You are on page 1of 19

สรุปกฎหมายหุุนส่วนบริษท

ั (ฉบับจูริส)

สัญญาจัดตั้งห้างห้้นส่วนหรือบริษท ั นั้น คือสัญญาซึ่ง


บ้คคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทำากิจการร่วมกัน
ด้วยประสงค์จะแบ่งปั นกำาไรอันจะพึงได้แต่กิจการที่ทำานั้น
(มาตรา ๑๐๑๒)
ลักษณะของสัญญาจัดตัง ้ หุางหุุนส่วนหรือบริษท ั
๑. สัญญาซึ่งบ้คคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปตกลงทำากิจการ
ร่วมกัน
๒. จัดตั้งขึ้นเพื่อประสงค์จะแบ่งกำาไรที่ได้จากกิจการนั้น
ขุอสังเกต
(๒.๑) เงินที่ตกลงจ่ายให้แก่กน ั โดยไม่คำานึ งถึงผลกำาไร
หรือขาดท้นไม่ถือว่าเป็ นห้้นส่วนกัน
(๒.๒) ชายหญิงที่มิได้จดทะเบียนสมรสกัน หากทำามาหา
ได้ร่วมกัน ทรัพย์สินที่เกิดขึ้นย่อมเป็ นกรรมสิทธิร์ วม ไม่ถือว่าเป็ น
ห้้นส่วนกัน จึงสามารถฟ้ องให้แย้งทรัพย์สน ิ ได้ตามหลักกกรรม
สิทธิร์ วม โดยไม่จำาต้องบอกเลิกสัญญาหรือชำาระบัญชีก่อนตาม
หลักห้้นส่วน

หุนุ ส่วนสามัญ
ห้้นส่วนสามัญ คือ สัญญาซึ่งบ้คคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป
ตกลงเข้ากันเพื่อกระทำากิจการร่วมกัน ด้วยประสงค์จะแบ่งปั น
กำาไรอันจะพึงได้แต่กิจการที่ทำานั้น และผ้้เป็ นห้้นส่วนท้กคนต้อง
รับผิดร่วมกันในหนี้ ท้ังปวงของห้างโดยไม่จำากัดจำานวน (มาตรา
๑๐๒๕ , ๑๐๑๒)
ขุอสังเกต
(๑) ห้้นส่วนสามัญที่ยังไม่ได้จดทะเบียนเป็ นนิ ติบ้คคลจึง
ไม่อาจเข้าเป็ นค่้ความในคดีได้ ผ้้ฟ้องคดีจึงได้แก่ห้นส่วนทั้งหมด
ร่วมกันฟ้ อง
(๒) แม้จะไม่มีข้อตกลงในเรื่องกำาไรหรือขาดท้นก็ไม่เป็ น
สาระสำาคัญ เพราะแม้จะไม่มีการตกลงกันเรื่องกำาไรขาดท้นเอา
ไว้ แต่มาตรา ๑๐๔๔ ก็ได้กำาหนดทางออกไว้แล้วว่า หากมีการ
ขาดท้นก็ต้องเฉลี่ยขาดท้นตามส่วนของห้้น เว้นแต่จะตกลงกันไว้
เป็ นอย่างอื่น
(๓) กรณีเข้าร่วมตกลงซื้อที่ดินแล้วนำาไปขาย เมื่อได้เงิน
มาก็เอามาแบ่งกันคนละครึ่งโดยไม่ได้ตกลงในเรื่องกำาไรขาดท้น
2

ไม่ถือว่าเป็ นห้้นส่วนกัน แต่ถ้ามีการหักค่าที่ดน ิ ค่าใช้จ่ายแล้วมา


แบ่งส่วนที่เหลือกัน ดังนี้ เป็ นสัญญาจัดตั้งห้างห้้นส่วนแล้ว
หุนุ ส่วนตุองมีสิง ่ ใดสิง่ หนึ่งมาลงหุุนในหุางหุุนส่วน
สิ่งที่นำามาลงห้้นนั้นจะเป็ นเงินหรือทรัพย์สินหรือ
แรงงานก็ได้ ถ้าเป็ นการนำาทรัพย์สินมาลงห้้นถือว่าทรัพย์สินนั้น
เป็ นของห้าง แม้ทรัพย์สินนั้นจะเป็ นที่ดินและไม่ได้มีการจด
ทะเบียนก็ตามก็ถือว่าเป็ นที่ดินของห้างและถือว่าผ้้ท่ีนำาที่ดินมา
ลงห้น้ ได้ถือที่ดินแทนห้้นส่วนท้กคนแล้ว เพราะการนำาทรัพย์สน ิ
มาลงห้้นไม่ใช่เรื่องการซื้อขายแต่อย่างใด จึงไม่อย่้ในบังคับต้อง
จดทะเบียน
ขุอสังเกต ถ้าเป็ นการนำาทรัพย์สินมาใช้ในกิจการของ
ห้างห้้นส่วนเท่านั้น ไม่มีเจตนาจะนำามาลงห้้น ทรัพย์สินนั้นก็ไม่
ตกเป็ นกรรมสิทธิข ์ องห้าง ดังนั้น เมื่อเจ้าของทรัพย์สินนั้นนำา
ทรัพย์สินไปจำาหน่ ายจึงไม่เป็ นการผิดสัญญาห้้นส่วน และไม่
ถือว่าเป็ นการชักนำาบ้คคลภายนอก (ผ้้รับโอนทรัพย์สิน) เข้ามา
เป็ นห้้นส่วนโดยไม่ได้รับความยินยอมจากห้้นส่วนคนอื่นตาม
มาตรา ๑๐๔๐
การจัดการหุางหุุนส่วนสามัญ
ถ้าห้้นส่วนมิได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น ผ้้เป็ นห้้นส่วน
ย่อมจัดการห้างห้้นส่วนนั้นได้ท้กคน แต่ผ้เป็ นห้้นส่วนคนใดจะเข้า
ทำาสัญญาที่ผ้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งทักท้วงไม่ได้ ในกรณีเช่นนี้ ให้
ถือว่าผ้้เป็ นห้้นส่วนเป็ นห้้นส่วนผ้้จัดการท้กคน (มาตรา ๑๐๓๓)
ขุอสังเกต ห้้นส่วนแต่ละคนจึงอาจทำาสัญญาเกี่ยวกับ
กิจการของห้างได้และฟ้ องค่้กรณีได้โดยไม่ต้องได้รับอน้ญาตหรือ
ความยินยอมจากห้้นส่วนอื่น แต่ท้ังนี้ ผ้้เป็ นห้้นส่วนอาจตกลงกัน
ให้ห้นส่วนคนหนึ่ งหรือหลายคนจัดการห้างก็ได้ แต่ถ้าไม่มีการ
ตกลงกันไว้ก็ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ตามมาตรา ๑๐๓๓ ข้าง
ต้น
กรณีห้นส่วนมีการตกลงกันให้การจัดการห้างถือตาม
เสียงข้างมาก ผ้้ถือห้้นคนหนึ่ งมีเสียงเป็ นหนึ่ งคะแนน โดยไม่ต้อง
คำานึ งถึงจำานวนห้้นว่ามีมากน้อยแค่ไหน (มาตรา ๑๐๓๔)
กรณีห้นส่วนท้กคนมีการตกลงมอบอำานาจให้แก่บ้คคล
ใดฟ้ องคดี หาจะมีการถอนการมอบอำานาจก็ต้องกระทำาโดยห้้น
ส่วนท้กคนหรือใช้เสียงข้างมากเท่านั้น
กรณีมีห้นส่วนผ้้จัดการหลายคน แต่ละคนจะจัดการห้าง
นั้นก็ได้ แต่ถ้ามีห้นส่วนผ้้จัดการคนใดทักท้วง ห้้นส่วนผ้้จัดการ
นั้นก็จะกระทำาไม่ได้ (มาตรา ๑๐๓๕)
สิทธิของหุุนส่วนทีม ่ ิใช่หุนส่วนผุูจัดการในการ
ดูแลครอบงำากิจการ
3

ถึงแม้ว่าผ้้เป็ นห้้นส่วนทั้งหลายได้ตกลงให้ผ้เป็ นห้้นส่วน


คนเดียวหรือหลายคนเป็ นผ้้จัดการห้างห้้นส่วน ผ้้เป็ นห้้นส่วนท้ก
คนนอกจากผ้้จัดการย่อมมีสิทธิท่ีจะไต่ถามถึงการงานของห้างห้้น
ส่วนที่จัดอย่้น้ันได้ทก ้ เมื่อ และมีสิทธิท่ีจะตรวจและคัดสำาเนาสม้ด
บัญชี และเอกสารใด ๆ ของห้้นส่วนได้ด้วย (มาตรา ๑๐๓๗)
หุามมิใหุหุนส่วนประกอบกิจการดุจเดียวกัน
ห้ามมิให้ผ้เป็ นห้้นส่วนประกอบกิจการอย่างหนึ่ งอย่าง
ใดซึ่งมีสภาพด้จเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้าง
ห้้นส่วนนั้นไม่ว่าทำาเพื่อประโยชน์ตนหรือประโยชน์ผ้อ่ ืน โดยมิได้
รับความยินยอมของผ้้เป็ นห้้นส่วนคนอื่น ๆ ถ้าผ้้เป็ นห้้นส่วนคน
ใดทำาการฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติมาตรานี้ ผ้้เป็ นห้้นส่วนคนอื่น ๆ
ชอบที่จะเรียกเอาผลกำาไรซึ่งผ้้น้ันหาได้ท้ังหมด หรือเรียกเอาค่า
สินไหมทดแทนเพื่อการที่ห้างห้้นส่วนได้รับความเสียหายเพราะ
เหต้น้ัน แต่ห้ามมิให้ฟ้องเรียกเมื่อพ้นเวลา ๑ ปี นับแต่วันทำาการ
ฝ่ าฝื น (มาตรา ๑๐๓๘)
หุามมิใหุชักนำาบุคคลอื่นเขุามาเป็ นหุุนส่วน
ห้ามมิให้ชักนำาเอาบ้คคลผ้้อ่ ืนเข้ามาเป็ นห้้นส่วนในห้าง
ห้้นส่วนโดยมิได้รับความยินยอมของผ้้เป็ นห้้นส่วนหมดด้วยกัน
ท้กคน เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น (มาตรา ๑๐๔๐)
ความสัมพันธ์ระหว่างหุุนส่วนผุูจัดการกับผุูเป็ น
หุน ุ ส่วนอื่นใหุบังคับตามหลักตัวแทน
มาตรา ๑๐๔๒ ความเกี่ยวพันระหว่างห้้นส่วนผ้้จัดการ
กับผ้้เป็ นห้้นส่วนทั้งหลายอื่นนั้น ท่านให้บังคับด้วยบทบัญญัติแห่ง
ประมวลกฎหมายนี้ ว่าด้วยตัวแทน
ความเกีย ่ วพันระหว่างหุุนส่วนผุูจัดการกับบุคคล
ภายนอก
ในการทำานิ ตก ิ รรมกับบ้คคลภายนอก ห้้นส่วนคนใดเป็ น
ค่ส้ ัญญากับบ้คคลภายนอกห้้นส่วนคนนั้นจึงมีอำานาจฟ้ อง
(มาตรา ๑๐๔๙) ห้้นส่วนที่ไม่มีช่ ือเป็ นค่้สัญญาจะฟ้ องบ้คคล
ภายนอกไม่ได้ แต่ท้ังนี้ ห้นส่วนทั้งหมดท้กคนอาจร่วมกันฟ้ องคดี
ได้เพราะห้้นส่วนทั้งหมดสามารถรวมกันฟ้ องในฐานะตัวการตาม
มาตรา ๘๐๖ ไม่ต้องห้ามตามมาตรา ๑๐๔๙ แต่อย่างใด
ขุอสังเกต กรณีท่ีห้นส่วนที่มิได้เป็ นผ้้ทำานิ ติกรรมหรือ
ไม่ได้ลงชื่อในนิ ติกรรมได้ฟ้องโดยไม่มีอำานาจฟ้ อง หากต่อมาห้้น
ส่วนที่เป็ นผ้้ทำานิ ติกรรมนั้นเข้ามาเป็ นโจทก์ร่วมด้วยแล้ว ศาล
ฎีกาวินิจฉัยว่า ถือว่าเป็ นการฟ้ องคดีเพื่อประโยชน์แก่ห้นส่วนท้ก
คน ห้้นส่วนที่ไม่ได้เป็ นค่้สัญญาและห้้นส่วนที่เป็ นค่้สัญญาจึงย่อม
มีอำานาจฟ้ อง
4

คำาพิพากษาฎีกาที่ ๙๑๖/๒๕๐๙ จำาเลยรับฝากผ้าไป


ขายและซื้อเชื่อผ้าไปจากร้านศิริเอเซียซึ่งเป็ นห้างห้้นส่วนสามัญ
ไม่จดทะเบียน มีโจทก์และโจทก์ร่วมเป็ นห้้นส่วนกัน แม้จำาเลยจะ
อ้างว่าโจทก์จะไม่มีอำานาจฟ้ องเรียกหนี้ ในนามของตนเองแต่ผ้
เดียว แต่ภายหลังโจทก์ร่วมขอเข้าเป็ นโจทก์ร่วม การฟ้ องเรียก
หนี้ จึงเป็ นการเรียกร้องเพื่อประโยชน์แก่ผ้เป็ นห้้นส่วนด้วยท้กคน
โจทก์และโจทก์ร่วมย่อมมีสิทธิฟ้องได้ เมื่อจำาเลยผ่อนชำาระหนี้ ให้
โจทก์ อาย้ความย่อมสะด้ดหย้ดลงและสิทธิเรียกร้องของโจทก์ไม่
ขาดอาย้ความ
ความรับผิดของหุุนส่วน
๑. การใดๆ อันผ้้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งได้จัดทำาไปใน
ทางที่เป็ นธรรมดาการค้าขายของห้างห้้นส่วนนั้น ผ้้เป็ นห้้นส่วน
หมดท้กคนย่อมมีความผ้กพันในการนั้น ๆ ด้วย และจะต้องรับผิด
ร่วมกันโดยไม่จำากัดจำานวนในการชำาระหนี้ อันได้ก่อให้เกิดขึ้น
เพราะจัดการไปเช่นนั้น (มาตรา ๑๐๕๐)
ขุอสังเกต
(๑) แม้กิจการที่ทำาไปจะไม่อย่้ในวัตถ้ประสงค์ของห้าง
แต่ถ้าเป็ นการทำาไปเพื่อให้ดำาเนิ นไปตามวัตถ้ประสงค์ของห้าง
ถือได้ว่าเป็ นธรรมดาการค้าของห้าง
(๒) ผ้้จัดการห้างห้้นส่วนจำากัดลงชื่อก้้เงินแทนห้างแต่
ประทับตราปลอม ห้างก็ยังคงต้องรับผิด
(๓) ห้างมีวัตถ้ประสงค์รับจ้างถมดิน แต่ห้นส่วนคนหนึ่ ง
ว่าจ้างช่วงให้ผ้อ่ ืนถมดินโดยไม่ได้รับมอบหมายจากห้้นส่วนคน
อื่น เพื่อให้ส่งมอบงานให้ผ้ว่าจ้างทันตามสัญญา ถือว่าเป็ นการ
จัดการไปในทางธรรมดาการค้าของห้าง ผ้้เป็ นห้้นส่วนท้กคนต้อง
ผ้กพันตามสัญญาว่าจ้างช่วง
(๔) กิจการที่ทำาไปนอกวัตถ้ประสงค์ของห้างและไม่ได้
กระทำาไปให้บรรล้วัตถ้ประสงค์ของห้างโดยห้างไม่ได้รับ
ประโยชน์ด้วย เช่นนี้ ไม่ผ้กพันห้าง
๒. ห้้นส่วนซึ่งออกจากห้้นส่วนไปแล้วยังคงต้องรับผิดใน
หนี้ ซึ่งห้างห้้นส่วนได้ก่อให้เกิดขึ้นก่อนที่ตนได้ออกจากห้้นส่วนไป
(มาตรา ๑๐๕๑)
ขุอสังเกต ถ้าเป็ นห้างที่จดทะเบียนตามมาตรา ๑๐๖๘
จะจำากัดเวลาไว้เพียง ๒ ปี นับแต่เมื่อออกจากห้างไป แต่ถ้าห้าง
ยังไม่จดทะเบียนสามารถฟ้ องได้โดยไม่มีจำากัดเวลาตามมาตรา
๑๐๕๑
๓. ผ้้ท่ีเข้าเป็ นห้้นส่วนย่อมต้องรับผิดในหนี้ ใดๆ ซึ่งห้าง
ได้ก่อให้เกิดขึ้นก่อนที่ตนจะเข้ามาเป็ นห้้นส่วน (มาตรา ๑๐๕๒)
5

๔. ผ้้ท่ีแสดงตนว่าเป็ นห้้นส่วนต้องรับผิดต่อบ้คคล
ภายนอก
มาตรา ๑๐๕๔ บ้คคลใดแสดงตนว่าเป็ นห้้นส่วนด้วย
วาจาก็ดี ด้วยลายลักษณ์อักษรก็ดี ด้วยกิรย ิ าก็ดี ด้วยยินยอมให้
เขาใช้ช่ ือตนเป็ นชื่อห้างห้้นส่วนก็ดี หรือร้้แล้วไม่คัดค้านปล่อยให้
เขาแสดงว่าตนเป็ นห้้นส่วนก็ดี ท่านว่าบ้คคลนั้นย่อมต้องรับผิด
ต่อบ้คคลภายนอกในบรรดาหนี้ ของห้างห้้นส่วนเสมือนเป็ นห้้น
ส่วน
ถ้าผ้้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งคนใดตายไปแล้ว และห้างห้้น
ส่วนนั้นยังคงค้าต่อไปในชื่อเดิมของห้าง ท่านว่าเหต้เพียงที่คงใช้
ชื่อเดิมนั้นก็ดี หรือใช้ช่ ือของห้้นส่วนผ้้ตายควบอย่้ด้วยก็ดี หา
ทำาให้ความรับผิดมีแก่กองทรัพย์มรดกของผ้้ตายเพื่อหนี้ ใด ๆ อัน
ห้างห้้นส่วนได้ก่อให้เกิดขึ้นภายหลังมรณะนั้นไม่
ขุอสังเกต
(๔.๑) ผ้้ท่ีแสดงตนว่าเป็ นห้้นส่วนหรือยินยอมให้ใช้ช่ ือตน
เป็ นชื่อห้าง ต้องรับผิดเฉพาะต่อบ้คคลภายนอกที่ตนไปแสดงออก
ให้เขาหลงเชื่อเท่านั้น หาใช่ต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้ ท่ัวๆ ไปไม่
(๔.๒) มาตรา ๑๐๕๔ ใช้บังคับกับกรณีห้างห้้นส่วน
สามัญเท่านั้น แต่ไม่นำาไปใช้บังคับกับห้างห้้นส่วนจำากัดด้วย
เพราะมาตรา ๑๐๗๗ กำาหนดห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนจำากัดไว้ ๒
จำาพวก คือ ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดกับห้้นส่วนจำาพวกไม่
จำากัดความรับผิด นอกจากนี้ หากห้้นส่วนจำากัดความรับผิดที่
ยินยอมให้ใช้ช่ ือตนระคนเป็ นชื่อห้างก็กำาหนดไว้โดยเฉพาะใน
มาตรา ๑๐๘๒ ที่ให้ถือว่าห้้นส่วนนั้นเป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัด
ความรับผิด
(๔.๓) การที่ภริยาห้้นส่วนผ้้จัดการออกเช็คเพื่อชำาระหนี้
ของห้างและลงชื่อในสัญญาประนี ประนอมยอมความ ยังไม่
เป็ นการแสดงตนว่าเป็ นห้้นส่วน จึงไม่ต้องร่วมรับผิดในหนี้ ของ
ห้าง (คำาพิพากษาฎีกาที่ ๘๓๐/๒๕๓๔)
การเลิกและการชำาระบัญชีหุางหุุนส่วน
เหตุของการเลิกสัญญา (มาตรา ๑๐๕๕)
(๑) ถ้าในสัญญาทำาไว้มีกำาหนดกรณีอันใดเป็ นเหต้ท่ีจะ
เลิกกัน เมื่อมีกรณีน้ัน
(๒) ถ้าสัญญาทำาไว้เฉพาะกำาหนดกาลใด เมื่อสิ้น
กำาหนดกาลนั้น
(๓) ถ้าสัญญาทำาไว้เฉพาะเพื่อทำากิจการอย่างหนึ่ งอย่าง
ใดแต่อย่างเดียว เมื่อเสร็จการนั้น
(๔) เมื่อผ้้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งให้คำาบอกกล่าวแก่ผ้
เป็ นห้้นส่วนคนอื่นๆ ตามกำาหนดดังบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๕๖
6

(๕) เมื่อผ้้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งตาย หรือล้มละลาย


หรือตกเป็ นผ้้ไร้ความสามารถ
ขุอสังเกต ถ้าผ้้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งตาย ผ้้เป็ นห้้นส่วน
อื่นยอมให้มีคนรับโอนห้้นสืบต่อมา ห้น ้ ส่วนนั้นไม่เลิกจากกัน
การบอกเลิกหุางหุุนส่วน (มาตรา ๑๐๕๖)
กรณีห้างห้้นส่วนได้ต้ังขึ้นโดยไม่มีกำาหนดเวลา ผ้้เป็ น
ห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งจะบอกเลิกเมื่อสิน ้ รอบปี ในทางบัญชีเงินของ
ห้างนั้นได้ โดยต้องบอกกล่าวความจำานงจะเลิกล่วงหน้าไม่นอ ้ ย
กว่า ๖ เดือน
ขุอสังเกต ถ้าห้้นส่วนท้กคนตกลงเลิกห้างกันเอง ถือว่า
เป็ นการบอกเลิกโดยเจตนาของค่้สัญญา ไม่ใช่เป็ นการบอกเลิก
ตามมาตรา ๑๐๕๖ จึงไม่จำาเป็ นต้องบอกเลิกล่วงหน้าตามมาตรา
๑๐๕๖
การเลิกหุางหุุนส่วนโดยคำาสัง ่ ศาล
ผ้้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งอาจร้องขอให้ศาลสั่งให้ห้าง
ห้้นส่วนสามัญเลิกกันได้ในกรณีดังต่อไปนี้ (มาตรา ๑๐๕๗)
๑. เมื่อผ้้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งนอกจากผ้้ร้องฟ้ องนั้น
ล่วงละเมิดบทบังคับใด ๆ อันเป็ นข้อสาระสำาคัญซึ่งสัญญาห้้นส่วน
กำาหนดไว้แก่ตน โดยจงใจหรือเลินเล่ออย่างร้ายแรง
๒. เมื่อกิจการของห้างห้้นส่วนนั้นจะทำาไปก็มีแต่ขาดท้น
อย่างเดียวและไม่มีหวังจะกลับฟื้ นตัวได้อีก
๓. เมื่อมีเหต้อ่ ืนใด ๆ ทำาให้ห้างห้้นส่วนนั้นเหลือวิสัยที่จะ
ดำารงคงอย่้ต่อไปได้
ขุอสังเกต
(๑) การที่ห้นส่วนไม่จัดทำาบัญชีรายรับ รายจ่าย งบกำาไร
ขาดท้น ไม่แบ่งผลกำาไร เป็ นการล่วงละเมิดทบบังคับที่เป็ นข้อ
สาระสำาคัญ
คำาพิพากษาฎีกาที่ ๓๔๓๑/๒๕๔๖ โจทก์จำาเลยเป็ น
ห้้นส่วนประกอบกิจการบังกะโล ให้เช่าจำาเลยไม่จัดทำา
บัญชีรายรับ รายจ่าย งบกำาไรขาดท้น ไม่แบ่งปั นผลกำาไรให้แก่
โจทก์ ถือว่าเป็ นการประพฤติผิดสัญญาห้้นส่วนในสาระสำาคัญ
เป็ นเหต้ท่ีจะเลิกห้างห้้นส่วนและชำาระบัญชีได้ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๐๕๗ (๑) มาตรา ๑๐๖๑ และ
มาตรา ๑๐๖๒ การที่โจทก์ฟ้องเรียกเอาส่วนแบ่งผลกำาไรหรือขอ
บังคับจำาเลยขนย้ายทรัพย์สินออกไปอันมีลักษณะคืนท้นโดยที่ยัง
มิได้ชำาระบัญชีหรือตกลงให้จัดการทรัพย์สน
ิ ของห้างห้้นส่วนด้วย
7

วิธีอ่ ืนระหว่างผ้้เป็ นห้้นส่วนด้วยกัน จึงเป็ นกรณีท่ีมิได้ปฏิบัติตาม


บทบัญญัตแ ิ ห่งกฎหมายดังกล่าว โจทก์จึงไม่มีอำานาจฟ้ อง
(๒) ห้้นส่วนต่างไม่ไว้ใจกันไม่ปรองดองกันเป็ นเหต้ทำาให้
ห้างนั้นเหลือวิสัยที่จะดำารงอย่้ต่อไปได้ ห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งมี
สิทธิร้องขอให้ศาลสั่งเลิกห้างได้ โดยไม่จำาเป็ นต้องบอกกล่าวล่วง
หน้าไม่นอ ้ ยกว่า ๖ เดือน ตามมาตรา ๑๐๕๖
(๓) การฟ้ องขอให้ศาลสั่งให้เลิกห้าง อาจฟ้ องห้้นส่วนอื่น
ซึ่งเป็ นต้นเหต้ให้เลิกห้างห้้นส่วนได้ โดยไม่ต้องฟ้ องห้างเข้ามา
เป็ นค่้ความด้วย
คำาพิพากษาฎีกาที่ ๒๓๘๓/๒๕๓๖ การที่จำาเลยซึ่ง
เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดเพียงคนเดียวของห้างห้้น
ส่วนจำากัดได้ประพฤติผิดสัญญาเป็ นปฏิปักษ์ต่อโจทก์ท่ี ๒ ถึงที่ ๔
ซึ่งเป็ นห้้นส่วนประเภทจำากัดความรับผิดนับว่ามีเหต้ทำาให้ห้างห้้น
ส่วนจำากัดโจทก์ท่ี ๑ เหลือวิสัยที่จะดำารงคงอย่ต ้ ่อไปได้ โจทก์ท่ี ๒
ถึงที่ ๔ ย่อมสามารถฟ้ องจำาเลยซึ่งเป็ นผ้้โต้แย้งสิทธิของโจทก์ท่ี ๒
ถึงที่ ๔ ตามกฎหมายขอให้เลิกกิจการห้างห้้นส่วนจำากัดโจทก์ท่ี ๑
ซึ่งเป็ นการเลิกสัญญาจัดตั้งห้างห้้นส่วนระหว่างโจทก์ท่ี ๒ ถึงที่ ๔
และจำาเลยได้โดยตรงโดยหาจำาต้องฟ้ องห้างห้้นส่วนจำากัดด้วยไม่
เมื่อคำาฟ้ องโจทก์ได้บรรยายข้อเท็จจริงว่าจำาเลยถือกรรมสิทธิใ์ น
ที่ดนิ พิพาทในฐานะแทนโจทก์ท่ี ๑ และคำาขอบังคับก็ได้ระบ้ขอให้
บังคับจำาเลยโอนที่ดน ิ พิพาทคืนแก่โจทก์ซึ่งย่อมหมายความรวม
ถึงโจทก์ท่ี ๑ ด้วย คำาฟ้ องของโจทก์เช่นนี้ หาเคลือบคล้มไม่
การชำาระบัญชีหุางหุุนส่วนสามัญ
เมื่อห้างเลิกกันแล้วก็ให้จัดการชำาระบัญชี เว้นแต่จะได้
ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอ่ ืนในระหว่างผ้้เป็ นห้้นส่วน
ด้วยกัน หรือศาลพิพากษาให้ห้างนั้นล้มละลาย (มาตรา ๑๐๖๑
วรรคหนึ่ ง) โดยจะต้องดำาเนิ นการชำาระบัญชีเป็ นไปตามลำาดับ
ดังนี้ (มาตรา ๑๐๖๒)
๑. ให้ชำาระหนี้ ท้ังหลายซึ่งค้างชำาระแก่บ้คคลภายนอก
๒. ให้ชดใช้เงินทดรองและค่าใช้จ่ายซึ่งผ้้เป็ นห้้นส่วนได้
ออกของตนไปเพื่อจัดการค้าของห้าง
๓. ให้คืนท้นทรัพย์ซึ่งผ้้เป็ นห้้นส่วนแต่ละคนได้ลงเป็ น
ห้้น
ถ้ายังมีทรัพย์เหลืออย่้อีกเท่าไร ก็ให้เฉลี่ยแจกเป็ นกำาไร
ในระหว่างผ้้เป็ นห้้นส่วน (มาตรา ๑๐๖๒ วรรคสอง) แต่ถ้าเมื่อได้
ชำาระหนี้ ซึ่งค้างชำาระแก่บ้คคลภายนอกและชดใช้เงินทดรองและ
ค่าใช้จ่ายแล้ว สินทรัพย์ท่ียังอย่้ไม่พอจะคืนแก่ผ้เป็ นห้้นส่วนให้
ครบจำานวนที่ลงห้้น ส่วนที่ขาดนี้ คือขาดท้น ซึ่งต้องคิดเฉลี่ยช่วย
กันขาด (มาตรา ๑๐๖๓)
8

ขุอสังเกต
(๑) เมื่อห้างห้้นส่วนเลิกกันแล้วต้องจัดให้มีการชำาระ
บัญชีก่อน ถ้ายังไม่ได้มก ี ารชำาระบัญชี ห้้นส่วนก็จะฟ้ องขอให้แบ่ง
ทรัพย์สินยังไม่ได้แม้จะมีการบอกเลิกห้างห้้นส่วนแล้วก็ตามก็จะ
ฟ้ องเรียกค่าห้้นหรือแบ่งทรัพย์สินยังไม่ได้เช่นกัน เว้นแต่มีการ
ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอ่ ืนในระหว่างผ้้ท่ีเป็ นห้้นส่วน
ด้วยกันก็ไม่จำาต้องชำาระบัญชี
(๒) ถ้ากิจการของห้างห้้นส่วน (ไม่ได้จดทะเบียน) ไม่มี
ความย่้งยากหรือไม่มีความเกี่ยวพันกับหนี้ สินของบ้คคลภายนอก
ศาลฎีกามองว่าไม่มีความจำาเป็ นต้องชำาระบัญชี จึงสามารถ
พิพากษาให้คน ื ท้นและแบ่งผลกำาไรกันได้โดยไม่ต้องมีการชำาระ
บัญชีก่อน (คำาพิพากษาฎีกาที่ ๑๙๕๖/๒๕๑๗ และ ๔๗๗๓/๒๕๓๖)
หรือกรณีท่ีจำาเลยปฏิเสธว่าโจทก์ไม่ได้เป็ นห้้นส่วนและกิจการ
ไม่มีกำาไร การชำาระบัญชีจึงไม่เป็ นประโยชน์ ศาลย่อมมีอำานาจ
พิพากษาให้คน ื ท้นได้โดยไม่ต้องให้มีการชำาระบัญชีกันก่อน (คำา
พิพากษาฎีกาที่ ๔๓๕๗/๒๕๔๐)
(๓) ผ้้เป็ นห้้นส่วน (ห้างห้้นส่วนที่ไม่ได้จดทะเบียน)
สามารถตกลงกันแบ่งทรัพย์สน ิ กันได้โดยถือว่าเป็ นการตกลงให้
จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอ่ ืนในระหว่างผ้้เป็ นห้้นส่วนด้วยกัน จึงเข้า
ข้อยกเว้นไม่ต้องมีการชำาระบัญชี (คำาพิพากษาฎีกาที่
๗๐๓๓/๒๕๓๙ และ ๑๐๓๘-๑๐๓๙/๒๕๒๕)
(๔) การฟ้ องเรียกค่าเสียหายระหว่างห้้นส่วนด้วยกัน
เพราะผิดสัญญา แม้ห้างยังไม่เลิกก็ฟ้องกันได้ (คำาพิพากษาฎีกา
ที่ ๑๑๙๗/๒๔๙๗)
สรุป เมื่อห้างห้้นส่วนที่เป็ นนิ ติบ้คคลเมื่อเลิกกันแล้ว
ต้องจัดให้มีการชำาระบัญชีท้กกรณีไม่มีข้อยกเว้น จะนำาเอาข้อ
ยกเว้นที่ไม่ต้องชำาระบัญชีเนื่ องจากมีข้อตกลงให้จัดการทรัพย์สิน
โดยวิธีอ่ ืนตามมาตรา ๑๐๖๑ มาใช้บังคับไม่ได้ ดังนั้น มาตรา
๑๐๖๑ จึงใช้บังคับฉพาะกรณีห้างห้้นส่วนไม่จดทะเบียนเท่านั้น
การจดทะเบียนหุางหุุนส่วนสามัญ
ห้างห้้นส่วนสามัญนั้นจะจดทะเบียนก็ได้ โดยการลง
ทะเบียนนั้น ต้องให้มีรายการดังนี้ (มาตรา ๑๐๖๔)
(๑) ชื่อห้างห้้นส่วน
(๒) วัตถ้ท่ีประสงค์ของห้างห้้นส่วน
(๓) ที่ต้ังสำานักงานแห่งใหญ่และสาขาทั้งปวง
(๔) ชื่อและที่สำานักกับทั้งอาชีวะของผ้้เป็ นห้้นส่วนท้ก ๆ
คน ถ้าผ้้เป็ นห้้นส่วนคนใดมีช่ ือยี่ห้อ ก็ให้ลงทะเบียนทั้งชื่อและ
ยี่ห้อด้วย
9

(๕) ชื่อห้้นส่วนผ้้จัดการ ในเมื่อได้ต้ังแต่งให้เป็ นผ้้จัดการ


แต่เพียงบางคน
(๖) ถ้ามีข้อจำากัดอำานาจของห้้นส่วนผ้้จัดการประการใด
ให้ลงไว้ด้วย
(๗) ตราซึ่งใช้เป็ นสำาคัญของห้างห้้นส่วน
ซึ่งการลงทะเบียนนั้น ต้องลงลายมือชื่อของผ้้เป็ นห้้นส่วนท้กคน
และต้องประทับตราของห้างห้้นส่วนนั้นด้วย จากนั้นให้พนักงาน
ทะเบียนทำาใบสำาคัญแสดงการจดทะเบียนส่งมอบให้แก่ห้างห้้น
ส่วนนั้น ๑ ฉบับ
หุนุ ส่วนถือเอาประโยชน์ในกิจการทีไ ่ ม่ปรากฏชื่อ
ตน
ผ้้เป็ นห้้นส่วนอาจถือเอาประโยชน์แก่บ้คคลภายนอกใน
บรรดาสิทธิอันห้างห้้นส่วนจดทะเบียนนั้นได้มา แม้ในกิจการซึ่ง
ไม่ปรากฏชื่อของตนตามมาตรา ๑๐๖๕
หุามหุุนส่วนดำาเนิ นกิจการของตนขัดกับกิจการ
ของหุาง
ห้ามมิให้ผ้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งคนใดในห้างห้้นส่วนจด
ทะเบียนประกอบกิจการอย่างหนึ่ งอย่างใดอันมีสภาพเป็ นอย่าง
เดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้างห้้นส่วนนั้น ไม่ว่า
ทำาเพื่อประโยชน์ตนหรือเพื่อประโยชน์ผ้อ่ ืน หรือไปเข้าเป็ นห้้น
ส่วนไม่จำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วนอื่น ซึ่งประกอบกิจการอัน
มีสภาพเป็ นอย่างเดียวกัน และแข่งขันกับกิจการของห้างห้้นส่วน
จดทะเบียนนั้น เว้นไว้แต่จะได้รับคำายินยอมของผ้้เป็ นห้้นส่วนอื่น
ทั้งหมด แต่ข้อห้ามเช่นว่ามานี้ จะใช้ไม่ได้ถ้าหากผ้้เป็ นห้้นส่วนทั้ง
หลายได้ร้อย่แ ้ ล้วในเวลาเมื่อลงทะเบียนห้างห้้นส่วนนั้นว่า ผ้้เป็ น
ห้้นส่วนคนหนึ่ งได้ทำากิจการ หรือเข้าเป็ นห้้นส่วนอย่้ในห้างห้้น
ส่วนอื่นอันมีวัตถ้ท่ีประสงค์อย่างเดียวกัน และในสัญญาเข้าห้้น
ส่วนที่ทำาไว้ต่อกันนั้นก็ไม่ได้บังคับให้ถอนตัวออก (มาตรา ๑๐๖๖)
ผลของการฝ่าฝืนมาตรา ๑๐๖๖
ถ้าผ้้เป็ นห้้นส่วนคนใดกระทำาการฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติใน
มาตรา ๑๐๖๖ ห้างห้้นส่วนซึ่งจดทะเบียนนั้นชอบที่จะเรียกเอาผล
กำาไรอันผ้้น้ันหาได้ท้ังหมดหรือเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อ
ความเสียหายซึ่งห้างห้้นส่วนได้รับเพราะเหต้น้ัน แต่ท้ังนี้ ห้ามมิให้
ฟ้ องเรียกเมื่อพ้นเวลา ๑ ปี นับแต่วันทำาการฝ่ าฝื น อนึ่ ง ไม่ลบล้าง
สิทธิของผ้้เป็ นห้้นส่วนทั้งหลายนอกนั้นในอันจะเรียกให้เลิกห้าง
ห้้นส่วน (มาตรา ๑๐๖๗)
กำาหนดเวลาความรับผิดของผุูเป็ นหุุนส่วนในหุาง
หุนุ ส่วนจดทะเบียน
10

ความรับผิดของผ้้เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนจดทะเบียน
อันเกี่ยวแก่หนี้ ซึ่งห้างห้้นส่วนได้ก่อให้เกิดขึ้นก่อนที่ตนออกจาก
ห้้นส่วนนั้น ย่อมมีจำากัดเพียงสองปี นับแต่เมื่อออกจากห้้นส่วน
(มาตรา ๑๐๖๘)
กรณี หุางผิดรับชำาระหนี้
เมื่อใดห้างห้้นส่วนซึ่งจดทะเบียนผิดนัดชำาระหนี้ เมื่อนั้น
เจ้าหนี้ ของห้างห้้นส่วนนั้นชอบที่จะเรียกให้ชำาระหนี้ เอาแต่ผ้เป็ น
ห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งก็ได้ (มาตรา ๑๐๗๐)
สิทธิเกีย ่ งของหุุนส่วน
๑. สิทธิเกีย ่ งใหุชำาระเอาจากหุางก่อน
ถ้าผ้้เป็ นห้้นส่วนนำาพิส้จน์ได้ว่า (มาตรา ๑๐๗๑)
(๑) สินทรัพย์ของห้างห้้นส่วนยังมีพอที่จะชำาระหนี้ ได้
ทั้งหมดหรือบางส่วน และ
(๒) การที่จะบังคับเอาแก่ห้างห้้นส่วนนั้นไม่เป็ นการยาก
ศาลจะบังคับให้เอาสินทรัพย์ของห้างห้้นส่วนนั้นชำาระหนี้ ก่อนก็ได้
ส้ดแต่ศาลจะเห็นสมควร
๒. สิทธิเกีย ่ งหากหุางยังไม่เลิกกัน
ถ้าห้างห้้นส่วนซึ่งจดทะเบียนยังมิได้เลิกกันตราบใด เจ้า
หนี้ ของผ้้เป็ นห้้นส่วนเฉพาะตัวย่อมใช้สิทธิได้แต่เพียงในผลกำาไร
หรือเงินซึ่งห้างห้้นส่วนค้างชำาระแก่ผ้เป็ นห้้นส่วนคนนั้นเท่านั้น
ถ้าห้างห้้นส่วนนั้นเลิกกันแล้วเจ้าหนี้ ย่อมใช้สิทธิได้ตลอดจนถึง
ห้้นของผ้้เป็ นห้้นส่วนคนนั้นอันมีในสินทรัพย์ของห้างห้้นส่วน
(มาตรา ๑๐๗๒)

หุางหุุนส่วนจำากัด
ห้างห้้นส่วนจำากัด คือ ห้างห้้นส่วนที่มีห้นส่วนอย่้ ๒
จำาพวก คือ ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดไม่เกินจำานวนเงินลง
ห้้น และห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดในหนี้ ของห้าง โดย
แต่ละจำาพวกอาจมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ (มาตรา ๑๐๗๗)
ขุอสังเกต
(๑) ห้างห้้นส่วนจำากัดต้องจดทะเบียนโดยมีรายการตาม
มาตรา ๑๐๗๘ (๑)-(๗) ถ้ายังไม่มีการจดทะเบียนก้ถือว่าเป็ นห้าง
ห้้นส่วนสามัญ ซึ่งผ้้เป็ นห้้นส่วนทั้งหมดต้องรับผิดร่วมกันในหนี้
ของห้างโดยไม่จำากัดจำานวนจนกว่าจะได้จดทะเบียน (มาตรา
๑๐๗๙)
(๒) กรณีห้างมีสิทธิเรียกร้องต่อบ้คคลภายนอกก่อนที่จะ
มีการจดทะเบียนผ้้เป็ นห้้นส่วนย่อมมีอำานาจฟ้ อง แม้ภายหลังห้าง
จะได้จดทะเบียนแล้วก็ตาม เนื่ องจากห้างที่ยังไม่จดทะเบียนเป็ น
11

ห้างห้้นส่วนจำากัดก็ต้องถือว่ายังเป็ นห้างห้้นส่วนสามัญ ซึ่งมีผลให้


ห้้นส่วนท้กคนต้องรับผิดร่วมกันในหนี้ ของห้างก่อนที่จะได้มีการ
จะทะเบียนเป็ นห้างห้้นส่วนจำากัด
(๓) กรณีบ้คคลภายนอกมีสิทธิเรียกร้องต่อห้างก่อนที่จะ
มีการจดทะเบียน บ้คคลภายนอกมีสิทธิฟ้องห้้นส่วนผ้้จัดการให้
รับผิดได้ เนื่ องจากเมื่อห้างได้จดทะเบียนเป็ นห้างห้้นส่วนจำากัด
แล้ว ห้างนั้นก็ต้องรับผิดในกิจการที่ได้กระทำาไปก่อนที่มีการจด
ทะเบียนด้วย
การนำาชื่อของหุุนส่วนจำากัดความรับผิดมาระคน
กับชื่อหุาง
โดยหลักแล้วห้ามมิให้เอาชื่อของผ้้เป็ นห้้นส่วนจำาพวก
จำากัดความรับผิดมาเรียกขานระคนป็ นชื่อห้าง (มาตรา ๑๐๘๑)
ถ้าผ้้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดคนใดยินยอมโดย
แสดงออกชัดหรือโดยปริยายให้ใช้ช่ ือของตนระคนเป็ นชื่อห้าง ผ้้
เป็ นห้้นส่วนคนนั้นจะต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอกเสมือนว่าเป็ น
ห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิด (มาตรา ๑๐๘๒) แต่ถ้าบ้คคล
ที่ยินยอมให้ใช้ช่ ือตนระคนเป็ นชื่อห้างไม่ใช่เป็ นห้้นส่วนของห้างก็
ไม่ต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอกตามมาตรา ๑๐๘๒ และไม่อาจนำา
มาตรา ๑๐๕๔ มาใช้กับกรณีห้างห้้นส่วนจำากัดได้ตามคำาพิพากษา
ฎีกาที่ ๒๖๒๖/๒๕๔๘ (ที่ไม่นำามาตรา ๑๐๕๙ มาใช้กับห้างห้้นส่วน
จำากัดเพราะไม่อาจกำาหนดได้ว่าห้้นส่วนใดจะต้องรับผิดเสมือน
เป็ นห้้นส่วนระหว่างห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดกับห้้นส่วน
จำาพวกไม่จำากัดความรับผิด)
หุน ุ ส่วนไม่จำากัดความรับผิดเท่านัน ้ เป็ นหุุนส่วนผุู
จัดการ
มาตรา ๑๐๘๗ อันห้างห้้นส่วนจำากัดนั้น ท่านว่าต้องให้
แต่เฉพาะผ้้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดเท่านั้นเป็ นผ้้
จัดการ
หุน ุ ส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดสอดเขุาจัดการ
งานของหุาง
ถ้าผ้้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดผ้้ใดสอด
เข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างห้้นส่วน ผ้้น้ันจะต้องรับผิด
ร่วมกันในบรรดาหนี้ ท้ังหลายของห้างห้้นส่วนนั้นโดยไม่จำากัด
จำานวน (มาตรา ๑๐๘๘ วรรคหนึ่ ง) แต่การออกความเห็นและ
แนะนำาก็ดี ออกเสียงเป็ นคะแนนนับในการตั้งและถอดถอนผ้้
จัดการตามกรณีท่ีมีบังคับไว้ในสัญญาห้้นส่วนนั้นก็ดี ไม่นับว่า
เป็ นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างห้้นส่วนนั้น
(มาตรา ๑๐๘๘ วรรคสอง)
ขุอสังเกต
12

(๑) ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดได้เข้าทำาสัญญา
ขายปอในนามห้างห้้นส่วนจำากัดโดยลงชื่อตนเองและประทับตรา
ของห้าง ถือเป็ นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้าง ห้้น
ส่วนนั้นจึงต้องรับผิดตามสัญญาด้วย
(๒) บ้คคลภายนอกสอดเข้าไปจัดการงานของห้างไม่ใช่
กรณีตามมาตรา ๑๐๘๘ นี้
การโอนหุุนของหุุนส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
ผ้้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดจะโอนห้้นของตน
ปราศจากความยินยอมของผ้้เป็ นห้้นส่วนอื่น ๆ ก็โอนได้ (มาตรา
๑๐๙๑)

บริษท ั จำากัด
สภาพและการตัง ้ บริษท ั จำากัด
บริษท ั จำากัด คือบริษท ั ประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยแบ่งท้นเป็ น
ห้้นมีมล
้ ค่าเท่า ๆ กัน โดยมีผ้ถือห้้นต่างรับผิดจำากัดเพียงไม่เกิน
จำานวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบม้ลค่าของห้้นที่ตนถือ (มาตรา
๑๐๙๖)
การตัง ้ บริษทั
๑. ผ้้เริ่มก่อการตั้งแต่สามคนขึ้นไปเข้าชื่อกันทำาหนังสือ
บริคณห์สนธิ และกระทำาการอย่างอื่นตามบทบัญญัติแห่ง
ประมวลกฎหมายเพื่อจัดตั้งบริษท ั าจำากัด
๒. หนังสือบริคณห์สนธิต้องมีรายการตามที่บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๑๐๙๘
ขุอสังเกต
(๑) กิจการสำาคัญใดที่ไม่ใช่เป็ นปกติธ้ระ ถ้าไม่ระบ้ไว้ใน
วัตถ้ประสงค์ของบริษท ั ก็จะกระทำาไม่ได้
(๒) วัตถ้ประสงค์ท่ีจดทะเบียนนั้นจะต้องไม่ขัดต่อ
กฎหมาย
ความรับผิดในหนี้ ทีผ ่ ุูเริม
่ ก่อการก่อไวุก่อนจด
ทะเบียนบริษท ั
๑. ผ้้เริ่มก่อการบริษท ั ต้องรับผิดร่วมกันและโดยไม่จำากัด
ในบรรดาหนี้ และการจ่ายเงินซึ่งที่ประช้มตั้งบริษท ั มิได้อน้มัติ
และแม้จะได้มีอน้มัติก็ยังคงต้องรับผิดอย่้เช่นนั้นไปจนกว่าจะได้
จดทะเบียนบริษท ั (มาตรา ๑๑๑๓)
๒. กรณีท่ีประช้มบริษท ั อน้มัติแล้วและบริษท ั จดทะเบียน
แล้ว ผ้้ก่อตั้งบริษท ั จะหล้ดพ้นจากความรับผิดในบรรดาหนี้ และ
การจ่ายเงินเป็ นส่วนตัวหรือไม่ ประเด็นตรงนี้ มีแนวคำาพิพากษา
ฎีกาวินิจฉัยเป็ น ๒ แนวทางคือ
แนวทางแรก ผ้้เริ่มก่อการหล้ดพ้นจากความรับผิด
13

คำาพิพากษาฎีกาที่ ๗๓๔/๒๕๐๒ โจทก์ฟ้อง


จำาเลยในฐานะผ้้ก่อตั้งบริษทั เรียกเงินค่าหนี้ สินที่บริษท
ั เป็ นล้กหนี้
โจทก์อย่้ เมื่อทางพิจารณาได้ความว่า บริษท ั นั้นได้จดทะเบียน
เป็ นนิ ติบ้คคลแล้วโจทก์ก็ไม่มีอำานาจฟ้ องจำาเลยในฐานะส่วนตัว
หรือผ้้ก่อการได้
คำาพิพากษาฎีกาที่ ๕๐๓/๒๕๓๗ ในขณะ อ.และ
จำาเลยที่ ๒ ซึ่งเป็ นผ้้เริ่มก่อการของบริษท ั จำาเลยที่ ๑ ได้ร่วมกันว่า
จ้างโจทก์ออกแบบตกแต่งภายในสำานักงานสาขาของจำาเลยที่ ๑
จำาเลยที่ ๑ ยังไม่จดทะเบียนเป็ นนิ ติบ้คคล เมื่อจำาเลยที่ ๑ จด
ทะเบียนเป็ นนิ ติบ้คคลแล้วได้ใช้สถานที่ซึ่งโจทก์ออกแบบตกแต่ง
ภายในนั้นเป็ นสำานักงานของจำาเลยที่ ๑ แสดงให้เห็นว่าที่ประช้ม
ตั้งบริษท
ั จำาเลยที่ ๑ ได้ให้สัตยาบันสัญญาว่าจ้างที่จำาเลยที่ ๒ ได้
ทำาไว้กับโจทก์ สัญญาว่าจ้างดังกล่าวจึงผ้กพันจำาเลยที่ ๑ ส่วน
จำาเลยที่ ๒ เมื่อจำาเลยที่ ๑ จดทะเบียนเป็ นนิ ติบ้คคลแล้ว จึงพ้น
ความรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๑๑๓ จำาเลยที่ ๑ ต้องชำาระเงินค่าว่าจ้างให้โจทก์
แนวทางทีส ่ อง ผ้้เริ่มก่อการไม่หล้ดพ้นความรับผิด
แม้ท่ีประช้มตั้งบริษท ั ให้สัตยาบันและภายหลังจดทะเบียน โดย
ต้องรับผิดร่วมกับบริษท ั ด้วย
คำาพิพากษาฎีกาที่ ๕๕๘๕/๒๕๔๑ แม้ในขณะที่
โจทก์ทำาสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างกับจำาเลยที่ ๒ ตามเอกสารที่
พิพาท จำาเลยที่ ๑ ยังมิได้จดทะเบียนเป็ นนิ ติบ้คคล แต่จำาเลยที่ ๒
และที่ ๓ ก็เป็ นผ้้ร่วมก่อการและกรรมการของจำาเลยที่ ๑ โดย
จำาเลยที่ ๓ เป็ นผ้้ชำาระเงินค่าจ้างก่อสร้างให้โจทก์หลังจากจำาเลย
ที่ ๒ ทำาสัญญาแล้ว ประกอบกับจำาเลยที่ ๓ เป็ นผ้้บริหารโรงแรม
ร่วมกับจำาเลยที่ ๒ และจำาเลยที่ ๓ มีส่วนร้้เห็นร่วมกับจำาเลยที่ ๒
ทำาสัญญาดังกล่าวกับโจทก์ด้วยและเมื่อโจทก์ส่งมอบอาคารให้แก่
จำาเลยทั้งสามในวันร่้งขึ้นจำาเลยทั้งสามก็ได้เปิ ดดำาเนิ นกิจการ
โรงแรมในอาคารดังกล่าว จึงเป็ นการที่จำาเลยที่ ๑ ยอมรับเอา
สัญญาที่จำาเลยที่ ๒ ทำาไว้กับโจทก์มาใช้ประโยชน์ในการดำาเนิ น
กิจการของตน จำาเลยที่ ๑ ย่อมต้องผ้กพันตามสัญญาดังกล่าว
ร่วมกับจำาเลยที่ ๒ และที่ ๓ ด้วย สำาหรับการปลี่ยนแปลงแก้ไขตัว
อาคาร จำาเลยที่ ๒ เป็ นผ้้ตกลงกับโจทก์ให้เปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบ
แปลนเป็ นอาคารโรงแรมเอง เมื่อโจทก์ก่อสร้างอาคารเสร็จ
จำาเลยทั้งสามก็ได้ยอมรับมอบอาคารจากโจทก์ โดยดีและเปิ ด
ดำาเนิ นกิจการเป็ นโรงแรมเช่นนี้ จำาเลยทั้งสามจึงต้องร่วมกันรับ
ผิดต่อโจทก์ตามสัญญาแก้ไข แบบแปลนอาคารดังกล่าว
14

การขอเพิกถอนการเขุาชื่อซื้อหุุน
เมื่อบริษท ั ได้จดทะเบียนแล้ว ผ้้เข้าชื่อซื้อห้้นจะร้องฟ้ อง
ขอให้ศาลเพิกถอนการที่ตนได้เข้าชื่อซื้อ โดยยกเหต้ว่าสำาคัญผิด
หรือต้องข่มข่้ หรือถ้กลวงล่อฉ้อฉลนั้นไม่ได้ (มาตรา ๑๑๑๔)
หุน
ุ และผุูถือหุุน
๑. ม้ลค่าของห้้น ๆ หนึ่ ง ต้องไม่ให้ต่ ำากว่า ๕ บาท
(มาตรา ๑๑๑๗)
๒. ห้้นนั้นจะแบ่งแยกไม่ได้ (มาตรา ๑๑๑๘ วรรคหนึ่ ง)
๓. ถ้าบ้คคลมีจำานวนแต่ ๒ คนขึ้นไปถือห้้น ๆ เดียวร่วม
กัน ต้องตั้งให้คนใดคนหนึ่ งแต่คนเดียวเป็ นผ้้ใช้สิทธิในฐานเป็ นผ้้
ถือห้้น (มาตรา ๑๑๑๘ วรรคสอง)
๔. บ้คคลทั้งหลายซึ่งถือห้้น ๆ เดียวร่วมกัน ต้องร่วมกัน
รับผิดต่อบริษท ั ในการส่งใช้ม้ลค่าของห้้น (มาตรา ๑๑๑๘ วรรค
สาม)
๕. ในการใช้เงินค่าห้้น ผ้้ถือห้้นจะหักหนี้ กับบริษท ั ไม่ได้
ตามมาตรา ๑๑๑๙ วรรคสอง บริษท ั จึงเรียกค่าห้้นดังกล่าวได้
๖. กรณีผ้ถือห้้นไม่ใชเงินค่าห้้น กรรมการจะบอกกล่าว
ด้วยจดหมายลงทะเบียนกำาหนดเวลาพอสมควรให้ใช้เงินพร้อม
ดอกเบี้ย โดยระบ้ไปด้วยว่าถ้าไม่ใช้เงินตามที่เรียก ห้น ้ นั้นอาจถ้ก
ริบได้ (มาตรา ๑๑๒๓)
การโอนหุุนชนิ ดระบุช่ ือ
๑. ต้องทำาเป็ นหนังสือและลงลายมือชื่อของผ้้โอนกับผ้้รับ
โอนและมีพยานลงชื่อรับรองลายมืออย่างน้อย ๑ คน หากฝ่ าฝื น
การโอนนั้นย่อมตกเป็ นโมฆะ
๒. หนังสือโอนห้้นจะต้องระบ้เลขหมายของห้้นไว้ด้วย
ขุอสังเกต
(๑) การโอนห้้นซึ่งตกเป็ นโมฆะ แม้บริษท ั จะได้ลงชื่อ
ผ้้รับโอนในทะเบียน ผ้้ถือห้้นและเคยนัดหมายให้ผ้รับโอนเข้า
ประช้มในฐานะผ้้ถือห้้นก็ดี ก็ไม่ทำาให้ผ้รับโอนกลายเป็ นผ้้ถือห้้น
โดยชอบด้วยกฎหมาย
(๒) การโอนห้้นได้ทำาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผ้้โอนและ
ผ้้รับโอนโดยมีพยานรับรองลายมือชื่อแล้ว แม้ไม่ได้ระบ้เลขหมาย
ของห้้นไว้ในหนังสือก็ไม่ทำาให้การโอนตกเป็ นโมฆะ (คำาพิพากษา
ฎีกาที่ ๑๑๒๗/๒๕๒๑ และ ๖๖๐/๒๕๒๕)
(๓) การที่ผ้โอนและผ้้รับโอนต่างมีหนังสือไปถึงขอให้
จัดการโอนห้้นให้ ไม่ใช่หนังสือโอนห้้น จึงไม่ถก ้ ต้องตามแบบ การ
โอนห้น ้ ตกเป็ นโมฆะ (สัญญาซื้อขายห้้นไม่มีแบบจึงไม่เป็ นโมฆะ
เป็ นโมฆะเฉพาะการโอน)
15

(๔) ห้้นสามัญประเภทระบ้ช่ ือ แม้ยังไม่ออกใบห้้นแต่การ


โอนห้น ้ ก็ยังคงต้องปฏิบัติตามแบบตามมาตรา ๑๑๒๙
(๕) การโอนห้้นไม่ถ้กแบบมาตรา ๑๑๒๙ แม้จะตกเป็ น
โมฆะ แต่ถ้าผ้้รับโอนยังคงครอบครองห้้นเกินระยะเวลา ๕ ปี แล้ว
ก็ย่อมได้กรรมสิทธิโ์ ดยการครอบครองปรปั กษ์ตามมาตรา ๑๓๘๒
(๖) การซื้อขายห้้นในตลาดหลักทรัพย์ไม่ต้องทำาตาม
แบบมาตรา ๑๑๒๙
(๗) ถ้ามีการซื้อขายห้้นกันก่อนแม้จะไม่ทำาให้ถ้กต้อง
ตามแบบมาตรา ๑๑๒๙ นี้ การซื้อขายนั้นก็ไม่ตกเป็ นโมฆะเพราะ
แบบของการโอนห้้นไม่ใช่แบบของการซื้อขายห้้น (คำาพิพากษา
ฎีกาที่ ๖๙๐๘/๒๕๔๓ และ ๒๑๗๐/๒๕๔๒)
การโอนหุุนทีใ ่ ชุยันบริษท ั หรือบุคคลภายนอกไดุ
การโอนห้้นจะใช้ยันแก่บริษท ั หรือบ้คคลภายนอกได้ก็
ต่อเมื่อได้จดแจ้งการโอนทั้งชื่อและสำานักของผ้้รับโอนนั้นลงใน
ทะเบียนผ้้ถือห้้นแล้ว (มาตรา ๑๑๒๙ วรรคสาม)
ขุอสังเกต ถ้าการโอนห้้นกระทำาโดยความร้้เห็นของ
บริษท ั แล้วจะอ้างมาตรา ๑๑๒๙ วรรคสาม มาเป็ นข้อต่อส้้ไม่ได้
หรือกรณีผ้รับโอนห้้นเป็ นกรรมการของบริษท ั ต้องถือว่าบริษท ั ร้้
เห็นและยินยอมให้มีการโอนห้้นแล้ว บริษท ั จึงมีหน้าที่ต้องดำาเนิ น
การจดแจ้งการโอนลงในทะเบียน
การไดุมาโดยเหตุบางอย่าง
กรณีผ้ถือห้้นตายก็ดี หรือล้มละลายก็ดี อันเป็ นเหต้ให้
บ้คคลอื่นเป็ นผ้้มีสิทธิจะได้ห้นขึ้นนั้น หากว่าบ้คคลนั้นนำาใบห้้นมา
เวนคืน เมื่อเป็ นวิสย ั จะทำาได้ ทั้งได้นำาหลักฐานอันสมควรมา
แสดงด้วยแล้ว ก็ให้บริษท ั รับบ้คคลนั้นลงทะเบียนเป็ นผ้้ถือห้้น
สืบไป (มาตรา ๑๑๓๒)
ขุอสังเกต
(๑) การได้หน ้ มาจากการขายทอดตลาดในการบังคับคดี
ของศาลเป็ นการได้ห้นมาโดยเหต้บางอย่างตามมาตรา ๑๑๓๒
(๒) เมื่อผ้้ถือห้้นตาย ห้้นนั้นย่อมตกเป็ นของทายาททันที
แม้ยังไม่ได้จดทะเบียนเป็ นผ้้ถือห้้นก็ตาม
การโอนหุุนทีย ่ ังไม่ไดุใชุเงินเต็มจำานวนค่าหุุน
(มาตรา ๑๑๓๓)
ห้้นซึ่งโอนกันถ้าเป็ นห้้นอันยังมิได้ส่งเงินใช้เต็มจำานวน
ค่าห้้น ผ้้โอนยังคงต้องรับผิดในจำานวนเงินที่ยังมิได้ส่งใช้ให้ครบ
ถ้วนนั้น แต่ว่า
๑. ผ้้โอนไม่ต้องรับผิดในหนี้ อันหนึ่ งอันใดของบริษท ั ซึ่ง
ได้ก่อให้เกิดขึ้นภายหลังโอน
16

๒. ผ้้โอนไม่ต้องรับผิดออกส่วนใช้หนี้ เว้นแต่ความ
ปรากฏขึ้นแก่ศาลว่าบรรดาผ้้ท่ียังถือห้้นของบริษท ั อย่้น้ันไม่
สามารถออกส่วนใช้หนี้ อันเขาจะพึงต้องออกใช้น้ันได้
โดยจะต้องฟ้องผ้โ้ อนภายใน ๒ ปี นบ ั แต่ได้จดแจ้งการโอน
นัน้ ลงในทะเบียนผ้ถ ้ อ ื ห้น

ขุอสังเกต บริษท ั จำากัดเข้าถือห้้นของตนเองหรือรับจำานวน
ห้น ้ ของตนเองไม่ได้ตามมาตรา ๑๑๔๓ เมื่อบริษท ั จำากัดไม่อาจเข้าเป็ น
ผ้ถ
้ อ ื ห้น ้ ของตนเองได้ จึงไม่สามารถฟ้องบังคับให้บริษท ั จำากัดโอนห้น

ในบริษท ั นัน
้ ได้
วิธก ี ารจัดการบริษท ั
บริษท ั จำากัด จะมีกรรมการคนหนึ่ งหรือหลายคนด้วยกัน
จัดการตามข้อบังคับของบริษท ั และอย่้ในความครอบงำาของที่
ประช้มใหญ่ของผ้้ถือห้้น (มาตรา ๑๑๔๔)
การตังหรื ้ อถอดถอนกรรมการ
การตัง้ หรือถอดถอนกรรมการบริษท ั ต้องกระทำาโดยที่
ประช้มใหญ่เท่านัน ้ (มาตรา ๑๑๕๑) ดังนี้ แม้มติทป ่ี ระช้มใหญ่ของ
บริษท ั จะมีมติให้แต่งตัง้ ผ้ใ้ ดเป็ นกรรมการตลอดไปก็ตาม การ
ถอดถอนก็ตอ ้ งเป็ นไปตามมาตรา ๑๑๕๑ นี้ มติทป ่ี ระช้มใหญ่ของ
บริษท ั ทีใ่ ห้ถอดถอนกรรมการผ้น ้ น
้ั ออกจากการเป็ นกรรมการของ
บริษท ั จึงชอบด้วยกฎหมาย
กรรมการตกเป็ นคนลุมละลายหรือเป็ นคนไรุความ
สามารถ
ถ้ากรรมการคนใดล้มละลาย หรือตกเป็ นผ้้ไร้ความ
สามารถ กรรมการคนนั้นเป็ นอันขาดจากตำาแหน่ ง (มาตรา
๑๑๕๔)
การตังกรรมการตุ
้ องนำาไปจดทะเบียน
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ ให้บริษท ั นำาความไป
จดทะเบียนภายใน ๑๔ วันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
การฟ้องขอให้เบิกถอนการจดทะเบียนตัง้ กรรมการจึงต้องฟ้องบริษท ั
เป็ นจำาเลยโดยตรง เพื่อบังคับบริษท ั ให้จดทะเบียนเปลีย ่ นแปลงแก้ไข
จะฟ้องกรรมการผ้ท ้ น่ี ำาความไปจดทะเบียนไม่ได้
ตำาแหน่งกรรมการว่างลง
กรณีตำาแหน่ งกรรมการว่างไป กรรมการที่มีตัวอย่้ก็
ย่อมทำากิจการได้ แต่ถ้าในเวลาใดจำานวนกรรมการลดน้อยลง
กว่าจำานวนอันจำาเป็ นที่จะเป็ นองค์ประช้มได้ตลอดเวลาเช่นนั้น
กรรมการที่มต ี ัวอย่้ย่อมทำากิจการได้เฉพาะแต่ในเรื่องที่จะเพิ่ม
กรรมการขึ้น ให้ครบจำานวนหรือนัดเรียกประช้มใหญ่ของบริษท ั
เท่านั้น จะกระทำาการอย่างอื่นไม่ได้ (มาตรา ๑๑๕๙) แสดงว่า ถ้า
กรรมการน้อยลงจนไม่ครบองค์ประช้ม กรรมการที่เหลืออย่้ทำา
17

กิจการได้ ๒ อย่างเท่านั้น คือ เรื่องการเพิ่มกรรมการให้ครบ


จำานวนและนัดเรียกประช้มใหญ่ กรรมการที่เหลืออย่้จึงจะร้องขอ
ให้ศาลตั้งผ้้แทนเฉพาะคดีไม่ได้
การมอบอำานาจของกรรมการ
กรรมการจะมอบอำานาจอย่างหนึ่ งอย่างใดของตนให้แก่
ผ้้จัดการหรือให้แก่อน้กรรมการซึ่งตั้งขึ้นจากผ้้ท่ีเป็ นกรรมการ
ด้วยกันก็ได้ ในการใช้อำานาจซึ่งได้มอบหมายเช่นนั้น ผ้้จัดการท้ก
คนหรืออน้กรรมการท้กคนต้องทำาตามคำาสั่งหรือข้อบังคับซึ่ง
กรรมการทั้งหลายได้กำาหนดให้ท้กอย่างท้กประการ (มาตรา
๑๑๖๔)
กรรมการทำาใหุเกิดความเสียหายแก่บริษท ั
ถ้ากรรมการทำาให้เกิดเสียหายแก่บริษท ั บริษทั จะฟ้ อง
ร้องเรียกเอาสินไหมทดแทนแก่กรรมการก็ได้ หรือในกรณีท่ี
บริษท ั ไม่ยอมฟ้ องร้อง ผ้้ถือห้้นคนหนึ่ งคนใดจะเอาคดีน้ันขึ้นว่า
ก็ได้
อนึ่ ง การเรียกร้องเช่นนี้ เจ้าหนี้ ของบริษท ั จะเป็ นผ้้เรียกบังคับ
ก็ได้เท่าที่เจ้าหนี้ ยังคงมีสิทธิเรียกร้องแก่บริษท ั อย่้ (มาตรา ๑๑๖๙)
ขุอสังเกต
(๑) ถ้าเป็ นกรณีทบ ่ี ริษทั เลิกแล้ว และกรรมการทำาให้เกิด
ความเสียหาย ผ้ถ ้ อ ื ห้น
้ จะฟ้องคดีแทนบริษท ั โดยอาศัยบทบัญญัติ
มาตรา ๑๑๖๙ ไม่ได้ คงเป็ นอำานาจของผ้ช ้ ำาระบัญชีดำาเนินการฟ้อง
ร้อง
(๒) ความเสียหายทีบ ่ ริษท ั จะฟ้องเรียกเอาค่าสินไหม
ทดแทนจากกรรมการตามมาตรานีไ้ ด้ตอ ้ งเป็ นความเสียหาย
โดยตรงจากการกระทำาของกรรมการ
การประชุมใหญ่
๑. เมื่อมีการจดทะเบียนบริษท ั แล้ว ให้มก ี ารประช้มผ้ถ้ อ
ื ห้น

ทัว่ ไปเป็ นประช้มใหญ่ภายใน ๖ เดือน นับแต่วน ั ทีไ่ ด้จดทะเบียน
๒. ให้มก ี ารประช้มใหญ่ครัง้ หนึง่ เป็ นอย่างน้อยท้กระยะ
เวลา ๑๒ เดือน (ประช้มสามัญ)
๓. การประช้มใหญ่คราวอื่น (ประช้มวิสามัญ)
กรณีทก ี่ ฎหมายกำาหนดใหุตอ ุ งลงมติพเิ ศษ
๑. การตัง้ เพิม ่ เติม เปลีย ่ นแปลงข้อบังคับหรือข้อความใน
หนังสือบริคณห์สนธิ (มาตรา ๑๑๔๕)
๒. การเพิม ่ ท้น (มาตรา ๑๒๒๐)
๓. การออกห้น ้ ใหม่โดยใช้เป็ นอย่างอื่นนอกจากตัวเงิน
(มาตรา ๑๒๒๑)
๔. การลดท้น (มาตรา ๑๒๒๔)
18

๕. การเลิกบริษท ั (มาตรา ๑๒๓๖)


๖. การควบบริษท ั จำากัดเข้ากัน (มาตรา ๑๒๓๘)
๗. การแปรสภาพเป็ นบริษท ั มหาชน
เหตุทท ี่ ำาใหุบริษท ั เลิกกัน
๑. เหตุเพราะเลิกกันตามมาตรา ๑๒๓๖
(๑.๑) ถ้าในข้อบังคับของบริษท ั มีกำาหนดกรณีอน ั ใดเป็ น
เหต้ทจ ่ี ะเลิกกัน เมื่อมีกรณีนน ้ั
(๑.๒) ถ้าบริษท ั ได้ต้ังขึ้นไว้เฉพาะกำาหนดกาลใด เมื่อ
สิน
้ กำาหนดกาลนั้น
(๑.๓) ถ้าบริษท ั ได้ต้ังขึ้นเฉพาะเพื่อทำากิจการอย่าง
หนึ่ งอย่างใดแต่อย่างเดียว เมื่อเสร็จการนั้น
(๑.๔) เมื่อมีมติพิเศษให้เลิก
(๑.๕) เมื่อบริษท ั ล้มละลาย
๒. เหตุเพราะศาลสังใหุ ่ เลิกกัน (มาตรา ๑๒๓๗)
(๒.๑) ถ้าทำาผิดในการยื่นรายงานประช้มตัง้ บริษท ั หรือ
ทำาผิดในการประช้มตัง้ บริษท ั
(๒.๒) ถ้าบริษท ั ไม่เริ่มทำาการภายในปี หนึ่ งนับแต่วัน
จดทะเบียนหรือหย้ดทำาการถึง ปี หนึ่ งเต็ม
(๒.๓) ถ้าการค้าของบริษท ั ทำาไปก็มีแต่ขาดท้นอย่าง
เดียว และไม่มีทางหวังว่าจะกลับฟื้ นตัวได้
(๒.๔) ถ้าจำานวนผ้้ถือห้้นลดน้อยลงจนเหลือไม่ถึง ๓
คน
ขุอสังเกต เหต้ในการเลิกบริษท ั มีเฉพาะเหต้ตาม
มาตรา ๑๒๓๖ และ ๑๒๓๗ เท่านัน ้ จะอ้างเหต้อ่น ื นอกเหนือจากนีไ้ ม่
ได้
การควบบริษท ั
เมื่อควบกันแล้วทำาให้ตอ ้ งจดทะเบียนเป็ นบริษท ั ใหม่
บริษท ั ใหม่ยอ ่ มรับไปทัง้ สิทธิและความรับผิดบรรดามีอย่แ ้ ก่บริษท ั เดิม
อันได้มาควบเข้ากันนัน ้
ขุอสังเกต การควบบริษท ั นี้ ไม่ใช่การแปลงหนี้ ใหม่หรือ
การโอนสิทธิเรียกร้อง
การชำาระบัญชีของหุางหุน ุ ส่วนและบริษท ั
การเลิกห้างจดทะเบียนกับห้างไม่จดทะเบียนต่างกัน
กล่าวคือ ห้างจดทะเบียนต้องมีการชำาระบัญชีเสมอ แต่หา ้ งทีไ่ ม่จด
ทะเบียนนอกจากการชำาระบัญชีแล้ว มาตรา ๑๐๖๑ มีขอ ้ ยกเว้นว่า
อาจตกลงกันให้จด ั การทรัพย์สน ิ เป็ นอย่างอื่นแทนการชำาระบัญชีกไ็ ด้
แต่หา ้ งจดทะเบียนจะนำามาตรา ๑๐๖๑ มาใช้ไม่ได้
อายุความ
19

ในคดีฟ้องเรียกหนี้ สินซึ่งห้างห้้นส่วนหรือบริษท ั หรือผ้้


เป็ นห้้นส่วน หรือผ้้ถือห้้น หรือผ้้ชำาระบัญชีเป็ นล้กหนี้ อย่้ในฐาน
เช่นนั้น ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้นกำาหนด ๒ ปี นับแต่วน ั ถึงที่ส้ดแห่ง
การชำาระบัญชี (มาตรา ๑๒๗๒)

---------------------จบ--------------------

You might also like