ ตามทีก
่ ำาหนดใน
กฎกระทรวง
(12) การขายทอดตลาดยกเวูน
(1)การขายทอดตลาดทีเ่ ป็ นการประม้ลซือ
้ ขายระหว่างประเทศที ่
มิใช่เป็ นการประม้ลซื้อขายของเก่า วัตถุโบราณหรือศิล ปวัตถุซึ่งเป็ นงาน
ศิ ล กรรม หั ต ถกรรม หรื อ โบราณวั ต ถุ ของไทยหรื อ ที ่มี คุ ณ ค่ า ทาง
ประวัติศาสตร์ของประเทศ
(2)การขายทอดตลาดประเภทอืน
่ ๆ ตามทีก
่ ำาหนดในกฎ
กระทรวง
(13) การคูาภายในเกีย
่ วกับผลิตภัณฑ์หรือผลิตผลทางการเกษตร
พืน
้ เมืองทีย
่ ังไม่มีกฎหมายหูามไวู
(14) การคู า ปลี ก สิ น คู า ทุ ก ประเภทที ม
่ ี ทุ น ขั ้น ตำ่ า รวมนู อ ยกว่ า หนึ่ ง
รูอยลูานบาท หรอทีม
่ ีทุนขัน
้ ตำ่าของแต่ละรูานคูานูอยกว่ายีส
่ ิบลูานบาท
(15) การส่ ง สิ น คู า ทุ ก ประเภทที ม
่ ี ทุ น ขั ้น ตำ่ า ของแต่ ล ะรู า นคู า นู อ ย
กว่าหนึง่ รูอยลูานบาท
(16) การทำากิจการโฆษณา
(17) การทำากิจการโรงแรม เวูนแต่บริการจัดการโรงแรม
(18) การนำาเทีย
่ ว
(19) การขายอาหารหรือเครือ
่ งดืม

(20) การทำากิจการเพาะขยายหรือปรับปรุงพันธ์ุพืช
(21) การทำา ธุ ร กิ จ บริ ก ารอื่น ยกเวู น ธุ ร กิ จ บริ ก ารที ก
่ ำา หนดในกฎ
กระทรวง

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 12
1. สัญชาติของบุคคลในทางกฎหมายมีความหมายคือ เครื่องมือผ้กมัด
บุคคลไวูกับประเทศในทางกฎหมาย
161

2. สิ ง่ ที ม
่ ี บ ทบาทในการกำา หนดสั ญ ชาติ ข องบุ ค คลตามกฎหมายไดู แ ก่
กฎหมายภายในของแต่ละรัฐและกฎหมายระหว่างประเทศ
3. หลั ก ดิ น แดน และหลั ก สื บ สายโลหิ ต ซึ่ ง รั ฐ ต่ า งๆ นิ ย มใชู ใ นการ
กำาหนดการไดูสัญชาติของบุคคลโดยการเกิด
4. บุคคลอาจไดูมาซึ่งสัญชาติไทยโดย ไดูสัญชาติไทยโดยการเกิด โดย
การแปลงสัญชาติไทย โดยการสมรส และโดยการไดูรับคืนสัญชาติไทย
5. บุคคลทีไ่ ดูสญ
ั ชาติไทยโดยการสมรสคือ หญิงต่างดูาวสมรสกับบุคคล
สั ญ ชาติ ไ ทยและไดู ยื่ น คำา ขอมี สั ญ ชาติ ซึ่ ง รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวง
มหาดไทยไดูอนุญาตใหูหญิงนัน
้ ถือสัญชาติไทยตามสามี
6. บุคคลทีก
่ ฎหมายบังคับใหูฝ่ ายปกครองอนุญ าตใหูก ลับ มามีสั ญ ชาติ
ไทยไดูแก่ หญิงไทยทีเ่ สียสัญชาติไทยเนื่องจากสละสัญ ชาติเพราะสมรส
กับคนต่างดูาว ต่อมาขาดจากการสมรสกับคนต่างดูา ว และยื่นคำา ขอต่อ
พนักงานเจูาหนูาทีเ่ พือ
่ กลับคืนมามีสัญชาติไทยแลูว
7. บุ ค คลเสี ย สั ญ ชาติ ไ ทยในกรณี การแปลงสั ญ ชาติ ไ ปถื อ สั ญ ชาติ อื่น
การสละสัญชาติโดยการสมรสกับคนต่างดูาว และการถ้กถอนสัญชาติ
8. งานในวิชาชีพการแพทย์ เป็ นอาชีพและวิชาชีพทีก
่ ฎหมายไม่หูามคน
ต่างดูาวทำา
9. คณะกรรมการพิ จ ารณาคนเขู า เมื อ งและดู ว ยความเห็ น ชอบของ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีอำานาจอนุญาตใหูคนต่างดูาวเขูามา
มีถิน
่ ทีอ
่ ย่้ในราชอาณาจักร
10. พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจของคนต่างดูาว พ.ศ. 2542 ไม่
อนุ ญ าต ใหู ค นต่ า งดู า วประกอบธุ ร กิ จ ดู ว ยเหตุ ผ ลพิ เ ศษคื อ กิ จ การ
หนังสือพิมพ์
11. นายแดงมีสัญชาติไทย การมีสัญชาติไทยของนายแดง มี
ความสำา คัญต่อนายแดงคือ เป็ นการผ้กพันนายแดงไวูต่อประเทศไทยใน
ทางกฎหมาย
162

12. ในการบั ญ ญั ติ ก ฎหมายที ่ว่ า ดู ว ยสั ญ ชาติ องค์ ก รที ่มี


อำานาจหนูาทีใ่ นการบัญญัติกฎหมายของประเทศไทยควรยึดถือหลักการที ่
ว่ า ประเทศไทยมี เ สรี ภ าพในการบั ญ ญั ติ ก ฎหมายกำา หนดใหู บุ ค คลไดู
สัญชาติไทยประกอบกับหลักทัว
่ ไปทีร
่ ัฐต่างๆ นิยมกำาหนดการไดูสัญชาติ
13. งานในอาชี พ และวิ ช าชี พ ที ก
่ ฎหมายไม่ หู า มคนต่ า งดู า ว
ทำางานไดูแก่ งานควบคุมด้แลฟาร์ม
14. ธุรกิจทีจ
่ ัดอย่้ในบัญชีแรกของ พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจ
ของคนต่า งดู า ว พ.ศ. 2542 ซึ่งไม่อ นุญ าตใหู คนต่า งดู า วประกอบกิ จ การ
ดูวยเหตุผลพิเศษคือ การคูาทีด
่ ิน

หน่ ว ยที ่ 13 หลั ก เกณฑ์ ทั่ว ไปเกี ย


่ วกั บ การขั ด กั น แห่ ง
กฎหมายและพระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยการขั ด กั น แห่ ง
กฎหมาย

1. หลัก เกณฑ์ ว่า ดูว ยการขั ดกัน แห่ง กฎหมายมี ขึ้น เพื่อ การหา

กฎหมายมาใชู บั ง คั บ กั บ นิ ติ สั ม พั น ธ์ ที ่มี อ งค์ ป ระกอบต่ า งชาติ


หมายความว่ านิ ติสั ม พั นธ์ นั น
้ ตู อ งเป็ นนิ ติสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งเอกชน
ดู ว ยกั น และเป็ นนิ ติ สั ม พั น ธ์ ท างแพ่ ง และพาณิ ช ย์ หากเป็ นนิ ติ
สั ม พั น ธ์ ใ นร้ ป แบบอื่น ก็ จ ะไม่ ต กอย่้ ภ ายใตู ห ลั ก เกณฑ์ ก ารขั ด กั น
แห่งกฎหมาย
2. ลั ก ษณะของกฎเกณฑ์ ว่ า ดู ว ยการขั ด กั น แห่ ง กฎหมายนั ้น

เป็ นกฎหมายภายในที ม
่ ี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการเลื อ กกฎหมายต่ า ง
ประเทศของหลายประเทศทีม
่ ีนิติสัมพันธ์กับกฎหมายนัน
้ ๆ แต่ใน
บางครัง้ ก็มีการนำาขูอตกลงระหว่างประเทศทีเ่ กีย
่ วกับหลักเกณฑ์
163

การขัด กันแห่งกฎหมายมาใชู ภายในรั ฐ หากรั ฐ เป็ นค่้ ภาคี ใ นขู อ


ตกลงระหว่างประเทศนัน
้ ๆ ดังนัน
้ หลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกัน
แห่งกฎหมายจึงเป็ นกฎหมายภายใน หากแต่ว่ามีขูอตกลงระหว่าง
ประเทศหรือหลักกฎหมายทัว
่ ไปในดูานหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัด
กันแห่งกฎหมายมาใชูบังคับดูวย
3. หลักเกณฑ์และการปรับใชูพระราชบัญญัติว่าดูวยการขัดกัน

แห่งกฎหมายเป็ นเรื่องทีก
่ ฎหมายกำา หนด กฎหมายทีจ
่ ะใชูบังคับ
กับนิติสัมพันธ์ทางดูานแพ่งและพาณิชย์ประเภทต่างๆ เอาไวู โดย
ศาล จ ะ เป็ นผู้ ป รั บ ใ ชู พ ร ะ ร า ช บั ญญั ติ ว่ า ดู ว ยก าร ขั ด กั น แ ห่ ง
กฎหมาย

13.1 วิวัฒนาการและแนวคิดเกีย
่ วกับการขัดกันแห่ง
กฎหมาย
1. วิวัฒนาการของวิธีการแกูไขการขัดกันแห่งกฎหมาย เป็ นไป
ตามแนวความคิดของนักปราชญ์แต่ละสมัย เริม
่ ตูนตัง้ แต่การใชู
กฎหมายบังคับในดินแดนในยุคโรมัน การใชูกฎหมายบังคับตาม
ตัวบุคคลในสมัยกลาง การใชูกฎหมายบังคับตามลักษณะของนิติ
สัมพันธ์ตามทฤษฎี สตาติวท์และทฤษฎีการใชูวิธีการสากลหรือ
ทฤษฎีการใชูดุลพินิจของแต่ละรัฐในสมัยปั จจุบัน
2. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลเป็ นกฎเกณฑ์ทีใ่ ชู

ในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนต่อเอกชนทีม
่ ีจุดเกาะเกีย
่ วของนิติ
สัมพันธ์กับกฎหมายระบบในความสัมพันธ์ทางแพ่งและพาณิ ชย์
รวมถึง กฎเกณฑ์ ที ก
่ ำา หนดสิ ท ธิ แ ละหนู า ที ข
่ องคนต่ า งดู า วในดิ น
แดนของรัฐอีกรัฐหนึ่ง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
164

เป็ นกฎหมายภายใน ซึ่ง ครอบคลุ ม ถึ ง เรื่อ งสั ญ ชาติ การขั ด กั น


แห่ ง กฎหมายเรื่ อ งสิ ท ธิ แ ละฐานะของคนต่ า งดู า ว และการ
พิจารณาแผนกเอกชนระหว่างประเทศ
3. หลักเกณฑ์ทัว
่ ไปว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมายมีขึน
้ เพื่อใชู
หากฎหมายต่ า งประเทศที ่จ ะนำา มาใชู กั บ นิ ติ สั ม พั น ธ์ ที ่มี อ งค์
ประกอบต่างชาติ หลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมายมิไดู
เป็ นกฎหมาย สบั ญ ญั ติ แ ต่ เ ป็ นกฎหมายสารบั ญ ญั ติ ที เ่ กี ย
่ วกั บ
ความสัมพันธ์ทางดูานแพ่งและพาณิชย์
4. วิธีก ารแกูไ ขการขั ดกั นแห่ ง กฎหมายในศตวรรษที ่ 19 และ

20 สามารถแบ่ ง ออกไดู เ ป็ น 2 วิ ธี คื อ วิ ธี ข องทฤษฎี ฝ่ ายสากล


นิ ยม และวิ ธีของทฤษฎีฝ่ ายดิน แดนนิย ม ทฤษฎีฝ่ ายสากลนิ ย ม
ถือว่า วิธีการแกูไขการขัดกันแห่งกฎหมายควรสอดคลูองกับวิธี
การที เ่ ป็ นสากล มิ ใ ช่ เ ป็ นเรื่ อ งของแต่ ล ะรั ฐ ที จ
่ ะบั ญ ญั ติ วิ ธี ก าร
ตามอำา เภอใจ ส่ ว นทฤษฎี ฝ่ ายดิ น แดนนิ ย มถื อ ว่ า วิ ธี ก ารแกู ไ ข
การขัดกันแห่งกฎหมายเป็ นเรื่องทีข
่ ึน
้ อย่้กับดุลพินิจของรัฐแต่ละ
รัฐ

13.1.1 วิวัฒนาการเกีย
่ วกับการขัดกันแห่งกฎหมาย
อธิบายวิธก
ี ารแกูไขการขัดกันแห่งกฎหมายในสมัยโรมัน
และสมัยกลาง
ในสมัยโรมัน โรมัน แกูไขการขั ดกัน แห่งกฎหมายดู ว ยการ
ออกกฎหมายที ่เ รี ย กว่ า จ้ ส เจนติ อุ ม () เพื่ อ ใชู บั ง คั บ แก่ นิ ติ
สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งคนต่ า งชาติ ที อ
่ ย่้ ภ ายใตู ก ารปกครองของโรม
ส่วนในสมัยกลางใชูหลักเรือ
่ งกฎหมายติดตามบุคคล หมายความ
165

ว่ า บุ ค คลต่ า งนครรั ฐ หากมี นิ ติ สั ม พั น ธ์ ท างแพ่ ง หรื อ พาณิ ช ย์ ก็


ย่อมตูองพิจารณาตามกฎหมายแห่งนครรัฐทีต
่ นสังกัด

13.1.2 ขอบเขตของการใชูหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกัน
แห่งกฎหมาย
ระบุขอบเขตของการใชูหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่ง
กฎหมาย
องค์ประกอบของนิติสัมพันธ์ทีจ
่ ะตกอย่้ภายใตูหลักเกณฑ์ว่า
ดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย จะมีอย่้ 3 ลักษณะ คือ นิติสัมพันธ์
ทีม
่ ีองค์ประกอบต่างชาติ นิติสัมพันธ์ระหว่างเอกชน นิติสัมพันธ์
ทางแพ่งหรือพาณิชย์ หากมีลักษณะเป็ นนิติสัมพันธ์อย่างอืน
่ นอก
เหนือจากทีก
่ ล่าวมา จะไม่ตกอย่้ภายใตูหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัด
กันแห่งกฎหมาย

13.1.3 ลักษณะของหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่ง
กฎหมาย หรือกฎหมายขัดกัน
ระบุลักษณะของหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย
หลั ก เกณฑ์ ว่ า ดู ว ยการขั ด กั น แห่ ง กฎหมาย เป็ นกฎหมาย
สาร บั ญ ญั ติ ป ร ะเภ ทห นึ่ ง ที ่ เ กี ่ ย ว ขู อ ง กั บ นิ ติ สั ม พั นธ์ ที ่ มี อ ง ค์
ประกอบต่างชาติ

ระบุวัตถุประสงค์ของหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่ง
กฎหมาย
วัตถุประสงค์ของหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย
คือ การหากฎหมายต่างชาติทีเ่ กีย
่ วขูองมาใชูบงั คับ
166

13.1.4 แนวทฤษฎีเกีย
่ วกับวิธีการแกูไขการขัดกันแห่ง
กฎหมายในศตวรรษที ่ 19 และ 20
ระบุทฤษฎีทีใ่ ชูแกูไขการขัดกันแห่งกฎหมาย ในศตวรรษที ่
19 และ 20
ทฤษฎีทีใ่ ชูในการแกูไขการขัดกันแห่งกฎหมายในศตวรรษ
ที ่ 19 และ 20 ไดู แ ก่ ทฤษฎี ฝ่ ายสากลนิ ย มและทฤษฎี ฝ่ ายดิ น
แดนนิ ย ม ทฤษฎี ฝ่ ายสากลนิ ย มถื อ ว่ า วิ ธี ก ารแกู ไ ขการขั ด กั น
แห่งกฎหมายควรสอดคลูองกับวิธีการทีเ่ ป็ นสากล มิใช่เป็ นเรื่อง
ของแต่ละรั ฐที จ
่ ะบัญญั ติวิธี การแกู ไขตามอำา เภอใจ ส่ ว นทฤษฎี
ฝ่ ายดิ น แดนนิ ย มถื อ ว่ า กฎหมายภายในย่ อ มมี อำา นาจ บั ง คั บ
บั ญ ชาภายในดิ น แดนของรั ฐ เสมอ แต่ ก ารนำา เอากฎหมายต่ า ง
ประเทศเขูามาใชูเป็ นเรื่องทีอ
่ ย่้ในดุลพินิจของศาล หรือของเจูา
พนักงานฝ่ ายบริหาร

13.2 หลักเกณฑ์ทว
ั่ ไปเกีย
่ วกับการแก้ไขการขัดกันแห่ง
กฎหมาย
1. นิ ติ สั ม พั น ธ์ ที ่มี อ งค์ ป ระกอบต่ า งชาติ หมายความถึ ง นิ ติ

สั ม พั น ธ์ ใ นทางแพ่ ง และพาณิ ช ย์ ที ่มิ ไ ดู ต กอย่้ ภ ายใตู ก ฎหมาย


ภายในประเทศเดี ย ว แต่ ไ ดู ต กอย่้ ภ ายใตู ก ฎหมายภายในของ
หลายประเทศซึง่ เขูามามีส่วนเกีย
่ วกับนิติสัมพันธ์นัน
้ โดยอาศัยจุด
เกาะเกี ่ย วต่ า งๆ (Connecting Points) เช่ น สั ญ ชาติ ภ้ มิ ลำา เนา
สถานทีท
่ ีท
่ รัพย์ตัง้ อย่้ เป็ นตูน
167

2. เมื่อ มี ก ารขั ด กั น แห่ ง นิ ติ ทั ศ น์ กล่ า วคื อ กฎหมายภายในที ่

เกีย
่ วขูองใหูลักษณะทางกฎหมายกับขูอเท็จจริงเดียวกันแตกต่าง
กั น ออกไป จึ ง จำา เป็ นตู อ งมี ก ารแกู ไ ขโดยใชู ห ลั ก Lex Fori, Lex
Causae, Lex Universali แลูวแต่กรณี
3. การยูอนส่งเกิดจากการขัดกันของจุดเกาะเกีย
่ ว ทีบ
่ ัญญัติไวู
ในหลั ก เกณฑ์ ก ารขั ด กั น แห่ ง กฎหมายที เ่ ขู า มาเกี ย
่ วขู อ งกั บ นิ ติ
้ ๆ การยูอนส่งมี 2 ประเภทคือ การยูอนส่งกลับและ
สัมพันธ์นัน
การยูอนส่งต่อไป
4. การขัดกันแห่งการเคลือ
่ นไหวของจุดเกาะเกีย
่ ว หมายความ
ถึงจุดเกาะเกีย
่ ว ของนิติสัมพันธ์มีการเคลือ
่ นไหวหรือยูายไปเกาะ
เกีย
่ วกับกฎหมายภายในของหลายประเทศ จึงตูองมีการกำาหนด
จุดเกาะเกีย
่ วใดจุดเกาะเกีย
่ วหนึง่ ใหูชัดเจน
5. การพิ ส้จ น์ ก ฎหมายต่ า งประเทศนั ้น ความคิ ด ของประเทศ

ต่างๆ เกีย
่ วกับการนำา เอากฎหมายต่างประเทศมาใชูบังคับย่อม
แตกต่างกัน แต่พอสรุปไดู 3 แนวทาง คือ แนวความคิดของแอง
โกลแซกซอน แนวความคิดอิตาลี และแนวความคิดฝรัง่ เศส
6. หลักความสงบเรียบรูอยและศีลธรรมอันดีของประชาชนใน

ทรรศนะของหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย เป็ นเรื่อง


การปฏิเสธการนำากฎหมายต่างประเทศมาบังคับใชู

13.2.1 การพิจารณานิติสัมพันธ์มีองค์ประกอบต่างชาติ
ยกตัวอย่างนิติสัมพันธ์ทีม
่ ีองค์ประกอบต่างชาติทีเ่ ขูามา
เกีย
่ วขูองในความสัมพันธ์ทางแพ่งและพาณิชย์
168

่ ่ ุน ทัง้ 2 คนไปทำา
นาย ก. คนไทยกู้ยืมเงินนาง ข. คนญีป
สัญญาทีป
่ ระเทศพม่า นาย ก. และนาง ข. มีภ้มิลำาเนาใน
ประเทศไทย จึงนำาคดีส่้ศาลไทย คดีมอ
ี งค์ประกอบต่างชาติ
เพราะการกู้ยืมเงินเกีย
่ วขูองกับกฎหมายไทย ญีป
่ ่ ุน พม่า นิติ
้ กอย่้ภายใตูกฎหมายภายในถึง 3 ประเทศ จึง
สัมพันธ์ประเภทนีต
ถือว่านิติสัมพันธ์มีองค์ประกอบต่างชาติ

13.2.2 การใหูลักษณะกฎหมายกับขูอเท็จจริง
การใชูลก
ั ษณะกฎหมายแก่ขูอเท็จจริงมีกีว
่ ิธี
การใหูลักษณะกฎหมายแก่ขูอเท็จจริง มีอย่้ดูวยกัน 3 วิธี
คือ
1. ก าร ใหู ลั ก ษ ณะก ฎ ห ม ายแ ก่ ขู อ เ ท็ จ จ ริ ง โ ด ย ก าร ใ ชู

กฎหมายของประเทศทีศ ่ ัง้ อย่้ (Lex fori)


่ าลซึง่ พิจารณาคดีทีต
2. ก าร ใหู ลั ก ษ ณะก ฎ ห ม ายแ ก่ ขู อ เ ท็ จ จ ริ ง โ ด ย ก าร ใ ชู

กฎหมายของประเทศทีจ ้ เอง (Lex causae)


่ ะใชูบังคับแก่คดีนัน
3. การใหู ลั ก ษณะกฎหมายแก่ ขู อ เท็ จ จริ ง โดยการใชู แ นว

ความคิดแห่งหลักสากลของกฎหมาย (Lex universali)

13.2.3 การยูอนส่ง (Renvoi)


อธิบายการยูอนส่งโดยสังเขป
การยู อ นส่ ง คื อ การที บ
่ ทบั ญ ญั ติ ข องกฎหมายว่ า ดู ว ยการ
ขัดกันของกฎหมายของประเทศหนึ่งกำา หนดใหู ใชูก ฎหมายของ
อีกประเทศหนึง่ แต่กฎหมายของประเทศหลังนีย
้ ูอนส่งกลับมาใหู
169

ใชูกฎหมายของประเทศของประเทศแรก (ยูอนส่งกลับ) หรือยูอน


่ ามบังคับแก่กรณี (ยูอนส่งต่อไป)
ส่งไปใชูกฎหมายของประเทศทีส

13.2.4 การขัดกันแห่งการเคลือ
่ นไหวของจุดเกาะเกีย
่ ว
(Conflict Mobile)
อธิบายความหมายการขัดกันแห่งการเคลือ
่ นไหวของจุด
เกาะเกีย
่ วพอสังเขป
จุดเกาะเกีย
่ ว คือจุดทีเ่ กีย
่ วขูองกับกฎหมายภายในของต่าง
ประเทศ จุดเกาะเกีย
่ วนีม
้ ีการเคลือ
่ นไหวไดู ปั ญหาคือจะตูองเอา
จุ ด เกาะเกี ย
่ วในขณะใด เช่ น สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ มี ก ารเคลื่ อ นไหว
ขณะฟู องคดี ท รั พ ย์ อ ย่้ ใ นประเทศไทย ภายหลั ง การฟู องคดี
เจู า ของไดู นำา ทรั พ ย์ ไ ปต่ า งประเทศ ดั ง นั ้น จึ ง เห็ น ไดู ว่ า มี ก าร
เคลือ
่ นไหวของจุดเกาะเกีย
่ วคือสถานทีท
่ ีท
่ รัพย์ตัง้ อย่้

13.2.5 การพิส้จน์กฎหมายต่างประเทศ
อธิบายพืน
้ ฐานทางทฤษฎีเกีย
่ วกับการนำาเอากฎหมายต่าง
ประเทศมาใชูบังคับ
พืน
้ ฐานทางทฤษฎีเกีย
่ วกับการนำาเอากฎหมายต่างประเทศ
มาใชูบั ง คั บ มี 3 แนวทางคือแนวความคิ ด ของแองโกลแซกซอน
แนวความคิดของอิตาลี และแนวความคิดฝรัง่ เศส

13.2.6 หลักความสงบเรียบรูอยและศิลธรรมอันดีของ
ประชาชน
170

อธิบายหนูาทีข
่ องกฎหมายทีเ่ กีย
่ วพันกับความสงบเรียบรูอย
และศีลธรรมอันดีของประชาชนตามกฎหมายระหว่างประเทศ
แผนกคดีบุคคล
หนูาทีข
่ องกฎหมายทีเ่ กีย
่ วพันกับความสงบเรียบรูอย และ
ศีลธรรมอันดีของประชาชนในความหมายของกฎหมายระหว่าง
ประเทศแผนกคดีบุคคลคือ ขูอจำา กัดในการนำา เอากฎหมายต่าง
ประเทศมาใชูบังคับ

13.2.7 การเลีย
่ งกฎหมาย
ระบุตัวอย่างการเลีย
่ งกฎหมาย
นาย ก. ประสงค์จะทำางานในประเทศฝรัง่ เศส นาย ก. เป็ น
คนไทยเห็นว่าการจะขอบัตรทำางานในประเทศฝรัง่ เศสไดูนัน
้ ตูอง
แต่งงานกับชาวฝรัง่ เศส นาย ก. จึงหาผู้หญิงฝรัง่ เศสมาแต่งงาน
ดูวย โดยไม่มีความประสงค์จะสมรสกันอย่างจริงจัง ต่อมาภาย
หลัง นาย ก. ไดูรับบัตรทำางาน ดังนี ้ ถือว่าการสมรสเกิดขึน
้ โดย
การเลีย
่ งกฎหมาย

13.3 หลักเกณฑ์และการปรับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วย
การขัดกันแห่งกฎหมาย
1. หลั ก เกณฑ์ ว่ า ดู ว ยการขั ด กั น แห่ ง กฎหมายย่ อ มเป็ นไป

ตามพระราชบัญญัติว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ. 2481


2. หลัก เกณฑ์ว่า ดูว ยการขั ดกัน แห่ง กฎหมายว่ าดู ว ยบุค คล มี

การใชูสัญชาติเป็ นจุดเกาะเกีย
่ ว
171

3. หลัก เกณฑ์ว่าดูว ยการขัดกันแห่งกฎหมายว่ าดู ว นหนี ้ หาก

เป็ นหนี เ้ กิ ด จากม้ ล สั ญ ญาโดยหลั ก แลู ว ใหู ใ ชู เ จตนารมณ์ ข องค่้


กรณี แต่ ถู า หนี เ้ กิ ด จากม้ ล ละเมิ ด โดยหลั ก จะใชู ก ฎหมายของ
สถานทีท
่ ีม
่ ้ลละเมิดเกิดขึน
้ เป็ นจุดเกาะเกีย
่ ว
4. หลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมายว่าดูวยทรัพย์ โดย
หลักแลูวจุดเกาะเกีย
่ วคือสถานทีท
่ ีท
่ รัพย์นัน
้ ตัง้ อย่้
5. หลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมายว่าดูวยครอบครัว

นั ้ น จะตู อ งแบ่ ง ประเภทของนิ ติ สั ม พั น ธ์ ถู า เป็ นเรื่ อ งความ


สามารถในการหมั ้น การสมรสใหู เ ป็ นไปตามเรื่อ งสั ญ ชาติ ถู า
เป็ นเรื่ อ งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสามี ภ รรยา จุ ด เกาะเกี ่ย วคื อ
สั ญชาติ ร่ว มกั น หากไม่ มี สัญ ชาติ ร่ ว มกั น ใหู ใ ชู สัญ ชาติ ข องสามี
ถูาเป็ นเรื่องการเพิกถอนและการสิน
้ สุดของการสมรส มีจุดเกาะ
เกีย
่ วกับกฎหมายทีบ
่ ังคับเกี ย
่ วกั บการสมรส แต่ หากว่า เหตุข อง
การเพิกถอนการสมรสเกิดจากความสำา คั ญผิ ด กลฉูอฉล ข่ มข่้
ใหูเป็ นไปตามกฎหมายแห่งถิน
่ ทีม
่ ีการสมรสเกิดขึน

6. สิทธิหนูาทีร
่ ะหว่างบิดามารดาและบุตร โดยหลักใหูเป็ นไป
ตามสัญชาติของบิดา กรณีทีบ
่ ุตรเกิดจากมารดาทีไ่ ม่ไดูสมรสกับ
บิดา ใหูเป็ นไปตามสัญชาติของมารดา
7. หลั ก เกณฑ์ ว่ า ดู ว ยการขั ด กั น แห่ ง กฎหมายเป็ นหลั ก เกณฑ์
กฎหมายสารบัญญัติ จึงตูองศึกษาคำาพิพากษาฎีกา คือด้แลการ
ปรับใชูหลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย

13.3.1 หลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมายตามพ
ระราชบัญญัติว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย
172

พระราชบัญญัติว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ. 2481


กำา หนดเงื่ อ นไขในการที ่จ ะสั่ ง ใหู ค นต่ า งดู า วนั ้ น อย่้ ใ นความ
อนุบาล หรืออย่้ในความพิทักษ์ไวูอย่างไร
มาตรา 12 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ดู ว ยการขั ด กั น แห่ ง
กฎหมาย พ.ศ. 2481 บั ญ ญั ติ ว่ า “เหตุ ที ศ
่ าลสยามจะสั่ ง ใหู ค น
ต่างดูาวซึ่งมีภ้มิ ลำา เนาหรื อถิ น
่ ที อ
่ ย่้ ในประเทศสยามอย่้ ในความ
อนุ บ าลหรื อ อย่้ ใ นความพิ ทั ก ษ์ ไ ดู นั ้ น ใหู เ ป็ นไปตามกฎหมาย
สัญชาติของบุคคลนัน
้ อย่างไรก็ดีมิใหูศาลสยามสัง่ ใหูบุคคลเช่น
ว่านัน
้ อย่้ในความอนุบาลหรืออย่้ในความพิทักษ์ โดยอาศัยเหตุซึง่
กฎหมายสยามมิยอมใหูกระทำาไดู
ผลการใหูอ ย่้ ใ นความอนุ บ าลหรื อ ใหู อ ย่้ ใ นความพิ ทั ก ษ์ ดั ง
กล่ า วแลู ว ใหู เ ป็ นไปตามกฎหมายของประเทศซึ่ ง ศาลไดู สั่ง ใหู
บุ ค คลเช่ น ว่ า นั ้ น เป็ นผู้ ไ รู ค วามสามารถหรื อ เสมื อ นไรู ค วาม
สามารถสังกัดอย่้”

กรณี ใ ดที ห
่ นี เ้ กิ ด จากม้ ล สั ญ ญา อาจตกอย่้ ภ ายใตู ม าตรา
13 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ดู ว ยการขั ด กั น แห่ ง กฎหมาย พ.ศ.
2481
หนีท ่ กอย่้ภายใตูมาตรา 13 แห่งพระ
้ ีเ่ กิดจากม้ลสัญญาทีต
ราชบัญญัติว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ. 2481 คือ หนีท
้ ี่
เกิ ด จากม้ ล สั ญ ญาระหว่ า งประเทศ สั ญ ญาระหว่ า งประเทศ
หมายความถึงสัญญาทีม
่ ีองค์ประกอบต่างชาติและมีจุดเกาะเกีย
่ ว
กั บ กฎหมายภายในหลายประเทศเขู า มามี ส่ ว นกำา หนดความ
สัมพันธ์ทางแพ่งและพาณิชย์ในร้ปของสัญญา
173

อธิ บ ายหลั ก ในการพิ จ ารณาคดี ก รณี เ กิ ด ปั ญหาต่ า งๆ ใน


เรือ
่ งละเมิดของประเทศไทย
จุดเกาะเกี ย
่ วทีจ
่ ะหากฎหมายมาใชูบั งคั บกั บเรื่องละเมิ ดก็
คื อ กฎหมายของประเทศที ก
่ ารละเมิ ด นั ้น ไดู เ กิ ด ขึ้ น แต่ ก าร
ละเมิดจะตูองเป็ นการละเมิดตามกฎหมายไทยดูวย ศาลไทยจึง
จะยอมรั บ บั ง คั บ ใหู ต ามมาตรา 15 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ดู ว ย
การขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ. 2481

ยกตัว อย่ างกรณี ที เ่ กิ ด ปั ญหาเกี ย


่ วกั บ อสั งหาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ง
จะตูองใชูกฎหมายแห่งถิน
่ ทีท ้ ตัง้ อย่้มาบังคับกรณี สัก 3
่ รัพย์นัน
กรณี
ตั วอย่างว่าดูว ยกรณีที เ่ กิ ด ปั ญหาเกี ย
่ วกั บ อสั งหาริ ม ทรั พ ย์
ซึ่งจะตู องใชูกฎหมายแห่ง ถิน
่ ที ท ้ ตั ง้ อย่้ ม าบั ง คั บ 3 กรณี
่ รั พ ย์ นั น
คือ
1. กรณีเกิดปั ญหาว่าทรัพย์ใดเป็ นอสังหาริมทรัพย์
2. กรณี ที เ่ กิ ด ปั ญหาเรื่ อ งทรั พ ย์ สิ ท ธิ ห รื อ กรรมสิ ท ธิ อ
์ ื่ น ใด
เกีย
่ วกับอสังหาริมทรัพย์นัน

3. ก ร ณี ที ่ เ กิ ด ปั ญ ห า เ รื่ อ ง สิ ท ธิ ค ร อ บ ค ร อ ง เ กี ่ ย ว กั บ
อสังหาริมทรัพย์นัน

อธิบายหลักใหญ่ ๆ ในการพิ จารณากรณีเกิ ดปั ญหาต่ างๆ


ว่าดูวยสังหาริมทรัพย์
หลั ก ใหญ่ ใ นการพิ จ ารณากรณี เ กิ ด ปั ญหาต่ า งๆ ว่ า ดู ว ย
สังหาริมทรัพย์คือ ใหูใชูกฎหมายแห่งถิน
่ ทีส
่ ังหาริมทรัพย์นัน
้ ตัง้
174

อย่้เป็ นหลักพิจารณา รวมทัง้ ปั ญหาเรื่องสิทธิครอบครองทัง้ หมด


ก็ ใ หู ใ ชู ก ฎหมายแห่ ง ถิ น
่ ที ส
่ ั ง หาริ ม ทรั พ ย์ นั ้น ตั ้ง อย่้ ข ณะที ม
่ ี ก าร
ครอบครองทรัพย์นัน
้ เป็ นหลักพิจารณาเช่นกัน

อธิบายหลักเกณฑ์และจุดเกาะเกีย
่ วในเรือ
่ งการสมรส
ในเรื่องการสมรสความสามารถในการสมรส และเงื่อนไข
ในการสมรส ใหู เ ป็ นไปตามกฎหมายสั ญ ชาติ ข องแต่ ล ะฝ่ าย
(มาตรา 19) ส่ ว นแบบในการสมรสใหู เ ป็ นไปตามกฎหมายแห่ ง
ประเทศทีก
่ ารสมรสนัน
้ นัน
้ ไดูเกิดขึน

อธิ บ ายความหมายของความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสามี แ ละ


ภรรยา
ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสามี ภ รรยาไดู แ ก่ ก ารช่ ว ยเหลื อ
อุปการะเลีย
้ งด้กัน การอย่้ดูวยกันฉันสามีภรรยาซึง่ ในเรื่องนีต
้ ูอ ง
พิจารณาขอบข่ายของความสั มพั นธ์ ระหว่ างสามี ภรรยา ตามที ่
ปรากฏในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

อธิ บ ายหลั ก เกณฑ์ แ ละจุ ด เกาะเกี ย


่ วในเรื่ อ งการเพิ ก ถอน
การสมรส
ในเรื่องการเพิกถอนสมรส จุดเกาะเกีย
่ วอย่้ทีก
่ ฎหมายทีใ่ ชู
บั ง คั บ ตามเงื่ อ นไขการสมรสแต่ ถู า เป็ นกรณี ที เ่ หตุ ข องการเพิ ก
ถอนการสมรสเกิดจากความสำา คัญผิด กลฉูอฉล หรือการข่มข่้
ใหูเป็ นไปตามกฎหมายแห่งถิน
่ ทีไ่ ดูทำาการสมรส
175

อธิ บ ายหลั ก ในการพิ จ ารณากรณี ที เ่ กิ ด ปั ญหาว่ า ทายาท


ลำา ดั บ ใ ด แ ล ะ ค น ใ ด บู า ง จ ะ มี สิ ท ธิ ไ ดู รั บ ม ร ด ก อั น เ ป็ น
อสังหาริมทรัพย์
ในการเกิ ด ปั ญหาว่ า ทายาทลำา ดั บ ใด และคนใดบู า งจะมี
สิ ท ธิ ไ ดู รั บ มรดกอั น เป็ นอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ง เป็ นเรื่อ งการรั บ
ม ร ด ก ใ น ฐ า น ะ เ ป็ น ท า ย า ท ต า ม ก ฎ ห ม า ย อั น เ กี ่ ย ว กั บ
้ มาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติว่าดูวยการ
อสังหาริมทรัพย์นัน
ขั ด กั น แห่ ง กฎหมาย พ.ศ. 2481 วางหลั ก กำา หนดไวู ว่ า ใหู ใ ชู
กฎหมายแห่งถิน
่ ทีท
่ รัพย์สินนัน
้ อย่้บังคับในกรณีทีเ่ กิดปั ญหาดัง
กล่าว

13.3.2 การปรับใชูพระราชบัญญัติว่าดูวยการขัดกันแห่ง
กฎหมาย
********************************

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 13
1. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลมีลักษณะเป็ น กฎหมาย
ภายใน
2. คำาว่า “องค์ประกอบต่างชาติ” หมายความว่า นิติสัมพันธ์เกีย
่ วพันกับ
กฎหมายภายในหลายระบบ
3. กฎหมายภายในของรัฐทีก
่ ำาหนดหลักเกณฑ์เกีย
่ วกับสัญชาติเรียกว่า
กฎหมายว่าดูวยสัญชาติ
4. กฎหมายของประเทศทีท
่ ำาการพิจารณาคดีเรียกชือ
่ เป็ นภาษาลาตินว่า
Lex fori
176

5. ด้ม้แลง เป็ นบุคคลทีส


่ ังกัดอย่้ในทฤษฎี สตาติวท์ สำานักฝรัง่ เศส
6. บิลเล่ต์ เป็ นบุคคลทีไ่ ดูแยกกฎหมายออกเป็ น 2 ลักษณะคือ
กฎหมายทีม
่ ีลักษณะบังคับใชูทัว
่ ไป กับกฎหมายทีม
่ ีลักษณะการบังคับต่อ
เนือ
่ งเพือ
่ ประโยชน์ในการหากฎหมายทีจ
่ ะนำามาใชูกับนิติสัมพันธ์
7. วิธีขจัดการขัดกันแห่งกฎหมายย่อมมีลำาดับขัน
้ ตอน ขัน
้ ตอนทีถ
่ ้กตูอง
ในการขจัดการขัดกัน แห่งกฎหมายไดู แ ก่ นิติสัมพันธ์มีองค์ประกอบต่า ง
ชาติ การใหูลักษณะทางกฎหมายแก่ขูอเท็จจริง การเลีย
่ งกฎหมาย
8. กฎหมายภายในของแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน เป็ นสาเหตุแห่งการ
ยูอนส่ง
9. การยูอนส่ง หมายความว่า ก) กฎหมายขัดกันของประเทศหนึง่ ยูอน
ไปใหูใชูกฎหมายภายในของประเทศหนึ่ง แต่กฎหมายขัดกันของประเทศ
หลั ง ยู อ นส่ ง มาใหู ใ ชู ก ฎหมายของประเทศแรก 2) กฎหมายขั ด กั น ของ
ประเทศหนึง่ ยูอนไปใหูใชูกฎหมายภายในของประเทศหนึง่ แต่กฎหมายขัด
กันของประเทศหลังยูอนส่งมาใหูใชูกฎหมายของประเทศที ่ 3
10. คำา ว่ า “ ค ว า ม ส ง บ เ รี ย บ รู อ ย ห รื อ ศี ล ธ ร ร ม อั น ดี ง า ม ข อ ง
ประชาชน” ในความหมายของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
หมายความถึ ง วิ ธี ก ารจำา กั ด การใชู ก ฎหมายว่ า ดู ว ยความสงบเรี ย บรู อ ย
หรือศีลธรรมอันดีงามของประชาชน
11. คำา ว่า “กฎหมายต่างประเทศ” ในความหมายของหลักเกณฑ์
ว่าดูวยการขัดกันแห่งกฎหมาย หมายความถึง กฎหมายภายในรัฐอืน

12. ทฤษฎี ปั จจุ บั น ที ว
่ ่ า ดู ว ยการขจั ด การขั ด กั น แห่ ง กฎหมายใน
ศตวรรษที ่ 19 และ 20 คือ ทฤษฎีฝ่ายสากลนิยม และทฤษฎีฝ่ายดินแดน
นิยม
13. คำา ว่ า Locus Regit Actum หมายความถึ ง กฎหมายทู อ งถิ ่น
บังคับนิติกรรม
177

14. ก า ร ใ ชู ลั ก ษ ณ ะ ก ฎ ห ม า ย แ ก่ ขู อ เ ท็ จ จ ริ ง ข อ ง ไ ท ย ใ ชู ห ลั ก
่ ีอำานาจศาลพิจารณาพิพากษาคดีตัง้ อย่้ (Lex fori)
กฎหมายของประเทศทีม
15. สาเหตุแห่งการยูอนส่งไดูแก่ 1) ความไม่นอนของหลักเกณฑ์
แห่ ง การขั ด กั น แห่ ง กฎหมายเกี ย
่ วกั บ คำา ว่ า กฎหมายภายในหมายถึ ง
กฎหมายสารบัญญัติอย่างเดียว หรือหมายความถึงหลักเกณฑ์แห่งการขัด
กั น แห่ ง กฎหมายดู ว ย 2) กฎหมายว่ า ดู ว ยการขั ด กั น แห่ ง กฎหมายไม่
เหมือนกันในแต่ละประเทศ

หน่ ว ยที ่ 14 การขั ด กั น แห่ ง เขตอำา นาจศาลและการ


ยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ

1. การขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล มิไดูหมายถึงกฎหมายภายใน

ทีเ่ กีย
่ วกับเขตอำานาจศาล แต่ละประเทศแตกต่างกัน แต่หมายความ
ถึงกฎหมายภายในของแต่ละประเทศจะบัญญัติกฎเกณฑ์ทีเ่ กีย
่ ว
กั บ เขตอำา นาจศาลในคดี ที ม
่ ี อ งค์ ป ระกอบต่ า งชาติ เ อาไวู โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อหลีกเลีย
่ งการซำ้าซูอนกันของการใชูเขตอำา นาจ
ศาล อีก อย่ างหนึ่ง กฎหมายในเรื่อ งนี ป
้ ระสงค์ ที จ
่ ะกำา หนดเขต
อำานาจศาลในคดีทีพ
่ ัวพันองค์ประกอบต่างชาตินัน
้ เอง
2.ตามหลั ก อำา นาจอธิ ป ไตยแลู ว คำา พิ พ ากษาของประเทศใด
ย่อมมีขอบเขตการบังคับใชูภายในดินแดนของประเทศนัน
้ และ
ไม่มีผลโดยตรงในประเทศอื่น แต่ในความเป็ นจริงคนชาติของรัฐ
ต่ า งๆ ไดู มี ก ารติ ด ต่ อ สั ม พั น ธ์ กั น มากขึ้ น จึ ง จำา เป็ นตู อ งมี ก ฎ
178

เกณฑ์ ใ นการพิ จ ารณายอมรั บ และบั ง คั บ ตามคำา พิ พ ากษาต่ า ง


ประเทศ

14.1 การขัดกันแห่งเขตอำานาจ
1. การขัดกันแห่ง เขตอำา นาจศาลเป็ นเรื่อ งของกฎหมายสต่ าง

ประเทศ ที จ
่ ะบั ญญั ติว่ าศาลของประเทศนั ้น ๆ มี อำา นาจในการ
พิจารณาคดีทีเ่ กีย
่ วพันกับต่างประเทศมากนูอยเพียงใด ในขณะ
เดียวกันกฎหมายสบัญญัติของแต่ละประเทศก็จะหลีกเลีย
่ งไม่ใหู
ใชู เ ขตอำา นาจซู อ นกั น ในคดี ที ่มี ขู อ เท็ จ จริ ง เดี ย วกั น และโจทก์
จำาเลยเดียวกัน
2. เกณฑ์ในการพิจารณาเขตอำานาจของศาลไทยในคดีทีพ
่ ัวพัน
กับขูอเท็จจริงต่างประเทศ ไดูแก่ ภ้มิลำา เนา สถานทีท
่ ีท
่ รัพย์ตัง้
อย่้ สัญชาติโจทก์ สถานทีท
่ ีม
่ ้ลคดีเกิดขึน
้ เป็ นตูน
3. ค่้ ก รณี ส ามารถตกลงกั น นำา คดี ขึ้น ส่้ ศ าลไดู แต่ ศ าลจะรั บ
พิ จ ารณาพิ พ ากษาหรื อ ไม่ ขึ้น อย่้ กั บ กฎหมายสบั ญ ญั ติ ข องประ
เ ท ศ นั ้ น ๆ ปั จ จุ บั น ก ฎ ห ม า ย วิ ธี พิ จ า ร ณ า ค ว า ม แ พ่ ง ข อ ง
ประเทศไทยมิไดูกำาหนดถึงเขตอำา นาจศาลในกรณีทีค
่ ่้กรณีตกลง
ใหูใชูศาลไทย

14.1.1 สาเหตุและแนวคิดของการขัดกันแห่งเขตอำานาจ
ศาล
สาเหตุของการขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล
นาย ก. คนไทย ทำา สัญญายืมเงินจากนาย ข. คนสิงคโปร์
ทำาในประเทศพม่า นาย ข. ประสงค์จะฟูองเรียกเงินตามสัญญากู้
179

ยืมเงินจากนาย ก. นาย ข. จะฟูองคดีนีท


้ ีศ
่ าลสิงคโปร์ก็ไดู ศาล
ไทยก็ ไ ดู ศาลพม่ า ก็ ไ ดู หากคดี ขึ้น ส่้ ศ าลดั ง กล่ า ว ศาลก็ จ ะใชู
หลักเกณฑ์การขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล

14.1.2 เกณฑ์ในการพิจารณาเขตอำานาจของศาลไทยใน
คดีทีพ
่ ัวพันกับต่างประเทศ
ระบุเกณฑ์ทีใ่ ชูในการพิจารณาเขตอำานาจศาลไทยในคดีที ่
พัวพันกับต่างประเทศ
เกณฑ์ ที ใ่ ชู พิ จ ารณาเขตอำา นาจศาลไทยในคดี ที พ
่ ั ว พั น กั บ
ต่ า งประเทศคื อ ภ้ มิ ลำา เนาของจำา เลย สถานที ท
่ ี ่ท รั พ ย์ ตั ้ ง อย่้
สถานทีท
่ ีม
่ ้ลคดีเกิดขึน
้ สัญชาติของโจทก์ เป็ นตูน

14.1.3 ปั ญหาเกีย
่ วกับสิทธิของค่ก
้ รณีทีจ
่ ะตกลงกันเพือ

นำาคดีขึน
้ ส่้ศาล
แสดงความเห็นเกีย
่ วกับสิทธิของค่้กรณีทีต
่ กลงกันเพือ
่ จะนำา
คดีไปขึน
้ ศาล
ในกรณี ที ่ก ฎหมายไม่ ไ ดู กำา หนดเรื่ อ งนี ไ้ วู ใ นประมวลวิ ธี
พิจารณาความแพ่ง ค่้กรณีสามารถทีจ
่ ะตกลงกันเพื่อนำา คดีขึน
้ ส่้
ศาลไดู แต่ ศ าลจะรั บ พิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี นี ห
้ รื อ ไม่ คงจะตู อ ง
ขึ้น อย่้ กั บ เงื่อ นไขที ว
่ ่ า คดี นี ม
้ ี ค วามเกี ย
่ วพั น กั บ ประเทศไทยมาก
นูอยเพียงใด ถูาคดีไม่มีจุดเกาะเกีย
่ วกับประเทศไทยเลย ศาลก็
คงจะไม่พิจารณารับฟูอง

14.1.4 คำาพิพากษาเกีย
่ วกับเขตอำานาจศาลไทยในคดีทีม
่ ี
องค์ประกอบต่างชาติ
180

****************************************-

14.2 การยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
1.ตามหลั ก เกณฑ์ เ รื่ อ งอำา นาจอธิ ป ไตย คำา พิ พ ากษาของ
ประเทศไทยย่ อ มมี ข อบเขตการบั ง คั บ ใชู ภ ายในดิ น แดนของ
ประเทศนัน
้ เท่านัน
้ จะนำา ไปบังคับใหูรัฐอื่นไม่ไดู แต่ในความเป็ น
จริ ง ของสั ง คมโลกปั จจุ บั น คนชาติ ข องรั ฐ ต่ า งๆ ไดู มี ก ารติ ด ต่ อ
แ ล ะ ผ้ ก พั น กั น ม า ก ขึ้ น ปั ญ ห า ที ่ เ กิ ด จ า ก ก า ร บั ง คั บ ต า ม คำา
พิ พากษาย่ อมมีม ากขึ้น จึง จำา เป็ นที ร
่ ั ฐ ต่ า งๆ ตู องหั น มาร่ ว มมื อ
กันทีจ
่ ะจำากัดการใชูอำานาจอธิปไตยในการยอมรับและบังคับตาม
คำา พิ พ ากษาศาลต่ า งประเทศ เพื่ อ เอื้อ อำา นวยซึ่ ง กั น และกั น ใน
ระบบศาล
2.แนวความคิ ดพื้นฐานหรือ ทฤษฎี ที ร
่ องรั บ ความคิ ด เรื่องการ
ยอมรับและบังคับตามคำา พิพากษาศาลต่างประเทศย่อมแตกต่าง
กั น ซึ่ง พอสรุ ป ไดู คื อ แนวความคิ ด เรื่อ งอั ธ ยาศั ย ไมตรี ร ะหว่ า ง
ประเทศและหลักการถูอยทีถูอยปฏิบัติต่างตอบแทนแก่กัน แนว
ความคิดเรือ
่ งหลักแห่งพันธกรณี และแนวความคิดเรือ
่ งหลักสิทธิ
ทีไ่ ดูรับมาแลูว
3.โดยหลักคำาพิพากษาของศาลประเทศหนึง่ ย่อมไม่มีผลบังคับ
โดยตรงในอี ก ประเทศหนึ่ ง จึ ง จำา เป็ นตู อ งมี เ กณฑ์ ใ นการ
พิจารณาการยอมรับ และบังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
ซึ่ ง ประกอบ ดู ว ย ศาลต่ า งประเทศตู อ งมี อำา นาจศาลในการ
พิจารณาคดี คำาพิพากษาศาลต่างประเทศซึ่งประกอบดูวย ศาล
ต่ า งประเทศตู อ งมี อำา นาจศาลในการพิ จ ารณาคดี คำา พิ พ ากษา
181

ศาลต่ า งประเทศจะตู อ งถึ ง ที ส


่ ุ ด และเสร็ จ เด็ ด ขาด ถู า เป็ นคำา
พิ พ ากษาศาลต่ างประเทศจะตู อ งถึ ง ที ส
่ ุ ด และเสร็ จ เด็ ด ขาด ถู า
เป็ นคำา พิ พ ากษาศาลต่ า งประเทศเกี ย
่ วดู ว ยหนี เ้ หนื อ บุ ค คล คำา
พิ พ ากษานั ้น ตู อ งกำา หนดใหู ชำา ระหนี เ้ งิ น เป็ นจำา นวนที แ
่ น่ น อน
และเมือ
่ คำาพิพากษาศาลต่างประเทศมีองค์ประกอบครบถูวนตาม
หลักเกณฑ์ทีก
่ ล่าวแลูว คำาพิพากษาศาลต่างประเทศนัน
้ ก็จะมีผล
เด็ดขาดในประเทศทีไ่ ดูรับคำา รูองขอใหูยอมรับและบังคับตามคำา
พิ พ ากษานั ้น นอกจากนั ้น ศาลที ไ่ ดู รั บ คำา รู อ งขอยั ง มี อำา นาจ
ควบคุมการยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศไดู
อีกทางหนึง่
4.ประเทศไทยไม่มีกฎหมายหรือความตกลงระหว่างประเทศว่า
ดูวยการยอมรับและบังคับตามคำา พิพ ากษาศาลต่ างประเทศ จึง
จำาเป็ นตูองศึกษาเรือ
่ งการยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาศาล
ต่างประเทศของไทยจากคำาพิพากษาศาลฎีกา ซึง่ พบว่าศาลไทย
ไดูอูางอิงแนวความคิดหลักเกณฑ์และวิธีการของศาลอังกฤษมา
เป็ นหลักในการวินิจฉัยคดีดังกล่าว

14.2.1 สาเหตุ ข องการตู อ งมี ก ฎหมายเรื่ อ งการยอมรั บ


และบังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
ระบุ ส าเหตุ ข องการตู อ งมี ก ฎหมายเรื่อ งการยอมรั บ และ
การบังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
เนื่องจากโดยหลักเกณฑ์เรื่องอำา นาจอธิปไตย คำา พิพากษา
ของประเทศใดย่ อ มมี ข อบเขตการบั ง คั บ ใชู ภ ายในดิ น แดนของ
ประเทศนัน
้ เท่านัน
้ จะนำา ไปใชูบังคับในรัฐอื่นไม่ไดู แต่ความเป็ น
182

จริ ง ของสั ง คมโลกปั จจุ บั น คนชาติ ข องรั ฐ ต่ า งๆ ไดู มี ก ารติ ด ต่ อ


สือ
่ สารและผ้กสัมพันธ์กันมากขึน
้ ปั ญหาทีเ่ กิดจากการบังคับตาม
คำา พิ พ ากษาย่ อ มมี ม ากขึ้น จึง จำา เป็ นตู อ งมี รั ฐ ต่ า งๆ ตู อ งหั น มา
ร่ ว มมื อ กั น ที จ
่ ะจำา กั ด การใชู อำา นาจอธิ ป ไตยในการยอมรั บ และ
บังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ

14.2.2 ทฤษฎี ที ่ร องรั บ ความคิ ด เรื่ อ งการยอมรั บ และ


บังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
อ ธิ บ า ยพื้ น ฐ า นท า ง ท ฤ ษ ฎี ที ่ ร อ ง รั บ แ ล ะ บั ง คั บ ต า ม คำา
พิพากษาศาลต่างประเทศ
ทฤษฎีทีร
่ องรับความคิดเรื่องการยอมรับและบังคับตามคำา
พิ พ ากษาศาลต่ า งประเทศ ไดู แ ก่ หลั ก เรื่ อ งอั ธ ยาศั ย ไมตรี
ระหว่างประเทศและหลัก การถู อยทีถู อยปฏิ บัติต่า งตอบแทนแก่
กั น ห ลั ก แ ห่ ง พั น ธ ก ร ณี แ ล ะ ห ลั ก แ ห่ ง สิ ท ธิ ที ่ ไ ดู รั บ ม า แ ลู ว
หมายความถึงการทีป
่ ระเทศสองประเทศหรือหลายประเทศต่าง
ช่วยเหลือยอมรับและบังคับตามคำา พิพากษาของกันและกัน โดย
อาศั ย รากฐานมาจากแนวความคิ ด ในเรื่อ งหลั ก การปฏิ บั ติ ต่ า ง
ตอบแทนในลั ก ษณะที เ่ หมื อ นกั น หรื อ เท่ า เที ย มกั น สำา หรั บ หลั ก
แห่ ง พั น ธกรณี นั ้ น มี ส าระสำา คั ญ ว่ า คำา พิ พ ากษาของศาลต่ า ง
ประเทศทีม
่ ีอำานาจเหนือจำาเลยย่อมกำาหนดใหูจำาเลยมีหนูาทีห
่ รือ
ความผ้กพันทีจ
่ ะตูองชำาระหนีต
้ ามคำาพิพากษานัน
้ ซึง่ ศาลนัน
้ รวม
ถึ ง ศาลอื่นๆ ก็ ย่ อ มมี ความผ้ ก พั น ที จ
่ ะตู อ งบั ง คั บ ตามหนี แ
้ ห่ ง คำา
พิพากษานัน
้ ใหูดูวย ส่วนหลักแห่งสิทธิทีไ่ ดูรับมาแลูว เห็นว่าการ
ทีศ
่ าลของประเทศหนึง่ ประเทศใด ทำา การยอมรับและบังคับตาม
183

คำา พิ พ ากษาของศาลต่ า งประเทศนั ้น เป็ นเรื่อ งของการยอมรั บ


และบั ง คั บ ตามสิ ท ธิ ที ไ่ ดู รั บ มาแลู ว ตามคำา พิ พ ากษานั ้น หาใช่
เป็ นการยอมรับและบังคับตามคำา พิพ ากษาศาลต่ างประเทศโดย
ตัวของมันเองไม่

14.2.3 เกณฑ์ในการพิจารณาการยอมรับและบังคับตาม
คำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
เมื่ อ คำา พิ พ ากษาของศาลประเทศหนึ่ ง ย่ อ มไม่ มี ผ ลบั ง คั บ
โดยตรงในอีก ประเทศหนึ่ง อะไรคือ เกณฑ์ ใ นการพิ จ ารณาการ
ยอมรับและบังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
เก ณฑ์ ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า ก า ร ยอ ม รั บ แ ล ะ บั ง คั บ ต า ม คำา
พิพากษาศาลต่างประเทศ ประกอบดูวย 1) ศาลต่างประเทศตูอง
มี อำา นาจศาลในการพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี 2) คำา พิ พ ากษาศาล
ต่ า งประเทศจะตู อ งถึ ง ที ส
่ ุ ด และเสร็ จ เด็ ด ขาด 3) กรณี เ ป็ นคำา
พิ พ ากษาศาลต่ า งประเทศที เ่ กี ย
่ วขู อ งดู ว ยหนี เ้ หนื อ บุ ค คล คำา
พิพากษานัน ่ น่นอน และ 4)
้ ตูองกำาหนดใหูชำาระเงินเป็ นจำานวนทีแ
เมื่ อ คำา พิ พ ากษาศาลต่ า งประเทศมี อ งค์ ป ระกอบครบถู ว น คำา
พิ พ ากษาศาลต่ า งประเทศนั ้น ก็ จ ะมี ผ ลเด็ ด ขาดในประเทศที ไ่ ดู
รับคำา รูองขอใหูยอมรับและบังคับตามคำา พิพากษานัน
้ นอกจาก
้ 5) ศาลทีไ่ ดูรับคำา รูองขอยังมีอำา นาจควบคุมการยอมรับและ
นัน
บังคับตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศไดูอีกทางหนึง่

14.2.4 สถานะของไทยเกี ย
่ วกั บ การยอมรั บ และบั ง คั บ
ตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
184

อธิบายสถานะของไทยเกีย
่ วกับการยอมรับและบังคับตาม
คำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
ประเทศไทยไม่ มี ก ฎหมายเกี ย
่ วกับ การยอมรั บ และบั ง คั บ
ตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ ความตกลงระหว่างประเทศใน
เรื่ อ งนี ก
้ ็ ไ ม่ มี คำา พิ พ ากษาฎี ก าเกี ย ้ ี อ ย่้ เ พี ย ง 2 คำา
่ วกั บ เรื่ อ งนี ม
พิพากษาเท่านัน
้ ซึง่ ศาลไดูอูางอิงหลักการยอมรับและบังคับตาม
คำา พิ พ ากษาศาลต่ า งประเทศของศาลอั ง กฤษ ทั ้ง ในเรื่ อ งแนว
ความคิดหลักเกณฑ์และวิธีการ มาเป็ นหลักในการวินิจฉัยคดีดัง
กล่าว

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 14
1. หลักเกณฑ์ว่าดูวยการขัดกันแห่งเขตอำานาจศาลเป็ นกฎหมาย
ประเภท กฎหมาย สบัญญัติ
2. ผู้ บั ญ ญั ติ ก ฎหมายในเรื่อ งหลั ก เกณฑ์ ว่ า ดู ว ยการขั ด กั น แห่ ง อำา นาจ
ศาลจะตูองคำานึงถึงกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
ดู วย เพราะเขตอำา นาจศาลเป็ นเรื่อ งการใชูอำา นาจของฝ่ ายตุ ล าการ ซึ่ง
เป็ นส่ ว นหนึ่ง ของการใชู อำา นาจรั ฐ จึ ง ตู อ งใชู อ ย่้ ภ ายในกฎเกณฑ์ ข องกำา
หมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง เกีย
่ วกับการใชูอำานาจรัฐดูวย
3. การใชูอำานาจรัฐเหนือทรัพย์สิน ไม่ใช่ หลักการของการใชูอำานาจรัฐ
ตามกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
4. การใชูอำานาจรัฐเหนือบุคคลหมายความว่า 1) การใชูอำานาจรัฐเหนือ
คนชาติ 2) การใชูอำา นาจรัฐเหนือ เรื อที ช
่ ัก ธงหรื อ จดทะเบี ยนในประเทศ
้ ๆ 3) การใชูอำานาจรัฐเหนืออากาศยานทีช
ของรัฐนัน ่ ักธงหรือจดทะเบียน
ในประเทศของรัฐนัน
้ ๆ
185

5. ค่้กรณีสามารถตกลงกันเพื่อนำาคดีขึน
้ ส่้ศาลในกรณีทีค
่ ดีนัน
้ พัวพันกับ
ต่ า งชาติ ได้ เพราะไม่ ไ ดู เ ป็ นเรื่ อ งการเปลี ย
่ นแปลงหรื อ ตกลงเปลี ย
่ น
เปลีย
่ นแปลงเขตอำานาจศาล
6. ทฤษฎีทีร
่ องรับความคิดเรื่องการยอมรับและบังคับตามคำา พิพากษา
ศาลต่างประเทศคือ 1) แนวความคิดเรื่องอัธยาศัยไมตรีระหว่า งประเทศ
2) หลั กการถู อ ยที ถู อ ยปฏิ บั ติต่ า งตอบแทนกั น 3) หลัก แห่ ง พั น ธกรณี 4)
หลักแห่งสิทธิทีไ่ ดูรับมาแลูว
7. การยอมรับคำาพิพากษาศาลต่างประเทศแตกต่างจากการบังคับตาม
ตำาพิพากษาศาลต่างประเทศคือ การยอมรับคำาพิพากษาศาลต่างประเทศ
หมายถึ ง การที ศ
่ าลของประเทศที ไ่ ดู รั บ การรู อ งขอ ทำา การยอมรั บ คำา
พิ พ ากษาศาลต่ า งประเทศโดยไม่ ตู อ งมี ก ารบั ง คั บ แต่ ก ารบั ง คั บ ตามคำา
พิพากษาศาลต่างประเทศ หมายถึงการทีศ
่ าลทีไ่ ดูรับคำารูองขอดำาเนินการ
ในการบังคับคดีต ามหลักเกณฑ์ ของศาลนั น
้ เพื่อใหูคำา พิพากษาศาลต่าง
ประเทศบังเกิดผล
8. หลักแห่งพันธกรณี เกิดขึน
้ โดย Baron Parke
9. แนวความคิ ด เรื่อ งอั ธ ยาศั ย ไมตรี ร ะหว่ า งประเทศ และหลั ก ถู อ ยที
ถูอ ยปฏิบั ติต่ า งตอบแทนกั น มี ห ลั ก การคื อ การที ่ 2 ประเทศ หรื อ หลาย
ประเทศต่า งช่ วยเหลือ ยอมรั บ และบั ง คั บ ตามคำา พิ พ ากษาของกั น และกั น
โดยอาศั ย รากฐานมาจากแนวความคิ ด ในเรื่ อ งหลั ก การปฏิ บั ติ ต่ า ง
ตอบแทนในลักษณะทีเ่ หมือนกันหรือเท่าเทียมกัน
10. การขัดกันแห่งเขตอำานาจศาล เป็ นเรือ
่ งของการกำาหนดเขต
อำานาจศาลในคดีแพ่งและพาณิชย์ทีม
่ ีองค์ประกอบต่างชาติเขูามาพัวพัน
11. หลักเกณฑ์ทีใ่ ชูในการพิจารณาเขตอำา นาจศาลไทยในคดีที ่
พัวพันกับต่างประเทศไดูแก่ 1) ภ้มิลำาเนาของจำาเลย 2) สถานทีท
่ ีท
่ รัพย์ตัง้
อย่้ 3) สถานทีท
่ ีม ้ 4) สัญชาติของโจทก์
่ ้ลคดีเกิดขึน
186

12. ต า ม ก ฎ ห ม า ย ไ ท ย ถู า ขู อ พิ พ า ท ไ ม่ มี จุ ด เ ก า ะ เ กี ่ ย ว กั บ
ประเทศไทยเลย ค่้ ก รณี ส ามารถนำา คดี ขึ้น ส่้ ศ าลไดู แต่ ศ าลอาจจะไม่
พิจารณารับฟูอง เพราะเป็ นดุลพินิจของศาล
13. สถ านะของไท ยในเรื่ อ งการยอมรั บ แล ะบั ง คั บ ต า มคำา
พิพากษาศาลต่างประเทศ ศาลไทยไดูอูางอิงหลักการยอมรับและบังคับ
ตามคำาพิพากษาศาลต่างประเทศของศาลอังกฤษ
14. หลักแห่งสิทธิทีไ่ ดูรับมาแลูวมีหลักการคือ การทีศ
่ าลของ
ประเทศหนึ่งประเทศใดทำาการยอมรับและบังคับตามคำา พิพากษาศาลต่าง
ประเทศนัน
้ เป็ นเรือ
่ งของการยอมรับและบังคับตามสิทธิทีไ่ ดูรับมาแลูวตาม
คำา พิพากษานัน
้ หาใช่เป็ นการยอมรับและบังคับตามคำา พิพากษาศาลต่าง
ประเทศโดยตัวของมันเองไม่

หน่วยที ่ 15 ความร่วมมือระหว่างประเทศในการปราบ
ปรามอาชญากรรม

1. การส่ ง ผู้ รู า ยขู า มแดน เริ ่ม มี ขึ้ น ในศตวรรษที ่ 19 เพื่ อ


ปู องกั น และปราบปราม ผู้ รู า ยที ่อ าศั ย วิ วั ฒ นาการทางการ
คมนาคมระหว่ า งประเทศที เ่ จริ ญ กู า วหนู า และทั น สมั ย ขึ้น เพื่อ
หลบหนีไปยังอีกประเทศหนึง่ ไดูสะดวกและรวดเร็วขึน

2. การส่งผู้รายขูามแดนกระทำาไดูโดยอาศัยหลักและลำาดับการ
พิจารณาส่งผู้รูายขูามแดน
3. หลัก กฎหมายไทยกำา หนดหลั ก การและวิ ธี พิ จ ารณาการส่ ง

ผู้รูายขูามแดนของศาลไทยไวูดูวยเช่นกัน
187

4. หลั ก ทั่ ว ไปของสนธิ สั ญ ญาการโอนตั ว นั ก โทษเกิ ด จาก


เจตนารมณ์ของประเทศต่างๆ อันมุ่งหมายใหูเกิดการร่วมมือกัน
ในการบังคับใหูเป็ นไปตามคำา พิพากษาในคดีอาญา โดยกำา หนด
หลักการใหูนักโทษไดูรับการโอนตัวเพือ
่ กลับไปรับโทษในประเทศ
ซึง่ ผู้รูายนัน
้ เป็ นคนชาตินัน

5. สนธิ สั ญ ญาการโอนตั ว นั ก โทษที ป
่ ระเทศไทยทำา ไวู กั บ ต่ า ง
ประเทศมีหลักเกณฑ์และสาระสำาคัญคลูายคลึงกันโดยทัว
่ ไป
6. องค์การตำา รวจสากล เป็ นองค์การระหว่างประเทศในเครือ

องค์ ก ารสหประชาชาติ ประกอบดู ว ยประเทศต่ า งๆ เขู า เป็ น


สมาชิกรวมทัง้ ประเทศไทย โดยมีหนูาทีส
่ ำา คัญในการปฏิบัติการ
และบังคับการใหูเป็ นไปตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ
7. งานขององค์ ก ารตำา รวจสากลเพื่ อ ช่ ว ยใหู ห นู า ที ส
่ ำา คั ญ ดั ง
กล่าวขูางตูนบรรลุผล ไดูแก่ การปราบปรามอาชญากรรมหรือ
ความผิดตามกฎหมายระหว่างประเทศ
8. ธรรมน้ ญกรุงโรม เป็ นธรรมน้ญ ทีจ
่ ั ดตั ง้ ศาลอาญาระหว่ า ง
ประเทศ ซึ่ ง กระทำา ในลั ก ษณะของสนธิ สั ญ ญาพหุ ภ าคี เป็ น
สถาบันอิสระ มีเขตอำา นาจครอบคลุมประเทศทีเ่ ป็ นภาคีสมาชิก
และประเทศอื่นๆ ทีย
่ อมรับเขตอำานาจศาล โดยศาลมีอำา นาจใน
การพิ จารณาคดีอ าญาที ร
่ ู า ยแรง คือ อาชญากรรมการฆ่ า ลู า ง
เผ่าพันธ์ุ อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ อาชญากรรมสงคราม และ
การรุกราน

15.1 ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ก า ร ป ร า บ ป ร า ม
อาชญากรรมตามหลักการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
188

1. เนื่ อ งจากวิ วั ฒ นาการทางการคมนาคมระหว่ า งประเทศ

เจริ ญ กู า วหนู า และทั น สมั ย มากขึ้น ทุ ก ที เป็ นช่ อ งทางใหู ผู้ รู า ย


หลบหนีไ ปอีกประเทศหนึ่งไดูร วดเร็ วขึ้น ดู ว ยเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วนี ้
เป็ นแรงผลั ก ดั น ใหู ป ระเทศต่ า งๆ ตู อ งร่ ว มกั น พิ จ ารณาหาทาง
ปู องกันและปราบปรามผู้รูายดังกล่าวโดยอาศัยหลักการส่งผู้รูาย
ขูามแดน
2. การส่ ง ผู้ รู า ยขู า มแดน ไดู แ ก่ การที ่รั ฐ หนึ่ ง ส่ ง บุ ค คลซึ่ ง
ตูองหาว่ากระทำาผิดหรือตูองคำาพิพากษาว่ามีความผิดใหูแก่รัฐที ่
มีอำานาจทีจ
่ ะพิจารณาและพิพากษาลงโทษผู้นัน

3. การพิจารณากรณีทีม
่ ีการรูองขอใหูส่งผู้รูายขูามแดน ตูอง
พิจารณาตามลำา ดับต่อไปนีค
้ ือ ประเภทของบุคคล ประเภทของ
ความผิด ฐานะพิเศษบางประการของผู้กระทำา ความผิด พิธีการ
ส่งผู้รูายขูามแดน ผลการส่งผู้รูายขูามแดน และสรุปหลักทั่วไป
ของการส่งผู้รูายขูามแดน
4. หลักกฎหมายไทยกำาหนดวิธีพิจารณาการส่งผู้รูายขูามแดน
ไวูกับประเทศผู้รูองขอ ก็ใหูพิจารณาสนธิสัญญาหรือสัญญานัน

เป็ นหลั ก พิ จ ารณา และกรณี ที ่ป ระเทศไม่ มี ส นธิ สั ญ ญาหรื อ
สัญญาส่งผู้รูายขูามแดนไวูกับประเทศผู้รูองขอก็ใหูนำา หลักทัว
่ ไป
ในพระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง ผู้ รู า ยขู า มแดน พ.ศ. 2472 มาเป็ นหลั ก
พิจารณา

15.1.1 ความเป็ นมาและความหมายของการส่งผู้รูายขูาม


แดน
189

อธิ บ ายความเป็ นมาของการเริ ม


่ ร่ ว มกั น พิ จ ารณาหาทาง
ปู องกั น และปราบปรามผู้ รู า ยดู ว ยวิ ธี ก ารส่ ง ผู้ รู า ยขู า มแดนใน
ศตวรรษที ่ 19
่ มี ขึ้น ในสมั น ก่ อ นศตวรรษที ่ 18
การส่ ง ผู้ รู า ยขู า มแดนเริ ม
โดยประเทศต่างๆ ถือว่า ประเทศทีถ
่ ้กรูองขอใหูส่งตัวผู้รูายขูาม
แดนมี เ อกสิ ท ธิ ท
์ ีจ
่ ะใชู ดุ ล พิ นิ จ อย่ า งไรก็ ไ ดู ในการพิ จ ารณาส่ ง
ผู้ รู า ยขู า มแดน ดั ง นั ้น ในสมั ย ก่ อ นศตวรรษที ่ 18 จึ ง ไม่ ค่ อ ยมี
ปั ญหาเรือ
่ งการส่งผู้รูายขูามแดนมากนัก
ต่ อ มาในศตวรรษที ่ 18 ไดู เ ริ ม
่ มีก ารทำา สนธิ สั ญ ญาการส่ ง
ผู้ รู า ยขู ามแดนเกี ย
่ วกั บ ความผิ ด ในคดี อ าญายกเวู น แต่ ค วามผิ ด
ทางการเมื อ งและฐานหลบหนี ร าชการทหาร ในศตวรรษที ่ 19
การคมนาคมระหว่างประเทศเจริญขึน
้ เป็ นช่องทางใหูผู้รูายหลบ
หนี ขู า มประเทศไดู ส ะดวกรวดเร็ ว จึ ง เป็ นผลใหู ป ระเทศต่ า งๆ
เริม
่ ร่วมกันพิจารณาหาทางปู องกันและปราบปรามผู้ รูา ยโดยวิธี
การส่ ง ผู้ รู า ยขู า มแดน โดยการทำา สนธิ สั ญ ญาระหว่ า งประเทศ
หรือบัญญัติกฎหมายภายในเกีย
่ วกับเรือ
่ งนีข
้ ึน

15.1.2 หลักในการพิจารณาส่งผู้รูายขูามแดน
เพราะเหตุ ใ ด โดยหลั ก ทั่ ว ไปประเทศผู้ รั บ คำา ขอมั ก จะ
อนุญาตตามคำาขอโดยส่งตัวผู้กระความผิดซึง่ เป็ นคนสัญชาติของ
ประเทศผู้ รู อ งขอใหู แ ก่ ป ระเทศผู้ รู อ งขอเสมอไป หากไม่ เ ขู า ขู อ
ยกเวูนอืน
่ เช่น ไม่เป็ นคดีทางการเมืองเป็ นตูน
โดยเหตุ ที ป
่ ระเทศผู้ รั บ คำา ขอย่ อ มพิ จ ารณาคำา ขอไดู ง่ า ย
เพราะเป็ นกรณีทีป
่ ระเทศผู้รูองขอตูองการคนสัญชาติของเขาเอง
190

นอกจากนั ้น เป็ นกรณี ที ไ่ ม่ เ กี ย


่ วกั บ ผลไดู เ สี ย ของประเทศผู้ รั บ
คำา ขอ อีก ทั ง้ ไม่ มี ห นู าที ท
่ ีจ
่ ะตู อ งคูุ ม ครองปกปั กรั ก ษาประโยชน์
พลเมืองของประเทศอืน

เพราะเหตุใด บางประเทศจึงไม่นิยมส่งผู้รูายขูามแดนเกีย
่ ว
กับเรือ
่ งความผิดทางศาสนา
เพราะโดยอาศัยหลักเสรี ภาพของมนุ ษย์ เป็ นสำา คั ญ กล่า ว
คื อ หลั ก เสรี ภ าพตามระบอบประชาธิ ป ไตยที ่แ ทู จ ริ ง ตู อ งใหู
เสรีภาพแก่มนุษย์ในการทีจ
่ ะนับถือหรือเลื่อมใสลัทธิศาสนาใดๆ
ที ่ต นยึ ด ถื อ และเชื่ อ มั่ น (free religion) โดยมั ก จะบั ญ ญั ติ ไ วู ใ น
รั ฐ ธรรมน้ ญ ของประเทศ เช่ น รั ฐ ธรรมน้ ญ ฉบั บ ต่ า งๆ ของ
ประเทศไทยมีบทบัญญัติเกีย
่ วกับเสรีภาพนีม
้ าโดยตลอด ฉะนัน

การกระทำาผิดใดๆ เกีย
่ วกับศาสนา เช่นการด้หมิน
่ เหยียดหยาม
ในลั ท ธิ ศ าสนาใดศาสนาหนึ่ง การฝ่ าฝื น ละเมิ ด หรื อ ทำา ลาย
ก่อกวนการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ย่อมถือว่าเป็ นความผิด
ต่อศาสนา ไม่อาจส่งผู้รูายขูามแดนไดู

15.1.3 การส่งผู้รูายขูามแดนของประเทศไทย
ในการพิจารณาคดีส่งผู้รูายขูามแดนของประเทศไทย ศาล
อุทธรณ์มีอำานาจตรวจพิจารณาพยานหลักฐานและวินิจฉัยขูอโตู
เถียงประการใดไดูบูาง
ศาลอุ ท ธรณ์ มี อำา นาจตรวจพิ จ ารณาพยานหลั ก ฐาน และ
วินิจฉัยขูอโตูเถียงดังนี ้
1) เรือ
่ งสัญชาติ
191

2) ความผิดทีก
่ ล่าวหาไม่อย่้ในประเภทส่งขูามแดนไดู
3) ความผิดนัน
้ มีลักษณะในทางการเมืองหรือการทีข
่ อใหูส่ง
ขูามแดนนัน
้ แทูจริงเพื่อประสงค์จะเอาตัวไปลงโทษสำา หรับความ
ผิดอืน
่ อันมีลักษณะในทางการเมือง
4) ไม่ มี พ ยานหลั ก ฐานแสดงต่ อ ศาลพอที จ
่ ะใหู ศ าลนั ้น ใชู
ดุลพินิจไดูว่าควรจะออกคำาสัง่ นัน
้ หรือไม่

15.2 สนธิสัญญาในการโอนตัวนักโทษ
1.หลั ก ทั่ว ไปของสนธิ สั ญ ญาการโอนตั ว นั ก โทษ ประมวลไดู
จากเจตนารมณ์ รวมทัง้ รายละเอียดของสนธิสัญญาการโอนตัว
นักโทษทีท
่ ำากันระหว่างประเทศ
2.หลักเกณฑ์และสาระสำา คั ญตลอดจนรายละเอียด ของสนธิ
สัญญาการโอนตัวนักโทษทีป
่ ระเทศไทยทำาไวูกับต่างประเทศฉบับ
ต่างๆ มีลักษณะคลูายคลึงกันจะมีขูอแตกต่างบูางเล็กนูอยในราย
ละเอียด

15.2.1 หลักทัว
่ ไปของสนธิสัญญาการโอนตัวนักโทษ
อธิบายทีม
่ าของการโอนตัวนักโทษ
การโอนตั ว นั ก โทษเกิ ด ขึ้ น โดยการพิ จ ารณาถึ ง กฎหมาย
และระเบี ยบขูอ บังคั บที ใ่ ชูอ ย่้ใ นเรื่องทีเ่ กี ย
่ วกั บการบั ง คับ การใหู
เป็ นไปตามกฎหมายของประเทศ และดูวยความมุ่งหมายทีจ
่ ะส่ง
เสริ ม ความพยายามร่ ว มกั น ในการบั ง คั บ การใหู เ ป็ นไปตาม
กฎหมาย และการบริหารงานทางดูานกระบวนการยุติธรรมและ
ร่ ว มมื อ กั น ในการบั ง คั บ ใหู เ ป็ นไปตามคำา พิ พ ากษาในคดี อ าญา
192

โดยใหูผู้ กระทำา ผิด รับ โทษจำา คุก กักขังหรือการทำา ใหูปราศจาก


อิ ส รภาพในร้ ป แบบอื่นในประเทศซึ่ง ผู้ กระทำา ผิ ด นั น
้ เป็ นคนชาติ
อันจะช่วยใหู การแกูไขใหูผู้กระทำา ผิดนัน
้ สามารถกลับเขูาไปอย่้
ในสังคมต่อไปเป็ นผลสำาเร็จ

15.2.2 สนธิสัญญาการโอนตัวนักโทษทีป
่ ระเทศไทยทำาไวู
กับต่างประเทศ
ในปั จจุบันประเทศไทยทำาสนธิสัญญาการโอนตัวนักโทษกับ
ประเทศไทยไดูบูาง และมีผลใชูบังคับแลูวหรือไม่ ประการใด
ในปั จจุ บั น ประเทศไทยทำา สนธิ สั ญ ญาการโอนตั ว นั ก โทษ
กับประเทศต่างๆ จำานวน 5 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา ฝรัง่ เศส
แคนาดา สเปน และอิ ต าลี แต่ ยั ง ไม่ มี ผ ลใชู บั ง คั บ เพราะสนธิ
สัญญาการโอนตัวนักโทษกับหูาประเทศดังกล่าวเพียงแต่มีการลง
นามกันแลูวเท่านัน
้ ยังมิไดูมีการใหูสัตยาบัน

อธิบายความหมายของคำาว่า ผู้กระทำาผิด ตามสนธิสัญญา


การโอนตัวนักโทษทีไ่ ทยทำากับต่างประเทศ
ผู้ กระทำา ผิด หมายถึ ง บุ ค คลที ถ
่ ้ ก ลงโทษทีอ
่ ย่้ ใ นอาณาเขต
ของภาคีฝ่ายใดฝ่ ายหนึง่ ซึง่ ไดูถ้กพิพากษาว่าไดูกระทำาความผิด
ทางอาญา และถ้ ก พิ พ ากษาใหู ล งโทษจำา คุ ก กั ก ขั ง หรื อ ทำา ใหู
ปราศจากอิ สรภาพในร้ ป แบบอื่น หรือ ไดู รั บ การปล่ อ ยตั ว โดยมี
เงื่ อ นไข การควบคุ ม ความประพฤติ ห รื อ การด้ แ ลโดยไม่ มี ก าร
กั ก ขั ง ใ นร้ ป แ บ บ อื่ น ทั ้ ง นี ้ใ หู ห ม ายค ว าม ร ว ม ถึ ง ผู้ ที ่ ถ้ ก กั ก ขั ง
193

ควบคุ ม หรืออย่้ ใ ตู ก ารด้ แ ลตามกฎหมายว่ า ดู ว ยการกระทำา ผิ ด


ของเด็กและเยาวชนของรัฐผู้โอนดูวย

15.3 ก า ร ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ก า ร ป ร า บ ป ร า ม
อาชญากรรมโดยองค์การตำารวจสากล
1.องค์การตำารวจสากล เป็ นกลไกหรือตัวกลางทีส
่ ำาคัญในการ
ทีจ
่ ะปฏิบัติการและบังคับการใหูเป็ นไปตามหลักกฎหมายระหว่าง
ประเทศในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับการปราบปรามอาชญากรรมหรือความ
ผิดตามกฎหมายระหว่างประเทศ
2.การปฏิ บั ติ แ ละการบั ง คั บ การดั ง กล่ า วขู า งตู น ขององค์ ก าร
ตำา ร วจ สากลสามารถ ดำา เนิ นไป ไดู อย่ าง มี สม รร ถ ภาพแ ละ
ประสิ ทธิ ภาพ โดยพิจ ารณาไดู จากประวั ติค วามเป็ นมา กิจ การ
และหนู า ที ร
่ วมทั ้ง ขู อ จำา กั ด บางประการเกี ย
่ วกั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ
องค์การตำารวจสากล
3.ง า น ข อ ง อ ง ค์ ก า ร ตำา ร ว จ ส า ก ล ใ น ก า ร ป ร า บ ป ร า ม
อาชญากรรม หรือ ความผิ ด ตามกฎหมายระหว่ า งประเทศ อั น
ไดูแก่ การกระทำา ความผิดอาญาต่อบุคคล การคูาทาส การคูา
หญิง การลักทรัพย์ และการกระทำาความผิดต่างๆ เกีย
่ วกับยาน
พาหนะสัญจร การฉูอโกงระหว่างประเทศ การกระทำา ความผิด
เกีย
่ วกับการปลอมเงินตรา สลัดอากาศ ยาเสพติดใหูโทษและโจร
สลัด

15.3.1 องค์การตำารวจสากล
194

อธิ บ ายกิ จ การและหนู า ที ข


่ ององค์ ก ารตำา รวจสากลโดย
ละเอียด
่ ององค์การตำารวจสากล 2 ประการดังนี ้
กิจการและหนูาทีข
1.ทำา การติ ด ต่ อ กั บ ประเทศสมาชิ ก เพื่อ ขอทราบรายงาน
และสถิ ติ อ าชญากรรมของประเทศเหล่ า นั ้น โดยประเทศภาคี
สมาชิ ก จะจั ด ส่ ง ไปยั ง สำา นั ก งานกลางทุ ก ๆปี ทำา รายงานส่ ง ใหู
ประเทศภาคีฯ ทราบถึงความเคลือ
่ นไหว ของผูร
้ ูายซึง่ ประเทศภา
คี ฯตู องการทราบ จั ด ส่ง ใบแจูง ร้ ป พรรณของผู้ รู า ยบางคนไปใหู
ประเทศภาคีฯ ทำาการแจูงข่าวคราวการเคลือ
่ นไหวของผู้รูายบาง
คนเพือ
่ เป็ นการแลก เปลีย
่ นข่าวสารและประสานงานในการทีจ
่ ะ
จั บ กุ ม ต่ อ ไป ตลอดจนรวบรวมประวั ติ อ าชญากรสำา คั ญ ๆ ของ
โลก เพือ
่ สะดวกในการสืบสวนและจับกุมของประเทศภาคีฯ
2. ตัง
้ สำานักงานขึน
้ ทีก
่ รุงเฮก เพื่อเป็ นศ้นย์กลางเก็บเอกสาร
และข่ า วสารต่ า งๆ เกี ่ย วกั บ การปลอมแปลงเงิ น ตราทั่ ว โลก
พรู อ มทั ้ ง จั ด พิ ม พ์ แ จกจ่ า ยไปยั ง ประเทศภาคี ฯ และจั ด พิ ม พ์
หนังสื อรายเดือ นเรียกว่ า “International Criminal Polices Review”
ส่งใหูแก่ประเทศภาคีฯ อีกดูวย

15.3.2 งานขององค์ ก ารตำา รวจสากลในการร่ ว มปราบ


ปรามอาชญากรรมหรือความผิดตามกฎหมายระหว่างประเทศ
อธิ บ ายวิ ธี ก ารประสานงานขององค์ ก ารตำา รวจสากลเพื่อ
ปราบปรามความผิ ด เกี ่ย วกั บ ยาเสพติ ด ใหู โ ทษ พรู อ มทั ้ ง ยก
ตัวอย่างประกอบ
195

วิ ธี ก ารประสานงานขององค์ ก รตำา รวจสากล เพื่ อ ปราบ


่ วกับยาเสพติดใหูโทษ มีอย่้ 2 วิธีคือ
ปรามความผิดเกีย
1. องค์ ก ารตำา รวจสากลตั ้ ง ศ้ น ย์ ก ลางประสานงาน และ

ติดต่อโดยตรงเกีย
่ วกับการปราบ ปรามอาชญากรรม หรือความ
ผิ ด ต า ม ก ฎ ห ม า ย ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ ช่ น ย า เ ส พ ติ ด โ ด ย ตั ้ ง
สำา นักงานเลขาธิการขององค์การตำา รวจสากลทีก
่ รุงปารีส และ
จั ด ใหู มี ก ารประชุ ม ว่ า ดู ว ยปั ญหาการลั ก ลอบคู า ยาเสพติ ด ทุ ก ปี
โดยคณะกรรมการผู้ เ ชี ย
่ วชาญเรื่ อ งยาเสพติ ด ในระหว่ า งการ
ประชุมสมัชชาใหญ่ประจำาปี
2.ในแต่ ล ะประเทศภาคี ส มาชิ ก ขององค์ ก ารตำา รวจสากล
จะตั ้ง สำา นั ก งานกลางแห่ ง ชาติ ใ นประเทศของตน เพื่ อ ประสาน
งานและติ ด ต่ อ โดยตรงเกี ย
่ วกั บ การปราบปรามยาเสพติ ด กั บ
ศ้นย์กลางการร่วมมือระหว่างชาติดังกล่าว ไวูใ นขูอ ก. ขูางตูน
ตั วอย่างเช่น ประเทศไทยไดู ตั ง้ สำา นั ก งานกลางแห่ ง ชาติ อ ย่้ กอง
การต่างประเทศ กรมตำารวจ

15.4 ธรรมนูญกรุงโรม และศาลอาญาระหว่างประเทศ

1. การโหดรูายทารุณของอาชญากรรมทีร
่ ูายแรงเช่น การฆ่า
ลูางเผ่าพันธ์ุ อาชญากรรมต่อมนุษย์ชาติ อาชญากรรมสงคราม
และการใชูกำาลังในการรุกราน ทัง้ ในลักษณะของการทำาสงคราม
และการใชู กำา ลั ง ในร้ ป แบบต่ า งๆ เป็ นอั น ตรายต่ อ สั น ติ สุ ข ของ
ประชาคมระหว่ า งประเทศ และควรที ่จ ะไดู รั บ ความร่ ว มมื อ
ระหว่างประเทศในการลงโทษบุคคลทีก
่ ่อภัยดังกล่าว โดยควรที ่
196

จะมี ก ารจั ด ตั ง้ ศาลอาญาระหว่ า งประเทศที ม


่ ี เ ขตอำา นาจในการ
ลงโทษนักโทษดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ
2. การจั ด ตั ้ง ศาลอาญาระหว่ า งประเทศ จำา เป็ นที จ
่ ะตู อ งมี
สถานะที เ่ ป็ นสถาบั น อิ ส ระปราศจากการแทรกแซง และการ
ครอ บงำา ทางก าร เมื อ ง และมี กลไก ตลอด จนม าตร ก าร ที ่ มี
ประสิทธิภาพในการดำา เนินงาน โดยไดูรับการจัดตัง้ ขึ้นโดยสนธิ
สัญญาพหุภาคี คือธรรมน้ญกรุงโรม
3. ศาลอาญาระหว่างประเทศมีอ งค์ประกอบทีส
่ ำา คัญคือ องค์
คณะตุลาการ สำานักงานอัยการ สำานักทะเบียนศาล และสมัชชา
แห่งภาคี
4. ศาลอาญาระหว่ า งประเทศมี ก ารดำา เนิ น งานที ต
่ ู อ งอาศั ย
ความร่วมมือจากรัฐภาคีสมาชิก รัฐทีย
่ อมรับเขตอำานาจของศาล
และสหประชาชาติ มี บ ทบาทในการเสนอคดี อ าญาระหว่ า ง
ประเทศต่อศาลอาญาระหว่างประเทศดูวย
5. ศาลอาญาระหว่างประเทศมีเขตอำา นาจเหนือ รัฐทีเ่ ป็ นภาคี

สมาชิก และประเทศทีย
่ อมรับเขตอำา นาจของศาล และมีอำา นาจ
พิจารณาเหนือคดีอาญาทีร
่ ูายแรงไดูแก่ อาชญากรรมฆ่าลูางเผ่า
พั น ธ์ุ อาชญากรรมต่ อ มนุ ษ ยชาติ อาชญากรรมสงคราม และ
การรุกราน ศาลอาญาระหว่า งประเทศจะลงโทษผู้ ก ระทำา ผิ ด ที ่
เป็ นบุคคลธรรมดาเท่านัน
้ ทีม ี ายุ 18 ปี บริบร
่ อ ้ ณ์
6. สหปร ะช าช าติ มี อำา นาจใ นก าร เสนอ คดี ต่ อ ศา ลอ าญา

ระหว่ า งประเทศ ตามกลไกในการรั ก ษาสั น ติ ภ าพของโลก ใน


หมวด 7 แห่ ง กฎบั ต รสหประชาชาติ และศาลอาญาระหว่ า ง
197

ประเทศมี ก ารดำา เนิ น การที ต


่ ู อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ ของรั ฐ ภาคี
และรั ฐ ที ่ย อมรั บ เขตอำา นาจของศาลอาญาระหว่ า งประเทศ
อย่ า งไรก็ ต าม ปั ญหาในทางปฏิ บั ติ ห ลายประการทำา ใหู ก าร
ดำาเนินงานของศาลอาญาระหว่างประเทศมีอุปสรรค ไดูแก่ การ
ไม่ ย อมรั บ ของประเทศมหาอำา นาจ เช่ น สหรั ฐ อเมริ ก า จี น
อินเดีย และกลุ่มประเทศทีก
่ ่อภัยรูายแรงต่อมนุษยชาติ เช่น อิรก

และกลุ่มประเทศอาหรับ ซึ่งประเทศเหล่านีล
้ ูวนมีส่วนเกีย
่ วขูอง
โดยตรงกับอาชญากรรมระหว่างประเทศ
7. ปั ญหาในทางปฏิ บั ติ ข องรั ฐ ดู า นอื่น ๆ ไดู แ ก่ การมี พั น ธะ
ตามสนธิสัญญากับประเทศต่างๆ ซึง่ อาจจะขัดแยูงกับพันธะภาย
ใตู ธ รรมน้ ญ กรุ ง โรม ปั ญหากฎหมายภายในที ไ่ ม่ ส อดคลู อ งกั บ
ธรรมน้ ญ กรุ ง โรม ปั ญหาการมี ผ ลบั ง คั บ ของธรรมน้ ญ กรุ ง โรม
และปั ญหาเชิ ง นโยบายของรั ฐ กั บ ปฏิ สั ม พั น ธ์ ใ นทางระหว่ า ง
ประเทศ ปั ญหาในการส่งผู้รูายขูามแดน และการส่งตัวผู้กระทำา
ความผิดแก่ศาลอาญาระหว่างประเทศ

15.4.1 ความเป็ นมาของธรรมน้ญกรุงโรมและการจัดตัง้


ศาลอาญาระหว่างประเทศ
อธิบายถึงการจัดตัง้ ศาลอาญาระหว่างประเทศ
ศาลอาญาระหว่างประเทศไดูรับการจัดตัง้ ขึน
้ โดยธรรมน้ญ
กรุ ง โรม ซึ่ง เป็ นสนธิ สั ญ ญาพหุ ภ าคี โดยจั ด ตั ้ง ขึ้น เป็ นสถาบั น
อิ ส ระเพื่ อ ใหู ป ราศจากการแทรกแซง และถ้ ก ครอบงำา โดย
มหาอำา นาจหรื อ อำา นาจอื่ น ใด เป็ นศาลอาญาระหว่ า งประเทศ
ถาวรที ่จั ด ตั ้ ง ขึ้ น สำา เร็ จ เป็ นครั ้ ง แรก แต่ ศ าลอาญาระหว่ า ง
198

ประเทศไม่มีฐานะเป็ นองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติ และไม่อย่้


ภายใตูงบประมาณของสหประชาชาติ

15.4.2 องค์ประกอบการดำาเนินงาน และเขตอำานาจของ


ศาลอาญาระหว่างประเทศ
เขตอำานาจของศาลอาญาระหว่างประเทศ ครอบคลุมเพียง
ใด
ศาลอาญาระหว่างประเทศ ครอบคลุมดินแดนของรัฐภาคี
สมาชิ ก และรั ฐ อื่ น ที ่ย อมรั บ เขตอำา นาจศาลครอบคลุ ม ไปถึ ง
่ ีอายุ 18 ปี ขึน
บุคคลธรรมดาทีม ้ ไป ซึง่ ไดูกระทำาผิดอาชญากรรม
ทีร ่ ูายแรงต่อมนุษยชาติ 4
่ ูายแรง ครอบคลุมถึงความผิดอาญาทีร
ประเภท คื อ อาชญากรรมฆ่ า ลู า งเผ่ า พั น ธ์ุ อาชญากรรมต่ อ
มนุษยชาติ อาชญากรรมสงคราม และอาชญากรรมรุกราน และ
ศาลอาญาระหว่างประเทศมีอำานาจลงโทษ เมือ
่ ธรรมน้ญศาลเริม

มีผลบังคับใชูแลูวเท่านัน

15.4.3 ความสัมพันธ์ระหว่างศาลอาญาระหว่างประเทศ
และสหประชาชาติกับความสัมพันธ์กับรัฐต่างๆ การปราบปราม
อาชญากรรม

แบบประเมินผลหน่วยที ่ 15
1. แนวคิดในเรื่องการร่วมมือในการปราบปรามอาชญากรรมระหว่าง
ประเทศมี ที ม
่ าจากหลั ก การ ผู้ ก ระทำา ผิ ด ย่ อ มตู อ งไดู รั บ การลงโทษตาม
ความผิดทีก
่ ระทำา
199

2. การร่วมมือระหว่างประเทศโดยกลไกทางศาลอาญาระหว่างประเทศ
ทีป
่ ระเทศไทยไม่มีส่วนร่วมในการปราบปรามอาชญากรรม
3. คดีทีเ่ ป็ นความผิดทางการเมือง เช่นกรณี การฆ่าผู้อย่้ฝ่ายตรงขูาม
เพือ
่ ลูมลูางเสถียรภาพ
4. การโอนตัวนักโทษตูองไดูรับความยินยอมจากฝ่ าย (ก) ฝ่ ายรัฐผู้รับ
(ข) ฝ่ ายรัฐผู้โอน (ค) ฝ่ ายนักโทษ
5. ประเทศอังกฤษ เป็ นประเทศทีบ
่ ัญญัติเกีย
่ วกับการส่งผู้รูายขูามแดน
6. ศาลอาญาระหว่างประเทศจัด ตั ง้ ขึ้นโดยสนธิสั ญ ญา ธรรมน้ญ กรุ ง
โรม ค.ศ. 1998
7. ความผิดเกีย
่ วกับ คูาโสเภณี ไม่ได้อยู่ในอำานาจของตำารวจสากล
8. ศาลอาญาระหว่ า งประเทศ เริ ่ม ใชู เ ขตอำา นาจศาลไดู ตั ้ ง แต่ 1
กรกฎาคม ค.ศ. 2002
9. ศาลอาญาระหว่างประเทศมีเขตอำานาจเหนือ บุคคลธรรมดาอายุ 18
ปี ขึน
้ ไป
10. ปั ญหาของการดำา เนิน งานของศาลอาญาระหว่ า งประเทศคือ
ขูอจำากัดในเรือ
่ งเขตอำานาจศาล
11. สาเหตุทีท
่ ำา ใหูประเทศต่างๆ พากันร่วมมือในการปราบปราม
อาชญากรรมระหว่างประเทศคือ ผู้กระทำาผิดมักหลบหนี และรอดพูนจาก
การถ้กลงโทษ
12. ประเทศไทยมีหลักเกณฑ์ในการส่งผู้รูายขูามแดนเกีย
่ วกับการ
ส่งคนชาติ คือ ไม่ส่งคนชาติขูามแดนเวูนแต่มีสนธิสัญญากำาหนดไวูในบาง
กรณี
13. ผู้ ก่อ การรู าย เป็ นคดี ทีไ่ ม่เ ป็ นความผิ ดทางการเมื อ งในระบบ
กฎหมายอังกฤษ
200

14. หลั กการเกี ย


่ วกับ การโอนตั ว นั ก โทษ คื อ นัก โทษตู องเป็ นคน
ชาติ ข องรั ฐ ผู้ รั บ และถู า หากนั ก โทษมี สั ญ ชาติ ข องรั ฐ ผู้ โ อนดู ว ยรั ฐ ผู้ โ อน
อาจปฏิเสธการโอนตัวไดู
15. ประเทศไทยยึดถือหลักเกีย
่ วกับการส่งผู้รูายขูามแดนคือ หลัก
และวิธีปฏิบัติอันว่าดูวยความผิดเฉพาะเจาะจง
16. ศาลอาญาระหว่ า งประเทศจั ด เป็ น ศาลอาญาถาวรระหว่ า ง
ประเทศ
17. การตำารวจแห่งชาติ ทีด
่ ้แลงานของตำารวจสากลคือ หน่วยงาน
กองการต่างประเทศ กรมตำารวจ
18. ่ 17 กรกฎาคม 1998
ธรรมน้ญกรุงโรมไดูรับการรับรองเมือ
19. ศ า ล อ า ญ า ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ม่ มี เ ข ต อำา น า จ เ ห นื อ ค ดี
อาชญากรรมก่อการรูาย
20. เหตุ ที ป
่ ระเทศไทยไม่ ตั ด สิ น ใจเขู า เป็ นภาคี แ ห่ ง ธรรมน้ ญ ศาล
อาญาระหว่างประเทศ เพราะ ประเทศไทยไม่สามารถส่งผู้รูายใหูแก่ศาล
อาญาระหว่างประเทศในบางกรณี

**********************************************

You might also like