You are on page 1of 3

ความแตกต่างของทรัพย์สินทางปั ญญา

และทรัพย์สน
ิ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
มาตรา 137-138

1.ในแง่ของการเกิด
- ทรัพย์สิน มีข้ ึนจากธรรมชาติ ได้แก่ ต้นไม้ ที่ดิน เป็ นต้น
และเกิดขึ้นจากการกระทำาของมนุ ษย์ ได้แก่ โรงเรือน อาคาร
ตึกแถว หรือสิ่งก่อสร้างต่างๆ เป็ นต้น
- แต่ ทรัพย์สินทางปั ญญา เป็ นสิทธิท่ีเกิดจาก กระบวนการ
คิดที่สร้างสรรค์ ออกมาเป็ นผลผลิตทางปั ญญาซึ่งเข้าหลักเกณฑ์ท่ี
จะได้รบ
ั ความคุ้มครองตามกฎหมายเท่านั้ น ไม่สามารถเกิดขึ้นได้
เองตามธรรมชาติหรือเป็ นผลของงานของเครื่องจักรกล ได้แก่
เนื้ อเพลง บทประพันธ์ละคร วรรณกรรมต่างๆ เป็ นต้น

2..ในแง่ของวัตถุแห่งสิทธิ
- ทรัพย์สิน รวมถึงวัตถุท่ีมีรูปร่าง ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์
สังหาริมทรัพย์ และ วัตถุท่ีไม่มีรูปร่างด้วย ได้แก่ สิทธิครอบ
ครอง สิทธิอาศัย เป็ นต้น
- แต่ ทรัพย์สินทางปั ญญา มีวัตถุแห่งสิทธิเป็ นสิ่งที่ไม่มีรูป
ร่าง ได้แก่ ลิขสิทธิใ์ นเนื้ อร้องเพลง เป็ นต้น

3. ในแง่ของสิทธิ
- ทรัพย์สิน ความเป็ นทรัพยสิทธิอันได้แก่ กรรมสิทธิ์ สิทธิ
ครอบครอง
ภาระจำายอม สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน เป็ นต้น
- แต่ ทรัพย์สินทางปั ญญา ได้แก่ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร
เครื่องหมายการค้า
ความลับทางการค้า สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ เป็ นต้น

4. ในแง่ของการบัญญัติกฎหมาย
- ทรัพย์สิน จะถูกบัญญัติอยู่ภายใต้กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
- แต่ ทรัพย์สินทางปั ญญา จะถูกบัญญัติอยู่ภายใต้กฎหมาย
ลักษณะเฉพาะ ซึ่งบัญญัติข้ ึนมาเพื่อให้การคุ้มครองทรัพย์สินทาง
ปั ญญาเป็ นการเฉพาะ

5. ในแง่ของความเป็ นทรัพยสิทธิ
- ทรัพยสิทธิในตัวทรัพย์สินใช้ยันกับคนทัว่ โลก
- แต่ ทรัพย์สินทางปั ญญา บางประเภทไม่สามารถใช้ยันกับ
บุคคลได้ทัว่ โลก

์ รือความเป็ นเจ้าของ
6. ในแง่กรรมสิทธิห
- ทรัพย์สินถ้าเป็ นการจำาหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินตามที่
กฎหมายกำาหนด กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินย่อมตกแก่ผู้เป็ นเจ้าของ
คนใหม่ เจ้าของคนเก่าไม่มีสิทธิใดๆในตัวทรัพย์สินนั้ นแล้ว
์ ะ
- แต่ถ้าเป็ น ทรัพย์สินทางปั ญญา แม้ว่าเจ้าของลิขสิทธิจ
จำาหน่ายจ่ายโอนไปยังให้ผู้อ่ ืนใช้ทรัพย์สินทางปั ญญา ยังถือ ว่า
เจ้าของลิขสิทธิเ์ ป็ นผู้สร้างสรรค์ซ่งึ ถ้าดูในมาตรา 18 เป็ นเรื่องที่
กฎหมาย ยอมรับในเรื่องธรรมสิทธิไม่ว่าการโอนลิขสิทธิไ์ ปสิทธิของ
ผู้สร้าง สรรค์ยงั อยู่ สิทธิท่ีจะแสดงว่าตนเป็ นผู้สร้างสรรค์งานดัง
กล่าว กฎหมายยังคุ้มครองให้ระบุช่ ืออยู่ และสามารถฟ้ องร้องตาม
สิทธิตลอดอายุการคุ้มครองสิทธิ ถ้าถึงแก่ความตายแล้วทายาทยัง
คงฟ้ องได้

7.ในแง่ของการใช้สอย
ู ่ีเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ์ หรือทรัพยสิทธิต่างๆ
- ทรัพย์สิน ผ้ท
ไม่สามารถทำาซำ้า ดัดแปลง แก้ไข หรือเผยแพร่ใดๆ ฯลฯ ได้ มีแต่
เพียงการใช้ประโยชน์จากตัวทรัพย์สินนั้ น เท่านั้ น
- ส่วน ทรัพย์สินทางปั ญญา ประเภทเช่น ลิขสิทธิ์ มี
กฎหมายออกมาคุ้มครองผู้ท่ีเป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์ ได้รบ
ั สิทธิแต่ผู้
เดียวในการทำาซำ้า ดัดแปลง แก้ไข เผยแพร่ ฯลฯ ตามมาตรา 15
แห่ง พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์

8. ในแง่ของการได้มาซึ่งการครอบครองปรปั กษ์ ซึ่งเป็ นบท


กฎหมายที่เปิ ดโอกาสให้บุคคลได้กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินของผู้อ่ ืน
โดยการเข้าแย่งการครอบครอง
- ทรัพย์สิน ซึ่งได้แก่ สังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์
เป็ นต้น กฎหมายเปิ ดโอกาสให้สามารถครอบครองปรปั กษ์ได้ ตาม
มาตรา 1382 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ได้ระบุให้
สังหาริมทรัพย์ต้องครอบครองติดต่อกันเป็ นเวลา 5 ปี ส่วน
อสังหาริมทรัพย์ ต้องครอบครองติดต่อกันเป็ นเวลา 10 ปี
- ส่วน ทรัพย์สินทางปั ญญา กฎหมายไม่เปิ ดโอกาสให้
มีการครอบครองปรปั กษ์กันได้ การได้มาซึ่งสิทธิในทรัพย์สินทาง
1. นายจี
ปั ญญา จะต้องเป็ นไปตามกฎหมายเฉพาะเรื ระวัฒน์
่องนั ้ นๆเท่านั้ นวัฒนะ
52140079
2. นายยงยุทธ อ่างอินทร์
52140273
3. นายสุนทร เหลืองรุ่งสว่าง
52140282
4. นางสาวอภิญญา นิ ลสลับ

You might also like