You are on page 1of 117

หลักสูตรเร่งรัดเนติ แพ่ง ข้อที่ 7.

ห้้นส่วน-บริษัท อ่านก่อน
สอบ
ข้อที่ 7. ห้้นส่วน - บริษท
ั "

:: ห้้นส่วน ::
- ต้องแยกตัวบทก่อน และดูว่ามาตราไหนจะใช้กับกล่้มใด ซึ่งแยก
ออกได้เป็ นดังนี้.-
* หมวดทัว
่ ไป ใช้กับท้กกล่้มอยู่ในมาตรา ๑๐๑๒ - ๑๐๒๔
- ห้างห้้นส่วนสามัญ มีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๒๕ - ๑๐๖๓
- ห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียน มีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๖๔ -
๑๐๗๖

* ความรับผิดต่อบ้คคลภายนอก
- ห้างห้้นส่วนสามัญ มีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๒๕
- ห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียน มีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๗๐

* ห้ามมิให้ห้นส่วนประกอบกิจการแข่งห้างห้้นส่วน - บริษท

- ห้างห้้นส่วนสามัญ มีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๓๘
- ห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียน มีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๖๖

* มาตราที่สำาคัญของห้างห้้นส่วน
- ห้างห้้นส่วนสามัญ มีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๓๘ , ๑๐๔๒ , ๑๐๔๙ ,
๑๐๕๐ , ๑๐๕๑ , ๑๐๕๓
- ห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียน มีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๐๖๔ ,
๑๐๖๖ , ๑๐๖๘ , ๑๐๗๐ , ๑๐๗๑ , ๑๐๗๒

ห้างห้้นส่วนสามัญ
* หลัก ม.๑๐๒๓
๑. ห้้นส่วน , หจก. และบริษท

๒. ถือเอาประโยชน์ จากบ้คคลภายนอก => เพราะสัญญา , เอกสาร ,
ข้อความบังคับให้จดทะเบียน => ไม่ได้
๓. จนกว่า => จะได้ลงพิมพ์โฆษณาในหนั งสือราชกิจจาน้เบกษา
๔. บ้คคลภายนอก => จะถือเอาประโยชน์ เช่นว่านั น
้ ได้ (ถ้าเป็ นค้ณ)

* หลัก ม.๑๐๕๐
- ห้้นส่วนสามัญทำาไปในทางการค้าธรรมดาปกติ => ห้้นส่วนท้กคน
ย่อมรับผิด + โดยไม่จำากัดจำานวน

* หลัก ม.๑๐๕๑
- ห้้นส่วนสามัญออกจากห้างห้้นส่วนไปแล้ว => ต้องรับผิดหนี้ที่ห้าง
ห้้นส่วนได้ก่อขึ้นที่ตนได้ออกจากห้างห้้นส่วนไป
* หลัก ม.๑๐๕๒
- ข้อจำากัดอำานาจห้้นส่วนสามัญ => ข้อจำากัดไม่ใช้กับบ้คคล
ภายนอก

ห้างห้้นส่วนจดทะเบียน
* หลัก ม.๑๐๖๘
๑. ความรับผิดของ หจก.จดทะเบียนของห้้นส่วน => เมื่อเป็ นหนี้
๒. ซึ่งเป็ นหนี้ => ที่ได้ก่อขึ้นก่อนที่ห้นส่วนจะ => ออกจาก หจก.
๓. ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด มีเวลา => ๒ ปี นั บแต่เมื่อออก
ห้้น

* หลัก ม.๑๐๗๐
- เจ้าหนี้ของ หจก.จดทะบียน => ชอบจะเรียกให้ห้นส่วนคนใดชำาระ
หนี้เมื่อเป็ นหนี้ก็ได้
- ถ้าเป็ นห้างห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด => ก็ต่อเมื่อห้างเลิก
กัน ตามม.๑๐๙๕

* ประเภทของห้างห้้นส่วนจำากัด ( ม.๑๐๗๗ ) มีหลักดังนี้.-


(๑). ห้้นส่วนจำากัดความรับผิด
(๒). ห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิด
* หลัก ม.๑๐๗๙
- ห้างห้้นส่วนยังไม่ได้จดทะเบียน => ห้้นส่วนทัง้ หมดรับผิดร่วมกัน
+ ไม่จำากัดจำานวน (จนกว่าจะได้จดทะเบียน)

* หลัก ม.๑๐๘๐
- ถ้ายังไม่ได้จดทะเบียน => ให้นำาบทบัญญัติว่าด้วยห้างห้้นส่วน
สามัญมาใช้บังคับ

ความรับผิดของห้้นส่วนจำากัดความรับผิด มี ๔ อย่าง
(๑). ม.๑๐๘๑ => เอาชื่อห้้นส่วนจำากัดความรับผิด => มาเรียกขาน
ระคนเป็ นชื่อห้าง

(๒). ม.๑๐๘๒ => ห้้นส่วนจำากัดความรับผิด (ยินยอมออกชัด


+ปริยาย) =>ใช้ช่ ือของตนเป็ นชื่อห้าง
- รับผิดต่อบ้คคลภายนอก => รับผิดอย่างไม่จำากัดจำานวน
- วรรค ๒ รับผิดต่อห้้นส่วนด้วยกันเอง => บังคับตามสัญญาห้้น
ส่วน

(๓). ม.๑๐๘๕ => ห้้นส่วนจำากัดความรับผิด แสดงจดหมาย + ใบ


แจ้งความ + วิธอ
ี ย่างอื่น =>ให้บ้คคลภายนอกเชื่อว่าตนลงห้้นมาก
- ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความผิด รับผิดต่อบ้คคลภายนอก => เพียง
เท่าที่แสดงนั น

(๔). ม.๑๐๘๘ => ห้้นส่วนจำากัดความรับผิด => สอดเข้าไปเกี่ยวข้อง


+ จัดการงานของห้างห้้นส่วน
- ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความผิด จะต้องรับผิด => อย่างไม่จำากัด
จำานวน

- วรรค ๒ การออกความเห็น แนะนำ า ออกเสียงนั บคะแนนตัง้ และ


ถอดถอน => ผู้จัดการ ไม่ถือว่าเป็ นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการ
งานห้างห้้นส่วนแต่อย่างใด

* หลัก ม.๑๐๘๗
- ห้างห้้นส่วนต้องให้เฉพาะแต่ห้นส่วนไม่จำากัดความรับผิด => เป็ น
ผู้จัดการ

* ไม่มีสิทธิฟ้องร้องห้้นส่วนจำากัดความผิด (ม.๑๐๙๕) มีหลักดังนี้.-


๑. ห้างห้้นส่วนยังไม่เลิก
๒. เจ้าหนี้ => ไม่มีสิทธิฟ้องร้องห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
- วรรค ๒ เมื่อห้างห้้นส่วนเลิกกันแล้ว => เจ้าหนี้มีสิทธิฟ้องห้้นส่วน
ได้เพียงเท่านี้ คือ.-
(๑). จำานวนห้้นส่วนที่ค้างส่ง => แก่ห้างห้้นส่วน
(๒). จำานวนห้้นส่วนที่ถอนไป => จากห้างห้้นส่วน
(๓). เงินปั นผล + ดอกเบี้ย => รับไปโดยท้จริต + ล้มละลาย (ฝ่ าฝื น
ม.๑๐๘๔)

กล่้มที่ ๑ :: ห้างห้้นส่วนสามัญ

(1) ห้้นส่วนทัง้ หมดท้กคนต้องรับผิดร่วมกันเพื่อหนี้ทัง้ ปวงของห้าง


ห้้นส่วน แยกพิจารณาได้ดังนี้
ก.กรณีที่ต้องรับผิดร่วมกัน ก็หมายความว่าห้้นส่วนท้กคนต้องรับผิด
อย่างลูกหนี้นัน
่ เอง จะไปแบ่งแยกว่าเป็ นหนี้ของแต่ละคนตามส่วนที่
ลงห้้นไม่ได้(ฎ.288/2488 การที่ผู้เป็ นห้้นส่วนตนใดคนหนึ่ งกู้เงินมา
ใช้ในกิจการค้าขายของห้างห้้นส่วนสามัญ ผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนต้อง
รับผิดในหนี้สินนั น
้ ด้วย)
ข.หนี้ที่ผู้เป็ นห้้นส่วนจะต้องรับผิดร่วมกัน จะต้องเป็ นหนี้ที่ได้กระทำา
ไปในทางธรรดาการค้าขายของห้างตามมาตรา 1055 เช่น
* การกู้ยืมเงินมาใช้ในกิจการ(ฎ.288/2488)
* เช่าทรัพย์สินมาใช้ในกิจการ(ฎ.535/2480)
* การชำาระหนี้และการรับชำาระหนี้(ฎ.314/2510)
ข้อสังเกต หนี้ของห้างห้้นส่วนที่เป็ นธรรมดาการค้าขายของห้างอาจ
จะเกิดสัญญาหรือละเมิดก็ได้(ฎ.1493/2498 ห้้นส่วนผู้จัดการขับ
รถยนต์ของห้างห้้นส่วนสามัญชนคนตายโดยละเมิด ผู้เป็ นห้้นส่วน
คนอื่นต้องรับผิดร่วมด้วย)

(2) การรับผิดเป็ นการรับผิดโดยไม่จำากัด


ห้้นส่วนจะปฏิเสธความรับผิดในหนี้ส่วนที่เกินส่วนที่ตนลงท้นหรือที่
รับจะลงท้นไม่ได้ แต่ความรับผิดดังกล่าวเป็ นความรับผิดต่อเจ้าหนี้
ของห้างห้้นส่วนสามัญเท่านั น
้ แต่ในระหว่างห้้นส่วนด้วยกันก็อาจจะ
ไล่เบีย
้ เอาจากกันได้ตามข้อตกลงที่ได้ทำาไว้

ข้อสังเกต 1) การที่ผู้เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญต้องรับผิด


เป็ นการส่วนตัวและรับผิดร่วมกันเนื่ องจากไทยรับเอาทฤษฎีการ
รวมกล่้ม(aggregate theory) ตามกฎหมายคอมมอนลอร์ที่มองว่า
ห้างห้้นส่วนสามัญคือการรวมตัวของผู้เป็ นห้้นส่วน ไม่ถือว่าห้างห้้น
ส่วนมีตัวตนแยกต่างหากจากผู้ถือห้้นมาใช้ ซึ่งจะแตกต่างกับทฤษฎี
ตัวตน(entity theory) ตามหลักกฎหมาย law merchant หรือ lex
mercatoria ที่ถือว่าห้างห้้นส่วนมีตัวตนแยกต่างหากจากผู้ถือห้้น
ดังนั น
้ เมื่อห้างห้้นส่วนไม่มีสภาพบ้คคลแยกจากผู้เป็ นห้้นส่วน ผู้
เป็ นห้้นส่วนทัง้ หมดที่ร่วมกันจึงต้องรับผิดร่วมกันแยกไม่ได้จากหนี้
ของห้างห้้นส่วน
2) ผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หมดท้กคนต้องรับผิดร่วมกัน ผู้ที่เป็ นห้้นส่วน
อาจเป็ นนิ ติบ้คคลที่ตกลงทำาสัญญาจัดตัง้ ห้างห้้นส่วนสามัญก็ได้เช่น
กิจการจอยเวนเจอร์(Joint venture)เป็ นต้น ให้ดูฎีกา 3848/2531
คดีสาทรบริดจ์จอยเวนเจอร์ กรณีที่รถบรรท้กตกหล้มที่สาทรบริดจ์
จอยเวนเจอร์ข้ดไว้ เป็ นการกระทำาละเมิด ห้้นส่วนท้กคนต้องรับผิด
3) คำาว่า "รับผิดโดยไม่จำากัด" ส่งผลให้เจ้าหนี้ของห้างห้้นส่วนสามัญ
มีสท
ิ ธิโดยชอบด้วยกม.ทีจ
่ ะบังคับเอากับทรัพย์สินส่วนตัวของห้้น
ส่วนท้กคนเพื่อชำาระหนี้ของห้างได้ หากทรัพย์สินของห้างมีไม่พอ
ชำาระหนี้

(3) ค้ณสมบัติของผู้เป็ นห้้นส่วนเป็ นสาระสำาคัญ


มาตรา 1026 ผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนต้องมีสิ่งหนึ่ งสิ่งใดมาลงห้้นด้วย
ในห้างห้้นส่วน สิง่ ที่นำามาลงห้้นด้วยนั น
้ จะเป็ นเงินหรือทรัพย์สินสิ่ง
อื่นหรือลงแรงงานก็ได้
มาตรา 1083 กรณีห้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วน
จำากัด จะลงห้้นด้วยแรงงานไม่ได้เป็ นอันขาด (ท่านว่าต้องให้ลงเป็ น
เงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นๆ)

ข้อสังเกตของมาตรา 1026 ทีส


่ ำาคัญเพิ่มเติมกล่าว
(1) ศาลฎีกาตัดสินว่า ในกรณีที่แม้ฝ่ายหนึ่ งฝ่ ายใดจะไม่ได้ส่งเงิน
หรือทรัพย์สินตามที่ตกลงหรือยังเรียกค่าห้้นไม่ครบ สัญญาเข้าห้้น
ส่วนสมบูรณ์(ฎ.2530/2538,2216/2514,476/2474) ฟางข้าวลอง
อ่านให้เพื่อนๆฟั งซิ
ฟางข้าว สาวสวย มิแพ้ทาทา ยังหรือพอลล่า เทเลย์ เสียงอันน่ ้ม
นวลได้เริ่มขึ้น
คำาพิพากษาฎีกาที่ 2530/2538 ตามสัญญาร่วมท้นระหว่างโจทก์และ
จำาเลยมีข้อตกลงว่าต่างฝ่ ายต่างจะลงห้้นโดยชำาระเงินค่าที่ดินตาม
สัญญาจะซื้อจะขายและค่าใช้จ่ายในการดำาเนิ นกิจการฝ่ ายละครึ่ง ถือ
ได้ว่าเป็ นสัญญาเข้าห้้นส่วนกันตามนั ย มาตรา 1026 แล้ว แม้ฝ่าย
หนึ่ งจะไม่ส่งเงินหรือทรัพย์สน
ิ ตามที่ตกลงก็หาทำาให้สัญญาเข้าห้้น
ส่วนดังกล่าวเสียไปไม่
แม้โจทก์จะเป็ นฝ่ ายผิดสัญญาร่วมลงท้น จำาเลยในฐานะห้้นส่วนก็จะ
ต้องบอกเลิกสัญญาเสียก่อน เมื่อจำาเลยยังไม่ได้บอกเลิกสัญญากับ
โจทก์ สัญญาร่วมท้นระหว่างโจทก์จำาเลยจึงยังไม่เลิกกัน โจทก์จึงมี
สิทธิขอให้เลิกห้างห้้นส่วนและชำาระบัญชีได้

* แต่ถ้าไม่มีสิ่งใดมาลงห้้นเลย ก็ถือว่าไม่เป็ นห้้นส่วน


(ฎ.1393/2523)
ฎ.1393/2523 เมื่อไม่ปรากฏว่าจำาเลยทัง้ สองไม่มีสิ่งหนึ่ งสิ่งใดมาลง
ห้้นด้วยไม่ว่าจะเป็ นทรัพย์สิ่งอื่นหรือแรงงาน จำาเลยทัง้ สองก็ไม่ได้
เป็ นห้้นส่วนกับโจทก์ แม้จำาเลยทัง้ สองจะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับ
กิจการบางสิ่งบางอย่างของโจทก์ก็ไม่ทำาให้จำาเลยทัง้ สองกลับกลาย
เป็ นห้้นส่วนกับโจทก์ไปได้

(2) ห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน การฟ้ องคดีต้องลงลายมือชื่อ


ในคำาฟ้ องท้กคนหรือห้้นส่วนท้กคนต้องลงลายมือชื่อมอบอำานาจให้
ผู้รับมอบอำานาจฟ้ องคดี(ฎ.1584/2518,631/2476)
- เมื่อลงห้้นตามมาตรา 1026 ก็จะเชื่อมโยงไปที่มาตรา
1029,1030

* กรณีการลงห้้นด้วยทรัพย์สิน นั น
้ แบ่งได้เป็ น 2 กรณีคือ
(1) การโอนกรรมสิทธิใ์ ห้เป็ นของห้างห้้นส่วน ( ตาม ม.1030)
มาตรา 1030 ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งให้กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินอัน
ใดอันหนึ่ งเป็ นการลงห้้นด้วยไซร้ ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็ นห้้น
ส่วนคนนั น
้ กับห้างห้้นส่วนในเรื่องส่งมอบและซ่อมแซมก็ดี ความรับ
ผิดเพื่อชำาร้ดบกพร่องก็ดี ความรับผิดเพื่อการรอนสิทธิก็ดี ข้อยกเว้น
ความรับผิดก็ดีท่านให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้
ว่าด้วย ซื้อขาย

- นั น
่ คือมาตรา 1030 เปรียบเสมือนการขายทรัพย์สินให้ห้าง จึงต้อง
บังคับด้วยลักษณะซื้อขาย(ดูฎีกาที่
4193/2533,794/2536,476/2474)
ข้อสังเกตมาตรา 1030
(ก) กรณีห้างห้้นส่วนสามัญ เมื่อยังไม่ได้จดทะเบียน ย่อมไม่มีสภาพ
นิ ติบ้คคล ดังนั น ์ ่อมไม่สามารถจดทะเบียน
้ การโอนกรรมสิทธิย
กรรมสิทธิไ์ ด้ แต่อย่างไรก็ตามแม้ไม่สามารถโอนทางทะเบียนให้ถูก
ต้องได้ แต่ก็ถือว่าเป็ นทรัพย์สินของห้างอยู่นัน
่ เอง นั บแต่วันที่นำา
ทรัพย์สินมาลง(ฎ.533/2511,84/2512)
(ข) กรณีลงห้้นด้วยอสังหาริมทรัพย์โดยมิได้มีการโอนต่อมาห้างห้้น
ส่วนเลิกกันและผู้เป็ นห้้นส่วนตกลงให้คืนทรัพย์สินนั น
้ แก่ผู้ลงห้้น
ตามเดิมเช่นนี้ ทรัพย์สินนั น
้ ก็ไม่เป็ นของห้างฯต่อไป โดยถือว่าได้
กลับคืนไปเป็ นของผู้ลงห้้นโดยไม่ต้องแก้ไขในทะเบียน
(ฎ.933/2475)

(2) การเอาทรัพย์สน
ิ ให้ห้างห้้นส่วนใช้
- เปรียบเสมือนการให้ห้างฯเช่าทรัพย์สิน จึงต้องบังคับด้วยการเช่า
ทรัพย์ ให้ดูที่มาตรา 1029

#2
2 March 2009, 14:52

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี
* ข้อสันนิ ษฐานเกี่ยวกับสิ่งที่มาลงห้้น
มาตรา 1027 ในเมื่อมีกรณีเป็ นข้อสงสัย ท่านให้สันนิ ษฐานไว้ก่อน
ว่าสิ่งซึ่งนำ ามาลงห้้นด้วยกันนั น
้ มีค่าเท่ากัน
ข้อสังเกต
มาตรา 1027 ใช้ในกรณีที่เป็ นข้อสงสัย เท่านั น
้ เช่น แดงลงท้นด้วย
เงินสด 500,000 บาท ขาวลงท้นด้วยบ้านพร้อมที่ดินโดยใช้เป็ น
สำานั กงานแต่มิได้ตีราคาทรัพย์สินไว้ เมื่อมีกรณีเป็ นข้อสงสัยว่าขาว
ลงท้นเท่าใด กม.ให้สันนิ ษฐานว่าบ้านพร้อมที่ดินมีราคา 500,000
บาทเท่ากับเงินสดของแดง แต่ถ้าไม่มีกรณีเป็ นข้อสังสัยเช่นราคา
ทีด
่ ินวาละ 10,000 บาท ก็ต้องตีราคาให้เป็ นไปตามราคาตลาด
มาตรา 1027 มิใช่บทสันนิ ษฐานโดยเด็ดขาด สามารถสืบหักล้างได้
ฎีกาที่ 4773/2536 มาตรา 1027 ให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนวิ่สิ่งที่นำามา
ลงห้้นด้วยกันมีค่าเท่ากัน ดังนั น
้ เมื่อห้างห้้นส่วนเลิกกันก็ต้องเฉลี่ย
แจกกำาไรและทรัพย์สินที่มีอยู่ให้ผู้เป็ นห้้นส่วนตามมาตรา 1062

* การคำานวณค่าแรงงาน
คำาว่า แรงงาน ในตัวบทภาษาอังกฤษใช้คำาว่า SERVICES มิใช่
LABOUR ซึ่งมีความหมายกว้างกว่า นอกจากแรงงานยังรวมถึง
กำาลังสมองด้วย
มาตรา 1028 ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดได้ลงแรงงานของตนเข้าเป็ น
ห้้นส่วนและในสัญญาเข้าห้้นส่วนมิได้ตีราคาค่าแรงไว้ ท่านให้
คำานวณส่วนกำาไรของผู้ที่เป็ นห้้นส่วนด้วยลงแรงงานเช่นนั น
้ เสมอ
ด้วยส่วนถัวเฉลี่ยของผู้เป็ นห้้นส่วนซึ่งได้ลงเงินหรือลงทรัพย์สินเข้า
ห้้นในการนั น

ตัวอย่างในการคำานวณ
หนึ่ งลงห้้นด้วยเงินสด 100,000 บาท สองลงห้้นด้วยรถยนต์ตีราคา
200,000 บาท ส่วนสามลงห้้นด้วยแรงงานแต่ไม่ได้ตีราคาว่าเท่าใด
จึงต้องใช้มาตรา 1028 มาปรับ ดังนั น
้ ค่าแรงของสามเท่ากับ
(100,000 บวกด้วย 200,000) หารด้วย 2 เท่ากับ 150,000 บาท
คือท้นที่ลงของสาม

ข้อสังเกตมาตรา 1028 การตีค่าแรงงานก็เพื่อประโยชน์ ในการคิด


ส่วนกำาไรหรือขาดท้นเท่านั น
้ เนื่ องจากแรงงานเป็ นท้นสมมติ ดัง
นั น
้ เมื่อห้างห้้นส่วนเลิกจึงไม่มีสิทธิได้รับคืนท้น แต่ผู้เป็ นห้้นส่วนซึ่ง
ลงแรงก็ต้องช่วยชดใช้กรณีขาดท้นตามส่วนที่กำาหนดไว้ในการแบ่ง
กำาไร (ฎ.817/2476)

* หลักเกณฑ์ในการแบ่งกำาไรหรือขาดท้น
ประเด็นแรก ถ้าสัญญาการเข้าห้้นส่วนตกลงกันอย่างไร ก็เป็ นไป
ตามนั น
้ (ฎ.556/2505,1159/2510) ด้วยเหต้ผล
์ ิทธิข
(1) ตามหลักความศักดิส ์ องแสดงเจตนา นั น
่ เอง
(2) ข้อตกลงระหว่างห้้นส่วนเป็ นความเกี่ยวพันระหว่างห้้นส่วนโดย
เฉพาะ จะไปใช้ยันบ้คคลภายนอกไม่ได้ บ้คคลภายนอกผ้้ส้จริตไม่
ได้ถูกกระทบกระเทือนโดยข้อตกลงอันนี้ ประกอบห้้นส่วนท้กคน
ต้องรับผิดในหนี้ของห้างห้้นส่วนสามัญโดยไม่จำากัดจำานวนตาม
มาตรา 1025 อยู่แล้ว

ประเด็นที่สอง กรณีไม่ได้ตกลงกัน ก็ให้คิดกำาไรขาดท้นตามส่วนที่


ลงห้้นตามมาตรา 1044
มาตรา 1044 อันส่วนกำาไรก็ดี ส่วนขาดท้นก็ดี ของผู้เป็ นห้้นส่วน
ท้กๆคนนั น
้ ย่อมเป็ นไปตามส่วนที่ลงห้้น

ข้อสังเกต
(1) มาตรา 1044 เป็ นไปตามหลักที่ว่าลงห้้นมาก กำาไรหรือขาดท้น
ก็ต้องมาก ลงห้้นน้ อย กำาไรหรือขาดท้น ก็ย่อมน้ อยตามไปด้วย
เช่น แดงลงห้้น 100,000 บาท ขาวลงห้้น 200,000 บาท ดังนั น

ตามมาตรา 1044 การคิดกำาไรหรือขาดท้นก็จะเป็ นอัตราส่วน 1 ต่อ
2
(2) มาตรา 1044 ใช้คำาว่า "ผู้เป็ นห้้นส่วนท้กๆคน"( The share of
each partner) หมายรวมถึง ผู้ลงห้้นด้วยแรงงานด้วย ถ้าไม่ได้ตี
ราคาค่าแรงต้องนำ ามาตรา 1027,1028 มาปรับใช้
* ข้อสันนิ ษฐานเกี่ยวกับส่วนกำาไรและส่วนขาดท้น
มาตรา 1045 ถ้าห้้นส่วนของผู้ใดได้กำาหนดแต่เพียงข้างฝ่ ายกำาไร
จะแบ่งเอาเท่าไร หรือกำาหนดแต่เพียงข้างขาดท้นว่าจะยอมขาด
เท่าไร ฉะนี้ไซร้ ท่านให้สันนิ ษฐานไว้ก่อนว่าห้้นส่วนของผู้นัน
้ มีส่วน
กำาไรและส่วนขาดท้นเป็ นอย่างเดียวกัน
ฎีกาที่ 556/2505 โจทก์จำาเลยตกลงกันเข้าเป็ นห้้นกันค้าไม้ไผ่ โดย
โจทก์ลงท้นเป็ นเงิน จำาเลยลงแรง จะแบ่งกำาไรกันคนละครึ่ง ย่อม
ถือว่าเป็ นการเข้าห้้นส่วนกันตามมาตรา 1012 แม้เรื่องขาดท้นจะ
มิได้ตกลงกันไว้ก็หาเป็ นข้อสำาคัญไม่ ถ้าหากมีการขาดท้นก็ต้อง
เฉลี่ยขาดท้นตามส่วนของห้้นอยู่ในตัว เว้นแต่จะตกลงเป็ นอย่างอื่น

* วิธีการจัดการห้างห้้นส่วนสามัญ อาจารย์ขอสร้ปดังนี้
(1) ขอบเขตการจัดการงานของห้างห้้นส่วนสามัญระหว่างผู้เป็ นห้้น
ส่วนด้วยกัน ก็ดูว่าห้างห้้นส่วนสามัญมีกรอบวัตถ้ประสงค์อย่างไร
ขอบเขตการจัดการก็อยู่ภายใต้วัตถ้ประสงค์นัน
้ (ฎ.1771/2499 การ
ฟ้ องคดีรวมอยู่ในขอตเขตของการจัดการห้างด้วย)
(2) ผู้มีอำานาจจัดการ ผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนมีอำานาจจัดการหรือจะ
มอบหมายให้ผู้ใดเป็ นผู้จัดการ ขึ้นอยู่กับข้อตกลง แต่ข้อจำากัด
อำานาจของผู้เป็ นห้้นส่วนไม่ผูกพันบ้คคลภายนอก(มาตรา 1053)
* การจัดการงานของห้างนั น
้ อาจารย์ขอแบ่งได้ 2 กล่้มดังนี้
(ก) การจัดการการงานของห้างห้้นส่วนโดยตรง(Management)
มาตรา 1033-1036
(ข) การดูแลครอบงำาการจัดการ(Contol) มาตรา 1037

(ก) การจัดการการงานของห้างห้้นส่วนโดยตรง (Management)


กรณีทไี่ ม่ได้ตกลงในกระบวนการจัดการให้ดูมาตรา 1033
มาตรา 1033 ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนมิได้ตกลงกันไว้ในกระบวนจัดการ
ห้างห้้นส่วนไซร้ ท่านว่าผู้เป็ นห้้นส่วนย่อมจัดการห้างห้้นส่วนนั น
้ ได้
ท้กคน แต่ผู้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งคนใดจะเข้าทำาสัญญาอันใดซึ่งผู้เป็ น
ห้้นส่วนอีกคนหนึ่ งทักท้วงนั น
้ ไม่ได้
ในกรณีเช่นนี้ ท่านให้ถือว่าผู้เป็ นห้้นส่วนย่อมเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการ
ท้กคน
ข้อสังเกต
(1) การจัดการห้างห้้นส่วน ถ้าหากไม่ได้ตกลงกัน ท้กคนมีอำานาจ
จัดการ แต่คนใดจะทำาสัญญาโดยห้้นส่วนอีกคนหนึ่ งทักท้วงไม่ได้
เพราะสัญญาได้ถูกทำาขึ้นจากห้้นส่วนคนใดแล้วสัญญานั น
้ ผูกพันห้าง
ห้้นส่วน ถ้าอยู่ภายใต้ขอบเขตวัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วน ห้้น
ส่วนท้กคนต้องรับผิดโดยไม่จำากัดจำานวนตามสัญญาห้าง ห้้นส่วน
ท้กคนต้องรับผิดโดยไม่จำากัดจำานวนตามสัญญา กม.จึงกำาหนดว่า
ห้้นส่วนคนอื่นที่มิใช่ผู้จัดการมีสิทธิที่จะทักท้วงไม่ให้ทำาได้
ตัวอย่าง แดง ดำา ขาว ร่วมกันจัดตัง้ ห้างห้้นส่วนสามัญ แต่มิได้
ตกลงตัง้ ใครเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการ แดงซื้อสินค้าจากเหลืองมาขายใน
ห้างห้้นส่วน โดยดำาทักท้วงโดยเห็นว่าสินค้าราคราแพงกว่าในท้อง
ตลาด และเป็ นิสนค้าเก่าเก็บ แต่แดงยังคงตกลงซื้อสินค้าชนิ ดนั น

ต่อมาหากเกิดควาเสียหาย แดงต้องรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น
แต่เพียงผู้เดียว แต่เจ้าหนี้คือเหลืองยังสามารถฟ้ องเพื่อให้ชำาระหนี้
จากแดง ดำา ขาว ได้
(2) หากไม่มีการมอบให้ผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งจัดการและไม่มี
ข้อจำากัดอำานาจห้้นส่วนผู้จัดการไว้ ห้้นส่วนผู้จัดการคนใดคนหนึ่ ง
ย่อมมีสิทธิกระทำากิจการในนามห้างห้้นส่วนได้(ฎ.2539-40/2529)
(3) การจัดการ รวมถึงการบำาร้งรักษาทรัพย์สินของห้าง การจัดหา
เครื่องมือรวมถึงการฟ้ องคดีด้วย(ฎ.733/2474,1771/2499(ป))

ตัวอย่างคำาพิพากษา
* ผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนต้องรับผิดในหนี้สินซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ ง
ไปกู้เขามาใช้จ่ายในกิจการของห้้นส่วน(ฎ.288/2488)
* เข้าห้้นส่วนกันซื้อที่ดินมาขายแบ่งกำาไรเป็ นห้้นส่วน ผู้เป็ นห้้นส่วน
สามัญอาจเป็ นผู้จัดการท้กคนหรือมอบหมายให้ห้นส่วนคนเดียว
จัดการก็ได้(ฎ.191/2501)
* ผู้เป็ นห้้นส่วนผู้ทำาสัญญาให้เช่าช่วงทำาเหมือง ฟ้ องคู่สัญญา ไม่
ต้องได้รับอน้ญาตจากห้้นส่วนอื่น(ฎ.36/2521)
* กรณีได้ตกลงเกี่ยวกับกระบวนการจัดการ
(1) ตกลงให้จัดการตามเสียงข้างมาก
มาตรา 1034 ถ้าได้ตกลงกันไว้ว่าการงานของห้างห้้นส่วน นั น
้ จัก
ให้เป็ นไปตามเสียงข้างมากแห่งผู้เป็ นห้้นส่วนไซร์ ท่านให้ผู้เป็ นห้้น
ส่วนคนหนึ่ งมีเสียงเป็ นคะแนนหนึ่ ง โดยไม่คำานึ งถึงจำานวนที่ลงห้้น
ด้วยมากหรือน้ อย
ข้อสังเกต
-ถ้ามีข้อตกลงกันว่าการงานของห้างห้้นส่วนให้เป็ นไปตามเสียงข้าง
มากแล้ว กม.ให้ถือว่าผู้ถือห้้นคนหนึ่ งมีเสียงเท่ากันหมด โดยไม่
คำานึ งว่าใครจะถือห้้นมากน้ อยเพียงใด เป็ นไปตามหลัก "ONE
MAN ONE VOTE"
ตัวอย่าง แดง ดำา เขียว เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญ โดยแดง
ลงท้นด้วยเงิน 100,000 บาท ดำาลงท้นด้วยเงิน 500,000 บาท
เขียวลงท้นด้วยเงิน 2,000,000 บาท โดยมีข้อตกลงว่าในการ
จัดการงานของห้างห้้นส่วนให้ใช้เสียงข้างมากตัดสิน ต้องถือว่าท้ก
คนมีสย
ี งเพียง 1 เสียงเท่ากัน โดยไม่ต้องคำานึ งถึงส่วนที่ลงท้น
ฎีกาที่ 482/2518 เมื่อผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หลายได้มอบหมายให้ผู้เป็ น
ห้้นส่วนคนหนึ่ งฟ้ องคดีของห้างแล้ว การถอดถอนการมอบอำานาจ
ต้องทำาโดยผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนหรือโดยเสียงข้างมาก ถ้าทำาโดยผู้
เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งโดยผู้เป็ นห้้นส่วนคนอื่นมิได้ยินยอมด้วยในการ
ถอน ดังนั น
้ ใบมอบอำานาจยังใช้ได้อยู่ ผู้เป็ นห้้นส่วนซึ่งได้รับมอบ
อำานาจนั น
้ คงถอนฟ้ องได้
จากฎีกาที่ 482/2518 แสดงให้เห็นว่าเมื่อมีการมอบหมายสิ่งใดไป
แล้ว การจะถอนสิ่งใดก็ดีหรือเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ ที่มอบหมายก็
ต้องทำาโดยเสียงที่เหมือนกันกับตอยที่มอบหมายด้วย

(2) ตกลงตัง้ ห้้นส่วนผู้จัดการ


ถ้าตัง้ บ้คคลใดเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการ อำานาจในการจัดการก็จะอยู่ที่
บ้คคลนัน
้ ให้ดูมาตรา 1035
มาตรา 1035 ถ้าได้ตกลงกันไว้ว่าจะให้ผู้เป็ นห้้นส่วนหลายคน
จัดการห้างห้้นส่วนไซร้ ห้้นส่วนผู้จัดการแต่ละคนจะจัดการห้างห้้น
ส่วนนั น
้ ก็ได้ แต่ห้นส่วนผู้จัดการคนหนึ่ งคนใดจะทำาการอันใดซึ่งห้้น
ส่วนผู้จัดการอีกคนหนึ่ งทักท้วงนั น
้ ไม่ได้
ข้อสังเกต
(2.1) ห้้นส่วนที่มีอำานาจจัดการงานของห้างห้้นส่วนเรียกว่า ห้้นส่วน
ผู้จัดการ(Managing Partners) ส่วนห้้นส่วนที่มิใช่ห้นส่วนผู้จัดการ
เรียกว่า Non -managing partners) นั น
่ คือเป็ นห้้นส่วนธรรมดา
ส่วนผู้มีหน้ าที่จัดการงานของห้างห้้นส่วนโดยเป็ นตัวแทนของห้าง
ห้้นส่วนซึ่งจะเป็ นบ้คคลภายนอกก็ได้เรียกว่า ผู้จัดการ(Manager)
มีฐานะเป็ นลูกจ้างของห้างห้้นส่วน
(2.2) สร้ปลักษณะสำาคัญของมาตรา 1035 ประกอบด้วย
* ต้องเป็ นเรื่องที่ตกลงกันให้ห้นส่วนผู้จดการหลายคนจัดการห้าง
ห้้นส่วน
* ห้้นส่วนผู้จัดการแต่ละคน มีสิทธิจัดการงานของห้างห้้นส่วนได้
เต็มที่ ไม่ต้องปรึกษาหารือห้้นส่วนผู้จัดการคนอื่น
* ห้้นส่วนผู้จัดการคนหนึ่ งคนใดจะทำาการอันใดซึ่งห้้นส่วนผู้จัดการ
อีกคนทักท้วงไม่ได้
* ผู้ทักท้วงต้องเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการด้วยกันเท่านั น
้ แต่ห้นส่วน
ธรรมดาทักท้วงจะไม่มีผลประการใด

ตัวอย่าง ห้างห้้นส่วนสามัญมีแดง ดำา เขียว เหลือง โดยตกลงให้


แดง ดำา เขียว เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการ เหลืองเป็ นห้้นส่วนธรรมดาไม่มี
สิทธิทักท้วงตามมาตรา 1035 หากทักท้วงก็ไม่มีผลแต่อย่างใด แต่
หากแดงซื้อสินค้าของฟ้ าเข้ามาในห้างห้้นส่วน ซึ่งดำาได้ทักท้วงโดย
เห็นว่ามีราคาแพงกว่าในท้องตลาดและเป็ นสินค้าเก่าเก็บ หากเกิด
ความเสียหายแดงต้องรับผิดในความเสียหายเต็มจำานวน แต่ฟ้าซึ่ง
เป็ นเจ้าหนี้สามารถฟ้ องดำา เขียว เหลือง ให้ชำาระหนี้ได้ตามมาตรา
1025
ฎ.672/2486 ห้างห้้นส่วนสามัญที่มีผู้จัดการหลายคน อำานาจจัดการ
ของผู้จัดการต้องบังคับตามมาตรา 1035 กล่าวคือผู้เป็ นห้้นส่วน
แต่ละคนมีอำานาจจัดการห้างได้
* ความแตกต่างระหว่างมาตรา 1033 กับ 1035
หลักการของทัง้ สองมาตราเหมือนกัน แต่มาตรา 1033 จำากัดเฉพาะ
สัญญา เท่านั น
้ แต่มาตรา 1035 ใช้คำาว่า ทำาการอันใด ซึ่งจะเห็นได้
ว่ามาตรา 1035 นั น
้ ให้อำานาจทักท้วงกว้างกว่า
สร้ปคำาว่า ทำาการใดๆหมายถึง เรื่องที่มีความสำาคัญในการจัดการ
ห้างมีส่วนได้เสียทำาให้ห้างมีความเสียหายร้ายแรงได้ส่วนคำา
พิพากษาศาลฎีกาเช่น
ฎ.672/2487 ห้างห้้นส่วนสามัญที่มีผู้จัดการหลายคน อำานาจการ
จัดการของผู้จัดการต้องบังคับตามมาตรา 1035 ไม่ใช่ตามมาตรา
804 ห้้นส่วนผู้จัดการแต่ละคนมีอำานาจจัดการได้
ฎ.1382/2519 ห้างห้้นส่วนจำากัดจดทะเบียนผู้เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการ
ไว้ 3 คน โดยไม่มีข้อจำากัดอำานาจ ห้้นส่วนผู้จัดการแต่ละคนจัดการ
ห้างห้้นส่วนได้ตามมาตรา 1035 ห้้นส่วนผู้จัดการ 2 คนลงชื่อในใบ
แต่งทนายความก็ใช้ได้ หาจำาเป็ นต้องให้ห้นส่วนผู้จัดการทัง้ สาม
ร่วมทำาแทนไม่(ฎีกาที่ 482/2518 วินิจฉัยทำานองเดียวกัน)

(ข) การดูแลครอบงำาการจัดการ(Contol) มาตรา 1037


- คืออำานาจของห้้นส่วนอื่น ทีไ่ ม่ใช่ห้นส่วนผู้จัดการ
มาตรา 1037 ถึงแม้ว่าผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หลายได้ตกลงให้ผู้เป็ นห้้น
ส่วนคนเดียวหรือหลายคนเป็ นผู้จัดการห้างห้้นส่วนก็ดี ผู้เป็ นห้้น
ส่วนท้กคน นอกจากผู้จัดการย่อมมีสิทธิที่จะไต่ถามถึงการงานของ
ห้างห้้นส่วนที่จัดอยู่นัน
้ ได้ท้กเมื่อ และมีสท
ิ ธิที่จะตรวจและคัด
สำาเนาสม้ด บัญชีและเอกสารใดๆของห้้นส่วนได้ด้วย
ข้อสังเกต
ห้้นส่วนธรรมดาแม้จะไม่มีสิทธิเอื้อมเข้าไปจัดการงานของห้างห้้น
ส่วน แต่มีสิทธิครอบงำาการจัดการหรือควบค้มดูแลกิจการของห้าง
ห้้นส่วนได้ สิทธิมีดังนี้
(1) สิทธิที่จะไต่ถามถึงการงานของห้างห้้นส่วน
(2) สิทธิทีจะตรวจและคัดสำาเนาสม้ด บัญชีและเ อกสาร
ฎีกาที่ 1768/2520 โจทก์มีสท
ิ ธิไต่ถามจำาเลยซึ่งเป็ นห้้นส่วนผู้
จัดการถึงการงานและมีสิทธิที่จะตรวจและคัดสำาเนาบัญชีและเอก
สารใดๆของห้างห้้นส่วนได้ตามมาตรา 1037 ประกอบด้วยมาตรา
1080 แม้จำาเลยจะมีเอกสารของห้างห้้นส่วนหรือไม่ก็ตาม เมื่อ
โจทก์ขอให้จำาเลยแสดงบัญชีรับจ่ายพร้อมทัง้ หลักฐานใบสำาคัญการ
รับจ่ายเงินของห้างห้้นส่วนตัง้ แต่วันที่จำาเลยเข้าดำาเนิ นกิจการจนถึง
ปั จจ้บัน ย่อมอยู่ในวิสย
ั ที่จำาเลยซึ่งเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการจะแสดงได้
หาใช่เป็ นเรื่องสภาพแห่งหนี้ไม่เปิ ดช่องให้บังคับได้ไม่

#3
2 March 2009, 14:53

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี

* สิทธิและหน้ าที่ของผู้เป็ นห้้นส่วน กล่้มมาตรา


1032,1038,1040,1041,1047(โยงมาตรา 1054 วรรคหนึ่ ง) และ
มาตรา 1048
หัวข้อ (1) การเปลี่ยนแปลงข้อสัญญาหรือเปลี่ยนประเภทแห่ง
กิจการมาตรา 1032
(2) การห้ามค้าขายแข่งกับห้างห้้นส่วนมาตรา 1038
(3) การห้ามชักนำ าบ้คคลอื่นเข้ามาเป็ นห้้นส่วนมาตรา 1040
(4)การห้ามมิให้บ้คคลภายนอกที่รับโอนส่วนกำาไรทัง้ หมดหรือบาง
ส่วนเข้ามาเป็ นห้้นส่วนมาตรา 1041
(5) การเรียกให้งดใช้ช่ ือของตนเป็ นชื่อห้างห้้นส่วนมาตรา 1047
(6) การเรียกเอาส่วนของกจิการค้าซึ่งไม่ปรากฎชื่อของตนมาตรา
1048

(1) การเปลี่ยนแปลงข้อสัญญาหรือเปลี่ยนประเภทแห่งกิจการ
มาตรา 1032
มาตรา 1032 ห้ามมิให้ปลี่ยนแปลงข้อสัญญาเดิมแห่งห้างห้้นส่วน
หรือประเภทกิจการ นอกจากด้วยความยินยมอของผู้เป็ นห้้นส่วน
หมดด้วยกันท้กคน เว้นแต่จะมีข้อตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น
* ข้อสังเกต กม.ห้ามไม่ให้เปลี่ยนแปลง ในเรื่องดังต่อไปนี้
(1) ข้อสัญญาเดิมแห่งห้างห้้นส่วน ได้แก่การเปลี่ยนแปลงการ
จัดการของห้างห้้นส่วน เช่นการเพิ่มอำานาจจัดการของห้้นส่วนผู้
จัดการหรือการเลิกห้างห้้นส่วนหรือเปลี่ยนแปลงส่วนของกำาไร
ขาดท้น
(2) ประเภทกิจการเช่นเดิมกิจการทำาธ้รกิจจัดสรรที่ดินอย่างเดียว
ต่อมาขอเพิ่มประเภทกิจการเป็ นธ้รกิจจำาหน่ ายบ้านและจัดสรรที่ดิน
หรือเดิมทำากิจการโรงสีข้าว ต่อมาขอเพิ่มเป็ นธ้รกิจแปรรูปขนม
หรืออาหารจากผลิตภัณฑ์ข้าว
(3) การห้ามชักนำ าบ้คคลอื่นเข้ามาเป็ นห้้นส่วนมาตรา 1040
มาตรา 1040 ห้ามมิให้ชักนำ าเอาบ้คคลผู้อ่ ืนเข้ามาเป็ นห้้นส่วนใน
ห้างห้้นส่วนโดยมิได้รับความยินยอมของผู้เป็ นห้้นส่วนหมดด้วยกัน
ท้กคน เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น
แนวคิดมาตรา 1040 เนื่ องจากการเข้าเป็ นห้้นส่วนต้องอาศัยความ
เชื่อใจกัน ความซื่อสัตย์ต่อกัน ดังนั น
้ การชักนำ าบ้คคลภายนอกให้
เข้ามาเป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญจึงต้องได้รับความยินยอม
จากห้้นส่วนหมดท้กคน เว้นแต่จะมีข้อตกลงเป็ นอย่างอื่นเช่นตกลง
ว่าการชักนำ าบ้คคลภายนอกมาเข้ามาเป็ นห้้นส่วนให้เป็ นไปตาม
ความเห็นของห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งก็พอ เป็ นต้น
ข้อสังเกต มาตรา 1040 และมาตรา 1041 นั น
้ จะใช้บังคับเมื่อห้าง
ห้้นส่วนยังไม่เลิก เมื่อห้างเลิกไปแล้วก็ย่อมไม่มีห้นส่วนในห้างอีก
ต่อไป(ฎ.41/2493)
ฎ.41/2493 ห้างห้้นส่วนสามัญที่มิได้จดทะเบียน เมื่อห้้นส่วนมีมติ
ให้เลิก ความเป็ นห้้นส่วนก็สิ้นส้ดลงจะนำ ามาตรา 1249 และมาตรา
1040 มาใช้บังคับไม่ได้ ผู้เป็ นห้้นส่วนย่อมโอนขายสิทธิในห้้นภาย
หลังได้มีมติให้เลิกห้างห้้นส่วนแล้วได้ โดยไม่ต้องได้รับความ
ยินยอมจากห้้นส่วนคนอื่นและผู้รับโอนย่อมเป็ นผู้เสียหายในทาง
อาญา ฟ้ องบ้คคลอื่นซึ่งกระทำาผิดในทางอาญาเกี่ยวกับทรัพย์สน

ของห้างห้้นส่วนนั น
้ ได้
แนวฎีกาของมาตรา 1040
ฎ.407/2501 ผู้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งตาย ผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นยอมให้มี
คนรับโอนห้้นสืบต่อมา ห้้นส่วนนั น
้ ไม่เลิกจากกัน
ฎ.5562/2538 (มาตรา 1032,1040,1080,1091 ออกสอบเนติฯ
สมัยที่ 55)
มาตรา 1080 และมาตรา 1040 เป็ นกรณีที่ผู้เป็ นห้้นส่วนของห้าง
ห้้นส่วนสามัญจะโอนห้้นของตนให้บ้คคลภายนอกหรือชักนำ าบ้คคล
ภายนอกเข้ามาเป็ นห้้นส่วน โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้เป็ น
ห้้นส่วนอื่นทัง้ หมดไม่ได้ ซึ่งบทบัญญัติดังกล่าวย่อมนำ ามาใช้กับห้าง
ห้้นส่วนจำากัดโดยอน้โลม สำาหรับผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัด
ความรับผิดที่จะโอนห้้นของตนให้บ้คคลภายนอกโดยไม่ได้รับความ
ยินยอมจากห้้นส่วนคนอื่นไม่ได้ แต่สท
ิ ธิสำาหรับผู้เป็ นห้้นส่วน
จำาพวกจำากัดความรับผิดนั น
้ อาจโอนห้้นให้บ้คคลภายนอกได้โดย
ลำาพัง ไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นตามมาตรา
1091 บัญญัติไว้ ซึ่งเป็ นกรณีเฉพาะเรื่องการโอนห้้นเท่านั น
้ เพราะผู้
เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดมีสิทธิ อำานาจหน้ าที่ และความ
รับผิดจำากัดและเนื่ องจากมีสิทธิอำานาจ หน้ าที่และความรับผิดจำากัด
ค้ณสมบัติของผู้ที่จะเข้าเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดจึง
ไม่ใช่สาระสำาคัญ และการเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดดัง
กล่าวไม่เป็ นการเฉพาะตัว ทัง้ การโอนห้้นดังกล่าวก้หาใช่การ
เปลี่ยนแปลงข้อสัญญาเดิมแห่งห้างห้้นส่วนหรือประเภทแห่งกิจการ
ตามมาตรา 1032 ไม่
(4) การห้ามมิให้บ้คคลภายนอกที่รับโอนส่วนกำาไรทัง้ หมดหรือบาง
ส่วนเข้ามาเป็ นห้้นส่วนมาตรา 1041
มาตรา 1041 ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งโอนส่วนกำาไรของตน
ในห้างห้้นส่วนทัง้ หมดก็ดี หรือแต่บางส่วนก็ดีให้แก่บ้คคลภายนอก
โดยมิได้รับความยินยอมของผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หลายอื่นไซร้ ท่านว่า
บ้คคลภายนอกนั น
้ จะกลายเป็ นห้้นส่วนด้วยก็หามิได้
ข้อสังเกต
(1) การโอนส่วนกำาไร ผู้รับโอนคงได้แต่ส่วนกำาไร หามีสิทธิเข้ามา
เป็ นห้้นส่วนไม่ การโอนส่วนกำาไรจะรวมถึงการโอนสิทธิในส่วน
กำาไร
(2) คำาพิพากษาส่วนใหญ่มักจะวินิจฉัยถึงการชักนำ าบ้คคลภายนอก
เข้ามาเป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญโดยปรับด้วยมาตรา 1040
มาบังคับทัง้ สิ้นเช่น การโอนห้้น(ฎ.978/2474,5562/2538),การโอน
สิทธิในห้้น(ฎ.41/2493) ส่วนของมาตรา 1041 นั น
้ ยังไม่ปรากฏคำา
พิพากษาศาลฎีกา

(2) การห้ามค้าขายแข่งกับห้างห้้นส่วนมาตรา 1038 (เป็ นเรื่องที่


สำาคัญก่อนที่จะโยงไปมาตรา 1050)
มาตรา 1038 ห้ามมิให้ผู้เป็ นห้้นส่วนประกอบกิจการอย่างหนึ่ งอย่าง
ใดซึ่งมีสภาพด้จเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้างห้้น
ส่วนนั น
้ ไม่ว่าทำาเพื่อประโยชน์ ตนหรือประโยชน์ ผู้อ่ ืน โดยมิได้รับ
ความยินยอมของผู้เป็ นห้้นส่วนคนอื่นๆ
ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดทำาการฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติมาตรานี้ไซร้ ผู้
เป็ นห้้นส่วนคนอื่นๆชอบที่จะเรียกเอาผลกำาไรซึ่งผู้นัน
้ หาได้ทัง้ หมด
หรือเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อการที่ห้างห้้นส่วนได้รับความ
เสียหายเพราะเหต้นัน
้ แต่ท่านห้ามมิให้ฟ้องเรียกเมื่อพ้นเวลาปี หนึ่ ง
นั บแต่วันทำาการฝ่ าฝื น
ข้อสังเกต
แนวคิด มาตรา 1038 มาจากหลักที่ว่า ผู้เป็ นห้้นส่วนมีหน้ าที่ที่จะ
ต้องซื่อสัตย์ต่อกัน(Fiduciary Duty) และมาตรา 1038 ใช้บังคับ
เฉพาะห้างห้้นส่วนสามัญเท่านั น

- ส่วนห้างห้้นส่วนจดทะเบียนบังคับด้วยมาตรา 1066 และมาตรา
1067
- ส่วนห้างห้้นส่วนจำากัดบังคับด้วยมาตรา 1080 ประกอบด้วย
มาตรา 1066 และมาตรา 1067

* หลักเกณฑ์มาตรา 1038
(1) บ้คคลที่ต้องห้ามคือผู้ที่เป็ นห้้นส่วนท้กคน ไม่ว่าจะเป็ นห้้นส่วน
ผู้จัดการหรือห้้นส่วนธรรมดา ก็ตาม
(2) กิจการที่ต้องห้ามนั น
้ มีหลักเกณฑ์ 2 ประการคือ
* ต้องมีสภาพด้จเดียวกันกับกิจการของห้างห้้นส่วน
* กิจการนั น
้ ต้องเป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้าง
(3) การแข่งขันจะทำาเพื่อประโยชน์ ของตนเองหรือเพื่อประโยชน์
ของคนอื่นก็ตาม
(4) แต่ถ้าหากห้้นส่วนท้กคนยินยอมให้ห้นส่วนคนหนึ่ งคนใดทำาการ
ค้าขายแข่งกับห้างห้้นส่วนก็สามารถทำาได้
สภาพด้จเดียวกัน มีความหมายว่าอย่างไร หลวงศรีปรีชาธรรม
ปาฐกอธิบายว่า กม.ใช้คำาว่า "สภาพ" เพื่อให้มีความหมายกว้าง
ขนมจีนนำ้ ายากับขนมจีนนำ้ าพริกมีสภาพด้จเดียวกัน แต่ต่างชนิ ดกัน
สร้ป สภาพด้จเดียวกัน หมายถึงการประกอบกิจการที่มีลักษณะ
คล้ายคลึงกันหรือทำานองเดียวกัน
การแข่งขันกับกิจการของห้าง ต้องพิจารณาจากเวลา สถานที่และ
กล่้มลูกค้าประกอบด้วย หากเป็ นลูกค้ากล่้มเดียวกันย่อมเป็ นการ
แข่งขันกับห้างได้
* ผลการฝ่ าฝื นมาตรา 1038 ผู้เป็ นห้้นส่วนคนอื่นมีสท
ิ ธิอย่างใด
อย่างหนึ่ งดังนี้
(ก) เรียกเอาผลกำาไรที่ผู้เป็ นห้้นส่วนผู้ฝ่าฝื นหามาได้ทัง้ หมด
(ข) เรียกเอาค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนที่ห้างได้รับความเสีย
หาย
ส่วนระยะเวลาฟ้ องเรียกตาม (ก) หรือ(ข) ต้องฟ้ องร้องภายใน 1 ปี
นั บแต่วันที่ฝ่าฝื น

(5) การเรียกให้งดใช้ช่ ือของตนเป็ นชื่อห้างห้้นส่วนมาตรา 1047


มาตรา 1047 ถ้าชื่อของผู้เป็ นห้้นส่วนซึ่งออกจากห้้นส่วนไปแล้ว
ยังคงใช้เรียกขานติดเป็ นชื่อห้างห้้นส่วนอยู่ ท่านว่าผู้เป็ นห้้นส่วน
นั น
้ ชอบที่จะเรียกให้งดใช้ช่ ือของตนเสียได้
ข้อสังเกต
มาตรา 1047 ให้สิทธิห้นส่วนที่ออกจากห้างห้้นส่วนมีสิทธิให้ห้างห้้น
ส่วนงดใช้ช่ ือของตนเป็ นชื่อของห้างห้้นส่วนได้ ถ้าหากยังยินยอม
ให้ใช้ช่ ือของตนในห้างห้้นส่วนอีก อจาต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอก
ในบรรดาหนี้ของห้างห้้นส่วนเสมือนตนยังเป็ นห้้นส่วนตามมาตรา
1054

(6) การเรียกเอาส่วนของกจิการค้าซึ่งไม่ปรากฎชื่อของตนมาตรา
1048
มาตรา 1048 ผู้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งจะเรียกเอาส่วนของตนจาห้้น
ส่วนอื่นๆแม้ในกิจการค้าขายอันใดซึ่งไม่ปรากฏชื่อของตนก็ได้
ข้อสังเกต
(1) แนวคิด การที่ผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดจัดการงานของห้างห้้นส่วน
นั น
้ ย่อมเป็ นการจัดการในนามของห้างห้้นส่วนท้กคน ถึงแม้ใน
สัญญาจะไม่ปรากฏชื่อห้้นส่วนคนที่ไม่ได้ทำา ห้้นส่วนทีไ่ ม่ปรากฏชื่อ
เรียกร้องผลประโยชน์ จากห้้นส่วนที่เป็ นคู่สัญญาได้ เพราะไม่ได้
เรียกร้องเอาจากบ้คคลภายนอกแต่อย่างใด นั น
่ คือ เป็ นการเรียก
ร้องให้ปฏิบัติตามสัญญาจัดตัง้ ห้างห้้นส่วน หาใช่เป็ นการเรียกร้อง
ตามสัญญาที่ห้นส่วนคนอื่นไปทำากับบ้คคลภายนอก
(2) มาตรา 1048 อยู่ภายใต้มาตรา 1049 หมายความว่า ผู้เป็ นห้้น
ส่วนด้วยกันสามารถจะเข้ามาเรียกร้องเอาส่วนของตนจาห้้นส่วน
คนอื่น ถึงแม้ในกิจการที่ไม่ปรากฏชื่อของตนได้ แต่จะไปเรียกร้อง
จากบ้คคลภายนอกไม่ได้เพราะมาตรา 1048 ไม่ได้กำาหนดไว้
ตัวอย่าง ห้างห้้นส่วนสามัญประกอบกิจการค้าข้าวสารหอมมะลิมี
นายดร้ณ นายชาติ และนางแก้วเป็ นห้้นส่วน นายดำารงเป็ นบ้คคล
ภายนอกได้ซ้ ือข้าวสารกับนายดร้ณ เป็ นจำานวน 300,000 บาท
และในการทำาสัญญาซื้อขายข้าวสารกับบ้คคลอื่น นายดร้ณก็เป็ นคน
ทำาสัญญาดังกล่าวทัง้ สิ้น เมื่อห้างห้้นส่วนมีกำาไร นายชาติ นางแก้ว
ย่อมมีสิทธิจะเรียกเอากำาไรส่วนของตนจาการที่นายดร้ณได้จัดการ
กิจการค้าขายข้าวสารนั น
้ ด้วย แม้จะไม่มีช่ ือนายชาติ นางแก้วใน
กิจการค้าขายดังกล่าว
ส่วนายชาติ นางแก้วจะได้ส่วนแบ่งกำาไรเท่าไรนั น
้ ก็เป็ นไปเป็ นไป
ตามสัญญาหรือข้อตกลงระหว่างผู้เป็ นห้้นส่วนด้วยกัน หากไม่มีข้อ
ตกลงก็ต้องแบ่งกันตามส่วนที่ลงห้้นตามมาตรา 1044 หรือ 1045

แนวคำาพิพากษาศาลฎีกามาตรา 1048
ฎ.1365/2493 การที่ห้นส่วนคนใดจัดการงานของห้างไปถือว่า
จัดการในนามของห้างห้้นส่วนท้กคนเป็ นเสมือนตัวการ ถ้าได้รับ
สิทธิหรือทรัพย์สินมาก็ต้องมอบให้ห้นส่วนคนอื่น มิฉะนั น
้ ห้้นส่วน
คนอื่นฟ้ องเรียกร้องให้ส่งมอบได้(ฎ.642/2472 ทำานองเดียวกัน)

* ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็ นห้้นส่วนกับบ้คคลภายนอก มีรากฐาน


มาจากหลักกฎหมาย 3 เรื่องด้วยกัน
(1) หลักในเรื่องตัวแทน(ดูมาตรา 1040,1050)
(2) หลักในเรื่องกรรมสิทธิร์ วม เพราะห้างห้้นส่วนสามัญไม่จด
ทะเบียน ไม่เป็ นนิ ติบ้คคลต่างหากจากผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หลาย สิทธิ
และทรัพย์สินของห้างจึงตกได้แก่ผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนรวมกัน
(3) หลักเรื่องลูกหนี้ร่วม ห้างซึ่งมิได้จดทะเบียน หน้ าที่และความ
รับผิดของห้างจึงตกอยู่กับห้้นส่วนท้กคนร่วมกัน ผู้เป็ นห้้นส่วนท้ก
คนตกเป็ นลูกหนี้ร่วมและลูกหนี้ชัน
้ ต้น ต้องรับผิดโดยไม่จำากัด
(มาตรา 1025)
* ความเกี่ยวพันระหว่างห้้นส่วนกับบ้คคลภายนอก มีประเด็นที่น่า
สนใจดังนี้
(1) สิทธิของผู้เป็ นห้้นส่วนต่อบ้คคลภานอก(มาตรา 1049)
(2) ความรับผิดของผู้เป็ นห้้นส่วนต่อบ้คคลภายนอก(มาตรา 1050)
(3) ความรับผิดของผู้ที่เพิงเข้ามาเป็ นห้้นส่วน และผู้ที่ออกจากห้าง
ห้้นส่วน ข้อจำากัดอำานาจระหว่างห้้นส่วนไม่ผูกพันบ้คคลภายนอก
(มาตรา 1051,1052 และมาตรา 1053)
(4) บ้คคลภายนอกทีไ่ ม่ใช่ห้นส่วนแต่แสดงตนเป็ นห้้นส่วน ต้องรับ
ผิดต่อบ้คคลภายนอกตามมาตรา 1054

(1) สิทธิของผู้เป็ นห้้นส่วนต่อบ้คคลภานอก (มาตรา 1049)


มาตรา 1049 ผู้เป็ นห้้นส่วนจะถือเอาสิทธิใดๆแก่บ้คคลภายนอกใน
กิจการค้าขายซึ่งไม่ปรากฏชื่อของตนนั น
้ หาได้ไม่

ข้อสังเกต
(1) มาตรา 1049 ใช้กับห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนเท่านั น
้ ถ้า
จดทะเบียนแล้วต้องใช้มาตรา 1065 (มาตรา 1049 และมาตรา
1050 เคยออกสอบเนติฯสมัยที่ 50)
(2) คำาว่า "กิจการค้าขายซึ่งไม่ปรากฎชื่อของตน" มีความหมาย
เพียงใดนั น
้ :เป็ นกรณีที่ห้นส่วนคนอื่นๆที่มิใช่คู่สัญญากับบ้คคล
ภายนอก ไม่มีสิทธิฟ้องร้องบ้คคลภายนอกให้รับผิดชำาระหนี้ของ
ห้างได้เพราะถือหลักว่า ห้้นส่วนคนอื่นๆเป็ นคนนอก
สัญญา(PRIVITY OF CONTRACT) ดังนั น
้ เมื่อห้้นส่วนที่ไม่ปราก
ฎชื่อในสัญญา จึงไม่สามารถฟ้ องบ้คคลภายนอกให้รับผิดได้
(3) มาตรา 1049 ใช้คำาว่า "ในกิจการค้าขาย" เท่านั น
้ หากเป็ นการ
ฟ้ องคดีที่บ้คคลภายนอกก่อละเมิดแก่ห้างห้้นส่วนแล้ว ห้้นส่วนผู้
จัดการของห้างห้้นส่วนสามารถจะฟ้ องบ้คคลที่ก่อละเมิดโดยลำาพัง
ไม่จำาเป็ นต้องให้ผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนเข้าเป็ นโจทก์แต่อย่าง
ใด(ฎ.1771/2499(ป))
ฎ.1771/2499(ป) ห้้นส่วนผู้จัดการของห้างห้้นส่วนสามัญไม่จด
ทะเบียนคนเดียวอาจเป็ นโจทก์ฟ้องคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของ
ห้างห้้นส่วนได้ โดยไม่จำาเป็ นต้องให้ผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนเข้าชื่อกัน
เป็ นโจทก์
(4) มาตรา 1049 เฉพาะคู่สัญญาเท่านั น
้ ที่จะฟ้ องได้ ห้้นส่วนอื่นซึ่ง
ไม่ได้ปรากฏชื่อในสัญญานั น
้ ไม่มีสิทธิฟ้อง แต่ถ้าท้กคนรวมทัง้ คู่
สัญญาด้วยได้ร่วมกันหมดท้กคนมาฟ้ องโดยอ้างว่าเป็ นห้้นส่วนซึ่ง
กันและกัน ศาลฎีกายอมรับว่าฟ้ องได้(ฎ.916/2509)

ตัวอย่างมาตรา 1049 ก. ข. ค. เข้าห้้นส่วนสามัญประกอบกิจการ


ค้าข้าว ต่อมา ก.ทำาสัญญาซื้อขายข้าวเปลือกจาก ง. เช่นนี้
(1) หาก ก.ได้กำาไรจากการทำาสัญญารายนี้ ข. ค. สามารถเรียกเอา
ส่วนของตนได้ตามมาตรา 1048 แม้ว่าในการทำาสัญญาจะไม่ปราก
ฎชื่อของ ข.และ ค. ก็ตาม
(2) หาก .ง. ผิดสัญญา ก. ย่อมฟ้ องให้ ง. รับผิดได้ แต่ ข. หรือ ค.
คนใดคนหนึ่ งจะฟ้ องไม่ได้ตามมาตรา 1049 เพราะกิจการค้าขายนี้
ไม่ปรากฎชื่อ ข.หรือ ค.

แนวฎีกาของมาตรา 1049
ฎ.2578/2535 ห้้นส่วนที่จะฟ้ องบังคับบ้คคลภายนอกในกิจการค้า
ของห้างห้้นส่วนสามัญได้ จะต้องเป็ นผู้มีช่ ือในกิจการนั น
้ ตามมาตรา
1049 การฟ้ องคดีจึงไม่จำาเป็ นต้องลงชื่อผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคน โจทก์
ที่ 2-4 เป็ นห้้นส่วน แต่ไม่ปรากฏชื่อของโจทก์ที่ 2-4 ในสัญญาเช่า
โจทก์ที่ 2-4 จึงไม่อาจถือสิทธิใดๆจำาเลยในการเช่านั น
้ และไม่มี
อำานาจฟ้ อง ปั ญหาข้อนี้แม้จำาเลยจะไม่ได้ยกขึ้นฎีกา แต่เป็ นปั ญหา
เกี่ยวกับความสงบฯ ศาลฎีกายกขึ้นวินิจฉัยได้
ฎ.63/2476 ....มาตรา 1049 เมื่อในสัญญากู้หนี้ไม่ปรากฏชื่อของ
โจทก์เป็ นคู่สัญญา โจทก์ผู้เป็ นห้้นส่วนจะถือเอาสิทธิของยี่ห้อเจี๋ยบ
หลีมาฟ้ องร้องจำาเลยทัง้ สองซึ่งเป็ นบ้คคลภายนอกหาได้ไม่ ทัง้ ไม่
ปรากฏว่ามีกฎหมายบทใดบทหนึ่ งที่เป็ นบทยกเว้นอน้ญาตให้ผู้เป็ น
ห้้นส่วนทำาเช่นนี้ได้ในเมื่อห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งอยู่ต่างประเทศ
ฎ.1556/2518 โจทก์ที่ 1 ออกเงินให้จำาเลยนำ าไปใช้ก่อสร้างสถานี
วิทย้กระจายเสียง โดยจำาเลยสัญญาจะให้สท
ิ ธิโจทก์ที่ 1 ในการ
โฆษณาสินค้าทางสถานี วิทยะนั น
้ ต่อมาจำาเลยผิดสัญญา โจทก์ที่ 1
และโจทก์ที่ 2 :ซึ่งเป็ นห้้นส่วนกันจึงฟ้ องจำาเลย ศาลฎีกาวินิจฉัย
เกี่ยวกับอำานาจฟ้ องของโจทก์ที่ 2 ว่าโจทก์ที่ 2 มิได้เป็ นคู่สัญญากับ
จำาเลย จึงไม่มีนิติสัมพันธ์ต่อกัน และตามกม.ผู้เป็ นห้้นส่วนจะถือ
เอาสิทธิใดๆแก่บ้คคลภายนอกในกิจการค้าขายซึ่งไม่ปรากฎชื่อของ
ตนนั น
้ หาได้ไม่ตามมาตรา 1049 ฉะนั น
้ โจทก์ที่ 2 จึงไม่มีอำานาจ
ฟ้ องคดีนี้(ฎ.6848/2540 ทำานองเดียวกัน)

(2) ความรับผิดของผู้เป็ นห้้นส่วนต่อบ้คคลภายนอก (มาตรา


1050)
มาตรา 1050 การใดๆอันผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งได้จัดทำาไปใน
ทางที่เป็ นธรรมดาค้าขายของห้างห้้นส่วนนั น
้ ท่านว่าผู้เป็ นห้้นส่วน
หมดท้กคนย่อมมีความผูกพันในการนั น
้ ๆ ด้วยและจะต้องรับผิด
ร่วมกันโดยไม่จำากัดจำานวนในการชำาระหนี้อันได้ก่อให้เกิดขึ้นเพราะ
จัดการไปเช่นนั น

ข้อสังเกต
เบื้องหลังมาจากหลักของมาตรา 1025 ทีว
่ ่า ห้้นส่วนท้กคนต้องรับ
ผิดชอบร่วมกันในหนี้สินทัง้ ปวงของห้างห้้นส่วนสามัญโดยไม่จำากัด
จำานวน โดยเฉพาะในกรณีที่ห้นส่วนคนใดคนหนึ่ งได้ทำาไปในทาง
ธรรมดาการค้าขายของห้างห้้นส่วน
สร้ปหลักเกณฑ์มาตรา 1050
(1) ต้องกระทำาไปในทางธรรมดาการค้าของห้าง(The ordinary
course of the business of the partnership)
(2) กิจการที่จัดทำาไปนั น
้ ต้องไม่ใช่เรื่องส่วนตัวของห้างห้้นส่วนผู้
หนึ่ งผู้ใด

* ต้องกระทำาไปในทางธรรมดาการค้าของห้าง(The ordinary
course of the business of the partnership) คืออะไร พิจารณา
ได้ดังนี้
1) การกระทำาไปในขอบเขตวัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วน
แต่ห้นส่วนสามัญไม่ได้จดทะเบียน บ้คคลภายนอกย่อมไม่รู้ถึง
วัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วน ต้องอาศัยหลักความส้จริตคือหาก
บ้คคลภายนอกไม่รู้ว่าห้้นส่วนทำานอกวัถต้ประสงค์โดยส้จริต ห้้น
ส่วนคนอื่นๆต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอก เทียบกับฎีกา 41/2509
ฎ.41/2509 วัตถ้ประสงค์ของห้างจำาเลยซึ่งเป็ นห้างห้้นส่วนจำากัดที่
จดทะเบียนไว้มีว่าเพื่อประกอบกิจการพาณิชยกรรมในประเภท
ทำาการค้าสินค้าพื่นเมือ ทำาการสัง่ เข้าและส่งออกเครื่องอ้ปโภคและ
บริโภคต่างๆ ทำาการเป็ นนายหน้ า และตัวแทนต่างๆ ดังนั น
้ เมื่อผู้
จัดการของจำาเลยไปทำาสัญญาคำ้าประกันหนี้ จึงเป็ นการกระทำานอก
วัตถ้ประสงค์ของจำาเลย จำาเลยจึงไม่ต้องรับผิด
ฎ.2-3/2474 จำาเลยหลายคนเข้าห้้นส่วนกันตัง้ โรงฆ่าส้กร โดยมี
ความประสงค์เพื่อเก็บเงินจากผู้นำาส้กรไปฆ่า จ.ซึ่งเป็ นห้้นส่วนผู้
จัดการซื้อส้กรของโจทก์มาฆ่าเสียเอง แล้วไม่ใช้เงินโจทก์ ศาลฎีกา
วินิจฉัยว่า จ. ทำาการนอกวัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วน และไม่ได้
ความว่า จ.ทำาไปในสฐานะเป็ นตัวแทนของจำาเลย หรือจำาเลยมีส่วน
ได้เสียร่วมด้วย จำาเลยจึงไม่ต้องรับผิด

2) กิจการที่กระทำาไปตามสภาพการดำาเนิ นธ้รกิจของห้างห้้นส่วน
นั น
้ ๆ
สภาพธ้รกิจมีความหมายกว้างกว่าวัตถ้ประสงค์ของห้าง เช่น ห้าง
ห้้นส่วนดำาเนิ นธ้รกิจขนส่งสินค้า แต่รถที่ใช้ในกิจการขนส่งเสีย ห้้น
ส่วนต้องเช่ารถจากบ้คคลอื่น ถือว่าการเช่านั น
้ เป็ นไปตามสภาพของ
ธ้รกิจ แม้ไม่มีวัตถ้ประสงค์เช่ารถก็ตาม ก็ถือว่าเป็ นการธรรมดา
ทางการค้าขายของห้างด้วย

3) กิจการที่กระทำาไปตามประเพณีซ่ ึงห้างห้้นส่วนที่มีลักษณะเดียว
กันย่อมปฎิบัติกันอยู่
ฎ.3-4 /2487 (ฎีกาหลัก)
การพิจารณาว่ากิจการที่ผู้จัดการห้างห้้นส่วนไม่จดทะเบียนจัดทำาไป
เป็ นธรรมดาการค้าของห้างห้้นส่วนหรือไม่นัน
้ จะต้องพิจารณาเป็ น
2 ทางคือ 1.โดยสภาพแห่งธ้รกิจของห้างห้้นส่วนนั น
้ ๆและ 2 .ประเ
พณีโดยทัว
่ ๆไปที่ห้างห้้นส่วนที่มีลักษณะเดียวกันย่อมปฏิบัติ
ห้างห้้นส่วนหรือบริษท
ั ที่จดทะเบียน ย่อมมีอำานาจและหน้ าที่จำากัด
ไว้ในทะเบียนซึ่งประชาชนอาจตรวจดูได้ ผู้ติดต่อย่อมประมาณและ
อน้มานอำานาจของนิ ติบ้คคลได้จากเอกสารมหาชนนั น
้ แต่ห้างห้้น
ส่วนไม่จดทะเบียนบ้คคลภายนอกย่อมไม่รู้ถึงข้อตกลงอันเป็ น
วัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วนซึ่งทำากันเป็ นการภายในระหว่างห้้น
ส่วน ฉะนั น
้ ตามธรรมดาจึงถือว่ากิจการของห้างห้้นส่วนสามัญก็คือ
กิจการของบ้คคลธรรมดา การจะดูว่าเรื่องใดเป็ นการจัดทำาไปใน
ทางที่เป็ นธรรมดาการค้าขายของห้างห้้นส่วนจึงต้องดูวิธีปฏิบัติการ
ที่ห้างห้้นส่วนนั น
้ ๆได้กระทำามาแล้ว ประกอบกิจการที่ห้างห้้นส่วน
อื่นอันมีลักษณะเดียวกันได้กระทำาอยู่
การกู้เงินย่อมเป็ นกิจการที่คนค้าขายย่อมทำากัน ผู้เป็ นห้้นส่วนจะ
ปฏิเสธความรับผิดชอบได้ต่อเมื่แสดงให้เห็นชัดว่า การกู้ยืมนั น

เป็ นการกระทำาไปนอกทางธรรมดาธ้รกิจของห้างห้้นส่วนอัน
ประชาชนควรจะเห็นได้โดยจริงจัง หากสืบแต่เพียงว่านอก
วัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วนย่อมไม่พ้นความรับผิด

#4
2 March 2009, 14:54

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี

ตัวอย่างการที่เป็ นธรรมดาการค้าขายของห้างห้้นส่วน
* การรับชำาระหนี้(ฎ.314/2510,530/2504)
* จ่ายเช็คชำาระหนี้ห้าง(ฎ.362/2510)
* การทำาสัญญาทรัสต์รีซีทและเปิ ดเลตเตอร์ออฟเครดิต
(ฎ.2962/2517)
ข้อสังเกต
การใดๆอันได้จัดการไปนั น
้ แยกพิจารณาได้ 2 ประการคือ
(ก).การทำาสัญญา ซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งได้จัดทำาไปโดยม่้ง
ที่จะก่อให้เกิดนิ ติสัมพันธ์ข้ ึนกัลบ้คคลภายนอก
(ข).การทำาละเมิด ซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งตลอดจนลูกจ้าง
ของห้างห้้นส่วนได้กระทำาไปโดยมิได้ม่้งที่จะก่อให้เกิดนิ ติสัมพันธ์
ขึ้นกับบ้คคลภายนอก(ฎ.603/2506,1495/2498,1836/2514)
ฎ.1495/2498 ผู้เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการและลูกจ้างขับรถยนต์ของ
ห้างห้้นส่วนสามัญชนรถยนต์ชองบ้คคลอื่นเสียหายโดยละเมิด ผู้
เป็ นห้้นส่วนคนอื่นต้องรับผิดร่วมด้วย
ฎ.1836/2514 จำาเลยที่ 2 เป็ นผู้ออกรถยนต์ จำาเลยที่ 1 เป็ นผู้
ออกแรงงานร่วมกันไปรับจ้างบรรท้กของ ผลประโยชน์ แบ่งกัน
คนละครึ่ง ดังนี้ ถือว่าเป็ นการดำาเนิ นกิจการเกี่ยวกับรถยนต์เป็ น
ลักษณะห้างห้้นส่วนกันรับจ้าง เมื่อจำาเลยที่ 1 ทำาให้เกิดความเสีย
หายแก่บ้คคลภายนอกเป็ นการละเมิด จำาเลยทัง้ สองต้องร่วมกันรับ
ผิดในกิจการของการนำ ารถรับจ้างซึ่งเป็ นห้้นส่วน
* กิจการที่กระทำาไปนั น
้ ต้องไม่ใช่เรื่องส่วนตัวของห้างห้้นส่วนผู้
หนึ่ งผู้ใด
เพิ่มเติมฎีกาที่สำาคัญของมาตรา 1050
ฎ.4293/2540 จำาเลยทัง้ สามเป็ นห้้นส่วนกัน มีวัตถ้ประสงค์เพื่อ
ร่วมกันประกอบกิจการับจ้างถมดินทรายและลูกรัง โดยมอบหมาย
ให้จำาเลยที่ 1 เป็ นผู้รับผิดชอบส่งมอบงานและรับจ้างถมดินด้วย
และห้้นส่วนท้กคนจะรับผิดชอบในกิจการดังกล่าวจนแล้วเสร็จ การ
ที่จำาเลยที่ 1 ว่าจ้างช่วงให้โจทก์ถมดินในที่ดินบางส่วน ซึ่งจำาเลยที่
1 ทำาสัญญารับจ้างกับผู้ว่าจ้าง แม้จำาเลยที่ 1 จะมิได้รับมอบหมาย
จากผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นโดยตรง แต่กิจการที่จำาเลยที่ 1 ทำาไปนั น
้ ก็เพื่อ
ให้สามารถส่งมอบงานให้ผู้ว่าจ้างทันตามสัญญา จึงอยู่ในกรอบแห่ง
วัตถ้ประสงค์และความม่้งหมายโดยตรงของการจัดตัง้ ห้างห้้นส่วน
อันถือได้ว่าเป็ นการจัดทำาไปในทางธรรมดาการค้าของห้างห้้นส่วน
ด้วยตามมาตรา 1050 ซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนหมดท้กคนย่อมมีความ
ผูกพันในกิจการที่ว่าจ้างนั น
้ และต้องรับผิดร่วมกันโดยไม่จำากัด
จำานวนในการชำาระหนี้อันได้ก่อให้เกิดขึ้นเพราะจัดการไปเช่นนั น

(3). ความรับผิดของผู้ที่ออกจากห้างห้้นส่วนและความรับผิดของผู้
ที่เพิงเข้ามาเป็ นห้้นส่วน และข้อจำากัดอำานาจระหว่างผู้เป็ นห้้นส่วน
ไม่ผูกพันบ้คคลภายนอก (มาตรา 1051,1052 และมาตรา 1053)
* ความรับผิดของผู้ที่ออกจากห้างห้้นส่วน
มาตรา 1051 ผู้เป็ นห้้นส่วนซึ่งออกจากห้้นส่วนไปแล้วยังคงต้องรับ
ผิดในหนี้ซ่ ึงห้างห้้นส่วนได้ก่อให้เกิดขึ้นก่อนที่ตนได้ออกจากห้้น
ส่วนไป
ข้อสังเกต
(1) การออกจากห้างห้้นส่วนไม่เป็ นเหต้ให้หนี้ระงับ ห้้นส่วนทีอ
่ อก
ไปยังคงต้องรับผิดในหนี้ ดังกล่าวร่วมกับห้้นส่วนคนอื่นๆ ความรับ
ผิดของเขาจะหย้ดลง ณ วันที่ผู้เป็ นห้้นส่วนออกจากห้าง ดังนั น
้ โดย
หลัก ห้้นส่วนจึงไม่ต้องรับผิดในหนี้ที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่เขาออก
จากห้างไป
(2) ห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนเป็ นการยากทีบ
่ ้คคลภายนอก
จะทราบว่า ห้้นส่วนคนใดออกจากห้างไป ประกอบกับหลักกม.ห้าง
ห้้นส่วนสามัญมีแนวที่จะค้้มครองบ้คคลภายนอกผู้ส้จริตมากกว่า
ห้้นส่วน ดังนั น
้ ผู้เป็ นห้้นส่วนที่ออกไปจึงควรประกาศหรือโฆษณา
การออกจากห้างให้เป็ นที่ทราบโดยทัว
่ กันหรืออาจจะทำาสัญญากับ
ห้้นส่วนที่เหลือว่าหากมีด้วยเหต้ใดๆที่ทำาให้ตนต้องรับผิดในหนี้ใน
อนาคตของห้างโดยไม่ใช่ความผิดของตน ผู้เป็ นห้้นส่วนที่เหลือจะ
ชดใช้ค่าเสียหายให้
ฎ.598/2474 ผู้เป็ นห้้นส่วนสามัญที่ได้ออกจากห้างห้้นส่วนและได้
ประกาศให้บ้คคลภายนอกทราบแล้วนั น
้ ไม่ต้องรับผิดชอบในหนี้สิน
ของห้างห้้นส่วนซึ่งเกิดภายหลังที่ตนออกไปจากห้้นส่วนไปแล้ว
(3) มาตรา 1051 ให้เทียบกับมาตรา 1068 กรณีห้างห้้นส่วนจด
ทะเบียน ความรับผิดของห้้นส่วนในหนี้ซ่ ึงห้างห้้นส่วนจดทะเบียน
ได้ก่อให้เกิดขึ้นก่อนที่ตนจะอกจากห้้นส่วนมีจำากัดเพียง 2 ปี นั บ
แต่เมื่อออกจากห้้นส่วนตามมาตรา 1068(ฎ.1300/2533) แต่ใน
ห้างห้้นส่วนสามัญตามมาตรา 1051 มิได้กำาหนดอาย้ความไว้
เพราะฉะนั น
้ ต้องถือตามอาย้หนี้เดิมเป็ นหลัก

* ความรับผิดของผู้ที่เพิงเข้ามาเป็ นห้้นส่วน
มาตรา 1052 บ้คคลผู้เข้าเป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนย่อมต้องรับผิด
ในหนี้ใดๆซึ่งห้้นส่วนได้ก่อให้เกิดขึ้นก่อนที่ตนเข้ามาเป็ นห้้นส่วน
ด้วย
ข้อสังเกต
แนวคิดเบื้องหลังมาตรา 1052 การที่กฎหมายกำาหนดให้ผู้เป็ นห้้น
ส่วนใหม่ต้องรับผิดในหนี้ที่ห้นส่วนอื่นก่อขึ้นก่อนที่ตนเข้ามาเป็ น
ห้้นส่วน เพื่อเป็ นหลักประกันแก่เจ้าหนี้ในกรณีที่มีการเปลี่ยนตัวผู้
เป็ นห้้นส่วน(บ้คคลภายนอกที่ไม่มีโอกาสได้รู้ถึงการเข้าออกของผู้
เป็ นห้้นส่วน)
ฎีกาที่ 5949/2534 ห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดต้องรับผิด
ในหนี้ของห้างห้้นส่วนจำากัดที่เกิดขึ้นก่อนที่ตนจะเข้ามาเป็ นห้้น
ส่วน และแม้ผู้เป็ นห้้นส่วนจะออกจากห้้นส่วนไปแล้ว ก็ยังคงต้อง
รับผิดในหนี้ของห้างห้้นส่วนได้ก่อขึ้นก่อนที่ตนจะได้ออกไปจากห้้น
ส่วนตามมาตรา 1051,1052 ซึ่งนำ ามาใช้แก่ห้างห้้นส่วนจำากัดด้วย
ตามมาตรา 1080
ข้อพิจารณา ฎีกานี้เป็ นการวินิจฉัยถึงความรับผิดของผู้เป็ นห้้นส่วน
ไม่จำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วนจำากัดโดยใช้มาตรา 1080 ที่ให้
นำ ามาตรา 1051,1052 มาใช้บังคับ
ฎีกาที่ 4779/2533 จำาเลยที่ 1 เป็ นห้างห้้นส่วนจำากัดเป็ นหนี้ค่าภาษี
ในรอบปี ภาษีปี 2528 กับปี 2526 ต่อมาก็มีจำาเลยที่ 2 เข้ามาเป็ น
ห้้นส่วนใหม่ภายหลัง ก็มีข้อต่อสู้กันว่า จะต้องรับผิดในหนี้ภาษีนัน

หรือไม่ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าต้องรับผิดตามมาตรา 1052 ซึ่งนำ าไปใช้
กับห้างห้้นส่วนจำากัดตามมาตรา 1080

* ข้อจำากัดอำานาจของผู้เป็ นห้้นส่วนด้วยกันเอง ไม่ผูกพันบ้คคล


ภายนอก
มาตรา 1053 ห้างห้้นส่วนซึ่งมิได้จดทะเบียนนั น
้ ถึงแม้จะมีข้อ
จำากัดอำานาจของห้้นส่วนคนหนึ่ งในการที่จะผูกพันผู้เป็ นห้้นส่วนคน
อื่นๆท่านว่าข้อจำากัดเช่นนั น
้ ก็หามีผลถึงบ้คคลภายนอกไม่
ข้อสังเกต
* บ้คคลภายนอกจะต้องส้จริตจึงจะอ้างมาตรา 1053 ได้
* ข้อจำากัดระหว่างห้้นส่วนด้วยกัน ไม่ผูกพันบ้คคลภายนอกเพราะ
บ้คคลภายนอกไม่อาจจะหยัง่ รู้ถึงข้อจำากัดอำานาจเช่นนั น
้ ได้เพระ
มิได้จดทะเบียนให้ปรากฏไว้
* มาตรา 1053 ใช้กับห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนเท่านั น
้ หาก
กรณีเป็ นห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียนต้องบังคับตามมาตรา
1064(6) ซึ่งข้อจำากัดอำานาจเช่นนั น
้ ต้องจดทะเบียนไว้ นาย
ทะเบียนต้องย่อรายการประกาศในราชกิจจาน้เบกษาตามมาตรา
1021

(4) บ้คคลภายนอกทีไ่ ม่ใช่ห้นส่วนแต่แสดงตนเป็ นห้้นส่วน ต้องรับ


ผิดต่อบ้คคลภายนอกตามมาตรา 1054
* ผู้ทไี่ ม่ได้เป็ นห้้นส่วนแสดงตนว่าเป็ นห้้นส่วน
มาตรา 1054 บ้คคลใดแสดงตนว่าเป็ นห้้นส่วนด้วยวาจาก็ดีด้วย
ลายลักษณ์อักษรก็ดี ด้วยกิริยาก็ดี ด้วยยินยอมให้เขาใช้ช่ ือตนเป็ น
ชื่อห้างห้้นส่วนก็ดี หรือรู้แล้วไม่คัดค้านปล่อยให้เขาแสดงว่าตนเป็ น
ห้้นส่วนก็ดี ท่านว่าบ้คคลนัน
้ ย่อมต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอกใน
บรรดาหนี้ของห้างห้้นส่วนเสมือนเป็ นห้้นส่วน
ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งคนใดตายไปแล้ว และห้างห้้นส่วนนั น
้ ยังคง
ค้าต่อไปในชื่อเดิมของห้าง ท่านว่าเหต้เพียงที่คงใช้ช่ ือเดิมนั น
้ ก็ดี
หรือใช้ช่ ือของห้้นส่วนผู้ตายควบอยู่ด้วยก็ดี หาทำาให้ความรับผิดมี
แก่กองทรัพย์มรดกของผู้ตายเพื่อหนี้ใดๆอันห้างห้้นส่วนได้ก่อให้
เกิดขึ้นภายหลังมรณะนั น
้ ไม่

* ข้อสังเกต มาตรา 1054 ต้องเป็ นการแสดงตนว่าเป็ นห้้นส่วนของ


บ้คคลภายนอกเท่านั น

(1) ตามหลักแล้ว ความเป็ นห้้นส่วนจะเกิดขึ้นโดยปราศจากความ
ตกลงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม บ้คคลที่สามที่ติดต่อกับบ้คคลที่อ้างว่า
ตนเป็ นห้้นส่วนอาจจะฟ้ องห้างห้้นส่วนหรือบ้คคลที่อ้างว่าตนเป็ นห้้น
ส่วนให้รับผิดต่อตนได้ สภาพเช่นนี้เองที่ก่อให้เกิดประเด็นเรื่องห้้น
ส่วนโดยกฎหมายปิ ดปากขึ้นมา(Partnership by Estoppel)
(2) หลักเกณฑ์มาตรา 1054 สร้ปได้ดังนี้
1) มีบ้คคลใดบ้คคลหนึ่ งซึ่งไม่ได้เป็ นห้้นส่วนได้แสดงตนว่าเป็ นห้้น
ส่วน โดย
* วาจา
* ลายลักษณ์อักษร
* กิริยา
* ยินยอมให้เขาใช้ช่ ือตนเป็ นชื่อห้างห้้นส่วน
* รู้แล้วไม่คัดค้านปล่อยให้เขาแสดงว่าตนเป็ นห้้นส่วน
2) มีบ้คคลทีส
่ ามหลงเชื่อการแสดงออกนั น

3) และบ้คคลทีส
่ ามจะต้องได้รับความเสียหาย

* การแสดงด้วยวาจา(ฎ.684/2473,662/2474)
ฎ.662/2474 จำาเลยที่ 2 เป็ นเจ้าของร้านค้าได้ไปซื้อสินค้าจาก
โจทก์เสมอมา จำาเลยที่ 1 ซึ่งเป็ นบิดาของจำาเลยที่ 2 ก็เคยไปซื้อ
สินค้าจากโจทก์ให้ร้านค้าของจำาเลยที่ 1 และโจทก์มาเก็บเงินค่า
สินค้าของจำาเลยที่ 1 ก็เคยจ่ายให้ และจำาเลยที่ 1 ยังพูดกับผู้อ่ ืนอีก
ว่าตนเป็ นเจ้าของร้านนั น
้ และเป็ นผู้ออกท้นให้จำาเลยที่ 2 ด้วย ศาล
ฎีกาวินิจฉัยว่าจำาเลยที่ 1 ต้องรับผิดต่อโจทก์ร่วมกับจำาเลยที่ 2
ฎ.684/2473 บ้คคลใดแสดงตนด้วยวาจาก็ดี ด้วยกิริยาก็ดี ทำาให้ผู้
อื่นหลงเชื่อว่าตนเป็ นผู้ถือห้้นอยู่ในห้างห้้นส่วนใดๆ ท่านว่าบ้คคลผู้
นั น
้ ย่อมต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอกในบรรดาหนี้สินของห้างห้้น
ส่วนนั น
้ เสมือนผู้เป็ นห้้นส่วน
* ลายลักษณ์อักษรเช่นเขียนเป็ นจดหมาย/หนั งสือแจ้งว่าตนเป็ นห้้น
ส่วน/พิมพ์นามบัตรว่าตนเป็ นห้้นส่วน
* กิริยาเช่นการพยักหน้ าตอบรับว่าตนเป็ นห้้นส่วน ให้ดูฎีกาที่
622/2474 ,803/2509
ฎีกาที่ 622/2474 ผู้ที่แสดงให้ผู้อ่ ืนเข้าใจว่าตนเป็ นห้้นส่วนอยู่ใน
ห้างห้้นส่วนใด ต้องรับผิดชอบต่อบ้คคลภายนอกในบรรดาหนี้สิน
ของห้างห้้นส่วนนั น
้ เสมือนเป็ นห้้นส่วน

> ยินยอมให้เขาใช้ช่ ือตนเป็ นชื่อห้างห้้นส่วน


* ชื่อ รวมชื่อสก้ล ด้วย
* อาจเป็ นไปตามมาตรา 1047 กรณีออกจากห้างห้้นส่วนไปแล้ว แต่
ยังคงใช้ช่ ือเรียกขานเป็ นชื่อห้างห้้นส่วนอยู่
ฎ.5341/2540 จำาเลยให้ใช้ช่ ือจำาเลยเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการในห้างที่
น้ องภริยาจำาเลยตัง้ ขึ้น น้ องภริยาจำาเลยเป็ นผู้บริหารกิจการห้าง
จำาเลยเพียงแต่ลงชื่อในเอกสารต่างๆรวมทัง้ เช็ค 3 ฉบับ เพื่อให้น้อง
ภริยาจำาเลยไปใช้ในกิจการห้าง โดยยังไม่ได้ประทับตราห้างและไม่
ได้กรอกข้อความ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า ถือว่าจำาเลยเป็ นผู้แสดงให้ผู้
อื่นเข้าใจว่าตนเป็ นห้้นส่วนในห้าง จึงต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอก
ในบรรดาหนี้สินของห้างเสมอว่าเป็ นห้้นส่วนจริงๆตามมาตรา 1054
วรรคหนึ่ ง
รู้แล้วไม่คัดค้านปล่อยให้เขาแสดงตนว่าเป็ นห้้นส่วน
* ต้องรู้ว่ามีผู้อวดอ้างว่าตนเป็ นห้้นส่วน
(3) ขอบเขตความรับผิดของมาตรา 1054
รับผิดเฉพาะต่อเจ้าหนี้/บ้คคลภายนอกที่ตนไปแสดงออกเท่านั น

ไม่ใช่ต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้ท้กรายของห้าง
คำาพิพากษาศาลฎีกา 1036/2475 ศาลวินิจฉัยชี้ขาดให้คนใดรับผิด
ร่วมกันในฐานะเป็ นห้้นส่วนโดยแสดงออกให้เจ้าหนี้ของห้างหลง
เชื่อก็ตาม ก็เป็ นการรับผิดเฉพาะคดีนัน
้ เท่านั น
้ หาใช่ต้องรับผิดแก่
เจ้าหนี้รายอื่นโดยทัว
่ ไปไม่
มีหมายเหต้ท้ายฎีกาว่า หลักในมาตรา 1054 เป็ นเรื่องกม.ปิ ดปาก
ทำานองเดียวกับที่บัญญัติไว้ในมาตรา 821,822 หาใช่บทบัญญัติที่
แสดงว่าบ้คคลเป็ นห้้นส่วนกันไม่ตามมาตรา 1012 การที่จะเป็ นห้้น
ส่วนต้องได้ตกลงเข้ากันโดยสัญญา แต่บางทีได้แสดงออกทำาให้
บ้คคลภายนอกหลงเชื่อว่าเป็ นห้้นส่วน กม.ปิ ดปากมิให้เถียงข้อ
แสดงออกนั น
้ และตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1054 ก็เห็นได้ว่าเป็ น
บทบัญญัติที่ม่้งจะค้้มครองบ้คคลภายนอกผู้หลงเชื่อโยส้จริต
เท่านั น
้ ถ้าบ้คคลภายนอกรู้อยู่แล้วว่าความจริงเขาไม่ได้เป็ นห้้น
ส่วนนั น
้ ก็หาได้รับความค้้มครองตามมาตรา 1054 ฉะนั น
้ จึงต้อง
พิเคราะห์ดูเป็ นรายๆไป การที่บ้คคลภายนอกคนหนึ่ งหลงเชื่อโดย
ส้จริตไม่หมายความว่าจะต้องเป็ นอย่างเดียวกันสำาหรับบ้คคล
ภายนอกอีกคนหนึ่ ง ผลแห่งการปิ ดปากในคดีหนึ่ งจะเอาไปใช้
ปิ ดปากคดีในอื่นไม่ได้

* การเลิกห้างห้้นส่วนสามัญ อาจเลิกได้ 3 กรณีดังนี้


(1) การเลิกห้างห้้นส่วนสามัญโดยความประสงค์ของผู้เป็ นห้้นส่วน
(2) การเลิกห้างห้้นส่วนสามัญโดยผลของกฎหมาย
(3) การเลิกห้างห้้นส่วนโดยคำาสัง่ ศาล
(1) การเลิกห้างห้้นส่วนสามัญโดยความประสงค์ของผู้เป็ นห้้นส่วน
เมื่อห้้นส่วนแสดงความประสงค์ให้เลิกห้างห้นส่วนสามัญ ท้กคน
อาจตกลงเป็ นเอกฉันท์ให้เลิกห้างห้้นส่วนก็ได้ ห้างห้้นส่วนสามัญก็
์ ิทธิใ์ นการแสดงเจตนา
ต้องเลิก เป็ นไปตามหลักความศักดิส
(ฎ.1038-9/2523,334/2494)
ฎ.1038-8/2523 โจทก์จำาเลยร่วมกันเข้าห้้นจัดทำาศูนย์การค้าปลูก
สร้างอาคารพาณิชย์ขาย แต่การดำาเนิ นการระหว่างห้างห้้นส่วนเกิด
ขัดข้องไม่อาจสำาเร็จล้ล่วงไปด้วยดี จำาเลยจึงขอให้กำาหนดข้อย้ติ
เกี่ยวกับเรื่องห้้นส่วน และทำาสัญญาประนีประนอมยอมความตาม
มาตรา 850 การที่ห้นส่วนท้กคนตกลงเลิกห้างห้้นส่วนย่อมกระทำา
ได้ไม่อยู่ในบังคับของมาตรา 1055,1056,1057 เมื่อได้ตกลงให้
จัดการทรัพย์สินอย่างไรด้วยแล้วไม่ต้องชำาระบัญชีตามมาตรา
1061
ฎ.334/2494 เหต้เลิกห้้นส่วนตามมาตรา 1055 นั น
้ เป็ นเหต้เลิก
ห้างห้้นส่วน อันมิใช่โดยความตกลงของผู้เป็ นห้้นส่วน
การที่ผู้เป็ นห้้นส่วนตกลงเลิกห้างห้้นส่วน ไม่เป็ นการขัดต่อความ
สงบเรียบร้อยของประชาชนหรือขัดต่อศีลธรรมอย่างไร ผู้เป็ นห้้น
ส่วนจึงตกลงกันเลิกห้างห้้นส่วนต่อกันได้

(2) การเลิกห้างห้้นส่วนสามัญโดยผลของกฎหมาย
มาตรา 1055 ห้างห้้นส่วนสามัญย่อมเลิกกันด้วยเหต้ดังต่อไปนี้
(1) ถ้าในสัญญาทำาไว้มีกำาหนดกรณีอันใดเป็ นเหต้ที่จะเลิกกัน เมื่อมี
กรณีนัน

(2) ถ้าสัญญาทำาไว้เฉพาะกำาหนดกาลใด เมื่อสิ้นกำาหนดกาลนั น

(3) ถ้าสัญญาทำาไว้เฉพาะเพื่อทำากิจการอย่างหนึ่ งอย่างใด แต่อย่าง
เดียว เมื่อเสร็จการนั น

(4) เมื่อผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งให้คำาบอกกล่าวแก่ผู้เป็ นห้้นส่วน
คนอื่นๆตามกำาหนดดังบัญญัติไว้ในมาตรา 1056
(5) เมื่อผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งตาย หรือล้มละลายหรือตกเป็ น
ผู้ไร้ความสามารถ
มาตรา 1055(1) เลิกเมื่อมีเกิดกรณีตามที่กำาหนด เช่น ห้างตัง้ ขึ้น
เพื่อขายอ้ปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยตกลงกันว่าถ้ารัฐบาลขึ้นภาษีนำา
เข้าอ้ปกรณ์คอมพิวเตอร์เกิน 20 % จะเลิกกิจการ ต่อมารัฐบาลขึ้น
ภาษีดังกล่าว 25 % ห้างย่อมเลิก

มาตรา 1055(2) เลิกเมื่อถึงเวลาที่กำาหนด เช่น ถ้าตกลงกันให้ห้าง


มีวาระ 5 ปี เมื่อครบ 5 ปี ห้างย่อมต้องเลิกไป

มาตรา 1055(3) เลิกเมื่อเสร็จกิจการที่กำาหนด ถ้ากำาหนดว่าตัง้ ขึ้น


เฉพาะเพื่อกิจการใดเพียงกิจการเดียวแล้ว เมื่อกิจการนั น
้ เสร็จลง
ห้างย่อมเลิกไป(ให้
ดูฎ.1634/2541,1453/2506,3138/2522,3885/2546.1038-
9/2523)
ฎ.1634/2541 จำาเลยที่ 1 จ่ายเงินส่วนแบ่งให้โจทก์ไม่ครบตาม
สิทธิในส่วนจำานวนค่าห้้นที่โจทก์ยังมีอยู่ เมื่อห้้นส่วนมีวัตถ้ประสงค์
เพื่อกิจการที่จะนำ าเอาที่ดินทีซ
่ ้ ือมาขายเอากำาไรแต่เพียงอย่างเดียว
เมื่อมีการขายที่ดินที่จัดซื้อไปแล้ว ห้างห้้นส่วนสามัญดังกล่าวย่อม
เลิกตามนั ยมาตรา 1055(3)
ฎ.3138/2522 ห้างห้้นส่วนสามัญมีวัตถ้ประสงค์จัดสรรที่ดินขาย
อย่างเดียว เมื่อเสร็จการนั น
้ แล้ว ห้างห้้นส่วนย่อมเลิกกัน โจทก์ขอ
ให้จัดการชำาระบัญชีได้
ฎ.3885/2546 โจทก์กับจำาเลยทำาสัญญาจัดตัง้ ห้างห้้นส่วนสามัญ
รับจ้างก่อสร้างอาคารเรียน เมื่อจำาเลยสร้างอาคารเรียนเสร็จได้รับ
เงินค่าจ้างครบแล้วห้างเลิกตามมาตรา 1055(3)

มาตรา 1055(4) เมื่อถูกบอกเลิกห้างที่ตัง้ โดยไม่มีกำาหนด ในกรณี


ที่ห้างห้้นส่วนตัง้ ขึ้นโดยไม่มีกำาหนดเวลา(Partnership at Will)
หากผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดประสงค์จะบอกเลิกก็ทำาได้ตามมาตรา
1056

มาตรา 1056 ถ้าห้างห้้นส่วนได้ตัง้ ขึ้นไม่มีกำาหนดกาลอย่างหนึ่ ง


อย่างใดเป็ นย้ติ ท่านว่าจะเลิกได้ต่อเมื่อผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ ง
บอกเลิกเมื่อสิ้นรอบปี ทางบัญชีเงินของห้างห้้นส่วนนั น
้ และผู้เป็ น
ห้้นส่วนนั น
้ ต้องบอกกล่าวความจำานงจะเลิกล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 6
เดือน
ข้อสังเกตมาตรา 1056
(1) ต้องเป็ นห้างห้้นส่วนสามัญที่ตัง้ ขึ้นโดยไม่มีเวลาสิ้นส้ด มีความ
หมายดังนี้
* ห้้นส่วนไม่ได้ตกลงเกี่ยวกับการเลิกห้างห้้นส่วนในสัญญา
* ตกลงเกี่ยวกับระยะเวลาการเลิกห้างในสัญญา แต่เมื่อครบเวลา
ยังคงดำาเนิ นกิจการต่อไป ถือว่าไม่มีกำาหนดเวลา(ดูมาตรา 1059)
(2) หลักเกณฑ์มาตรา 1056
1) การบอกเลิกจะต้องบอกเลิกเมื่อสิ้นรอบปี ในทางบัญชีเงินของ
ห้างห้้นส่วนนั น
้ และ
2) ต้องบอกกล่าวความจำานงจะเลิกล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 6 เดือน
เช่นรอบบัญชีการเงินของห้างห้้นส่วนสามัญฑิตะอิมเตอร์ลอร์คือสิ้น
รอบบัญชีในวันที่ 31 ธันวาคมของท้กปี ดังนั น
้ ถ้าห้้นส่วนใดจะ
บอกเลิกจะต้องบอกเลิกภายใน 30 มิถ้นายน ซึ่งจะมีผลให้ห้างห้้น
ส่วนเลิกในวันที่ 31 ธันวาคมในปี นั น
้ ถ้าบอกเลิกไม่ถูกต้องตาม
มาตรา 1056 ศาลไม่สามารถจะสัง่ ให้เลิกห้าง(ฎ.394/2476)
ฎ.394/2476 ห้างห้้นส่วนสามัญที่ตัง้ ขึ้นโดยไม่มีกำาหนดกาล ผู้เป็ น
ห้้นส่วนไม่ได้บอกกล่าวความจำานงล่วงหน้ าจะเลิกไม่น้อยกว่า 6
เดือน ศาลจะสัง่ ให้เลิกไม่ได้

มาตรา 1055(5) เมื่อผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งตาย หรือล้ม


ละลาย หรือตกเป็ นผู้ไร้ความสามารถ

> ข้อสังเกต
* การเข้าเป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญ กฎหมายถือว่า
ค้ณสมบัติเป็ นเรื่องสำาคัญ ดังนั น
้ หากห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งตาย ล้ม
ละลาย ตกเป็ นผู้ไร้ความสามารถ ห้างห้้นส่วนนั น
้ ต้องเลิกกัน นั น

คือค้ณสมบัติของผู้เป็ นห้้นส่วนเป็ นสาระสำาคัญในการเข้าสัญญาห้้น
ส่วน การเป็ นห้้นส่วนจึงเป็ นสิทธิเฉพาะตัว จะให้ผู้อ่ ืนเข้ามาเป็ นห้้น
ส่วนแทนโดยไม่ได้รับความยินยอมจากห้้นส่วนอื่นไม่ได้(มาตรา
1040,1041)
* แม้ผู้เป็ นห้้นส่วนตาย ทายาทของผู้เป็ นห้้นส่วนจะเข้ามาเองหรือ
ถูกบังคับให้เข้ามาเป็ นห้้นส่วนไม่ได้(ฎ.191/2501)
* เมื่อห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งตาย จึงมีผลให้ต้องเลิกห้างห้้นส่วน
กองมรดกหรือทายาทไม่ต้องรับผิดในหนี้สินของห้างที่เกิดขึ้นภาย
หลังที่ผู้เป็ นห้้นส่วนตาย(ฎ.1174/2477,173/2513)
* เมื่อห้้นส่วนผู้จัดการตาย แม้ภริยาของห้้นส่วนผู้ตายจะเข้าไป
ดำาเนิ นกิจการของห้าง ก็หาทำาให้ภริยากลายเป็ นห้้นส่วนของห้างไม่
(ฎ.3452/2529) แต่ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นยอมให้มีการรับโอนห้้นต่อ
มา ห้้นส่วนนั น
้ ไม่เลิก(ฎ.407/2501,1540-1/2520) ฎ.407/2501 ผู้
เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งตาย ผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นยอมให้มีการรับโอนห้้น
นั น
้ สืบต่อมา ห้้นส่วนนั น
้ ไม่เลิกจากกัน
* ผู้เป็ นห้้นส่วนสามัญคนหนึ่ งตาย ห้างห้้นส่วนเลิกกันโดยผลของ
กฎหมาย(ฎ.1740/2520)
* โจทก์กับพวกได้นำาเงินมาลงห้้นกับจำาเลย และ ว.ตัง้ เป็ นโรงเรียน
ซึ่งเป็ นห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน เมื่อห้้นส่วนตาย ห้างห้้น
ส่วนย่อมเลิกกัน โจทก์ย่อมามีอำานาจฟ้ องให้เลิกหางห้้นส่วนได้
(ฎ.536/2526)
* โจทก์กับสามีจำาเลยเป็ นห้้นส่วนกัน ต่อมาสามีจำาเลยตาย โจทก์
กับจำาเลยตกลงให้กิจการของห้างดำาเนิ นต่อไปโดยจดทะเบียน
เปลี่ยนแปลงผู้ถือห้้นให้จำาเลยเป็ นห้้นส่วนแทนสามี แม้จำาเลยจะ
มิได้ลงห้้นเป็ นตัวเงิน แต่ทรัพย์สินของสามีจำาเลยซึ่งมีอยู่ห้างห้้น
ส่วนย่อมเป็ นมรดกตกแก่จำาเลย ก็เท่ากับจำาเลยลงห้้นซึ่งสามารถตี
ราคาเป็ นเงินได้แล้ว(ฎ.1768/2520)

ข้อสังเกตเพิ่มเติม มาตรา 1055 ไม่ใช่บทบัญญัติของกม.เกี่ยวกับ


ความสงบฯ คู่สัญญาจะตกลงแก้ไขเป็ นอย่างอื่นก็ย่อมทำาได้
(ฎ.1299/2480,334/2494)

(3) การเลิกห้างห้้นส่วนโดยคำาสัง่ ศาล


มาตรา 1057 ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดร้องขอเมื่อมีกรณีอย่างใดอย่าง
หนึ่ งดังจะกล่าวต่อไปนี้ ศาลอาจสัง่ ให้ห้างห้้นส่วนสามัญเลิกกันเสีย
ก็ได้ คือ
(1) เมื่อผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งนอกจากผู้ร้องฟ้ องนั น
้ ล่วง
ละเมิดบทบังคับใดๆอันเป็ นสาระสำาคัญซึ่งสัญญาห้้นส่วนกำาหนดไว้
แก่ตน โดยจงใจหรือเลินเล่ออย่างร้ายแรง
(2) เมื่อกิจการของห้างห้้นส่วนนั น
้ จะทำาไปก็มีแต่ขาดท้นอย่างเดียว
และไม่มีหวังว่าจะกลับฟื้ นตัวได้อีก
(3) เมื่อมีเหต้อ่ ืนใดๆทำาให้ห้างห้้นส่วนนั น
้ เหลือวิสัยที่จะดำารงคงอยู่
ต่อไปได้
มาตรา 1057 กำาหนดให้เฉพาะผู้เป็ นห้้นส่วนเท่านั น
้ ที่จะฟ้ องขอให้
เลิกห้างห้้นส่วน ผ้ท
ู ี่ไม่ได้เป็ นห้้นส่วนหรือออกจากห้างห้้นส่วนไป
แล้วย่อมจะฟ้ องขอให้เลิกห้างห้้นส่วนไม่ได้ เพราะไม่มีส่วนได้เสีย(
ดูฎ.2022/2526,444/2520)
ฎ.444/2520 ผู้ที่มิได้เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนจำากัด ไม่มีสิทธิ
ฟ้ องขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนหรือให้เลิกห้างห้้นส่วนและชำาระ
บัญชีเพราะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับห้างแต่อย่างใดเลย(หมายเหต้ แม้
จะเป็ นห้างห้้นส่วนจำากัด ก็นำามาตรา 1057 มาใช้บังคับตามมาตรา
1080)

มาตรา 1057(1) เมื่อผู้เป็ นห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งนอกจากผู้ร้องฟ้ อง


นั น
้ ล่วงละเมิดบทบังคับใดๆอันเป็ นสาระสำาคัญซึ่งสัญญาห้้นส่วน
กำาหนดไว้แก่ตน โดยจงใจหรือเลินเล่ออย่างร้ายแรง
หลักเกณฑ์
(ก).ห้้นส่วนที่ฟ้องร้องต่อศาลต้องไม่เป็ นผู้ล่วงละเมิดบทบังคับใดๆ
อันเป็ นสาระสำาคัญ เช่นไม่ได้ค้าขายแข่งกับห้างตามมาตรา 1038
"บทบังคับใดๆ" หมายถึง บทบังคับตามที่กำาหนดไว้ในกฎหมายหรือ
บทบังคับที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างผู้เป็ นห้้นส่วน แต่จะฟ้ องได้
ต้องเป็ นการละเมิดบทบังคับอันเป็ นสาระสำาคัญ
(ข) ต้องเป็ นการละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
(ฎ.75/2501,2639/2525)
ฎ.75/2501 เข้าห้้นส่วนกันเดินรถ จำาเลยเอารถยนต์ไปใช้เป็ นการ
ส่วนตัว ไม่แบ่งผลกำาไรให้โจทก์และไม่ยอมให้โจทก์เข้าจัดการงาน
ของห้างห้้นส่วนด้วย โจทก์ย่อมขอเลิกห้างได้ตามมาตรา 1057(1)
ฎ.2639/2525 ก.ห้้นส่วนผู้จัดการห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลย มิได้นำา
รถยนต์ที่ผู้เป็ นห้้นส่วนนำ ามาลงห้้นไปจดทะเบียนโอนเป็ นทรัพย์สิน
ของจำาเลย ปล่อยให้ซ่อมแซมรักษาและเก็บผลประโยชน์ กันเอง จัด
ทำาบัญชีค่าใช้จ่ายของจำาเลยว่ามีค่าซ่อมแซมรถยนต์ ค่าซื้ออะไหล่
ค่านำ้ ามัน ซึ่งเป็ นไปไม่ได้ เพราะจำาเลยไม่มีรถยนต์เป็ นของตนเอง
เอาใบเสร็จค่านำ้ ามันรถยนต์ของตนมาลงบัญชีเป็ นค่าใช้จ่ายของ
จำาเลย และใบเสร็จรับเงินถูกแก้ไขจำานวนเงินและราคาให้สูงกว่า
ความเป็ นจริง ถือได้ว่า ก.ปฏิบัติหน้ าที่โดยมิชอบส่อไปในทางท้จริต
เป็ นการละเมิดข้อบังคับจำาเลย โจทก์ซ่ ึงเป็ นห้้นส่วนจึงมีสิทธิฟ้อง
ขอให้เลิกห้างจำาเลยตามมาตรา 1057 และมาตรา 1080
ฎ.496/2500 ห้้นส่วนไม่ทำาบัญชีรับจ่าย ไม่แบ่งผลกำาไรให้แก่ผู้เป็ น
ห้้นส่วน โดยอ้างว่าโจทก์ไม่ได้เป็ นห้้นส่วนอย่างนี้ ถือว่าเป็ นการ
ละเมิดข้อบังคับที่เป็ นสาระสำาคัญเป็ นเหต้ฟ้องเลิกห้างได้

มาตรา 1057(2) เมื่อกิจการของห้างห้้นส่วนนั น


้ จะทำาไปก็มีแต่
ขาดท้นอย่างเดียว และไม่มีหวังว่าจะกลับฟื้ นตัวได้อีก
หลักเกณฑ์
(ก) กิจการที่ทำานั น
้ มีแต่ขาดท้นอย่างเดียว และ
(ข) ไม่มีหวังจะกลับฟื้ นตัวได้อีก
เช่นห้างห้้นส่วนขาดท้นติดต่อกันเป็ นเวลานาน ตลอดเวลา 5 ปี
ขาดท้นเรื่อยมา ไม่มีหวังจะฟื้ นกิจการได้
ฎ.133/2520 ห้างห้้นส่วนจำากัดขาดท้นและมีทรัพย์สินเหลืออยู่ไม่
เพียงพอกับค่าใช้จ่ายของห้างที่ต้องใช้เป็ นประจำา การดำาเนิ นการต่อ
ไปมีแนวโน้ มที่มีแต่จะขาดท้น พฤติการณ์ที่ห้นส่วนไม่ปรองดองกัน
แสดงให้เห็นว่าไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน ถือได้ว่าขาดสิ่งอันเป็ นสา
ระคัญของการเข้าเป็ นห้้นส่วน หากจะเปลี่ยนตัวห้้นส่วนผู้จัดการก็
ไม่มีทางที่จะทำาได้เพราะห้างมีจำาเลยที่ 1 คนเดียวเท่านั น
้ ที่เป็ นห้้น
ส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิด นอกจากนี้บัญชีของห้างบาง
รายการลงไว้ไม่ถูกต้อง รายจ่ายก็ปรากฎว่าจ่ายโดยหละหลวม
ฟ่ ้มเฟื อยเกินกว่าความจำาเป็ น การดำาเนิ นการของห้างปราศจากการ
ควบค้มที่ดี เหล่านี้เป็ นเหต้ให้ห้างเหลือวิสัยที่จะดำารงอยู่ต่อไปได้
ศาลย่อมพิพากษาให้ห้างดังกล่าวเลิกกัน

มาตรา 1057(3) เมื่อมีเหต้อ่ ืนใดๆทำาให้ห้างห้้นส่วนนั น


้ เหลือวิสัยที่
จะดำารงคงอยู่ต่อไปได้
ฎ.1711/2532*****(เป็ นฎีกาที่น่าสนใจ ควรจดจำา) จำาเลยเป็ นห้้น
ส่วนกับโจทก์ซ้ อ
ื เชื่อเครื่องใช้ไฟฟ้ าจากห้างห้้นส่วนจำากัด ร.โดยให้
ว.นำ าไปขายผ่อนส่งเพื่อแบ่งกำาไรกัน เมื่อ ว.รับเครื่องใช้ไฟฟ้ า
ทัง้ หมดไปแล้ว ว.มิได้นำาไปขายผ่อนส่งแต่กลับนำ าไปจำานำ าและไม่
นำ าเงินมาชำาระให้แก่โจทก์และจำาเลย โจทก์ต้องชำาระค่าเครื่องใช้
ไฟฟ้ าทัง้ หมดให้แก่ห้างห้้นส่วนจำากัด ร. ส่วน ว.ได้หลบหนี ไปไม่
สามารถติดตามเรียกร้องให้ชำาระหนี้ได้ ถือได้ว่ามีเหต้ทำาให้ห้างห้้น
ส่วนจำากัดเหลือวิสัยที่จะดำาเนิ นการต่อไปตามมาตรา 1057(3)
ข้อสังเกตฎีกานี้ แม้จะเป็ นบ้คคลภายนอกกระทำาให้เกิดก็ใช้มาตรา
1057(3) บังคับได้
* กรณีที่ห้นส่วนขัดแย้งกันตลอด/การกล่าวหาว่าอีกฝ่ ายยักยอก
ทรัพย์ของกิจการ/ไม่ปรองดองกัน/การปฏิเสธว่าตนเองมิได้เป็ นห้้น
ส่วน/ทะเลาะเบาะแว้งกัน ศาลสัง่ เลิกได้ตามมาตรา 1057(3)(
ฎ.1820/2527,28838/2536,496/2500,2216/2514)
ฎ.496/2500 ห้้นส่วนคนหนึ่ งไม่ทำาบัญชีรับจ่าย ไม่แบ่งผลกำาไร
และอ้างว่าโจทก์ไม่ได้เป็ นห้้นส่วน ประกอบกับมีข้อขัดแย้งกันใน
กรณีนี้ตลอดมา ถือได้ว่ามีเหต้ทำาให้ห้างห้้นส่วนรายนี้เหลือวิสัยที่จะ
ดำารงอยู่ต่อไปได้ตามมาตรา 1057(3) โจทก์ซ่ ึงเป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ ง
มีสิทธิฟ้องขอให้เลิกห้างห้้นส่วนและชำาระบัญชีได้
ฎ.2838/2536 โจทก์จำาเลยตกลงเข้าห้้นประกอบกิจการโรงกลึง
เป็ นห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน การที่โจทก์จำาเลยขัดแย้งกันโดย
จำาเลยไม่ให้โจทก์มีสิทธิสัง่ จ่ายเงินและไม่แบ่งผลกำาไรให้โจทก์แต่
กลับนำ าเงินไปจ่ายล่วงหน้ าสำาหรับรถยนต์ที่จำาเลยซื้อ และจำาเลยไม่
ได้ทำาบัญชีรายรับรายจ่ายของกิจการโรงกลึงไว้ ทัง้ ยังปฏิเสธว่า
โจทก์มิใช่ห้นส่วนกับจำาเลย เช่นนี้ถือได้ว่าผู้เป็ นห้้นส่วนไม่
ปรองดองกัน เหลือวิสัยที่ห้างห้้นส่วนจะดำารงคงอยู่ต่อไปได้ จึงมี
เหต้ที่ศาลจะพิพากษาให้เลิกห้างห้้นส่วนตามที่โจทก์ฟ้องได้
ฎ.3431/2546 โจทก์จำาเลยเป็ นห้้นส่วนประกอบกิจการบังกะโลให้
เช่า โจทก์ลงท้นด้วยสิทธิการเช่าที่ดิน จำาเลยลงท้นเป็ นวัสด้
ก่อสร้าง ออกค่าแรงก่อสร้างบังกะโล เป็ นผู้ดำาเนิ นการ จำาเลยผิด
สัญญาห้้นส่วนโดยไม่ยอมจัดทำาบัญชีรายรับรายจ่าย งบกำาไร
ขาดท้น ไม่แบ่งปั นผลกำาราให้แก่โจทก์ ถือได้ว่าเป็ นการประพฤติ
ผิดสัญญาห้้นส่วนในสาระสำาคัญ เป็ นเหต้ที่จะเลิกห้างห้้นส่วนและ
ชำาระบัญชีได้ตามมาตรา 1057(1),1061 และ 1062 การที่โจทก์
ฟ้ องเรียเอาส่วนแบ่งผลกำาไรหรือขอบังคับจำาเลยขนย้ายทรัพย์สิน
อันมีลักษณะคืนท้นโดยยังมิได้ชำาระบัญชีหรือตกลงให้จัดการ
ทรัพย์สินของห้างห้้นส่วนด้วยวิธีอ่ ืนระหว่างผู้เป็ นห้้นส่วนด้วยกัน
จึงเป็ นกรณีที่มิได้ปฏิบัตจิตามบทบัญญัติดังกล่าว โจทก์จึงไม่มี
อำานาจฟ้ อง

#5
2 March 2009, 14:56

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี
ข้อสังเกตเพิ่มเติมมาตรา 1057
* การเลิกห้างห้้นส่วนตามมาตรา 1057 เป็ นด้ลยพินิจของศาลที่จะ
สัง่ ให้เลิกหรือไม่ ทัง้ นี้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ สูงส้ดสำาหรับห้้นส่วน
ที่เหลืออยู่
* การเลิกห้างห้้นส่วนตามมาตรา 1057 นั น
้ ไม่มีกำาหนดเวลาที่จะ
ต้องบอกกล่าวเช่นมาตรา 1056 แต่อย่างใด
(ฎ.1956/2517,75/2501,744/2498)
ฎ.1956/2517 คำาฟ้ องดังกล่าวนั น
้ ถือได้ว่ามีเหต้ทำาให้ห้างห้้นส่วน
เหลือวิสัยที่จะดำารงอยู่ต่อไปได้ตามมาตรา 1057(3) โจทก์มีสิทธิ
ร้องขอให้ศาลสัง่ เลิกห้างห้้นส่วนได้โดยไม่จำาเป็ นต้องบอกกล่าวล่วง
หน้ าไม่น้อยกว่า 6 เดือนตามมาตรา 1056

> การชำาระบัญชีคือ
การรวบรวมทรัพย์สินทัง้ หมดของห้างห้้นส่วนมาเพื่อชำาระหนี้คืนค่า
ห้้น ถ้ามีเงินเหลือก็แบ่งกำาไรแก่ผู้เป็ นห้้นส่วน หากทรัพย์สินไม่พอ
ชำาระหนี้หรือไม่พอใช้คืนค่นห้้น ก็ให้ผู้เป็ นห้้นส่วนช่วยกันออกส่วน
ขาดท้น
มาตรา 1061 เมื่อห้างห้้นส่วนเลิกกันแล้วก็ให้จัดการชำาระบัญชี
เว้นแต่จะได้ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธอ
ี ่ ืนระหว่างผู้เป็ น
ห้้นส่วนด้วยกันหรือว่าห้างห้้นส่วนนั น
้ ศาลได้พิพากษาให้ล้มละลาย
ถ้าการเลิกห้างห้้นส่วนนั น
้ ได้เป็ นไปโดยที่เจ้าหนี้เฉพาะตัวของผู้เป็ น
ห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งได้ให้คำาบอกกล่าวก็ดี หรือโดยที่ผู้เป็ นห้้นส่วน
คนใดคนหนึ่ งล้มละลายก็ดี ท่านว่าจะงดการชำาระบัญชีเสียได้ต่อ
เมื่อเจ้าหนี้คนนั น
้ หรือเจ้าพนั กงานรักษาทรัพย์ยินยอมด้วย
การชำาระบัญชีนัน
้ ให้ผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หมดด้วยกันจัดทำาหรือให้
บ้คคลอื่นซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนได้ตัง้ แต่งขึ้นนั น
้ เป็ นผู้จัดทำา
การตัง้ แต่งผู้ชำาระบัญชี ให้วินิจฉัยชี้ขาดโดยคะแนนเสียงข้างมาก
ของผู้เป็ นห้้นส่วน

ข้อสังเกต มาตรา 1061 เปิ ดช่องไว้ ไม่ต้องชำาระบัญชีก็ได้ เมื่อได้


ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอ่ ืนในระหว่างห้้น
ส่วน(ฎ.3133/2529,351/2507)
ฎ.3133/2529 ห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ผู้เป็ นห้้นส่วนย่อม
ตกลงกันให้แบ่งเงินของห้างเมื่อใดก็ได้ ทำานองเดียวกันกับเจ้าของ
รวมตกลงแบ่งทรัพย์สิน เงินของห้างเป็ นกรรมสิทธิร์ วมของห้้น
ส่วน เมื่อศาลพิพากษาให้แบ่งแก่ผู้เป็ นห้้นส่วนผู้ใดแล้ว ส่วนที่แบ่ง
์ องผู้นัน
ก็ตกเป็ นกรรมสิทธิข ้ ผู้ชำาระบัญชีหามีสิทธิเรียกร้องหรือเข้า
เก็บรักษาเงินนี้โดยอ้างอำานาจของผู้ชำาระบัญชีตามมาตรา 1259 ได้
ไม่

ฎีกานี้ได้วินิจฉัยสาระสำาคัญ 2 ประการคือ
(1) ห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนจะตกลงให้แบ่งทรัพย์สิน
อย่างไรก็ได้เช่นเดียวกับเจ้าของรวม ไม่ต้องมีการชำาระบัญชีก็ได้
(2) ถ้ามีการตกลงหรือศาลพิพากษาว่าเงินจำานวนไหนเป็ นของห้้น
์ องคนนั น
ส่วนคนไหนก็ตกเป็ นกรรมสิทธิข ้ ถึงแม้ว่าจะมีผู้ชำาระ
บัญชีก็ตาม บ้คคลเหล่านั น
้ ไม่มีสิทธิที่จะไปย่้งเกี่ยวกับสิทธิในเงิน
จำานวนนั น
้ ได้
ฎ.351/2507 เมื่อเลิกห้างห้้นส่วนไม่จดทะเบียน และห้้นส่วนตกลง
กันในเรื่องทรัพย์สน
ิ อย่างไรแล้ว ก็ไม่จำาเป็ นต้องมีการชำาระบัญชี
แต่ถ้าเป็ นห้้นส่วนจดทะเบียนหรือห้างห้้นส่วนจำากัดและบริษท
ั จำากัด
แล้ว จะต้องมีการชำาระบัญชีเสมอ

* แนวฎีกาของมาตรา 1061
ฎ.1767/2529 โจทก์จำาเลยทำาสัญญากันว่าจำาเลยได้มอบที่ดินแก่
โจทก์รับไปจัดการแบ่งเป็ นแปลงและนำ าออกจำาหน่ าย เมื่อจำาหน่ าย
หมดแล้วให้หักค่าที่ดินและค่าใช้จ่ายของโจทก์ที่ได้จัดการดังกล่าว
เหลือเท่าใดแล้วจัดแบ่งกัน เป็ นเรื่องที่โจทก์จำาเลยตกลงกันเพื่อ
กระทำากิจการร่วมกันคือนำ าที่ดินไปจัดสรรแบ่งขายแบ่งกำาไรเมื่อหัก
ค่าที่ดินค่าลงท้นค่าใช้จ่ายแล้วจึงแบ่งกันจึงเป็ นสัญญาจัดตัง้ ห้าง
ตามมาตรา 1012 การที่โจทก์ฟ้องเรียกเงินค่าบ้กเบิกจัดสรรที่ดิน
จากจำาเลยเป็ นการเรียกร้องค่าลงห้้น แม้มีการบอกเลิกสัญญา
ระหว่างโจทก์จำาเลยแล้วก็ต้องปฎิบัติตามมาตรา 1061 เสียก่อนคือ
ต้องจัดการชำาระบัญชี โจทก์จะฟ้ องขอคืนเงินที่ได้ลงห้้นโดยยังไม่มี
การชำาระบัญชีหาได้ไม่
ฎ.504/2520 เมื่อห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนเลิกกัน จะต้องมี
การชำาระบัญชีหรือตกลงให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธีอ่ น
ื ตามมาตรา
1061 วรรคแรก เพื่อให้ทราบว่ามีกำาไรหรือขาดท้น ห้้นส่วนแต่ละ
คนมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งหรือต้องชดใช้ให้ห้างเท่าใด แล้วจึงมีสิทธิ
เรียกร้องเงินหรือทรัพย์สินจากห้างได้ ถ้ายังไม่ได้ปฏิบัติตาม
บทบัญญัติดังกล่าว ห้้นส่วนหาอาจฟ้ องเรียกเงินปั นผลหรือเงินค่า
ห้้นหาได้ไม่(ฎ.6366/2538,3530/2537 ทำานองเดียวกัน)

สร้ป ถ้าไม่มีการชำาระบัญชี ห้้นส่วนจะมาห้องคดีเรียกเงินปั นผล


เรียกค่าห้้น ไม่ได้เพราะไม่ได้ผ่านขัน
้ ตอนตามที่กฎหมายกำาหนด
(ฎ.3530/2537,1767/2529,7498/2540)
ฎ.1767/2529 โจทก์จำาเลยทำาสัญญากันว่า จำาเลยมอบที่ดินแก่
โจทก์รับไปจัดการแบ่งเป็ นแปลงย่อยๆแล้วเอาไปขาย คือจัดสรร
ที่ดินขายนั น
่ เอง เมื่อขายหมดแล้วหักค่าที่ดิน แล้วจ่ายเป็ นค่าใช้
จ่าย ค่าจัดการโจทก์ เหลือเท่าไรแบ่งเป็ น 3 ส่วน โจทก์เอาไป 2
ส่วน จำาเลยเอาไปส่วนเดียว ศาลฎีกาว่าเป็ นสัญญาตัง้ ห้างห้้นส่วน
สามัญตามมาตรา 1012 แล้ว การที่โจทก์มาฟ้ องเรียกเวินค่าหักล้าง
บ้กเบิกจัดสรรที่ดิน ค่าใช้จ่ายต่างๆจากจำาเลยเป็ นส่วนที่ถือได้ส่า
เป็ นเงินลงห้้นอีกส่วนหนึ่ ง เมื่อมีการบอกเลิกสัญญาแล้ว จึงต้อง
ปฎิบัติตามขัน
้ ตอนตามมาตรา 1061 ก่อน คือต้องชำาระบัญชี โจทก์
จะมาฟ้ องขอคืนเงินที่ลงห้้นโดยไม่มีการชำาระบัญชีไม่ได้ โจทก์ไม่มี
อำานาจฟ้ อง ศาลยกฟ้ อง

* ข้อยกเว้นการเลิกห้างห้้นส่วนที่ไม่ต้องมีการชำาระบัญชีแบ่งได้ 2
กรณีที่สำาคัญคือ
(ก) มาตรา 1061 ....เว้นแต่จะได้ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินใน
ระหว่างผู้เป็ นห้้นส่วนด้วยกันหรือว่าห้างฯนั น
้ ศาลได้พิพากษาให้ล้ม
ละลาย(ฎ.7033/2539,3133/2529)
ฎ.7033/2539 สัญญาแบ่งคืนทรัพย์สินอันเป็ นกรรมสิทธิร์ ะหว่าง
โจทก์จำาเลยที่ตกลงกันเพื่อระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการแบ่งคืน
ทรัพย์สินของห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนทัง้ หมดให้เสร็จสิ้น
ไป มีข้อความให้ทรัพย์สินนอกเหนื อจากที่ปรากฎในสัญญาเป็ นของ
ผู้ใดในขณะทำาสัญญาก็คงให้เป็ นของผู้นัน
้ เป็ นสัญญา
ประนีประนอมยอมความตามมาตรา 850 โจทก์ต้องผูกพันตาม
สัญญา และเป็ นกรณีที่ตกลงกันให้จัดการทรัพย์สินโดยวิธอ
ี ่ ืนใน
ระหว่างห้้นส่วนด้วยกัน จึงไม่ต้องชำาระบัญชีอีกตามมาตรา 1061

(ข) กรณีห้างห้้นส่วนสามัญไม่มีหนี้สิน และศาลเห็นว่าไม่มี


ประโยชน์ ที่จะให้มีการชำาระบัญชีอีก ศาลอาจให้มีการแบ่งท้นและ
กำาไรให้แก่ห้นส่วนโดยไม่จำาต้องมีการชำาระบัญชีก็ได้
(ฎ.1195/2497,1711/2532,4773/2536,4357/2540)
ฎ.4773/2536 เมื่อทางไต่สวนได้ความว่าห้างห้้นส่วนที่ผู้ร้องกับ
ส.เข้าห้้นส่วนกันไม่มีเจ้าหนี้ ลูกหนี้ หรือผู้เป็ นห้้นส่วนได้ออกเงิน
ทดรอง และค่าใช้จ่ายของตนไปเพื่อจัดการค้าของห้าง สินทรัพย์
ของห้างห้้นส่วนมีแต่เงินฝากในบัญชีกระแสรายวัน และบัญชีออม
ทรัพย์เท่านั น
้ การที่จะรื้อฟื้ นให้พิจารณาเรื่องบัญชีของห้างห้้นส่วน
ต่อไปคงไม่ได้ข้อเท็จจริงเพิ่ม จึงเห็นสมควรพิพากษาให้แบ่งท้น
และผลกำารไปทีเดียวโดยไม่ต้องตัง้ ผู้ชำาระบัญชี
ฎ.1711/2532 เมื่อห้างห้้นส่วนสามัญเลิกกันแล้วจะต้องมีการชำาระ
บัญชีก่อนเพื่อทราบกำาไรขาดท้น แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่า
ทรัพย์สินของห้างไม่ เจ้าหนี้ไม่มี คงมีแต่ลูกหนี้ที่หายไปแล้ว
ติดตามไม่ได้แล้ว แล้วส่วนทีข
่ าดท้นคือเงินทดรองซื้อสินค้า ดังนั น

การที่จะดำาเนิ นการชำาระบัญชีห้างเสียก่อนย่อมไม่มีประโยชน์ แม้
โจทก์จะขอให้บังคับจำาเลยรับผิดส่วนที่ขาดท้น โดยมิได้ขอให้ชำาระ
บัญชีห้างเสียก่อน ศาลย่อมพิพากษาบังคับจำาเลยให้รับผิดในส่วนที่
ขาดท้นได้โดยไม่ต้องชำาระบัญชีห้าง
ผู้ชำาระบัญชีอาจเกิดขึ้นได้ 3 กรณี

* ใครคือผู้ชำาระบัญชี
(1) ผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หมดด้วยกันเป็ นผู้ชำาระบัญชี
(2) บ้คคลภายนอกที่ผู้เป็ นห้้นส่วนโดยเสียงข้างมากแต่งตัง้ เป็ นผู้
ชำาระบัญชี(ฎ.1398/2493(ป))
(3) บ้คคลที่ศาลแต่งตัง้ เป็ นผู้ชำาระบัญชี
ฎ.302/2488 ห้างห้้นส่วนเลิกกันแล้ว ผู้เป็ นห้้นส่วนไม่ตกลงกันใน
เรื่องชำาระบัญชี ผู้เป็ นห้้นส่วนอีกคนหนึ่ งย่อมฟ้ องขอให้ศาลตัง้ ผู้
ชำาระบัญชีได้ การที่ห้นส่วนเลิกกันมานานแล้ว หาได้เป็ นเหต้ขัด
ขวางในการที่จะขอให้มีการชำาระบัญชีไม่
ข้อสังเกต
ศาลย่อมมีอำานาจพิจารณาตัวผู้ชำาระบัญชี และมีคำาสัง่ แต่งตัง้ ได้เอง
ตามที่เห็นสมควร แม้คู่กรณีจะเสนอผู้ใดยเฉพาะ เมื่อศาลพิจารณา
เห็นว่าเป็ นบ้คคลที่ไม่สมควรจะได้รับการแต่งตัง้ ศาลอาจจะตัง้
บ้คคลอื่นได้(ฎ.2570/2520)
หน้ าที่ของผู้ชำาระบัญชี(ดูมาตรา 1062-1063)
* สะสางบัญชีและทำาบัญชีงบด้ล
* รวบรวมทรัพย์สินและชำาระหนี้สน
ิ ของห้าง
* แบ่งกำาไร/ขาดท้น

ข้อสังเกต
เนื่ องจากห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ไม่มีฐานะเป็ นนิ ติบ้คคล
ดังนั น
้ จึงไม่มีอำานาจฟ้ องร้องเรียกหนี้สินจากบ้คคลภายนอกด้วย
ตนเอง หากจะฟ้ องร้องต้องได้รับมอบอำานาจให้ฟ้องคดีจากผู้เป็ น
ห้้นส่วนทัง้ หมด(ฎ.2061/2492)
* ลำาดับแห่งการชำาระบัญชี(มาตรา 1062-1063)
1. ชำาระหนี้แก่บ้คคลภายนอก
2. ใช้เงินทดรองค่าใช้จ่ายซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนได้ออกไปเพื่อจัดการงาน
ของห้าง
3. คืนท้นทรัพย์ของผู้เป็ นห้้นส่วน
4. เฉลี่ยกำาไร/ขาดท้น

ฎ.3671/2541 ศาลชัน
้ ต้นพิพากษาให้ห้างห้้นส่วนสามัญ พ.เลิกกัน
ตามมาตรา 1057(3) และให้โจทก์จำาเลยและผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หมด
ช่วยกันจัดทำาหรือให้บ้คคลอื่นซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนแต่งตัง้ ขึ้นเป็ นผู้จัด
ทำาและชำาระบัญชีโดยลำาดับตามกฎหมาย กรณีนี้จึงต้องจัดให้มีการ
ชำาระบัญชีตามมาตรา 1061 และเป็ นหน้ าทีข
่ องผู้ชำาระบัญชีที่จะ
ต้องดำาเนิ นการเกี่ยวกับหนี้สินและทรัพย์สินของห้างดังกล่าวต่อไป
ตามมาตรา 1062,1063
ข้อสังเกต
(1) การคืนท้น นั น
้ คืนเฉพาะเงินและทรัพย์สินเท่านั น
้ ส่วนแรงงาน
ถือเป็ นท้นสมมติเพื่อประโยชน์ ในการคิดหากำาไรหรือขาดท้น ดัง
นั น
้ หากลงท้นด้วยแรงงานไม่ต้องคืนท้น(ฎ.817/2476)
ฎ.817/2476 ผู้เป็ นห้้นส่วนที่ลงแรงงานนั น
้ ถ้าไม่มีข้อสัญญาว่าจะ
ได้แบ่งเงินท้นแล้ว เมื่อเลิกห้างห้้นส่วนกัน จะขอแบ่งเงินท้นจากผู้
เป็ นห้้นส่วนที่ลงเงินหาได้ไม่
(2) การลงท้นด้วยทรัพย์สิน
* หากเป็ นการโอนกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินให้แก่ห้างห้้นส่วนเป็ นการ
ลงห้้นแล้วให้คืนราคาแก่ห้นส่วน(มาตรา 1030) ในส่วนราคาให้เป็ น
ไปตามที่ตกลงไว้หรือให้เป็ นไปตามราคาท้องตลาดในวันที่ส่งมอบ
* แต่หากนำ าทรัพย์สินมาให้ห้างห้้นส่วนใช้ ให้คืนทรัพย์สินตาม
สภาพที่เป็ นอย่(ู มาตรา 1029)

กล่้มที่ ๒ :: ห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคล


* ห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคล
การจดทะเบียนห้างห้้นส่วนสามัญ
แนวคิด
(1) ห้างห้้นส่วนสามัญกฎหมายไม่ได้บังคับว่าต้องจดทะเบียน แต่
เมื่อจดทะเบียนก็จะมีสถานะเป็ นนิ ติบ้คคลมีสิทธิและหน้ าที่แยก
ต่างหากจากผู้เป็ นห้้นส่วน(มาตรา 1064 ประกอบมาตรา 1015)
(2) เนื่ องจากห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคล เป็ นห้างห้้นส่วนสามัญ
ชนิ ดหนึ่ ง ดังนั น
้ ในกรณีที่ไม่มีบทบัญญัติไว้โดยเฉพาะ จึงต้องนำ า
บทบัญญัติในเรื่องห้างห้้นส่วนสามัญมาใช้ด้วย

การจดทะเบียน
มาตรา 1064 อันห้างห้้นส่วนสามัญ จะจดทะเบียนก็ได้ การจด
ทะเบียนนั น
้ ท่านให้มีรายการดัง่ นี้ คือ
(1) ชื่อห้างห้้นส่วน
(2) วัตถ้ที่ประสงค์ของห้างห้้นส่วน
(3) ทีต
่ ัง้ สำานั งานแห่งใหญ่และสาขาทัง้ ปวง
(4) ชื่อและที่สำานั กกับทัง้ อาชีวะของผู้เป็ นห้้นส่วนท้กๆคน ถ้าผู้เป็ น
ห้้นส่วนคนใดมีช่ ือยี่ห้อ ก็ให้ลงทะเบียนทัง้ ชื่อและยี่ห้อด้วย
(5) ชื่อห้้นส่วนผู้จัดการ ในเมื่อได้แต่งตัง้ ให้เป็ นผู้จัดการแต่เพียง
บางคน
(6) ถ้ามีข้อจำากัดอำานาจของห้้นส่วนผู้จัดการประการใดให้ลงไว้ด้วย
(7) ตราซึ่งใช้เป็ นสำาคัญของห้างห้้นส่วน

#6
2 March 2009, 14:57

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี

แนวฎีกาของมาตรา 1064
มาตรา 1064(6) ถ้ามีข้อจำากัดอำานาจของห้้นส่วนผู้จัดการประการ
ใดให้ลงไว้ด้วย
ฎ.830/2534 ข้อพิพาทตามสิทธิเรียกร้องที่ทำาสัญญาประนี ประนอม
ยอมความกันเป็ นเรื่องระหว่างโจทก์กับห้างจำาเลยที่ 3 ซึ่งมีจำาเลยที่
2 เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการทำาการแทนห้างจำาเลยที่ 1 และไม่มีข้อจำากัด
อำานาจของห้้นส่วนผู้จัดการไว้ จำาเลยที่ 2 จึงลงลายมือชื่อเป็ นคู่
สัญญาแทนจำาเลยที่ 1 .ในสัญญาประนี ประนอมยอมความได้โดย
ไม่ต้องประทับตราห้างจำาเลยที่ 1

มาตรา 1064(7) ตราซึ่งใช้เป็ นสำาคัญของห้างห้้นส่วน


กรณีที่ว่า ถ้าเกิดตราประทับยังไม่สมบูรณ์และมีกรณีทางใดบ้างที่
นิ ติบ้คคลต้องเข้ามาร่วมรับผิด ถ้านิ ติบ้คคลให้สัตยาบันหรือรับเอา
ผลงานที่ทำาไว้ ห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลนั น
้ ต้องรับผิด
(ฎ.1309/2515,3657/2531)
ฎ.1309/2515 กรรมการผู้จัดการบริษท
ั ลงนามในสัญญาจ้างโจทก์
ในฐานะที่กรรมการเป็ นผู้แทนบริษท
ั โดยไม่ได้ประทับตราบริษท

เงื่อนไขของบริษท
ั ระบ้ว่าต้องลงลายมือชื่อและประทับตราสำาคัญ
ของบริษท
ั จึงจะผูกพันบริษท
ั ได้ แสดงว่าทำาผิดเงื่อนไขที่จด
ทะเบียนไว้คือลงชื่อไม่ถูกต้องหรือประทับตราไม่ถูกต้อง ไม่ครบ
เงื่อนไข แต่ข้อเท็จจริงได้ความว่าบริษท
ั ยอมรับเอาผลงานที่โจทก์
ซึ่งเป็ นลูกจ้างทำาไว้ และบริษท
ั ก็รับเอางานแล้วยังจ่ายค่าจ้างไปบาง
ส่วนแล้ว ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าเป็ นกรณีที่นิติบ้คคลจำาเลยยอมรับเอา
ผลงานที่โจทก์ทำาไว้จึงต้องผูกพันรับผิดทางสัญญาชำาระหนี้ในส่วน
ที่เหลือ
นิ ติบ้คคลนั น
้ มีการแสดงออกได้ 2 ทางคือ
1) ผู้แทนนิ ติบ้คคล
2) ตัวแทนโดยตรงและตัวแทนเชิด

ผลขอการจดทะเบียนห้างห้้นส่วนสามัญ
1. ห้างและผู้เป็ นห้้นส่วนถูกปิ ดปากมิให้ปฏิเสธเอกสารรายการที่ได้
จดทะเบียนและบ้คคลภายนอกก็ถูกปิ ดปากไม่ให้อ้างว่าไม่รู้ด้วย
ตามมาตรา 1022,1023
2. เมื่อจดทะเบียน ผลการจดทะเบียนนี้ทำาให้เป็ นนิ ติบ้คคลต่างหาก
จากผู้เป็ นห้้นส่วน
ฎ.624/2515 เมื่อห้างจดทะเบียนแล้วมีตัวตนเป็ นเอกเทศต่างหาก
จากผู้เป็ นห้้นส่วน ในกรณีลูกจ้างของห้างไปทำาละเมิด ผู้ถูกละเมิด
จะฟ้ องผู้เป็ นห้้นส่วนให้รับผิดในฐานะนายจ้างไม่ได้

ห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลจะต้องรับผิดสำาหรับการกระทำาของผู้
เป็ นห้้นส่วนที่อยู่ภายในขอบวัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วนที่จด
ทะเบียนไว้เท่านั น
้ ตามมาตรา 66
มาตรา 66 นิ ติบ้คคลย่อมมีสิทธิและหน้ าที่ตามที่บทบัญญัติแห่ง
ประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น ภายในขอบแห่งอำานาจหน้ าที่
หรือวัตถ้ประสงค์ดังได้บัญญัติหรือกำาหนดไว้ในกฎหมาย ข้อบังคับ
หรือตราสารจัดตัง้

ข้อสังเกต
* ถ้าเป็ นการกระทำานอกวัตถ้ประสงค์ ห้างห้้นส่วนไม่ต้องรับผิด
(ฎ.2004/2517,41/2509)
ฎ.41/2509 ห้างห้้นส่วนจำากัดไม่มีวัตถ้ประสงค์ในการคำ้าประกัน
แต่ไปทำาสัญญาคำ้าประกัน ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า เป็ นการกระทำานอก
เหนื อวัตถ้ประสงค์ไม่ผูกพันห้าง
* ในกรณีทท
ี่ ำาการกระทำาอยู่ภายในขอบวัตถ้ประสงค์ของห้าง แต่
กระทำาโดยผู้ไม่มีอำานาจ หากต่อมาปรากฏว่าห้างยอมรับเอากิจการ
ดังกล่าวนั น
้ ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าห้างต้องรับผิดตามหลักตัวการ
ตัวแทน(ฎ.2579/2516)
ฎ.2579/2516 จำาเลยที่ 3 ซึ่งเคยเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการจำาเลยที่ 1
แต่ได้พ้นจากการเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการแล้ว ได้เปิ ดบัญชีกระแสราย
วัน เงินเบิกเกินบัญชี เลตเตอร์ออฟเครดิต ทรัสต์รีซท
ี กับธนาคาร
โจทก์ในนามของห้างห้้นส่วนจำาเลยที่ 1 และประทับตราชื่อห้าง
จำาเลยที่ 1 ซึ่งแสดงว่าจำาเลยที่ 3 กระทำาแทนห้างจำาเลยที่ 1 มิใช่
เป็ นการส่วนตัว และห้างจำาเลยที่ 1 ก็ทราบดีถึงกิจการที่จำาเลยที่ 3
ได้กระทำาและยอมรับเอาเป็ นกิจการที่ทำาแทนห้างจำาเลยที่ 1 ดังนี้
ถือได้ว่าห้างจำาเลยที่ 1 ได้เชิดหรือรู้อยู่แล้วยอมให้จำาเลยที่ 3
แสดงออกเป็ นตัวแทนของตนมีอำานาจกระทำากิจการดังกล่าวแทน
ห้างจำาเลยที่ 1 จึงต้องรับรับผิดต่อโจทก์
อาจารย์ต่อไปจะขอกล่าวถึงผลโดยเฉพาะของการจดทะเบียนห้าง
ห้้นส่วนสามัญ ประกอบด้วย
1. การถือเอาประโยชน์ แก่บ้คคลภายนอกมาตรา 1065
2. การห้ามประกอบกิจการค้าขายแข่งกับห้างมาตรา 1066 ผลการ
ฝ่ าฝื นมาตรา 1067
3. ความรับผิดของห้้นส่วนซึ่งออกจากห้างมาตรา 1068
4. ห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลเลิกกันเมื่อห้างฯล้มละลายมาตรา
1069
5. เจ้าหนี้เรียกให้ชำาระหนี้มาตรา 1070
6. การบังคับชำาระหนี้เอาแก่ห้างห้้นส่วนมาตรา 1071

ก่อนอื่นอาจารย์จะพูดถึงข้อจำากัดอำานาจของห้้นส่วนผู้จัดการของ
ห้างห้้นส่วนสามัญมีอย่างไรต้องระบ้ไว้ตามมาตรา 1064(6) อันจะ
ผูกพันบ้คคลภายนอกตามมาตรา 1021,1022 ต่างกับหางห้้นส่วน
สามัญตามมาตรา 1053 ถึงแม้จะมีข้อจำากัดอำานาจของห้้นส่วนคน
ใดคนหนึ่ งในการที่จะผูกพันบ้คคลอื่น ข้อจำากัดนั น
้ ผูกพันเฉพาะผู้
เป็ นห้้นส่วนเท่านั น
้ ไม่ผูกพันบ้คคลภายนอกเพราะเมื่อไม่ได้จด
ทะเบียนบ้คคลภายนอกย่อมไม่รู้
ฎ.1928-30/2528 การเป็ นนิ ติบ้คคลประเภทห้างห้้นส่วนบริษท
ั และ
อำานาจผู้แทนนั น
้ นายทะเบียนต้องแต่งย่อรายการไปลงพิมพ์ในราช
กิจจาน้เบกษาแล้วถือว่ารู้แก่บ้คคลทัง้ ปวงตามมาตรา 1021,1022
จำาเลยให้การแต่เพียงว่าโจทก์เป็ นนิ ติบ้คคลหรือไม่ และ ด. เป็ นผู้มี
อำานาจทำาการแทนตามฟ้ องหรือไม่ ไม่ทราบ มารับรอง คำาให้การ
เป็ นการฝ่ าฝื นข้อสันนิ ษฐานเด็ดขาดตามกฎหมายจึงไม่มีประเด็นที่
จะต้องนำ าสืบ
1.การถือเอาประโยชน์ แก่บ้คคลภายนอกมาตรา 1065
มาตรา 1065 ผู้เป็ นห้้นส่วนอาจถือประโยชน์ แก่บ้คคลภายนอกใน
บรรดาสิทธิอันห้างห้้นส่วนจดทะเบียนนั น
้ ได้มา แม้ในกิจการซึ่งไม่
ปรากฏชื่อของตน
ข้อสังเกต
เหต้ผล เพราะเมื่อจดทะเบียนตามมาตรา 1064(4) แล้ว บ้คคล
ภายนอกย่อมรู้ว่าใครเป็ นห้้นส่วนตามมาตรา 1022 ในการถือเอา
ประโยชน์ ตามมาตรา 1065 ต้องเป็ นการถือในฐานะเป็ นห้้นส่วน จะ
ถือเอาในฐานะส่วนตัวไม่ได้ (มาตรา 1065 นี้หลักกฎหมายจะตรง
กันข้ามกับมาตรา 1049 กรณีห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน)
ตัวอย่าง ทองขาวและทองคำาเป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญ
นิ ติบ้คคล โดยทองขาวไปซื้อสินค้าจากทองเคเพื่อมาใช้ในกิจการ
ต่อมาทองเคผิดสัญญากล่าวคือไม่สามารถส่งมอบสินค้าตามที่
กำาหนดได้ แม้ในการซื้อสินค้าจะไม่ปรากฏชื่อของทองคำา ทองคำาก็
สามารถใช้สิทธิเรียกร้องนามห้างได้ แต่จะเรียกร้องในนามของ
ทองคำาเพื่อประโยชน์ ส่วนตนบ่ได้
2.การห้ามประกอบกิจการค้าขายแข่งกับห้างมาตรา 1066 ผลการ
ฝ่ าฝื นมาตรา 1067
มาตรา 1066 ห้ามมิให้ผู้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งคนใดในห้างห้้นส่วนจด
ทะเบียนประกอบกิจการอย่างหนึ่ งอย่างใดอันมีสภาพเป็ นอย่าง
เดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้างห้้นส่วนนั น
้ ไม่ว่า
เพื่อประโยชน์ ตนหรือเพื่อประโยชน์ ผู้อ่ ืน หรือไปเข้าเป็ นห้้นส่วนไม่
จำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วนอื่น ซึ่งประกอบกิจการอันมีสภาพ
เป็ นอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้างห้้นส่วน
จดทะเบียนนั น
้ เว้นแต่จะได้รับคำายินยอมของผู้เป็ นห้้นส่วนอื่น
ทัง้ หมด
แต่ข้อห้ามเช่นว่ามานี้ ท่านจะไม่พึงใช้ได้ ถ้าหากผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้
หลายได้รู้อยู่แล้วในเวลาเมื่อลงทะเบียนห้างห้้นส่วนนั น
้ ว่า ผู้เป็ น
ห้้นส่วนคนหนึ่ งได้ทำากิจการ หรือเข้าเป็ นห้้นส่วนอยู่ในห้างห้้นส่วน
อื่น อันมีวัตถ้ประสงค์อย่างเดียวกัน และในสัญญาเข้าห้้นส่วนที่ทำา
ไว้นัน
้ ก็ไม่ได้บังคับให้ถอนตัวออก

ข้อสังเกต มาตรา 1066,1067 เคยออกสอบในสมัยที่ 8 และ 30


การแข่งขันกับห้างห้้นส่วน จะมีกฎหมาย 3 มาตรา ควรระมัดระวัง
กล่าวคือ
* กรณีห้างห้้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนมาตรา 1038
* กรณีห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียนมาตรา 1066
* กรณีห้างห้้นส่วนจำากัดดูมาตรา 1090

หลักเกณฑ์มาตรา 1066
(1) ห้ามมิให้ผู้เป็ นห้้นส่วนคนหนึ่ งคนใดในห้างห้้นส่วนจดทะเบียน
ประกอบกิจการอย่างหนึ่ งอย่างใดอันมีสภาพเป็ นอย่างเดียวกันและ
เป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้างห้้นส่วนนั น
้ ไม่ว่าเพื่อประโยชน์
ตนหรือเพื่อประโยชน์ ผู้อ่ ืน มีความหมายดังนี้
ก.คำาว่า "ห้้นส่วนคนหนึ่ งคนใด" หมายถึงห้้นส่วนท้กคน(ห้้นส่วนผู้
จัดการหรือห้้นส่วนธรรมดา)
ข.ประกอบกิจการที่มีสภาพเป็ นอย่างเดียวกัน(Business of the
same nature) และเป็ นการแข่งขันกับห้างห้้นส่วน(Competing
with that of the partnership)(หลักการเดียวกับมาตรา 1038 )
(2) ไปเข้าเป็ นห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วนอื่น ซึ่ง
ประกอบกิจการอันมีสภาพเป็ นอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขัน
กับกิจการของห้างห้้นส่วนจดทะเบียนนั น
้ เว้นแต่จะได้รับคำา
ยินยอมของผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นทัง้ หมด
การเป็ นห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิดอาจเป็ น
* ห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญ หรือ
* ห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียน หรือ
* ห้้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วนจำากัด
แต่ที่จะรับผิดต่อเมื่อห้างห้้นส่วนที่เข้าไปห้้นส่วนประเภทไม่จำากัด
ความรับผิดนั น
้ ต้องประกอบกิจการมีสภาพเดียวกันและเป็ นการ
แข่งขันกับห้างห้้นส่วน
ตัวอย่าง นำ้ าเงินเป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลแสงชัย
ค้าไม้ มาตรา 1066 ห้ามนำ้ าเงินเป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญ
ว้ฒิธรรมค้าไม้ หรือห้างห้้นส่วนนิ ติบ้คคลแสงเดือนค้าไม้หรือเป็ น
ห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วนจำากัดแสงดาวค้าไม้ ซึ่ง
ประกอบกิจการค้าไม้เช่นเดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับห้างห้้น
ส่วนสามัญนิ ติบ้คคลแสงชัยค้าไม้
หากเข้าเป็ นห้้นส่วนจำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วนจำากัด แม้
ประกอบกิจการแข่งขันกฎหมายก็ไม่ห้าม เพราะห้้นส่วนจำากัด
ความรับผิดไม่มีอำานาจจัดกิจการใดในห้างได้

ผลการฝ่ าฝื นมาตรา 1066 ดูมาตรา 1067


(1) ห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียนมีสท
ิ ธิเรียกเอาผลกำาไรหรือค่า
สินไหมทดแทนความเสียหายได้(มาตรา 1067 วรรคหนึ่ ง)
(2) ผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หลายนอกจากผู้เป็ นห้้นส่วนที่ฝ่าฝื น มีสิทธิ
เรียกให้เลิกห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียนได้(มาตรา 1067 วรรค
ท้าย)

3.ความรับผิดของห้้นส่วนซึ่งออกจากห้างมาตรา 1068
มาตรา 1068 ความรับผิดของผู้เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนจด
ทะเบียน อันเกี่ยวแก่หนี้ซ่ ึงห้างห้้นส่วนได้ก่อให้เกิดขึ้นก่อนที่ตน
ออกจากห้้นส่วนนั น
้ ย่อมมีจำากัดเพียง 2 ปี นั บแต่เมื่อออกจากห้้น
ส่วน

ข้อพิจารณา
(1) มาตรา 1068 คล้ายกับมาตรา 1051 คือห้้นส่วนเมื่อออกจาก
ห้างห้้นส่วนต้องรับผิดในหนี้สินของห้างที่มีอยู่ก่อนออกจากห้างห้้น
ส่วน แนวคิดเบื้องหลังของมาตรา 1068 มีวัตถ้ประสงค์เพื่อ
ค้้มครองให้เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ผู้เป็ นห้้นส่วนซึ่งได้ถอนตัวจากห้้น
ส่วนหรือผู้เคยเป็ นห้้นส่วน ให้รับผิดชอบร่วมกับห้างห้้นส่วนจด
ทะเบียนซึ่งได้ก่อหนี้ให้เกิดขึ้นก่อนที่ผู้นัน
้ จะออกจากห้้นส่วน
ฎ.1300/2533 จำาเลยที่ 5 เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญ
๋ เครื่องบิน
นิ ติบ้คคลจำาเลยที่ 1 ในขณะที่จำาเลยที่ 1 เป็ นหนี้ค่าซื้อตัว
โจทก์ แม้ภายหลังจากจำาเลยที่ 5 ได้ออกจากห้้นส่วนไปแล้วก็ยังคง
ต้องรับผิดในหนี้ซ่ ึงจำาเลยที่ 1 ได้ก่อให้เกิดขึ้น ก่อนที่ตนได้ออก
จากห้้นส่วนไปภายในกำาหนด 2 ปี นั บแต่เมื่อออกจากห้้นส่วนตาม
มาตรา 1068
(2) หนี้ที่เกิดขึ้นภายหลังจากตนออกจากห้างห้้นส่วนไม่ต้องรับผิด
ชอบ
(3) กำาหนดความรับผิดเพียง 2 ปี นั บแต่วันที่ออกจากห้้นส่วน ซึ่ง
ต่างกับมาตรา 1051
(4) เป็ นเรื่องกำาหนดความรับผิดของผู้เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วน
สามัญนิ ติบ้คคลที่ออกจากห้างเท่านั น
้ ไม่ใช่เรื่องอาย้ความ คู่กรณี
จึงตกลงเป็ นอย่างอื่นได้(ฎ.2613/2523)
(5) ต้องเป็ นหนี้ที่เกิดขึ้นภายในขอบวัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วน
ตัวอย่าง เอก โท ตรี เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลค้า
วัสด้ก่อสร้าง ต่อมาเอกขอลาออกและท้กคนยินยอม หนี้ค่าวัสด้
ภัณฑ์ที่ห้างเป็ นหนี้บ้คคลภายนอกในขณะที่เอกยังเป็ นห้้นส่วนอยู่
เจ้าหนี้จะฟ้ องให้เอกร่วมรับผิดได้ภายในระยะเวลา 2 ปี นั บแต่วันที่
ออกจากห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลค้าวัสด้ก่อสร้าง

ข้อสังเกต
คำาว่า " 2 ปี นั บแต่เมื่อออกจากห้้นส่วน" นั บอย่างไร ต้องนั บจากวัน
ที่จดทะเบียน(ฎ.463/2537 การโอนห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนจด
ทะเบียนมีผลเมื่อไปจดทะเบียน ต้องถือว่าการออกจากห้้นส่วนเริ่ม
เมื่อวันจดทะเบียน ฎีกานี้ นาย ก.ขายห้้นให้นาย ข.เมื่อวันที่ 25
ต้ลาคม 2527 แต่ยังไม่ได้ไปจดทะเบียน แต่ไปจดทะเบียนวันที่ 17
พฤษภาคม 2528 มีปัญหาว่า 2 ปี เริ่มนั บตรงไหน ศาลฎีกาวินิจฉัย
ว่า ต้องนั บจากวันจดทะเบียนคือวันที่ 17 พฤษภาคม 2528)
ฎ.463/2537 เมื่อจำาเลยที่ 2 โอนขายห้้นทัง้ หมดให้แก่จำาเลยที่ 3
และนายทะเบียนจดรายการเปลี่ยนแปลงผู้ถือห้้นและห้้นส่วนผู้
จัดการลงในทะเบียนนิ ติบ้คคลตัง้ แต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2528
ต้องถือว่าจำาเลยที่ 2 ออกจากการเป็ นห้้นส่วนของห้างห้้นส่วนจำากัด
จำาเลยที่ 1 ไปแล้วตัง้ แต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2528 โจทก์นำาหนี้
ภาษีอากรซึ่งเกิดขึ้นก่อนที่จำาเลยที่ 2 ออกจากห้้นส่วนไปมาฟ้ องให้
จำาเลยที่ 2 ล้มละลายเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2530 ซึ่งเป็ นเวลาภาย
หลัง 2 ปี นั บแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2528 จำาเลยที่ 2 จึงไม่ต้อง
รับผิดในหนี้ดังกล่าวตามมาตรา 1068 แล้ว โจทก์ย่อมไม่มีสิทธิ
ฟ้ องจำาเลยที่ 2 .ให้ล้มละลายได้ (ฎีกาที่ควรดูเพิ่มเติมคือฎีกาที่
94/2547 วินิจฉัยทำานองเดียวกัน เป็ นฎีกาทีอ
่ าจารย์ประเสริฐได้ให้
ไว้)

4.ห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลเลิกกันเมื่อห้างฯล้มละลายมาตรา
1069
มาตรา 1069 นอกจากในกรณีทัง้ หลายที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1055
ท่านว่าห้างห้้นส่วนจดทะเบียนย่อมเลิกกันเมื่อห้างห้้นส่วนนั น
้ ล้ม
ละลาย
ข้อสังเกต เป็ นการขยายเพิ่มเติมมาตรา 1055 เพิ่มเติมในกรณีห้าง
ห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลล้มละลาย ห้างห้้นส่วนนั น
้ ต้องเลิกกัน
ฎ.990/2514 ห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียนซึ่งต้องเลิกกันเมื่อศาล
พิพากษาให้เป็ นบ้คคลล้มละลาย ต่อมาศาลได้มีคำาสัง่ ยกเลิกการล้ม
ละลาย ลูกหนี้ย่อมหล้ดพ้นจากหนี้สินไปทัง้ หมด กลับมามีสภาพ
เช่นเดิม และมีสภาพเป็ นนิ ติบ้คคล จึงมีอำานาจฟ้ องได้

5.เจ้าหนี้เรียกให้ชำาระหนี้มาตรา 1070
มาตรา 1070 เมื่อใดห้างห้้นส่วนซึ่งจดทะเบียนผิดนั ดชำาระหนี้ เมื่อ
นั น
้ เจ้าหนี้ของห้างห้้นส่วนนั น
้ ชอบที่จะเรียกให้ชำาระหนี้เอาแต่ผู้เป็ น
ห้้นส่วนคนใดคนหนึ่ งก็ได้
หลัก ห้างห้้นส่วนนิ ติบ้คคลแม้จะมีสภาพนิ ติบ้คคล แต่กฎหมายก็ให้
สิทธิแก่เจ้าหนี้ที่จะเรียกให้ชำาระหนี้จากห้้นส่วนใดคนหนึ่ งก็ได้ ซึ่งมี
ลักษณะเช่นเดียวกับการคำ้าประกันมาตรา 686 (การที่ต้องให้ห้าง
ผิดตกเป็ นผู้ผิดนั ดก่อนเพราะความรับผิดของห้้นส่วนไม่ได้ร่วมับ
ผิดพร้อมกันกับห้าง แต่มีฐานะเป็ นเสมือนผู้ค้ำาประกัน)

มาตรา 686 ลูกหนี้ผิดนั ดลงเมื่อใด ท่านว่าเจ้าหนี้ชอบที่จะเรียกให้


ผู้ค้ำาประกันชำาระหนี้ได้แต่นัน

ข้อสังเกตมาตรา 1070 ในกรณีที่จะเรียกให้ห้นส่วนชำาระหนี้ได้
ห้างห้้นส่วนจะต้องผิดนั ดชำาระหนี้ก่อน
แนวฎีกา
ฎ.1306/2530 ความรับผิดของห้้นส่วนเกิดขึ้นเมื่อห้างห้้นส่วน
ผิดนั ด ส.ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดเพียงคนเดียว
ของห้างห้้นส่วนจำากัด ต้องรับผิดในหนี้ของห้างทัง้ ปวงโดยไม่จำากัด
จำานวนตามมาตรา 1077(2) เมื่อห้างห้้นส่วนผิดนั ดไม่ชำาระหนี้ค่า
ภาษีแล้ว ส.ก็ต้องรับผิดในหนี้ดังกล่าวตามมาตรา 1070 ประกอบ
ด้วยมาตรา 1080
ฎ.590/2520 เมื่อห้างห้้นส่วนจำากัดผิดนั ดชำาระหนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิ
ฟ้ องผู้เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการซึ่งเป็ นห้้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับ
ผิดให้รับผิดชำาระหนี้ได้ทันทีโดยไม่ต้องขอให้มีการเลิกห้างห้้นส่วน
หรือล้มละลายก่อนหรือจะต้องปรากฏว่าห้างห้้นส่วนจำากัดไม่มี
ทรัพย์สินพอชำาระหนี้
ข้อสังเกต
ผู้เป็ นห้้นส่วนในห้างห้้นส่วนสามัญจดทะเบียนกับผู้เป็ นห้้นส่วนผู้
จัดการในห้างห้้นส่วนจำากัด ต่างก็เป็ นห้้นส่วนประเภทไม่จำากัด
ความรับผิดด้วยกัน ผู้เป็ นหห้้นส่วนเหล่านี้จึงต้องรับผิดในทันทีที่
ห้างฯนั น
้ ผิดนั ดชำาระหนี้และถูกฟ้ องให้ล้มละลาย
ได้(ฎ.3369/2541,7093/2545)
ฎ.7093/2545 ผู้คัดค้านเป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิด
ของห้างห้้นส่วนจำากัด ป.ซึ่งถูกศาลสัง่ พิทักษ์เด็ดขาดแล้ว เจ้า
พนั กงานพิทักษ์ย่อมมีอำานาจยื่นคำาร้องขอให้ผู้คัดค้านล้มละลาย
ตามห้างๆได้ เนื่ องจากผู้คัดค้านต้องรับผิดในบรรดาหนี้ของห้างโดย
ไม่จำากัดจำานวนตามมาตรา 1070,1077(2) ผู้คัดค้านจึงไม่อาจต่อสู้
คดีหรือนำ าสืบว่าตนมีทรัพย์สินพอที่จะชำาระหนี้ของห้างห้้นส่วน
จำากัด ป.หรือพิสูจน์ ตนมิใช่เป็ นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว

#7
2 March 2009, 15:05

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี

6.การบังคับชำาระหนี้เอาแก่ห้างห้้นส่วนมาตรา 1071
มาตรา 1071 ในกรณีที่กล่าวไว้ในมาตรา 1070 นั น
้ ถ้าผู้เป็ นห้้น
ส่วนนำ าพิสูจน์ ได้ว่า
(1) สินทรัพย์ของห้างห้้นส่วนยังมีพอที่จะชำาระหนี้ได้ทัง้ หมดหรือ
บางส่วน และ
(2) การที่จะบังคับเอาแก่ห้างห้้นส่วนนั น
้ ไม่เป็ นการยากฉะนี้ไซร้
ศาลจะบังคับให้เอาสินทรัพย์ของห้างห้้นส่วนนั น
้ ชำาระหนี้ก่อนก็ได้
ส้ดแต่ศาลจะเห็นสมควร

หลักเกณฑ์ ห้้นส่วนจะบอกปั ดให้ไปเรียกจากห้างห้้นส่วนได้ต้อง


พิสูจน์ ว่า
(1) สินทรัพย์ของห้างห้้นส่วนยังมีพอที่จะชำาระหนี้ได้ทัง้ หมดหรือ
บางส่วน และ
(2) การที่จะบังคับเอาแก่ห้างห้้นส่วนนั น
้ ไม่เป็ นการยาก
ฎ.1092/2544 (มาตรา 1071 หลัก)
มาตรา 1071 และมาตรา 1080 ให้อำานาจศาลใช้ด้ลยพินิจในการ
บังคับคดีโดยจะให้บังคับเอาแก่ทรัพย์สินของห้างห้้นส่วนจำากัดก่อน
หรือจะให้บังคับชำาระหนี้เอาแก่จำาเลยซึ่งเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการของ
ห้างห้้นส่วนจำากัดซึ่งเป็ นลูกหนี้ก็ได้ ซึ่งแตกต่างกับกรณีเป็ นผู้ค้ำา
ประกันที่ผู้ค้ำาประกันสามารถจะใช้สิทธิเรียกร้องให้เจ้าหนี้บังคับแก่
ทรัพย์สินของลูกหนี้ก่อนตามมาตรา 688 อีกทัง้ ไม่มีบทบัญญัติของ
กฎหมายใดห้ามโจทก์ซ่ ึงเป็ นเจ้าหนี้ของห้างห้้นส่วนจำากัดมิให้ฟ้อง
ร้องห้้นส่วนผู้จัดการโดยต้องไปบังคับคดีเอาแก่ทรัพย์สินของห้าง
ห้้นส่วนจำากัดก่อน การที่โจทก์ฟ้องจำาเลยจึงเป็ นการกระทำาที่ชอบ
ด้วยกฎหมาย

กล่้มที่ ๓ :: ห้างห้้นส่วนจำากัด
* ห้างห้้นส่วนจำากัด
ห้างห้้นส่วนจำากัดกฎหมายกำาหนดไว้ในมาตรา 1077-1095 มี
ทัง้ หมด 19 มาตรา ขอสร้ปหัวข้อที่จะศึกษาดังต่อไปนี้
(1) ลักษณะของห้างห้้นส่วนจำากัด
(2) การจดทะเบียนห้างห้้นส่วนจำากัด
(3) การนำ าบทบัญญัติของห้างห้้นส่วนสามัญมาใช้กับห้างห้้นส่วน
จำากัดโดยอน้โลมมาตรา 1080
(4) ข้อจำากัดสิทธิของห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
(5) สิทธิของห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
(6) หน้ าที่และความรับผิดของผู้เป็ นห้้นส่วนต่อบ้คคลภายนอก

(1) ลักษณะของห้างห้้นส่วนจำากัด
นิ ยามของห้างห้้นส่วนจำากัด
มาตรา 1077 อันห้างห้้นส่วนจำากัดนั น
้ คือห้างห้้นส่วนประเภทหนึ่ ง
ซึ่งมีผู้เป็ นห้้นส่วนสองจำาพวก ดังจะกล่าวต่อไปนี้คือ
(1) ผู้เป็ นห้้นส่วนคนเดียวหรือหลายคนซึ่งมีจำากัดความรับผิดเพียง
ไม่เกินจำานวนเงินที่ตนรับจะลงห้้นในห้างห้้นส่วนนั น
้ จำาพวกหนึ่ ง
และ
(2) ผู้เป็ นห้้นส่วนคนเดียวหรือหลายคนซึ่งต้องรับผิดร่วมกันใน
บรรดาหนี้ของห้างห้้นส่วนไม่มีจำากัดจำานวนอีกจำาพวกหนึ่ ง

ข้อสังเกต ห้างห้้นส่วนจำากัดต้องจดทะเบียนตามมาตรา 1078


วรรคแรก
ห้างห้้นส่วนจำากัดมีห้นส่วน 2 ประเภท(ต้องจดจำาให้ดี เพราะจะมี
ต่อการวินิจฉัยหน้ าที่และความรับผิดของห้้นส่วนแต่ละจำาพวก)คือ
* ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดมาตรา 1077(1)
* ห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดมาตรา 1077(2)
เปรียบเทียบค้ณสมบัติห้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดและไม่
จำากัดความรับผิด

ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดมาตรา 1077(1)
1. ต้องมีห้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดอย่างน้ อย 1 คน
2. รับผิดในหนี้สินจำากัดเพียงไม่เกินจำานวนเงินที่รับจะลงห้้น
3. ไม่ต้องรับผิดในหนี้สินของห้างร่วมกัน
4. ค้ณสมบัติของผู้เป็ นห้้นส่วนไม่ถือเป็ นสาระสำาคัญ

ห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดมาตรา 1077(2)
1. ต้องมีห้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดอย่างน้ อย 1 คน
2. รับผิดในหนี้สินของห้างโดยไม่จำากัดจำานวน
3. ต้องรับผิดในหนี้สินของห้างร่วมกันอย่างลูกหนี้ร่วม
4. ค้ณสมบัติของผู้เป็ นห้้นส่วนถือเป็ นสาระสำาคัญ

* ข้อสังเกตที่สำาคัญมาตรา 1077 เพิ่มเติม


(1) ห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดอาจถูกฟ้ องให้ล้มละลาย
ด้วยหนี้สินของห้างที่ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดต้อง
รับผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ของห้างตามมาตรา 1077
(ฎ.356/2541,420/2538,2645/2538,7093/2545)
ฎ.7093/2545 ห้างห้้นส่วนจำากัดถูกศาลสัง่ พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
แล้ว เจ้าพนั งกานพิทักษ์ทรัพย์ย่ ืนคำาร้องขอให้ผู้คัดค้านซึ่งเป็ นห้้น
ส่วนไม่จำากัดความรับผิดล้มละลายได้ เนื่ องจากผู้คัดค้านต้องรับผิด
ในหนี้ของห้างห้้นส่วนจำากัดโดยไม่จำากัดจำานวนตามมาตรา
1070,1077(2) ผู้คัดค้านจึงไม่อาจต่อสู้คดีหรือนำ าสืบว่าตนมี
ทรัพย์สินพอที่จะชำาระหนี้ของห้างห้้นส่วนจำากัด หรือพิสูจน์ ว่าตน
มิใช่เป็ นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว
เจ้าพนั กงานพิทักษ์ทรัพย์ร้องขอให้ผู้คัดค้านล้มละลายในฐานะเป็ น
ห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิด เมื่อห้างห้้นส่วนจำากัดถูกศาลสัง่
พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว ศาลย่อมมีคำาสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ของผู้
คัดค้านซึ่งเป็ นห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิดเด็ดขาดแล้วพิพากษาให้
ล้มละลายได้ตาม พรบ.ล้มละลายม.89 โดยไม่จำาต้องวินิจฉัยถึง
เหต้มาตรา 9

(2) ความรับผิดของผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดตาม


มาตรา 1077(2) รวมถึงหนี้ละเมิดอันเกิดจากการจัดการงานของ
ห้างห้้นส่วนจำากัดตามมาตรา 1050
ด้วย(ฎ.2022/2528,2773/2529,650/2545,399/2546)
ฎ.2022/2528 จำาเลยที่ 2 เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการย่อมเป็ นห้้นส่วน
จำาพวกไม่จำากัดความรับผิดต้องรับผิดในบรรดาหนี้ของห้างห้้นส่วน
จำากัดโดยไม่จำากัดจำานวนแม้เป็ นหนี้เกิดจากมูลละเมิด
แนวฎีกาความรับผิดไม่จำากัดจำานวนของห้้นส่วนประเภทไม่จำากัด
ความรับผิด
ฎ.2986/2541 โจทก์ตัง้ จำาเลยที่ 1 เป็ นตัวแทนจำาหน่ ายปุ ย
้ ต่อมา
โจทก์ฟ้องเรียกเงินซึงจำาเลยที่ 1 รับไว้เกี่ยวด้วยการเป็ นตัวแทนดัง
กล่าว ดังนั น
้ จำาเลยที่ 2,3 เป็ นห้้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิด
ของจำาเลยที่ 1 ต้องร่วมรับผิดต่อโจทก์ด้วยตามมาตรา 1077(2)
แต่ในกรณีนี้กม.มิได้บัญญัติอาย้ความฟ้ องร้องไว้โดยเฉพาะ จึงต้อง
บังคับใช้อาย้ความตามมาตรา 193/30 ซึ่งมีอาย้ความ 10 ปี โดย
เริ่มนั บตัง้ แต่วันที่สัญญาตัวแทนสิ้นส้ดลง
ฎ.2645/2538 เมื่อห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ 1 มีหนี้สินล้นพ้นตัว
จำาเลยที่ 2 เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการจำาเลยที่ 1 :ซึ่งต้องรับผิดในบรรดา
หนี้ของจำาเลยที่ 1 โดยไม่จำากัดจำานวน จึงไม่อาจต่อสู้ว่าตนมี
ทรัพย์สินพอที่จะชำาระหนี้ของจำาเลยที่ 1 หรือมิใช่เป็ นผู้มีหนี้สิน
ล้นพ้นตัว ทัง้ กรณีไม่มีเหต้ที่ไม่ควรให้จำาเลยที่ 2 ล้มละลาย
ฎ.1306/2530 ห้างห้้นส่วน ฮ.มี ส.เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการและเป็ นห้้น
ส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดเพียงคนเดียว ปรากฏว่าห้างห้้น
ส่วนจำากัด ฮ.มีหนี้ภาษีอากรค้างซึ่งจะต้องชำาระแก่จำาเลย แต่ห้างฯ
ไม่ยอมชำาระ ถือได้ว่าเป็ นการผิดนั ดซึ่งตามมาตรา 1070 ประกอบ
ด้วยมาตรา 1080 บัญญัติให้เจ้าหนี้ของห้างห้้นส่วนชอบที่จะเรียก
ให้ชำาระเอาแต่ห้นส่วนผู้จัดการได้ เมื่อห้างฯดังกล่าวเป็ นอันเลิกโดย
ผลของกม.เพราะ ส.ตาย ส.จึงต้องรับผิดในบรรดาหนี้สินของห้าง
ห้้นส่วนนั น
้ อย่างไม่จำากัดตามมาตรา 1077(2) ซึ่งย่อมรวมถึงหนี้
ภาษีอากรค้างด้วย ทรัพย์สินกองมรดกของ ส. จึงตกเป็ นทรัพย์สิน
ของผู้ต้องรับผิดเสียภาษีตามป.รัษฎากรมาตรา 12 วรรคสอง
จำาเลยชอบที่จะยึดทรัพย์สินดังกล่าวของ ส. เพื่อบังคับชำาระหนี้
ภาษีอากรค้างได้
ฎ.4473/2542(ป) มาตรา 1077(2) มาตรา 1087 ระบ้ว่าผู้เป็ นห้น
ส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดต้องร่วมรับผิดในบรรดาหนี้ของ
ห้างโดยไม่จำากัดจำานวนและผู้เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการในห้างห้้นส่วน
จำากัดมีได้เฉพาะห้้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดเท่านั น

เมื่อหนี้ที่เจ้าหนี้นำามาขอรับชำาระหนี้เป็ นหนี้ของลูกหนี้ที่ 1 ซึ่งลูก
หนี้ 2 ในฐานะห้้นส่วนผู้จัดการต้องร่วมกันรับผิดในบรรดาหนี้ของ
ลูกหนี้ที่ 1 โดยไม่จำากัดจำานวน เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาชอบที่จะนำ า
มูลหนี้ดังกล่าวมาขอรับชำาระหนี้จากทัง้ ลูกหนี้ที่ 1 และ 2 ได้

(2) การจดทะเบียนห้างห้้นส่วนจำากัด
มาตรา 1078 วรรคหนึ่ ง อันห้างห้้นส่วนจำากัดนั น
้ ท่านบังคับว่าต้อง
จดทะเบียน การลงทะเบียน ต้องมีรายการ............
ข้อสังเกต
ห้างห้้นส่วนจำากัดต้องจดทะเบียนเป็ นนิ ติบ้คคลตามมาตรา 1078
ผลการจดทะเบียนมีดังนี้
* เป็ นนิ ติบ้คคลต่างหากจากผู้เป็ นห้้นส่วน(ฎ.1012/2493)
* วัตถ้ประสงค์ของห้างก็ต้องจดทะเบียนไว้ให้ชัดเจน
เมื่อจดทะเบียนแล้วห้างห้้นส่วนจำากัดไม่ต้องรับผิดในการกระทำาซึ่ง
อย่น
ู อกขอบวัตถ้ประสงค์ของห้างฯที่จดทะเบียนไว้(ฎ.41/2509)
ถ้าห้างฯได้รับเอาประโยชน์ จากการกระทำาหรือจากสัญญาที่นอก
เหนื อขอบวัตถ้ประสงค์แล้ว ห้างฯก็ต้องรับผิด(2004/251) นอกจาก
นี้ ยังต้องรับผิดในการกระทำาของห้้นส่วนผู้จัดการซึ่งกระทำาภายใน
ขอบวัตถ้ประสงค์(ฎ.1463-4/2518) หรือเกี่ยวเนื่ องกับ
วัตถ้ประสงค์ของห้างห้้นส่วนจำากัด(ฎ.553/2497)

กล่้มที่ ๔ :: ห้างห้้นส่วนจำากัดไม่จดทะเบียน
* ในกรณีที่ห้างห้้นส่วนจำากัดยังไม่ได้จดทะเบียน ความรับผิดของ
ห้้นส่วนจะเป็ นอย่างใด
มาตรา 1079 อันห้างห้้นส่วนจำากัดนั น
้ ถ้ายังมิได้จดทะเบียนอยู่
ตราบใด ท่านให้ถือว่าเป็ นห้างห้้นส่วนสามัญซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วน
ทัง้ หมดย่อมต้องรับผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ของห้างห้้นส่วนโดย
ไม่มีจำากัดจำานวน จนกว่าจะได้จดทะเบียน

* หลักเกณฑ์มาตรา 1079 แยกพิจารณาผลก่อนหรือหลังจด


ทะเบียน
วันที่จดทะเบียน
เป็ นห้้นส่วนสามัญ เป็ นนิ ติบ้คคล
ห้้นส่วนท้กคนรับผิดไม่จำากัดจำานวน รับผิดตามประเภทที่จด
ทะเบียน
* สร้ปหลักกฎหมาย
(1) ก่อนการจดทะเบียนห้้นส่วนท้กคน(รวมทัง้ ผู้ที่จะเป็ นห้้นส่วนที่
จำากัดความรับผิด) ต้องรับผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ของห้างโดยไม่
จำากัดจำานวน
(2) หลังจดทะเบียน ห้างห้้นส่วนจำากัดมีฐานะเป็ นนิ ติบ้คคลแยก
ต่างหากจากผู้เป็ นห้้นส่วน(ดูมาตรา 1015) และห้้นส่วนแต่ละคนรับ
ผิดตามประเภทที่ได้ระบ้ไว้ในการจดทะเบียน

แนวฎีกา
ฎ.992/2521 เดิมจำาเลยที่ 2 ประกอบกธ้รกิจการค้าอยู่ก่อนแล้ว
ต่อมาได้ขยายกิจการโยตัง้ เป็ นห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ 1 ขึ้นมา
มีบ้ตรภริยาของจำาเลยที่ 2 เป็ นห้้นส่วน จำาเลยที่ 2 เป็ นห้้นส่วนผู้
จัดการ แต่ยังไม่ได้จดทะเบียนเป็ นห้างห้้นส่วนจำากัด ระหว่างนั น

จำาเลยที่ 2 สัง่ ซื้อสินค้าจากโจทก์ในนามห้างฯจำาเลยที่ 1 ดังนั น
้ แม้
มาตรา 1078 จะบังคับว่าห้างห้้นส่วนจำากัดต้องจดทะเบียน แต่
มาตรา 1079 ก็บัญญัติไว้ว่า ถ้ายังมิได้จดทะเบียนอยู่ตราบใด ท่าน
ให้ถือว่าเป็ นห้างห้้นส่วนสามัญ ซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หมดย่อมต้องรับ
ผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ของห้างห้้นส่วนโดยไม่จำากัดจำานวนจนกว่า
จะได้จดทะเบียน ดังนั น
้ จำาเลยที่ 2 ผู้เป็ นห้้นส่วนจึงต้องรับผิดใน
บรรดาหนี้สินของห้างห้้นส่วนจำาเลยที่ 1 อันมีอยู่ก่อนที่ได้จด
ทะเบียน
ฎ.4193/2533 จำาเลยได้ตกลงนำ าที่ดินมาลงห้้นตัง้ แต่ห้าง พ.ยังมิได้
จดทะเบียนเป็ นห้างห้้นส่วนจำากัด ในขณะนั น
้ ห้าง พ.จึงไม่มีสภาพ
เป็ นนิ ติบ้คคล แต่ถือว่าเป็ นห้างห้้นส่วนสามัญตามมาตรา 1079
เมื่อจำาเลยนำ าที่ดินมาลงห้้นกรรมสิทธิใ์ นที่ดินจึงตกเป็ นของห้าง
พ.ตัง้ แต่นัน
้ เป็ นต้น ส่วนมาตรา 1030 บัญญัติว่าความเกี่ยวพัน
ระหว่างผู้เป็ นห้้นส่วนกับห้างในเรื่องส่งมอบให้บังคับตามบทบัญญัติ
ว่าด้วยซื้อขายนั น
้ เป็ นเรื่องการส่งมอบทรัพย์หาได้บัญญัติเกี่ยวกับ
กรรมสิทธิไ์ ม่ ฉะนั น
้ ในระหว่างจำาเลยกับห้าง พ.ต้องถือว่า
กรรมสิทธิใ์ นที่ดินได้ตกเป็ นของห้าง พ.ตัง้ แต่เวลาที่นำามาลงห้้น
แล้ว จำาเลยหาอาจจะอ้างเอาการไม่จดทะเบียนมาเป็ นเหต้ว่าที่ดิน
ยังคงเป็ นของตนได้ไม่(ฎ.794/2536 ทำานองเดียวกัน)

ข้อสังเกต
เมื่อห้างห้้นส่วนสามัญได้จดทะเบียนเป็ นห้างห้้นส่วนจำากัดแล้ว
ย่อมมีผลให้ห้างห้้นส่วนจำากัดนั น
้ มารับผิดในหนี้ที่ผู้เป็ นห้้นส่วนได้
จัดทำาไปในทางที่เป็ นธรรมดาการค้าขายของห้างนั น
้ ด้วย แม้จะเป็ น
หนี้ที่เกิดก่อนการจดทะเบียนห้างก็ตาม(ฎ.386/2519) ทัง้ นี้ เพราะ
ถือว่าเป็ นหนี้ของห้างห้้นส่วนนั น
้ เอง ส่วนผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่
จำากัดความรับผิดด้วยกัน ก็ต้องรับผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ห้างตาม
มาตรา 1077(2) แม้เมื่อห้างห้้นส่วนจะได้จดทะเบียนแล้ว
(ฎ.992/2521)
ฎ.386/2519(ออกสอบเนติฯสมัยที่ 54) จำาเลยที่ 3,4 ได้ร่วมกับ
จำาเลยที่ 2 ตัง้ โรงงานแก้วขึ้นผลิตขวดยาและเครื่องแก้วออก
จำาหน่ ายหากำาไร ในระหว่างที่โรงงานแห่งนี้ยังมิได้จดทะเบียนเป็ น
ห้างห้้นส่วนจำากัด จำาเลยที่ 2 ได้ซ้ ือสินค้าจากโจทก์เพื่อนำ าไปใช้ใน
กิจการของโรงงานแล้วไม่ชำาระราคา จำาเลยที่ 3.,4 ต้องรับผิดหนี้ค่า
ซื้อสินค้านั น
้ ร่วมกับจำาเลยที่ 2 ตามมาตรา 1079 และต่อมาโรงงาน
นั น
้ ได้จดทะเบียนเป็ นห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ 1 จำาเลยที่ 1 ก็
ต้องร่วมผิดในหนี้รายนี้ด้วย (หมายเหต้ ฎีกาที่ 386/2519 คดีนี้
ศาลตัดสินให้นิติบ้คคลซึ่งจดทะเบียนภายหลัง ต้องรับผิดในหนี้ที่
เกิดขึ้นก่อนการจดทะเบียนห้างห้้นส่วนจำากัด เพราะข้อเท็จจริง
ปรากฏว่าห้างได้ใช้ประโยชน์ จากกิจการหรือการกระทำาที่เกิดขึ้น
ก่อนการจดทะเบียน)

#8
2 March 2009, 15:10

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี

(3) การนำ าบทบัญญัติของห้างห้้นส่วนสามัญมาใช้กับห้างห้้นส่วน


จำากัดโดยอน้โลมมาตรา 1080
มาตรา 1080 บทบัญญัติว่าด้วยห้างห้้นส่วนสามัญข้อใดๆหากมิได้
ยกเว้นหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงไปโดยบทบัญญัติแห่งหมวด 3 นี้
ท่านให้นำามาใช้บังคับแก่ห้างห้้นส่วนจำากัดด้วย
ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดนั น
้ มีอยู่หลายคนด้วย
กัน ท่านให้ใช้บทบัญญัติสำาหรับห้างห้้นส่วนสามัญเป็ นวิธีบังคับใน
ความเกี่ยวพันระหว่างคนเหล่านั น
้ เอง และความเกี่ยวพันระหว่างผู้
เป็ นห้้นส่วนเหล่านั น
้ กับห้างห้้นส่วน

ตัวอย่าง เช่น
* ผู้เป็ นห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิดจะต้องรับผิดในหนี้ของห้าง ต่อ
เมื่อห้างผิดนั ดตามมาตรา 1070 ประกอบด้วยมาตรา
1080(ฎ.1306/2530,490/2520)
* ห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิดออกไปจากแล้วต้องรับผิดในหนี้ที่เกิด
ขึ้นก่อนที่ตนจะออกไปมีกำาหนดเวลา 1 ปี ตามมาตรา
1068(ฎ.3103/2533,3301/2534)
ฎ.3103/2533 จำาเลยที่ 3 เคยเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการของจำาเลยที่ 1
ตัง้ แต่วันที่ 13 กรกฏาคม 2514 ถึง 7 กันยายน 2526 โจทก์ฟ้อง
คดีนี้เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2528 ก่อนครบกำาหนด 2 ปี นั บแต่
จำาเลยที่ 3 ออกจากห้้นส่วนผู้จัดการ จำาเลยที่ 3 จึงยังคงรับผิดใน
หนี้ของห้างอยู่ตามมาตรา 1068 ,1080 วรรคหนึ่ ง
* ห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิดในห้างห้้นส่วนจำากัด ห้ามไม่ให้ทำาการ
ค้าแข่งขันกับห้าง โดยนำ ามาตรา 1066,1067 ของห้างห้้นส่วนจด
ทะเบียนมาใช้ (ไม่นำามาตรา 1038 มาใช้บังคับ)

(4) ข้อจำากัดสิทธิของห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
ตามที่กฎหมายได้จำากัดความรับผิดของห้้นส่วนประเภทจำากัดความ
รับผิดไว้ไม่เกินจำานวนห้้นที่รับจะลงห้้นส่วน ดังนั น
้ จึงต้องจำากัด
สิทธิบางประการ
4.1 ห้ามเอาชื่อมาเรียกขานระคนปนชื่อห้าง
มาตรา 1081 ห้ามมิให้เอาชื่อของผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความ
รับผิดมาเรียกขานระคนเป็ นชื่อห้าง

มาตรา 1082 ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดคนใด


ยินยอมโดยแสดงออกชัดหรือโดยปริยายให้ใช้ช่ ือของตนระคนเป็ น
ชื่อห้างไซร้ ท่านว่าผู้เป็ นห้้นส่วนคนนั น
้ จะต้องรับผิดต่อบ้คคล
ภายนอกเสมือนดังว่าเป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดฉะนั น

แต่ในระหว่างผู้เป็ นห้้นส่วนกันเองนั น
้ ความรับผิดของผู้เป็ นห้้น
ส่วนเช่นนี้ ท่านให้คงบังคับตามสัญญาห้้นส่วน
ข้อสังเกต
1) เหต้ผลที่กฏหมายห้ามเพราะอาจทำาให้บ้คคลภายนอกเข้าใจผิด
ว่าเป็ นห้้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดซึ่งสามารถดำาเนิ นกจิ
การงานของห้างได้ กฎหมายจึงให้รับผิดชอบต่อบ้คคลภายนอก
เสมือนเป็ นห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิด แต่บ้คคลภายนอกจะถือ
เอาประโยชน์ ได้ต้องเป็ นบ้คคลภายนอกที่ส้จริตตามมาตรา 5
เท่านั น
้ คือหลงผิดหรือไม่รู้ว่าบ้คคลนั น
้ เป็ นห้้นส่วนประเภทใด
ตัวอย่าง ห้างห้้นส่วนจำากัดลิลลี่ชูธรรมจำากัด มีชูธรรมเป็ นห้้นส่วน
จำาพวกไม่จำากัดความรับผิด และลิลลี่เป็ นห้้นส่วนจำากัดความรับผิด
เป็ นบ้คคลภายนอกนายสดใสจำานวน 50 ล้านบาท หากห้างผิดนั ด
ชำาระหนี้ นายสดใสมีสิทธิเรียกให้ลิลลี่ชำาระได้เต็มจำานวน 50 ล้าน
บาท เพราะลิลลีย
่ ินยอมให้ห้างใช้ช่ ือของตนระคนปนชื่อห้าง ต้อง
รับผิดต่อบ้คคลภายนอกเสมือนห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิด
2) "ชื่อ" ตามมาตรา 1081,1082 หมายถึงชื่อสก้ลด้วย เมื่อจำาเลยที่
4,5 ซึ่งเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดยอมให้ใช้ช่ ือสก้ลของ
ตนระคนปนชื่อห้าง จำาเลยที่ 4,5 จึงต้องรับผิดต่อโจทก์ซ่ ึงเป็ น
บ้คคลภายนอกเสมือนเป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิด
(ฎ.1286/2532)

4.2 ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดแสดงให้บ้คคลภายนอกเข้าใจ
ว่าตนลงห้้นไว้มากกว่าที่ได้จดทะเบียนต้องรับผิดเท่าถึงจำานวน
เพียงนั น

มาตรา 1085 ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดได้แสดงตน
ด้วยจดหมายหรือใบแจ้งความหรือด้วยวิธีอย่างอื่นให้บ้คคล
ภายนอกทราบว่าตนได้ลงห้้นไว้มากว่าจำานวนซึ่งได้จดทะเบียน
เพียงใด ท่านว่าผู้นัน
้ จะต้องรับผิดเท่าถึงจำานวนนั น

ข้อสังเกต เหต้ผลมาตรานี้ก็คล้ายกับมาตรา 1081,1082


ส่วน วิธีการที่แสดงออกเช่น แสดงด้วยจดหมาย/ใบแจ้งความ หรือ
ด้วยวิธีอ่ ืนใด
ตัวอย่าง ทาทาเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดจำานวนเพียง
900,000 บาท ในห้างห้้นส่วนจำากัดดนตรีสยาม จำากัด แต่ทาทาได้
ค้ยโม้กับบ้คคลภายนอกว่าตนลงห้้นไว้ 10,000,000 บาท ทาทา
ต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอกจำานวน 10,000,000 บาท ไม่ใช่รับผิด
เพียง 900,000 บาท

4.3 ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดจะจัดการงานของห้างห้้นส่วน
จำากัดไม่ได้
มาตรา 1087 อันห้างห้้นส่วนจำากัดนั น
้ ท่านว่าต้องให้แต่เฉพาะผู้
เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดเท่านั น
้ เป็ นผู้จัดการ
ข้อสังเกต
(1) ต้องจำาครับ กฎหมายกำาหนดให้เฉพาะห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัด
ความรับผิดเท่านั น
้ ทีจ
่ ะเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการ
(ฎ.4473/2542(ป),8840/2543,650/2545) แต่ห้นส่วนจำาพวก
จำากัดความรับผิดเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการไม่ได้ แต่ถ้าห้้นส่วนจำาพวก
จำากัดสอดเข้าไปจัดการงานของห้างห้้นส่วนจำากัด ห้้นส่วนจำาพวก
จำากัดต้องรับผิดแบบไม่จำากัดต่อบ้คคลภายนอกตามมาตรา 1088
ฎ. 4473/2542(ป) มาตรา 1077(2) และ 1087 ระบ้ว่าผู้เป็ นห้้น
ส่วนประเภทไม่จำากัดความรับิดต้องร่วมรับผิดในบรรดาหนี้ของห้าง
โดยไม่จำากัดจำานวนและผู้เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการจะมีได้เฉพาะห้้นส่วน
ประเภทไม่จำากัดความรับผิดเท่านั น
้ เมื่อหนี้ที่เจ้าหนี้นำามาขอรับ
ชำาระหนี้เป็ นของลูกหนี้ที่ 1 ซึ่งเป็ นลูกหนี้ที่ 2 ในฐานะห้้นส่วนผู้
จัดการต้องรับผิดในบรรดาหนี้ของลูกหนี้ที่ 1 โดยไม่จำากัดจำานวน
เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาชอบที่จะนำ ามูลหนี้ดังกล่าวมาขอรับชำาระหนี้
จากลูกหนี้ทัง้ สองได้
(2) ตามหนั งสือรับรองการจดทะเบียนห้างห้้นส่วนจำากัดไม่มีข้อ
กำาหนดว่าการลงลายมือชื่อของห้้นส่วนผู้จัดการต้องประทับตราห้าง
ด้วย ดังนั น
้ เมื่อผู้เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการกระทำาแทนห้าง แม้จะไม่ได้
ประทับตราห้าง ก็ผูกพันห้างห้้นส่วนจำากัดด้วย(ฎ.3344/2541)
ฎ.3344/2541 โจทก์แจ้งว่าให้จำาเลยที่ 1 นำ าเงินค่าไม้ส่วนที่ค้าง
ชำาระไปชำาระแก่โจทก์ แม้จำาเลยที่ 2 :ซึ่งเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการของ
ห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ 1 ได้ลงลายมือชื่อในหนั งสือรับสภาพหนี้
โดยไม่มีตราสำาคัญของจำาเลยที่ 1 ประทับก็ตาม แต่จำาเลยที่ 2 เป็ น
ห้้นส่วนผู้จัดการของจำาเลยที่ 1 ต้องร่วมรับผิดในฐานะส่วนตัวกับ
จำาเลยที่ 1 ด้วย ซึ่งตามหนั งสือรับรองการจดทะเบียนก็ไม่มีข้อ
จำากัดอำานาจห้้นส่วนผู้จัดการและไม่มีข้อกำาหนดว่าการลงลายมือชื่อ
ของจำาเลยที่ 2 ต้องประทับตราห้างจำาเลยที่ 1 ด้วย จึงมีอำานาจทำา
แทนจำาเลยที่ 1 และมีผลทำาให้อาย้ความสะด้ดหย้ดลงในวันทีท
่ ำา
บันทึกตามมาตรา 193/14(1) และให้เริ่มนั บอาย้ความใหม่ตัง้ แต่
นั น
้ ตามมาตรา 193/15
(3) ผู้เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการซึ่งได้พ้นจากห้้นส่วนผู้จัดการไปแล้ว แต่
ยังคงกระทำาในลักษณะที่จัดการงานของห้าง และห้างก็ทราบถึง
การกระทำาดังกล่าวดี ทัง้ ยังยอมรับเอาการนั น
้ เป็ นการเชิดอดีตห้้น
ส่วนผู้จัดการดังกล่าวจากการเป็ นตัวแทนของห้างตามมาตรา 821
จึงต้องรับผิดต่อบ้คคลภายนอกผู้ส้จริต ในการกระทำาของอดีตห้้น
ส่วนผู้จัดการซึ่งเป็ นตัวแทนเชิดนั น
้ ด้วย(ฎ.2579/2516)
(4) การฟ้ องคดีถือเป็ นการจัดงานของห้างห้้นส่วนจำากัดด้วย และ
เฉพาะแต่ห้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดเท่านั น
้ ที่มีอำานาจฟ้ อง
ห้้นส่วนจำากัดความรับผิดหาได้มีอำานาจไม่
(ฎ.930/2537,2337/2519)
ฎ.2337/2519 การที่ห้นส่วนผู้จัดการของห้างห้้นส่วนจำากัดโอนขาย
ที่ดินของห้างห้้นส่วนจำากัดเพื่อชำาระหนี้จำานองของห้างเป็ นการจัด
กิจการของห้างอย่างหนึ่ งซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการมีอำานาจหน้ าที่ที่
จะทำาได้ ผู้เป็ นห้้นส่วนจำากัดความรับผิดไม่มีอำานาจฟ้ องขอให้เพิก
ถอนการโอนขายที่ดินดังกล่าว เพราะการฟ้ องคดีเป็ นการจัดกิจการ
ของห้างอย่างหนึ่ งซึ่งเป็ นอำานาจของห้้นส่วนผู้จัดการ ผู้เป็ นห้้นส่วน
จำากัดความรับผิดไม่มีอำานาจฟ้ อง
ฎีกาเพิ่มเติม
ฎ.2539-40/2529 ห้้นส่วนผู้จัดการของห้างห้้นส่วนจำากัดโจทก์มี 3
คน และไม่มีข้อจำากัดอำานาจของห้้นส่วนผู้จัดการ ห้้นส่วนผู้จัดการ
คนใดคนหนึ่ งย่อมมีสิทธิกระทำากจิการในนามของห้างโจทก์ได้ การ
ที่ น.ห้้นส่วนผู้จัดการคนหนึ่ งมอบอำานาจให้ จ.ฟ้ องคดีจึงเป็ นการ
ชอบแล้ว(ฎ.1382/2519 ทำานองเดียวกัน)

4.4 การสอดเข้าไปจัดการงานของห้างห้้นส่วนจำากัดของห้้นส่วน
ประเภทจำากัดความรับผิด
มาตรา 1088 ถ้าผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดผู้ใดสอด
เข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างห้้นส่วน ท่านว่าผู้นัน
้ จะต้องรับ
ผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ทัง้ หลายของห้างห้้นส่วนนั น
้ โดยไม่จำากัด
จำานวน
แต่การออกความเห็นและแนะนำ าก็ดี ออกเสียงเป็ นคะแนนนับใน
การตัง้ และถอดถอนผู้จัดการตามกรณีที่มีบังคับไว้ในสัญญาห้้นส่วน
นั น
้ ก็ดี ท่านหานับว่าเป็ นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของ
ห้างห้้นส่วนนั น
้ ไม่
ข้อสังเกต มาตรา 1088 วรรคแรก ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ดังนี้
(1) เฉพาะห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
(2) สอดเข้าไป(Interfers) เกี่ยวข้องจัดการงานของห้างห้้นส่วน
(ตามกฎหมายห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดเท่านั น
้ ที่มีอำานาจ
จัดการงานของห้างตามที่ได้อธิบายมาในมาตรา 1087)
- สอดเข้าไป(Interfers)หมายถึงการที่เข้าไปเกี่ยวข้องในทางขัด
ขวางหรือในทางช่วยเหลือก็ได้
- สอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้าง หมายความถึง
ก.การเข้าไปจัดการงานของห้าง ทัง้ ที่ได้รับมอบหมายหรือยินยอม
เห็นชอบจากผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นหรือผู้จัดการ
(ฎ.1880/2514,2066/2545,2448/2518 เนติฯสมัยที่ 56
691/2524)
ฎ.1880/2514 ห้างห้้นส่วนจำากัดมอบอำานาจให้ห้นส่วนจำาพวกจำากัด
ความรับผิดผู้หนึ่ งกระทำาการแทนห้าง เมื่อห้้นส่วนนั น
้ ได้ทำาสัญญา
ขายปอให้แก่โจทก์ในนามของห้างห้้นส่วน ห้างห้้นส่วนต้องรับผิด
ต่อโจทก์ตามสัญญาที่ห้นส่วนได้ทำาไว้นัน
้ การที่ห้นส่วนจำาพวก
จำากัดความรับผิดได้เข้าทำาสัญญาขายปอในนามของห้างห้้นส่วน
จำากัดโดยลงชื่อตนเองและประทับตราของห้าง ถือว่าเป็ นการสอด
เข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างห้้นส่วน ห้้นส่วนผู้นัน
้ จึงต้องรับ
ร่วมรับผิดชอบตามสัญญาด้วย
ฎ.2066/2545 จำาเลยที่ 2 ซึ่งเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการต้องรับผิดร่วม
กับห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ 1 ส่วนจำาเลยที่ 3 ซึ่งเป็ นห้้นส่วน
จำาพวกจำากัดความรับผิด แต่เป็ นผู้ติดต่อส่งสินค้าไปยังต่างประเทศ
และได้รับมอบอำานาจจากจำาเลยที่ 1 ให้สัง่ จ่ายเช็คได้ทัง้ จำาเลยที่ 3
ยังได้ทำาบันทึกความเข้าใจพร้อมประทับตราสำาคัญของจำาเลยที่ 1
ด้วย โดยทำาในนามของจำาเลยที่ 1 ถือได้ว่าจำาเลยที่ 3 ซึ่งเป็ นห้้น
ส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของ
จำาเลยที่ 1 จำาเลยที่ 3 จึงต้องรับผิดร่วมกับจำาเลยที่ 1,2 ต่อโจทก์
โดยไม่จำากัดความรับผิดตามมาตรา 1088 วรรคหนึ่ ง

ข.การเข้าไปจัดการโดยพลการที่ไม่ได้รับมอบหมายให้กระทำา
ตัวอย่าง ห้างห้้นส่วนจำากัดฟ้ าใส มีนายฑิตเป็ นห้างห้้นส่วนผู้จัดการ
มีนายย้ติเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด นายฑิตไปต่าง
ประเทศจึงได้มอบหมายให้นายย้ติเป็ นผู้จัดการงานของห้างแทน
ตนที่ไปต่างประเทศ ถือว่านายย้ติห้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
เข้าไปจัดการงานของห้างถือว่าเป็ นการสอดเข้าจัดการงานของห้าง

(3) ห้้นส่วนผู้จำาพวกจำากัดความรับผิดผู้นัน
้ ต้องรับผิดในบรรดาหนี้
ของห้าง โดยไม่จำากัดจำานวน
ข้อควรระลึกอยู่เสมอ การรับผิดไม่จำากัดจำานวนกรณีที่ห้นส่วน
จำาพวกจำากัดความรับผิดสอดเข้าไปจัดการงานของห้างต้องเป็ น
เรื่องที่เกี่ยวข้องกับบ้คคลภายนอก และรับผิดไม่จำากัดจำานวน
เฉพาะที่ตนสอดเข้าไปจัดการเท่านั น
้ แต่ระหว่างห้้นส่วนด้วยกันเอง
ก็ยังรับผิดจำากัดจำานวนตามสัญญาเดิม(ดูฎ.5844/2537 เป็ นฎีกาที่
น่ าสนใจ)
หากบ้คคลภายนอกสอดเข้าไปจัดการงานของห้าง กรณีไม่ต้องด้วย
มาตรา 1088 เพราะมาตรา 1088 ใช้ในกรณีที่ห้นส่วนจำาพวกจำากัด
ความรับผิดสอดเข้าไปจัดการงานของห้าง(ฎ.3452/2529)

ฎ.3452/2529 โจทก์ที่ 1 เป็ นห้างห้้นส่วนจำากัดมิใช่ห้างห้้นส่วน


สามัญ หลังจาก ส.ห้้นส่วนผู้จัดการโจทก์ที่ 1 ตาย แม้โจทก์ที่ 2 ซึ่ง
เป็ นภริยาของส. และเป็ นผู้จัดการมรดกส. จะได้เข้าไปดำาเนิ น
กิจการของโจทก์ที่ 1 ก็หามีผลให้โจทก์ที่ 2 ต้องกลายเป็ นห้้นส่วน
และต้องรับผิดในหนี้ของโจทก์ที่ 1 ไม่ ทัง้ มิใช่เป็ นกรณีที่ห้นส่วน
ประเภทจำากัดความรับผิดของโจทก์ที่ 1 สอดเข้าไปเกี่ยวข้อง
จัดการงานของห้างห้้นส่วนอันจะมีผลให้โจทก์ที่ 2 ต้องรับผิดใน
บรรดาหนี้ของห้างห้้นส่วนโดยไม่จำากัดจำานวนด้วย
ฎ.5844/2537 กรณีตามมาตรา 1088 วรรคหนึ่ ง ซึ่งบัญญัติว่าถ้าผู้
เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดผู้ใดสอดเข้าไปเกี่ยวข้อง
จัดการงานของห้างห้้นส่วนท่านว่าผู้นัน
้ จะต้องรับผิดร่วมกันใน
บรรดาหนี้ทัง้ หลายของห้างห้้นส่วนนั น
้ โดยไม่จำากัดจำานวนนั น
้ เป็ น
บทบัญญัติเพื่อค้้มครองบ้คคลภายนอกเนื่ องจากบ้คคลภายนอกอาจ
ไม่ทราบว่าผู้ใดเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้ใดเป็ นห้้นส่วนจำาพวกใด
ส่วนระหว่างห้้นส่วนด้วยกันเองผู้เป็ นห้้นส่วนท้กคนทราบดีอยู่แล้ว
ว่าผู้ใดเป็ นห้้นส่วนจำาพวกใด และมีหน้ าที่อย่างใดหากยินยอมให้มี
การกระทำาผิดหน้ าที่ ผู้ที่ให้ความยินยอมไม่มีสิทธิจะอ้างกฎหมาย
มาตราดังกล่าวขึ้นบังคับผู้เป็ นห้้นส่วนด้วยกันอย่างบ้คคลภายนอก
ได้ กรณีของผู้เป็ นห้้นส่วนด้วยกันต้องบังคับตามสัญญาห้างห้้นส่วน

ข้อควรระมัดระวัง
ห้้นส่วนจำากัดที่สอดเข้าไปจัดงานของห้างไม่ต้องรับผิดในหนี้ที่เกี่ยว
กับการจ้างแรงงานของห้าง(ฎ.2510.2523,2510/2526)
ฎ.2510/2526 ห้้นส่วนจำากัดความรับผิดสอดเข้าไปจัดการงานของ
ห้าง ถึงแม้จะสอดเข้าไปจัดการงานของห้าง ก็ไม่ต้องรับผิดในหนี้
สินที่เกี่ยวกับการจ้างแรงงานของลูกจ้างห้าง เพราะหนี้ดังกล่าวเป็ น
หนี้ที่นายจ้างต้องรับผิดต่อนายจ้าง ห้้นส่วนจำากัดความรับผิดไม่มี
ความสัมพันธ์ในฐานะนายจ้างจึงไม่ต้องรับผิด
บทบัญญัติมาตรา 1088 เป็ นกรณีที่ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัด
ความรับผิดทำาผิดหน้ าที่ จึงต้องรับผิดในหนี้อันเกี่ยวกับกิจการที่
สอดเข้าไปเกี่ยวข้องต่อบ้คคลภายนอก มิใช่ต้องรับผิดในหนี้อันเกิด
จากความสัมพันธ์ในฐานะนายจ้างและลูกจ้าง
ข้อสังเกตมาตรา 1088 วรรสอง
มาตรา 1088 วรรคสอง แต่การออกความเห็นและแนะนำ าก็ดี ออก
เสียงเป็ นคะแนนนับในการตัง้ และถอดถอนผู้จัดการตามกรณีที่มี
บังคับไว้ในสัญญาห้้นส่วนนั น
้ ก็ดี ท่านหานั บว่าเป็ นการสอดเข้าไป
เกี่ยวข้องจัดการงานของห้างห้้นส่วนนั น
้ ไม่
* หลักเกณฑ์ กรณีที่ไม่ถือว่าเป็ นการสอดเข้าไปจัดการ
(1) การออกความเห็นและนำ านำ า
(2) การออกเสียงเป็ นคะแนนนั บในการตัง้ และถอดถอนผู้จัดการ
ในกรณีที่สัญญาตัง้ ห้างห้้นส่วนบังคับไว้(ฎ.3051/2529 เนติฯสมัยที่
47)
ฎ.3051/2529 ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด จะตัง้ หรือ
ถอดถอนผู้จัดการห้างห้้นส่วนจำากัดได้ก็แต่โดยสัญญาห้างห้้นส่วน
เท่านั น
้ ตามมาตรา 1088 วรรคสอง หากไม่มีสัญญาห้างห้้นส่วนให้
สิทธิไว้ ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดไม่มีสิทธิเข้าไปออก
ความคิดเห็น แนะนำ าหรือลงคะแนนตัง้ หรือถอดถอนผู้จัดการงาน
ของห้างห้้นส่วน

แนวฎีกามาตรา 1088 เพิ่มเติม


พฤติการณ์ที่ถือว่าเป็ นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องกับการจัดการงาน
ของห้างเช่น ทำาสัญญาแทนห้างห้้นส่วน
จำากัด(ฎ.1880/2514,2313/2527,264/2530,2019/2535,17/2536
)
ฎ.2019/2535 ห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ ยินยอมให้จำาเลยที่ 3 ห้้น
ส่วนจำากัดความรับผิดเข้าทำาสัญญาว่าจ้างโจทก์แทนจำาเลยที่ 1 โดย
จำาเลยที่ 3 เป็ นผู้ตัดสินใจต่อรองราคาได้เอง รวมทัง้ เพิ่มงานบาง
ส่วนเองโดยจำาเลยที่ 3 ไม่มีหน้ าที่ ถือได้ว่าจำาเลยที่ 3 สอดเข้า
เกี่ยวข้องกับการจัดการงานของจำาเลยที่ 1 แล้วจำาเลยที่ 3 ต้องรับ
ผิดในบรรดาหนี้สินของจำาเลยที่ 1 โดยไม่จำากัดจำานวนตามมาตรา
1088
ลงลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็คเพื่อชำาระหนี้ของ
ห้าง(ฎ.691/2524,3699/2528,1804/2532,1497/2537)
ฎ.3699/2528 จำาเลยที่ 3 ซึ่งเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
ของห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ 1 ลงลายมือชื่อสัง่ จ่ายเช็คเพื่อชำาระ
หนี้ค้าสินค้าที่จำาเลยที่ 1 เป็ นหนี้โจทก์ การกระทำาของจำาเลยที่ 3
เป็ นการสอดเข้าไปเกี่ยวข้องจัดการงานของห้างห้้นส่วน จึงต้องรับ
ผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ทัง้ หลายของห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ 1
ตามมาตรา 1088 วรรคแรก

#9
2 March 2009, 15:11

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี

(5) สิทธิของห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
5.1 ผู้เป็ นห้้นส่วนจำากัดความรับผิดเป็ นผู้ชำาระบัญชีได้
มาตรา 1085 ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดนั น
้ จะตัง้ ให้
เป็ นผู้ชำาระบัญชีของห้างห้้นส่วนก็ได้
ข้อสังเกต
(1) แม้ห้างห้้นส่วนจำากัดจะได้เลิกกันแล้ว แต่ถ้ายังอยู่ในระหว่าง
การชำาระบัญชีห้าง ต้องถือว่าห้างห้้นส่วนจำากัดนั น
้ ยังคงตัง้ อยู่ตลอด
เวลาที่จำาเป็ นเพื่อการชำาระบัญชี(ฎ.490/2518,2183/2518)
๋ สัญญา
ฎ.490/2518 ผู้จัดการห้างห้้นส่วนซึ่งเป็ นผู้ชำาระบัญชีออกตัว
ใช้เงินในฐานะผู้จัดการห้างห้้นส่วนนิ ติบ้คคล ถือว่าห้างห้้นส่วนยัง
คงอยู่ตลอดเวลาที่จำาเป็ นเพื่อชำาระบัญชี ห้างห้้นส่วนต้องรับผิดตาม
๋ นั น
ตัว ้
(2) แม้ห้างห้้นส่วนจำากัดได้จดทะเบียนเลิกห้างต่อนายทะเบียนแล้ว
แต่การชำาระบัญชีห้างยังไม่เสร็จสิ้นลงนั น
้ สภาพนิ ตบ
ิ ้คคลของห้าง
ยังคงอยู่ ยังไม่สิ้นส้ดลง(ฎ.2390/2541)
ฎ.2390/2541 แม้ห้างห้้นส่วนจำากัดจำาเลยที่ 1 จดทะเบียนเลิกห้าง
ต่อนายทะเบียนไว้แล้ว ก่อนจะถูกโจทก์ฟ้องให้ล้มละลาย แต่การ
ชำาระบัญชีก็ยังไม่เสร็จ ถือได้ว่าสภาพนิ ติบ้คคลของจำาเลยที่ 1 ยัง
คงอยู่ต่อไป โจทก์มีอำานาจฟ้ อง
5.2 ห้้นส่วนจำากัดความรับผิดสามารถดำาเนิ นกิจการค้าขายแข่งกับ
ห้างห้้นส่วนจำากัดที่ตนเป็ นห้้นส่วนได้
มาตรา 1090 ผู้เป็ นห้้นส่วนจำากัดความรับผิดจะประกอบการค้าขาย
อย่างใดๆเพื่อประโยชน์ ตนหรือเพื่อประโยชน์ บ้คคลภายนอกก็ได้
แม้ว่าการเช่นนั น
้ จะมีสภาพเป็ นอย่างเดียวกันกับการค้าขายของ
ห้างห้้นส่วนก็ไม่ห้าม
ข้อสังเกต เบื้องหลังมาตรา 1090 เนื่ องจากห้้นส่วนจำาพวกจำากัด
ความรับผิดไม่มีอำานาจจัดการงานของห้าง(มาตรา 1087 ห้้นส่วน
จำาพวกไม่จำากัดความรับผิดเท่านั น
้ ที่เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการ) ต่างกับ
ห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิด นั น
้ กฎหมายห้ามประกอบ
กิจการค้าที่มีสภาพด้จเดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับห้างตาม
มาตรา 1066 ประกอบมาตรา 1080

5.3 การโอนห้้นของห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด
มาตรา 1091 ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดจะโอนห้้นของ
ตนปราศจากความยินยอมของผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นๆก็ได้
เหต้ผล เนื่ องจากค้ณสมบัติของผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับ
ผิดในห้างห้้นส่วนจำากัดไม่ใช่สาระสำาคัญ
ฎ.5562/2538 (เนติฯสมัยที่ 55) มาตรา 1080,1040 เป็ นกรณีที่ผู้
เป็ นห้้นส่วนของห้างห้้นส่วนสามัญจะโอนห้้นของตนให้บ้คคล
ภายนอกหรือชักนำ าบ้คคลภายนอกเข้ามาเป็ นห้้นส่วนโดยไม่ได้รับ
ความยินยอมจากผู้เป็ นห้้นส่วนทัง้ หมดไม่ได้ บทบัญญัติดังกล่าวนำ า
มาใช้กับห้างห้้นส่วนจำากัดด้วยโดยอน้โลม
ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดจะโอนห้้นขงอตนให้บ้คคล
ภายนอกโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้เป็ นห้้นส่วนอื่นไม่ได้ แต่
สำาหรับห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดนั น
้ จะโอนห้้นให้แก่บ้คคล
ภายนอกได้โดยลำาพัง ไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เป็ นห้้นส่วน
คนอื่นตามมาตรา 1091 บัญญัติไว้ เพราะผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวก
จำากัดความรับผิดมีสิทธิ อำานาจหน้ าที่และความรับผิด ค้ณสมบัติ
ของผู้ที่จะเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดมิใช่สาระสำาคัญ และ
การเป็ นห้้นส่วนจำาพวกดังกล่าวไม่เป็ นการเฉพาะตัว ดังนั น
้ เมื่อ
โจทก์ที่ 1 เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด โจทก์ที่ 1 จึงอาจ
โอนห้้นส่วนของตนได้เองโดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เป็ น
ห้้นส่วนอื่น(ให้ฎ.1227/2481,464/2501 ทำานองเดียวกัน)

* สร้ปหลักกฎหมาย
1. ห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิด ในการโอนห้้นให้บ้คคบล
ภายนอกต้องได้รับความยินยอมจากห้้นส่วนท้กคน
2. ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด ในการโอนห้้นให้บ้คคลอื่น ไม่
ต้องได้รับความยินยอมจากห้้นส่วนคนอื่น
5.4 ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดตาย/ล้มละลาย/เป็ นคน
ไร้ความสามารถ
มาตรา 1092 การที่ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดตายก็ดี
ล้มละลาย หรือตกเป็ นคนไร้ความสามารถก็ดี หาเป็ นเหต้ให้ห้างห้้น
ส่วนจำากัดต้องเลิกกันไม่ เว้นแต่จะได้มีข้อสัญญากันไว้เป็ นอย่างอื่น
ข้อสังเกต จากมาตรา 1090-1092 ในห้างห้้นส่วนจำากัด กม.มิได้
ถือค้ณสมบัติของห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดเป็ นสาระสำาคัญ

มาตรา 1092 ห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด ตาย/ล้มละลาย/ตก


เป็ นคนไร้ความสามารถ ห้างห้้นส่วนจำากัดไม่เลิกกัน เว้นแต่ข้อ
สัญญาห้างห้้นส่วนจะตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น
แต่ถ้าห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดต้องพิจารณานำ ามาตรา
1080 มาใช้บังคับประกอบด้วยมาตรา 1055(5) หากห้้นส่วนไม่
จำากัดความรับผิด ตาย/ล้มละลาย/ตกเป็ นคนไร้ความสามารถ ห้าง
ห้้นจำากัดนั น
้ ต้องเลิกกัน(ฎ.2445/2533,3103/2533) เนื่ องจาก
ค้ณสมบัติของผู้เป็ นห้้นส่วนไม่จำากัดความรับผิดเป็ นสาระสำาคัญ
คำาพิพากษาฎีกาที่ 2445/2533 จำาเลยที่ ๒ ห้้นส่วนผู้จัดการห้างฯ
จำาเลยที่ ๑ ถึงแก่กรรม ห้างฯ จำาเลยที่ ๑ ต้องเลิกกันและจัดให้มี
การชำาระบัญชี ว.ห้้นส่วนจำากัดความรับผิดห้างฯ จำาเลยที่ ๑ ไม่มี
อำานาจแต่งทนายสู้คดีแทนห้างฯ จำาเลยที่ ๑ กระบวนพิจารณาที่ผิด
ระเบียบตัง้ แต่ ว. แต่งตัง้ ทนายสู้คดีแทนจำาเลยที่ ๑ ต้องเพิกถอน
เสีย เพราะเป็ นอำานาจของผู้ชำาระบัญชี การที่จะอ้างเหต้ฉ้กเฉินตาม
ป.พ.พ.มาตรา ๘๐๒ ต้องเป็ นตัวแทนกันมาก่อน
ในกรณีที่ผู้เป็ นห้้นส่วนทีย
่ ังอยู่ตกลงให้ห้างห้้นส่วนจำากัดคงอยู่ต่อ
ไปโดยห้้นส่วนที่เหลือยอมรับซื้อห้้นของผู้ตายหรือโดยรับทายาท
ของห้้นส่วนผู้ตายเข้ามาเป็ นห้้นส่วนแทน ห้างห้้นส่วนจำากัดย่อมไม่
เลิกกัน(ฎ.3196/2532)
คำาพิพากษาฎีกาที่ 3196/2532 เมื่อห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับ
ผิดตาย ห้างห้้นส่วนจำากัดย่อมเลิกกันตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๐๕๕ (๕), ๑๐๘๐ แต่ห้นส่วนที่ยังคงอยู่อาจ
ตกลงให้ห้างยังคงอยู่ต่อไป โดยรับทายาทของห้้นส่วนที่ตายเข้ามา
เป็ นห้้นส่วนแทนได้ เมื่อปรากฏว่า บ. ห้้นส่วนผู้จัดการห้างโจทก์
ถึงแก่ความตายในระหว่างการพิจารณาห้้นส่วนอื่นได้รับ ช. ซึ่งเป็ น
ทายาทผู้รับมรดกให้เข้าเป็ นห้้นส่วนผู้จัดการแทน บ. ห้างโจทก์จึง
คงอยู่ต่อมาและเมื่อศาลอน้ญาตให้ ช. เข้าเป็ นผู้แทนโจทก์แทน บ.
แล้ว ห้างโจทก์จึงมีอำานาจดำาเนิ นกระบวนพิจารณาต่อไปได้โดยชอบ
ด้วยกฎหมาย

(6) หน้ าที่และความรับผิดของผู้เป็ นห้้นส่วนต่อบ้คคลภายนอก


มาตรา 1095 ตราบใดห้างห้้นส่วนจำากัดยังมิได้เลิกกัน ตราบนั น
้ เจ้า
หนี้ของห้างย่อมไม่มีสิทธิฟ้องร้องผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความ
รับผิดได้
แต่เมื่อห้างห้้นส่วนนั น
้ ได้เลิกกันแล้ว เจ้าหนี้ของห้างมีสิทธิฟ้องร้อง
ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดได้เพียงจำานวนดังนี้ คือ
(1) จำานวนลงห้้นของผู้เป็ นห้้นส่วนเท่าทีย
่ ังค้างส่งแก่ห้างห้้นส่วน
(2) จำานวนลงห้้นเท่าที่ผู้เป็ นห้้นส่วนได้ถอนไปจากสินทรัพย์ของ
ห้างห้้นส่วน
(3) จำานวนเงินปั นผลและดอกเบี้ยซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนได้รับไปแล้วโดย
ท้จริตและฝ่ าฝื นต่อบทมาตรา 1084

ข้อสังเกต มาตรา 1095


1)มาตรา 1095 ใช้บังคับห้้นส่วนจำากัดความรับผิดเท่านั น
้ ในกรณี
ห้างห้้นส่วนจำากัดผิดนั ดชำาระหนี้ เจ้าหนี้ก็ชอบที่จะเรียกให้ชำาระหนี้
จากห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความรับผิดคนใดคนหนึ่ งได้ตามมาตรา
1070 ประกอบมาตรา 1080 เนื่ องจากบทบัญญัตท
ิ ี่ให้สิทธิแก่เจ้า
หนี้ของห้างห้้นส่วนจำากัดในการฟ้ องร้องผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่
จำากัดความรับผิดนั น
้ มิได้บัญญัติไว้ในเรื่องห้างห้้นส่วนจำากัด ดังนั น

จึงต้องนำ ามาตรา 1070 มาใช้บังคับ(ฎ.590/2520,1306/2530)
คำาพิพากษาฎีกาที่ 590/2520 จำาเลยที่ ๒ เป็ นห้้นส่วนผู้จัดการและ
เป็ นห้้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดของห้างห้้นส่วนจำากัด
จำาเลยที่ ๑ ต้องรับผิดในหนี้ของห้างห้้นส่วนจำากัดโดยไม่จำากัด
จำานวนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๐๗๗ (๒)
เมื่อห้างห้้นส่วนจำากัดผิดนั ดชำาระหนี้ ผู้เป็ นเจ้าหนี้มีสิทธิฟ้องผู้เป็ น
ห้้นส่วนประเภทไม่จำากัดความรับผิดให้รับผิดชำาระหนี้ได้ทันทีโดย
ไม่จำาเป็ นต้องรอให้มีการเลิกห้างห้้นส่วนหรือล้มละลายก่อนหรือจะ
ต้องปรากฏว่าห้างห้้นส่วนจำากัดไม่มีทรัพย์สินพอชำาระหนี้
คำาพิพากษาฎีกาที่ 1306/2530 ส.เป็ นห้้นส่วนจำาพวกไม่จำากัดความ
รับผิดของห้างห้้นส่วนจำากัด ฮ.จึงต้องรับผิดในหนี้ของห้างห้้นส่วน
ดังกล่าวโดยไม่จำากัดจำานวนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๑๐๗๗ (๒) เมื่อห้างห้้นส่วนจำากัดฮ.ผิดนั ดชำาระหนี้ภาษีอากร
ค้างแก่จำาเลย จำาเลยย่อมมีสิทธิเรียกให้ ส.ชำาระหนี้ดังกล่าวได้ตาม
มาตรา ๑๐๗๐ ประกอบด้วยมาตรา ๑๐๘๐ แม้ห้างห้้นส่วนจำากัด
ฮ.ต้องเลิกกันโดยผลของกฎหมายเนื่ องจาก ส.ตายแล้วก็ตาม
ทรัพย์สินกองมรดกของ ส.ก็ต้องตกเป็ นทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิด
เสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๒ วรรคสอง.

2) ความรับผิดของห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดโดยปกติต้อง
รับผิดไม่เกินจำานวนเงินที่ตนรับจะลงห้้นในห้างห้้นส่วน(มาตรา
1077(1)) แต่อย่างไร เจ้าหนี้ของห้างห้้นส่วนจำากัดจะฟ้ องห้้นส่วน
จำาพวกจำากัดความรับผิดในทันทีไม่ได้ จะฟ้ องได้ต้องรอเมื่อห้างเลิก
แล้วเท่านั น
้ (ฎ.1035/2520)
ฎ.1035/2520 ห้างห้้นส่วนจำากัดเชิด ก.ผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัด
ความรับผิดเป็ นผู้มีอำานาจจัดการงานของห้าง ห้างต้องรับผิดในหนี้
ของที่ ก.ก่อขึ้นในกิจการของห้าง ซึ่ง ก.ได้สอดเข้าไปเกี่ยวข้อง
จัดการงานของห้าง ส่วน ข.ห้้นส่วนผู้จัดการห้างต้องรับผิดร่วม
สำาหรับ ค.ผู้รับโอนห้้นของ ก.นั น
้ เมื่อห้างยังไม่เลิกก็ฟ้อง ค.รับผิด
ด้วยไม่ได้ตามมาตรา 1095
มาตรา 1095 วรรคสอง แต่เมื่อห้างห้้นส่วนนั น
้ ได้เลิกกันแล้ว เจ้า
หนี้ของห้างมีสิทธิฟ้องร้องผู้เป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดได้
เพียงจำานวนดังนี้ คือ
(1) จำานวนลงห้้นของผู้เป็ นห้้นส่วนเท่าทีย
่ ังค้างส่งแก่ห้างห้้นส่วน
เช่น นายธงเขียวเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิดในห้างห้้น
ส่วนจำากัด โดยนายธงเขียวรับจะลงห้้นเป็ นเงิน 10 ล้านบาท และ
ชำาระจริงไปแล้ว 6 ล้านบาท เหลือ 4 ล้านบาท หากห้างดังกล่าว
เลิกเจ้าหนี้ของห้างมีสิทธิเรียกให้นายธงเขียวชำาระเงิน 4 ล้านบาท
(2) จำานวนลงห้้นเท่าที่ผู้เป็ นห้้นส่วนได้ถอนไปจากสินทรัพย์ของ
ห้างห้้นส่วน
เช่น ฟ้ าเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด โดยรับจะลงห้้นเป็ น
เงิน 90,000 บาท ต่อมาขอลดจำานวนห้้นลงเป็ นเงิน 400,000 บาท
โดยท้กคนยินยอม แต่ไม่ได้จดทะเบียนลดห้้น หากห้างเลิกเจ้าหนี้
ของห้างมีสิทธิเรียกให้ฟ้าชำาระได้ตามจำานวนเดิม 900,000 บาท
(3) จำานวนเงินปั นผลและดอกเบี้ยซึ่งผู้เป็ นห้้นส่วนได้รับไปแล้วโย
ท้จริตและฝ่ าฝื นต่อบทมาตรา 1084
เช่น เอกเป็ นห้้นส่วนจำาพวกจำากัดความรับผิด จะได้ดอกเบี้ยไม่ได้
หากห้างไม่มีกำาไรตามมาตรา 1084 แต่เนื่ องจากห้างคิดบัญชีผิด
ซึ่งเอกก็ทราบว่าห้างคิดบัญชีผิดและรับเอาดอกเบี้ยนั น
้ ไว้ หากห้าง
เลิกเจ้าหนี้ของห้างมีสิทธิเรียกให้เอกคืนเงินดอกเบี้ยที่รับมาโดย
ท้จริตได้และฝ่ าฝื นต่อมาตรา 1084 ได้

#10
2 March 2009, 15:12

คนตัวเล็ก มีเพื่อน: 2
สัตว์เลี้ยง 7 คน
Pidgeotto คะแนน:
ไม่มี

กล่้มที่ ๕ :: บริษท

(๑). การเพิกถอนมติของที่ประช้มใหญ่ (ม.๑๑๙๕)
๑. ได้นัดเรียก ประช้ม ลงมติ => ฝ่ าฝื นบทบัญญัติ + ข้อบังคับ
บริษท

๒. กรรมการ + ห้้นส่วน (ร้องของ) => ให้ศาลเพิกถอนมติของที่
ประช้มใหญ่นัน

๓. การร้องขอให้เพิกอนนั น
้ => ภายใน ๑ เดือนนั บแต่ลงมติ

(๒). เหต้บริษท
ั เลิกกัน (ม.๑๒๓๖)
๑. มีเหต้ที่จะเลิกกัน => ตามข้อบังคับบริษท

๒. เมื่อสิ้นกำาหนดเวลา => ตัง้ บริษท

๓. เมื่อตัง้ ขึ้นเพื่อทำากิจการใด => เมื่อกิจการนั น
้ เสร็จแล้ว
๔. มีมติพิเศษให้เลิก
๕. บริษท
ั ล้มละลาย

(๓). เหต้ที่ศาลจะสัง่ ให้เลิกบริษท


ั (ม.๑๒๓๖)
๑. ทำาผิดยื่นรายงานการประช้มตัง้ บริษท
ั + ทำาผิดประช้ม
๒. บริษท
ั ไม่เริ่มทำาการ => ภายใน ๑ ปี นั บแต่วันจดทะเบียน หรือ
หย้ด ๑ ปี เต็ม
๓. การค้ามีแต่ขาดท้น => ไม่มีทางฟื้ นตัว

- กรรมการเป็ นผู้แทนของบริษท
ั แต่มีความรับผิดอย่างตัวแทน (
มาตรา ๑๑๖๘ ) ฎ. ๒๑๙๑/๒๕๔๒ , ๔๕๔๖ / ๒๕๔๐
- มติที่ประช้มใหญ่ ซึ่งเป็ นมติพิเศษ ( ตามมาตรา ๑๑๙๔ ) มี ๖
ประเภท
(๑). มาตรา ๑๑๔๕
(๒). มาตรา ๑๒๒๐
(๓). มาตรา ๑๒๒๑
(๔). มาตรา ๑๒๒๔
(๕). มาตรา ๑๒๓๖ (๔)
(๖). มาตรา ๑๒๓๘
- หากมีการกระทำาผิดฝ่ าฝื นคำาบังคับ ( คนที่ไม่ได้กระทำาผิด ) ไม่
เห็นด้วย ( ต้องร้องตามมาตรา ๑๑๙๕ )

ขอขอบค้ณ พ.ต.ต.ชาญศักดิ ์ ส้นทะโรจน์

You might also like