You are on page 1of 65

วิธีสบัญญัติ 1 (41341), วิธีสบัญญัต2


(41342), วิธีสบัญญัต3
ิ (41343)

มีให้แค่วิแพ่ง 2 และวิอาญา 3 นะคะ ส่วนข้อ


สอบสัมฤทธิบัตรกับสอบปกติหรือสอบซ่อมก็
เป็ นข้อสอบตัวเดียวกันค่ะ แล้วแต่ว่าลง
สัมฤทธิฯ์ ร่่นไหน เช่น ลงสัมฤทธิร์ ่นที่ 70 จะ
สอบเดือนกพ.นี้ ข้อสอบก็คือตัวเดียวกับข้อสอบ
ซ่อมของคนที่ลงเรียนปกติค่ะ หรือสัมฤทธิร์ ่นที่
71 สอบเดือนเมษา ข้อสอบก็เป็ นข้อสอบภาค
ปกติของคนที่ลงเรียนค่ะ

ข้อสอบกฎหมายวิธีสบัญญัติ 2
1. นายชัยเป็ นโจทก์ฟ้องนายบ่ญช่วยซึ่งเป็ นคน
ขับรถชนตนโดยละเมิดเป็ นจำาเลยที่ 1 และฟ้ อง
บริษัททัวร์ท่องไทยจำากัด ซึ่งเป็ นนายจ้างของ
นายบ่ญช่วยเป็ นจำาเลยที่ 2 ให้รบ ั ผิดในฐานะ
นายจ้าง โดยฟ้ องภายใน 1 ปี นั บตัง้ แต่วันที่นาย
บ่ญช่วยทำาละเมิด ต่อมานายชัยได้ย่ ืนคำาร้องขอ
แก้ไขชื่อจำาเลยที่ 2 เป็ นบริษัททัวร์ท่องไทย
ร่่งเรือง จำากัด โดยยื่นคำาร้องขอแก้ไขชื่อเมื่อพ้น
กำาหนด 1 ปี นั บตัง้ แต่วันที่นายบ่ญช่วยทำา
ละเมิด หลังจากนั ้น จำาเลยที่ 2 ได้ย่ ืนคำาให้การ
แก้ฟ้องว่าฟ้ องโจทก์ขาดอาย่ความเพราะโจทก์ได้
ขอแก้คำาฟ้ องเป็ นชื่อจำาเลยที่ 2 เมื่อพ้น 1 ปี นั บ
แต่วันทำาละเมิด และเหต่ละเมิดก็มิได้เกิดจากคน
ขับรถของจำาเลยที่ 2 จำาเลยที่ 2 จึงไม่ต้องรับผิด
ด้วย ดังนี้ หากท่านเป็ นศาลจะสัง่ คำาร้องขอแก้
ฟ้ องของนายชัย อย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 180 บัญญัติว่า
“การแก้ไขคำาฟ้ องหรือคำาให้การที่ค่ความ
เสนอต่อศาลไว้แล้วให้ทำาเป็ นคำาร้องยื่นต่อศาล
ก่อนวันชีส ้ องสถานไม่น้อยกว่ายี่สิบเอ็ดวัน หรือ
ก่อนวันสืบพยานแล้วแต่กรณี เว้นแต่มีเหต่อัน
สมควรที่ไม่อาจยื่นคำาร้องได้ก่อนนั ้น หรือ
เป็ นการขอแก้ไขในเรื่องที่เกี่ยวกับความสงบ
เรียบร้อยของประชาชน หรือเป็ นการแก้ไขขอผิด
พลาดเล็กน้ อยหรือขอหลงผิดเล็กน้ อย”
วินิจฉั ย กรณี ตามปั ญหา โจทก์ย่ ืนคำาร้องขอ
แก้ไขเพิ่มเติมฟ้ องโดยขอแก้ช่ ือจำาเลยที่ 2 จาก
“บริษัททัวร์ท่องไทย จำากัด” เป็ น “บริษัททัวร์
ท่องไทยร่่งเรือง จำากัด” เมื่อมิใช่เป็ นการเปลี่ยน
ตัวจำาเลย แล้ว ถือได้ว่าเป็ นการแก้ไขข้อผิดพลาด
เกี่ยวกับชื่อค่่ความที่โจทก์ฟ้อง ไม่มีกฎหมาย
ห้าม
ดังนั ้นเมื่อโจทก์ได้ฟ้องจำาเลยที่ 2 ภายใน
อาย่ความแล้ว แม้จะขอแก้ไขเมื่อพ้น 1 ปี นั บแต่
ทำาละเมิด ก็ต้องถือว่าโจทก์ได้ฟ้องจำาเลยที่ 2
ตัง้ แต่วันที่ย่ ืนคำาฟ้ องแล้ว คดีไม่ขาดอาย่ความ
ถ้าข้าพเจ้าเป็ นศาลจะสัง่ อน่ญาตให้โจทก์แก้ฟ้อง
ได้(เทียบฎีกาที่ 6304/2540)

2. โจทก์ฟ้องจำาเลยเป็ นคดีแพ่งเรื่องหนึ่ ง และ


ศาลได้มค ี ำาพิพากษาถึงที่ส่ดให้โจทก์ชนะคดี
โจทก์ได้นำายึดที่ดิน 1 แปลง และบ้าน 1 หลัง
ของจำาเลย ต่อมานางสมศรีได้มาร้องขอต่อศาล
ขอให้ศาลมีคำาสัง่ ปล่อยทรัพย์ท่ียึดโดยอ้างว่าที่
ดินและบ้านดังกล่าวเป็ นสินสมรสระหว่างนาง
สมศรีผ้่ร้องกับจำาเลยร่วมกัน หากท่านเป็ นศาล
จะสัง่ คำาร้องของนางสมศรีว่าอย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 บัญญัติว่า
“ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา 55
ถ้าบ่คคลใดกล่าวอ้างว่าจำาเลยหรือล่กหนี้ตามคำา
พิพากษาไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่เจ้าพนั กงาน
บังคับคดียึดไว้ ก่อนที่ได้เอาทรัพย์สินเช่นว่านี้
ออกขายทอดตลาด หรือจำาหน่ ายโดยวิธีอ่ ืน
บ่คคลนั ้นอาจยื่นคำาร้องขอต่อศาลที่ออกหมาย
บังคับคดีให้ปล่อยทรัพย์สินเช่นว่านั ้น…”
วินิจฉั ย การร้องขอปล่อยทรัพย์สินที่ยึดนั ้น จะ
ต้องร้องโดยอ้างว่า จำาเลยหรือล่กหนี้ตามคำา
พิพากษาไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่ยึด แต่การที่
นางสมศรีมาร้องขอโดยอ้างว่าบ้านดังกล่าวเป็ น
สินสมรสระหว่างตนเองกับจำาเลย แสดงว่าจำาเลย
ก็เป็ นเจ้าของทรัพย์สินนั ้นอย่่ด้วย นางสมศรีจึง
ไม่มีสิทธิท่ีจะร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ท่ียึด ถ้า
ข้าพเจ้าเป็ นศาล จะสัง่ ยกคำาร้องของนางสมศรี

3. คดีแพ่งคดีหนึ่ ง ศาลพิพากษาให้โอภาสและ
ต้อย ร่วมกันชำาระหนี้แก่แดง จำานวน 2 ล้าน
บาท โอภาสและต้อย จำาเลยทัง้ สองไม่ชำาระ แดง
นำ าบังคับยึดทรัพย์ของโอภาส ปรากฏว่าไม่มี
ทรัพย์สินเพียงพอที่จะชำาระหนี้ แดงจึงฟ้ อง
โอภาสให้ล้มละลาย โอภาสต่อส้่ว่า ตนเองเป็ น
ล่กหนี้ร่วมกับต้อย และต้อยมีทรัพย์สินมาก
เพียงพอที่จะชำาระหนี้ได้ ดังนั ้นจึงไม่มีเหต่ท่ีจะให้
ตนล้มละลาย ท่านเห็นว่าข้ออ้างของโอภาสฟั ง
ขึ้นหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมาย พรบ.ล้มละลาย มาตรา
8(5) และมาตรา 14
วินิจฉั ย การที่โอภาสถ่กทำาบังคับคดียึดทรัพย์
และมีทรัพย์ไม่เพียงพอชำาระหนี้ กรณี ต้องด้วย
หลักเกณฑ์ท่ีจะถ่กฟ้ องให้ล้มละลายได้ตาม
มาตรา 8(5) และข้ออ้างที่ว่ามีเหต่ไม่สมควรจะ
ให้ลก่ หนี้ล้มละลายนั ้น มาตรา 14 ต้องเป็ นเหต่
ของตัวล่กหนี้เองมิใช่เหต่ในตัวล่กหนี้ร่วมกับคน
อื่น

ซ่อมภาค 1/41
1. นายสมปองเป็ นโจทก์ฟ้องนายสินชัย
ซึ่งเคยเป็ นล่กจ้างตน เป็ นจำาเลยในคดีละเมิดจาก
การที่นายสินชัยยักยอกทรัพย์สินของนาย
สมปองนายจ้างไปในระหว่างที่ทำางานให้และขอ
ให้บังคับให้นายสินชัยคืนหรือใช้ราคาทรัพย์สิน
ที่ยักยอกไป นายสินชัยให้การปฏิเสธและฟ้ อง
แย้งนายสมปองโดยอ้างว่านายสมปองข่่บังคับให้
ตนลาออกจากงานโดยมิชอบ ขอให้บังคับนาย
สมปองให้จา่ ยค่าจ้าง สินจ้างแทนการบอกกล่าว
ล่วงหน้ าและค่าชดเชย ดังนี้ หากท่านเป็ นศาลจะ
สัง่ ฟ้ องแย้งของนายสินชัยอย่างไร

แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 177 วรรค 2 บัญญัติ
ว่า
“จำาเลยจะฟ้ องแย้งมาในคำาให้การก็ได้ แต่
ถ้าฟ้ องแย้งนั ้นเป็ นเรื่องอื่นไม่เกี่ยวกับคำาฟ้ อง
เดิมแล้ว ให้ศาลสัง่ ให้จำาเลยฟ้ องเป็ นคดีต่าง
หาก”
วินิจฉั ย
ฟ้ องแย้งที่ศาลจะรับไว้พิจารณา ฟ้ องแย้ง
นั ้นจะต้องเป็ นเรื่องเกี่ยวกับคำาฟ้ องเดิม มิฉะนั ้น
ศาลจะสัง่ ให้ไปฟ้ องต่างหาก จากข้อเท็จจริงมี
ประเด็นที่ต้องพิจารณาคำาฟ้ องแย้งของจำาเลย
เกี่ยวกับคำาฟ้ องเดิมของโจทก์หรือไม่
ตามคำาฟ้ องเดิมของนายสมปองโจทก์เป็ น
เรื่องที่ขอให้บังคับจำาเลยคืนหรือใช้ราคา
ทรัพย์สินที่นายสินชัยจำาเลยได้ยักยอกไป ซึ่ง
เป็ นคดีอันเกิดแต่ม่ลละเมิดในการทำางานตาม
สัญญาจ้างแรงงาน ส่วนฟ้ องแย้งของนายสมชัย
จำาเลยอ้างว่าโจทก์ข่บังคับให้ตนลาออกโดยมิชอบ
และขอบังคับให้โจทก์จา่ ยค่าจ้าง สินจ้างทดแทน
การบอกกล่าวล่วงหน้ าและค่าชดเชย ฟ้ องแย้งจึง
เป็ นคดีพิพาทเกี่ยวกับสิทธิตามสัญญาจ้าง
แรงงาน และตามกฎหมายว่าด้วยการค้่มครอง
แรงงาน แม้ว่าฟ้ องเดิมและฟ้ องแย้งของจำาเลยจะ
เป็ นคดีแรงงานเช่นเดียวกันก็ตาม แต่จากข้อเท็จ
จริงและหลักฐานที่จะนำ าสืบเป็ นคนละเรื่อง
คนละประเด็นแตกต่างกัน ฟ้ องเดิมเป็ นเรื่องม่ล
ละเมิดในการจ้างงาน ส่วนฟ้ องแย้งเป็ นการเรียก
ร้องสิทธิตามสัญญาจ้างแรงงาน และกฎหมายว่า
ด้วยการค้่มครองแรงงาน จึงไม่มีความเกี่ยวพัน
กัน ไม่เป็ นฟ้ องแย้งที่จะรับรวมไว้พิจารณากับ
ฟ้ องเดิม (ฎ.434/35) ดังนั ้น หากเป็ นศาลจะสัง่
ให้จำาเลยแยกฟ้ องเป็ นคดีต่างหาก

2. คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลชัน
้ ต้นวินิจฉั ยว่า
จำาเลยมีหนี้สินล้นพ้นตัว แต่มีเหต่ไม่ควรให้
จำาเลยล้มละลาย จำาเลยไม่ได้อ่ทธรณ์ แต่โจทก์
อ่ทธรณ์ว่ามีเหต่ท่ีควรพิพากษาให้จำาเลยล้ม
ละลาย ศาลฟั งอ่ทธรณ์ข้อเท็จจริงเป็ นย่ติตามคำา
พิพากษาศาลชัน ้ ต้นว่าจำาเลยมีหนี้สินล้นพ้นตัว
และวินิจฉั ยเฉพาะปั ญหาตามอ่ทธรณ์ของโจทก์
ว่ามีเหต่ท่ีไม่ควรพิพากษาให้จำาเลยล้มละลาย
หรือไม่ จำาเลยฎีกาว่าจำาเลยมิได้มีหนี้สินล้นพ้น
ตัว ดังนี้ หากท่านเป็ นศาลฎีกาจะรับวินิจฉั ยฎีกา
ของจำาเลยหรือไม่ อย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 249 บัญญัติว่า
“ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่ยกขึ้นอ้าง
การยื่นฎีกานั ้น ค่ค่ วามจะต้องกล่าวไว้โดยชัดแจ้ง
ในฎีกา และต้องเป็ นข้อที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้ว
ในศาลชัน ้ ต้น และศาลอ่ทธรณ์ ทัง้ จะต้องเป็ น
สาระแก่คดีอันควรได้รับการวินิจฉั ยด้วย การ
วินิจฉั ยว่าข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่เป็ นสาระ
แก่คดีข้อใดไม่ควรได้รับการวินิจฉั ยจากศาลฎีกา
ให้กระทำาโดยรองประธานศาลฎีกาซึ่งประธาน
ศาลฎีกามอบหมายแต่ทัง้ นี้ไม่กระทบถึงอำานาจ
ของประธานศาลฎีกาตามมาตรา 140 วรรค
สอง”
วินิจฉั ย
การที่จำาเลยไม่ได้อ่ทธรณ์ เฉพาะโจทก์
เท่านั ้นที่อ่ทธรณ์ว่ามีเหต่ท่ีควรพิพากษาให้
จำาเลยล้มละลาย ศาลอ่ทธรณ์จึงฟั งข้อเท็จจริง
เป็ นที่ย่ติตามคำาพิพากษาของศาลชัน ้ ต้นว่าจำาเลย
มีหนี้สินล้นพ้นตัว และวินิจฉั ยเฉพาะปั ญหาตาม
ที่โจทก์อ่ทธรณ์ว่ามีเหต่ท่ีไม่ควรพิพากษาให้
จำาเลยล้มละลายหรือไม่ ฉะนั ้น การที่จำาเลยฎีกา
ว่ามิได้มีหนี้สินล้นพ้นตัวจึงเป็ นข้อเท็จจริงที่ย่ติ
ไปแล้ว และเป็ นข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดย
ชอบในศาลอ่ทธรณ์ตามมาตรา 249 ดังนั ้น หาก
เป็ นศาลฎีกาจะไม่รับวินิจฉั ยฎีกาของจำาเลย
(ฎ.85/2538)

3.จำาเลยถ่กศาลชัน้ ต้นสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาด


เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์โฆษณาคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์เด็ดขาดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2538 และ
กำาหนดให้เจ้าหนี้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ภายใน 2
เดือน นั บแต่วันที่ 1 มกราคม 2538 จำาเลย
อ่ทธรณ์ ศาลอ่ทธรณ์พิพากษากลับให้ยกฟ้ อง
โจทก์ฎีกา ศาลฎีกาพิพากษากลับให้พิทักษ์
ทรัพย์เด็ดขาดเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2539 เจ้า
หนี้รายหนึ่ งมายื่นคำาร้องขอรับชำาระหนี้เมื่อวันที่
15 พฤษภาคม 2539 เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์
ไม่อน่ญาตให้รบ ั ชำาระหนี้โดยอ้างว่ายื่นคำาขอรับ
ชำาระหนี้เกินกำาหนดเวลาตามประกาศของเจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ ท่านเห็นว่าคำาสัง่ ของเจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ถ่กต้องหรือไม่
แนวตอบ
หลักกฎหมาย มาตรา 91 วรรค 1 หลัก
การขอรับชำาระหนี้ในคดีล้มละลาย เจ้าหนี้ผ้่เป็ น
โจทก์หรือไม่ก็ตามต้องขอรับชำาระหนี้ภายใน
กำาหนด 2 เดือนนั บแต่โฆษณาคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์เด็ดขาด แต่กรณี ตามปั ญหามีการอ่ทธรณ์
คำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาดที่ศาลชัน ้ ต้นสัง่ และ
ในที่ส่ดศาลฎีกาได้มค ี ำาสัง่ กลับและให้พิทักษ์
ทรัพย์เด็ดขาดเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2539 การ
กำาหนดเวลาสองเดือนจึงต้องนั บตัง้ แต่วันที่เจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์โฆษณาคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์เด็ดขาดของศาลฎีกา
ดังนั ้น เจ้าหนี้มายื่นขอรับชำาระหนี้เมื่อวัน
ที่ 15 พฤษภาคม 2539 จึงยังไม่พ้นกำาหนด 2
เดือน นั บแต่วันโฆษณาคำาสัง่ ของศาลฎีกา จึง
ขอรับได้ไม่ต้องห้าม คำาสัง่ ของเจ้าพนั กงาน
พิทักษ์ ทรัพย์ไม่ถ่กต้อง (ฎ.1994/2527)
ภาค 1/41
1. นายศักดิส ์ ิทธิไ์ ด้ย่ ืนฟ้ องนายธงชัยเป็ น
จำาเลย ในการที่นายธงชัยทำาละเมิดตนต่อศาล
จังหวัดราชบ่รี ศาลจังหวัดราชบ่รีได้มค ี ำาสัง่
จำาหน่ ายคดีออกจากสารบบความเพราะโจทก์ขาด
นั ดพิจารณาคดี ในระหว่างระยะเวลาอ่ทธรณ์
นายศักดิส ์ ิทธิไ์ ด้ย่ ืนฟ้ องนายธงชัยเป็ นจำาเลยใน
เรื่องเดียวกันต่อศาลจังหวัดนนทบ่รี และต่อมา
นายธงชัยได้ย่ ืนอ่ทธรณ์คดีแรกต่อศาลอ่ทธรณ์
จนศาลอ่ทธรณ์ได้มีคำาพิพากษาว่า คำาสัง่ จำาหน่ าย
คดีของศาลจังหวัดราชบ่รีชอบแล้ว คดีดังกล่าวจึง
ถึงที่ส่ด ดังนี้ ฟ้ องของนายศักดิส ์ ิทธิต์ ่อศาล
จังหวัดนนทบ่รีเป็ นฟ้ องที่ชอบด้วยกฎหมายหรือ
ไม่ อย่างไร
แนวตอบ
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 173 วรรค 2(1)
บัญญัติว่า “นั บตัง้ แต่เวลาได้ย่ ืนคำาฟ้ องแล้ว คดี
นั ้นอย่่ในระหว่างพิจารณา และผลแห่งการนี้ (1)
ห้ามมิให้โจทก์ย่ ืนคำาฟ้ องเรื่องเดียวกันนั ้นต่อ
ศาลเดียวกัน หรือต่อศาลอื่น”
วินิจฉั ย
ขณะที่นายศักดิส ์ ิทธิไ์ ด้ย่ ืนฟ้ องนายธงชัย
ในคดีหลังต่อศาลจังหวัดนนทบ่รี เป็ นการที่
โจทก์คนเดียวกันยื่นฟ้ องจำาเลยคนเดียวกันกับ
คดีแรก และฟ้ องในเรื่องเดียวกัน โดยคดีแรกที่
ศาลจังหวัดราชบ่รีได้มค ี ำาสัง่ จำาหน่ ายคดีออกจาก
สารบบความยังอย่่ในระยะเวลาที่จำาเลยมีสิทธิ
อ่ทธรณ์ได้ และต่อมาจำาเลยได้ย่ ืนอ่ทธรณ์ จึงถือ
ได้ว่าขณะที่โจทก์ย่ ืนฟ้ องจำาเลยเป็ นคดีใหม่ต่อ
ศาลจังหวัดนนทบ่รี คดีก่อนของโจทก์ยังอย่่ใน
ระหว่างการพิจารณาฟ้ องของโจทก์ต่อศาล
จังหวัดราชบ่รี จึงเป็ นฟ้ องซ้อนตามกฎหมายตาม
ประมวลวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 173 วรรค
2 (1) แม้ต่อมาศาลอ่ทธรณ์จะได้มีคำาพิพากษา
ว่าคำาสัง่ จำาหน่ ายคดีของศาลจังหวัดราชบ่รีชอบ
แล้ว และคดีดังกล่าวถึงที่ส่ดแล้วก็ตาม

2.คดีเรื่องหนึ่ งเดิมศาลชัน
้ ต้นได้กำาหนดประเด็น
ข้อพิพาทไว้ 2 ข้อ ต่อมาศาลชัน
้ ต้นได้กำาหนด
ประเด็นข้อพิพาทเพิ่มว่า โจทก์ฟ้องเรียกคืนการ
ครอบครองที่ดินพิพาทเกิน 1 ปี นั บแต่จำาเลย
ครอบครองหรือไม่ โจทก์ได้ย่ ืนคำาร้องต่อศาลชัน ้
ต้นว่า คำาให้การของจำาเลยไม่มีประเด็นดังกล่าว
ขอให้เพิกถอนประเด็นที่กำาหนดเพิ่มเติม และ
ศาลชัน้ ต้นได้มีคำาสัง่ คำาร้องว่า ไม่มีเหต่ท่ีจะ
เปลี่ยนแปลงประเด็นพิพาทที่กำาหนดไว้แล้ว ให้
ยกคำาร้อง ดังนี้ โจทก์จะอ่ทธรณ์คำาสัง่ ศาลชัน ้ ต้น
ดังกล่าวได้หรือไม่ อย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 บัญญัติว่า
“ก่อนศาลชัน ้ ต้นได้มีคำาสัง่ พิพากษาหรือ
คำาสัง่ ชีข้ าดตัดสินคดี ถ้าศาลนั ้นได้มีคำาสัง่ อย่าง
ใดอย่างหนึ่ งนอกจากที่ระบ่ไว้ในมาตรา 227
และ 228
(1) ห้ามมิให้อ่ทธรณ์คำาสัง่ นั ้นใน
ระหว่างพิจารณาคดี
(2) ถ้าค่่ความฝ่ ายใดโต้แย้งคำาสัง่ ใด
ให้ศาลจดข้อโต้แย้งนั ้นลงไว้ในรายงาน ค่่ความที่
โต้แย้งชอบที่จะอ่ทธรณ์คำาสัง่ นั ้นได้ภายใน
กำาหนดหนึ่ งเดือน นั บแต่วันที่ศ่ลได้มีคำา
พิพากษาหรือคำาสัง่ ชีข้ าดตัดสินคดีนั้นเป็ นต้นไป
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ไม่ว่าศาลจะมีคำาสัง่
ให้รบั คำาฟ้ องไว้แล้วหรือไม่ให้ถือว่าคำาสัง่ อย่างใด
อย่างหนึ่ งของศาลนั บตัง้ แต่มีการยื่นคำาฟ้ องต่อ
ศาลนอกจากที่ระบ่ไว้ในมาตรา 227 และ 228
เป็ นคำาสัง่ ระหว่างพิจารณา”
วินิจฉั ย
คำาสัง่ ศาลชัน
้ ต้นในการยกคำาร้องดังกล่าว
เป็ นคำาสัง่ ระหว่างพิจารณาตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 เพราะไม่
ทำาให้คดีเสร็จไปจากศาล อย่างไรก็ตาม การที่
โจทก์ย่ ืนคำาร้องต่อศาลชัน ้ ต้นว่าคำาให้การของ
จำาเลยไม่มปี ระเด็นขอให้เพิกถอนประเด็นที่
กำาหนดเพิ่ม ถือว่าโจทก์ได้โต้แย้งคำาสัง่ ศาลชัน ้
ต้นที่กำาหนดประเด็นพิพาทเพิ่มแล้ว ตามมาตรา
226(2) แม้ศาลชัน ้ ต้นจะมีคำาสัง่ คำาร้องว่าไม่มี
เหต่ท่ีจะเปลี่ยนแปลงประเด็นพิพาทซึ่งกำาหนด
ไว้แล้ว ให้ยกคำาร้องโจทก์ก็ไม่จำาต้องโต้แย้งคำาสัง่
ในตอนหลังนี้อีก โจทก์มีสิทธิอ่ทธรณ์คำาสัง่ ศาล
ได้ภายในกำาหนดหนึ่ งเดือนหลังจกศาลมีคำา
พิพากษาแล้ว (ฎ.6380/2539)

ซ่อม 2/40
1.โจทก์ฟ้องขอให้จำาเลยที่ 1 และจำาเลยที่ 2
ชำาระหนี้ไถ่ถอนจำานอง จำาเลยที่ 2 ให้การขอให้
ยกฟ้ อง ต่อมาโจทก์ย่ ืนคำาร้องขอถอนฟ้ องจำาเลย
ทัง้ สอง อ้างว่าจำาเลยที่ 1 ถึงแก่กรรมก่อนโจทก์
ยื่นฟ้ อง โจทก็จะต้องแจ้งการบังคับจำานองไปยัง
ทายาทของจำาเลยที่ 1 ก่อน จึงขอถอนฟ้ องเพื่อ
ดำาเนิ นการต่อไป จำาเลยที่ 2 คัดค้านว่าหากศาล
อน่ญาตให้โจทก์ถอนฟ้ องก็จะทำาให้จำาเลยที่ 2
เสียเปรียบและได้รบ ั ความเสียหายเพราะโจทก์
อาจฟ้ องจำาเลยที่ 2 เป็ นคดีใหม่ ขอให้ยกคำาร้อง
หากพิจารณาจากคำาฟ้ องของโจทก์เฉพาะส่วน
ความรับผิดชอบของจำาเลยที่ 2 ไม่
ปรากฎว่ามีข้อบกพร่องให้เห็นว่าจะเป็ นการถอน
ฟ้ องเพื่อไปฟ้ องใหม่อันเป็ นการเอาเปรียบในคดี
ถ้าท่านเป็ นศาลจะมีคำาสัง่ อย่างไร

แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 175 วรรค 2
บัญญัติว่า
“ภายหลังจำาเลยยื่นคำาให้การแล้ว โจทก์
อาจยื่นคำาขอโดยทำาเป็ นคำาร้องต่อศาลชัน ้ ต้น
เพื่ออน่ญาตให้โจทก์ถอนคำาฟ้ องได้ ศาลจะ
อน่ญาตหรือไม่อน่ญาตหรืออน่ญาตภายใต้
เงื่อนไขตามที่เห็นสมควรก็ได้ แต่ (1)ห้ามไม่ให้
ศาลอน่ญาตโดยมิได้ฟังจำาเลยก่อน”
วินิจฉั ย
การที่ศาลจะอน่ญาตให้ถอนฟ้ องหรือไม่
นั ้นเป็ นด่ลยพินิจของศาล โดยพิจารณาเหต่ผล
และความจำาเป็ นว่าสมควรหรือไม่ประการใด จะ
เป็ นการถอนฟ้ องไปเพื่อเจตนาจะฟ้ องใหม่โดย
แก้ฟ้องเดิมที่บกพร่องอันเป็ นการเอาเปรียบเชิง
คดีกับอีกฝ่ ายหนึ่ งหรือไม่ แม้ว่าจำาเลยที่ 2 จะ
คัดค้านการถอนฟ้ องของโจทก์ก็ตาม
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา เมื่อได้พิจารณา
คำาฟ้ องของโจทก์เฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับความผิด
ของจำาเลยที่ 2 แล้ว ไม่มีข้อบกพร่องปรากฏให้
เห็นว่าจะเป็ นการถอนฟ้ องไปเพื่อฟ้ องใหม่อัน
เป็ นการเอาเปรียบในเชิงคดี แต่โจทก์มีความ
จำาเป็ นสำาหรับจำาเลยที่ 1 ที่จะต้องดำาเนิ นการตาม
ขัน
้ ตอนที่กฎหมายกำาหนดไว้ก่อน ถ้าจะถอน
ฟ้ องเฉพาะจำาเลยที่ 1 โยไม่ถอนฟ้ องจำาเลยที่ 2
ในคดีนี้ทัง้ หมด จะทำาให้ต้องมีการพิจารณาคดี
ในหนี้ท่ีโจทก์ฟ้องถึง 2 ครัง้ เป็ นการเสียเวลาใน
การดำาเนิ นคดี จึงควรอน่ญาตให้โจทก์ถอนฟ้ อง
จำาเลยทัง้ สองได้ ดังนั ้น ข้าพเจ้าจะอน่ญาตให้
โจทก์ถอนฟ้ องได้ (ฎ.1572/2534)

2.ศาลชัน
้ ต้นได้ทำาการชีส
้ องสถานโดยจดใน
รายงานกระบวนพิจารณาว่าจำาเลยให้การต่อส้่ว่า
คดีโจทก์ขาดอาย่ความนั ้น จำาเลยเพียงแต่ยกขึ้น
กล่าวลอย ๆ ไม่ปรากฏเหต่ผลและรายละเอียดว่า
ขาดอาย่ความอย่างไร จึงไม่กำาหนดประเด็นว่าคดี
โจทก์ขาดอาย่ความหรือไม่ ต่อมาจำาเลยยื่น
คำาร้องต่อศาลชัน ้ ต้นขอให้ศาลชัน ้ ต้นกำาหนด
ประเด็นว่าคดีโจทก์ขาดอาย่ความหรือไม่เพิ่มเติม
ด้วย ซึ่งศาลชัน้ ต้นได้มีคำาสัง่ ในคำาร้องดังกล่าวว่า
ไม่มีเหต่ผลที่จะเปลี่ยนแปลงประเด็นที่ชีส ้ อง
สถาน และสัง่ ยกคำาร้องของจำาเลย ดังนี้ จำาเลยจะ
อ่ทธรณ์คำาสัง่ ศาลชัน้ ต้นในการชีส ้ องสถานดัง
กล่าวได้หรือไม่ อย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 226 บัญญัติว่า
“ก่อนศาลชัน้ ต้นได้มีคำาพิพากษาหรือคำา
สัง่ ชีข้ าดตัดสินคดี ถ้าศาลนั ้นได้มีคำาสัง่ อย่างใด
อย่างหนึ่ ง นอกจากที่ระบ่ไว้ในมาตรา 227 และ
228 (1)ห้ามมิให้อ่ทธรณ์คำาสัง่ นั ้นในระหว่าง
การพิจารณา
(2)ถ้าค่่ความฝ่ ายใดโต้แย้งคำาสัง่ ใด ให้ศาล
จดข้อโต้แย้งนั ้นลงไว้ในรายงาน ค่่ความที่โต้แย้ง
ชอบที่จะอ่ทธรณ์คำาสัง่ นั ้นได้ ภายในกำาหนด
หนึ่ งเดือนนั บแต่วันที่ศาลได้มีคำาพิพากษา หรือ
คำาสัง่ ชีข้ าดตัดสินคดีนั้นเป็ นต้นไป
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ไม่ว่าศาลจะได้มีคำา
สัง่ รับฟ้ องไว้แล้วหรือไม่ ให้ถือว่าคำาสัง่ อย่างใด
อย่างหนึ่ งของศาลนั บตัง้ แต่มีการยื่นคำาฟ้ องต่อ
ศาล นอกจากที่ระบ่ไว้ในมาตรา 227 และ 228
เป็ นคำาสัง่ ระหว่างการพิจารณา”
วินิจฉั ย
คำาสัง่ ของศาลชัน ้ ต้นในการชีส ้ องสถานที่
ไม่กำาหนดประเด็นให้ว่าคดีโจทก์ขาดอาย่ความ
หรือไม่ เป็ นคำาสัง่ ที่ไม่ทำาให้คดีเสร็จไปจากศาล
จึงเป็ นคำาสัง่ ระหว่างการพิจารณาตามมาตรา 226
ดังนั ้นจึงไม่สามารถอ่ทธรณ์
ได้ทันทีต้องโต้แย้งคำาสัง่ ไว้ก่อนและอ่ทธรณ์เมื่อ
ศาลมีคำาพิพากษาแล้ว
การที่จำาเลยยื่นคำาร้องต่อศาลชัน
้ ต้นขอให้
ศาลชัน ้ ต้นกำาหนดประเด็นว่าคดีโจทก์ขาดอาย่
ความหรือไม่เพิ่มเติมขึ้น ถือได้วา่ เป็ นการโต้แย้ง
คำาสัง่ ศาลชัน
้ ต้นที่ไม่กำาหนดประเด็นว่าคดีโจทก์
ขาดอาย่ความหรือไม่ ดังนั ้นเมื่อศาลชัน ้ ต้นมีคำา
พิพากษาคดีแล้ว จำาเลยจึงมีสิทธิอ่ทธรณ์คำาสัง่
ระหว่างพิจารณาของศาลดังกล่าวได้ (ฎ.
5229/2537)

3.เดชาเป็ นโจทก์ฟ้องชาญชัย เป็ นคดีแพ่ง ข้อหา


ละเมิด เรียกค่าเสียหาย ศาลชัน้ ต้นพิพากษาให้
ชาญชัยชำาระค่าเสียหายแก่เดชาเป็ นเงิน
200,000 บาท ชาญชัยไม่ยอมชำาระ และยื่น
อ่ทธรณ์ว่าตนไม่ต้องรับผิด คดีอย่่ในระหว่าง
พิจารณาของศาลอ่ทธรณ์ เดชาจึงยื่นฟ้ องชาญ
ชัยเป็ นคดีล้มละลายในหนี้ท่ีศาลชัน้ ต้นพิพากษา
จำานวน 200,000 บาทนั ้น ชาญชัยต่อส้่ว่า หนี้
ไม่ถึง 500,000 บาท จึงฟ้ องให้ต้นล้มละลายไม่
ได้ ทัง้ หนี้นั้นก็ยังไม่อาจกำาหนดจำานวนแน่ นอน
เพราะคดียังไม่ถึงที่ส่ด ท่านเห็นว่าข้อต่อส้่ทัง้
สองข้อของชาญชัยฟั งขึ้นหรือไม่
แนวตอบหลักกฎหมาย พ.ร.บ.ล้มละลาย มาตรา
9 บัญญัติว่า
“เจ้าหนี้จะฟ้ องล่กหนี้ให้ล้มละลายได้ก็ต่อ
เมื่อ
(1)ล่กหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว
(2)ล่กหนี้เป็ นบ่คคลธรรมดาเป็ นหนี้เจ้า
หนี้ผ้่เป็ นโจทก์คนเดียว หรือหลายคนเป็ น
จำานวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นบาท หรือล่กหนี้ซ่ ึง
เป็ นนิ ติบ่คคลเป็ นหนี้เจ้าหนี้ผ้่เป็ นโจทก์คนเดียว
หรือหลายคนเป็ นจำานวนไม่น้อยกว่าห้าแสน
บาท และ
(3)หนี้นั้นอาจกำาหนดจำานวนได้โดย
แน่ นอนไม่ว่าหนี้นั้นจะถึงกำาหนดชำาระโดยพลัน
หรือในอนาคตก็ตาม”
วินิจฉั ย
การที่เจ้าหนี้จะฟ้ องล่กหนี้ให้ล้มละลายได้
นั ้น จำานวนหนี้ท่ีจะฟ้ องล่กหนี้ ซึ่งเป็ นบ่คคล
ธรรมดานั ้นต้องเป็ นจำานวนเงินไม่น้อยกว่าห้า
หมื่นบาท ดังนั ้นการที่ชาญชัยต้องชำาระค่าเสีย
หายแก่เดชาเป็ นจำานวนเงิน 200,000 บาท ซึ่ง
เป็ นจำานวนหนี้ตัง้ แต่ห้าหมื่นบาทขึ้นไปที่เจ้าหนี้
สามารถฟ้ องล่กหนี้ท่ีเป็ นบ่คคลธรรมดาให้ล้ม
ละลายได้ ดังนั ้น ข้อต่อส้่ของชาญชัยที่ว่าหนี้ไม้
ถึง 500,000 บาท จึงฟ้ องให้ตนล้มละลายไม่ได้
จึงฟั งไม่ขัน

หนี้คา่ เสียหาย 200,000 บาท ดังกล่าวแม้
จะเป็ นหนี้จากม่ลละเมิด แต่เป็ นหนี้ท่ีศาลชัน ้ ต้น
ได้พิพากษาให้ชาญชัยชำาระแก่เดชา และแม้ว่าจะ
มีการยื่นอ่ทธรณ์ คดีอย่่ในระหว่างพิจารณาของ
ศาลอ่ทธรณ์ คดียังไม่ถึงที่ส่ดก็ตามหนี้ดังกล่าว
จึงเป็ นหนี้ท่ีอาจกำาหนดจำานวนได้โดยแน่ นอน
แล้ว สามารถนำ ามาฟ้ องล้มละลายได้ ดังนั ้น
ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วยกับข้อต่อส้่ของชาญชัย

ภาค 2/40
1.โจทก์ฟ้องให้จำาเลยชำาระเงินตามเช็ค 100,000
บาท จำาเลยให้การรับว่าเป็ นหนี้โจทก์จริง แต่หลัง
จากจำาเลยสัง่ จ่ายเช็คแล้ว โจทก์มาซื้อสินค้าไป
จากจำาเลย 200,000 บาท มีการหักกลบลบหนี้
ถ่กต้องตามกฎหมายแล้ว ขอให้ยกฟ้ อง ก่อนวัน
้ องสถาน 30 วัน จำาเลยยื่นคำาร้องขออน่ญาต
ชีส
แก้ไขเพิ่มเติมคำาให้การ โดยเพิ่มประเด็นว่า ฟ้ อง
โจทก์เคลือบคล่มเนื่ องจากโจทก์มิได้บรรยาย
ฟ้ องว่าจำาเลยสัง่ จ่ายเช็ตชำาระหนี้ค่าอะไร และ
ฟ้ องแย้งขอให้โจทก์ชำาระเงินค่าสินค้าที่โจทก์ซ้ือ
ไปจากจำาเลย 100,000 บาท ซึ่งเหลือจากหัก
กลบลบหนี้ หากท่านเป็ นศาลจะสัง่ คำาร้องขอ
อน่ญาตแก้ไขเพิ่มเติมคำาให้การ และฟ้ องแย้ง
ของจำาเลยอย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 177 วรรคสาม
บัญญัติว่า
“จำาเลยจะฟ้ องแย้งมาในคำาให้การก็ได้ แต่
ถ้าฟ้ องแย้งนั ้นเป็ นเรื่องอื่น ไม่เกี่ยวกับเรื่องเดิม
แล้ว ให้ศาลสัง่ ให้จำาเลยฟ้ องเป็ นคดีต่างหาก
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 179 วรรคท้าย
บัญญัติว่า
“แต่ห้ามมิให้ค่ความฝ่ ายใดเสนอคำาร้องต่อ
ศาล ไม่วา่ โดยวิธีฟ้องเพิ่มเติมหรือฟ้ องแย้งภาย
หลังจากที่ได้ย่ ืนคำาฟ้ องเดิมต่อศาลแล้วเว้นแต่
คำาฟ้ องเดิมและคำาฟ้ องภายหลังนี้จะเกี่ยวข้องกัน
พอที่จะรวมการพิจารณาและชีข้ าดตัดสินเข้าด้วย
กันได้
วินิจฉั ย
มาตรา 179 วรรคท้าย บัญญัติไว้แต่เพียง
ว่า คำาฟ้ องเดิมและคำาฟ้ องภายหลังจะต้อง
เกี่ยวข้องกันพอที่จะรวมพิจารณาและชีข้ าด
ตัดสินคดีเข้าด้วยกันได้ โดยมิได้บัญญัติว่าคำา
ให้การและคำาให้การภายหลังจะต้องเกี่ยวข้องกัน
ดังนั ้น แม้คำาให้การเดิมและคำาให้การตามคำาร้อง
ขออน่ญาตแก้ไขเพิ่มเติมคำาให้การของจำาเลยจะ
ไม่เกี่ยวข้องกันก็ตาม เมื่อจำาเลยยื่นร้องดังกล่าว
มาภายในเวลาที่กฎหมายกำาหนด ศาลก็ต้อง
อน่ญาตให้จำาเลยแก้ไขคำาให้การ (ฎ.2297/15)
สำาหรับฟ้ องแย้งนั ้น จำาเลยก็ชอบที่จะฟ้ อง
แย้งเข้ามาในคำาร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมคำาให้การได้
หากฟ้ องแย้งเกี่ยวข้องกับฟ้ องเดิม
เมื่อจำาเลยยื่นคำาให้การรับว่าเป็ นหนี้ตาม
ฟ้ องแล้ว แต่ขอใช้สิทธิหักกลบลบหนี้ หนี้สอง
รายนี้ต่างเป็ นหนี้เงินด้วยกันและถึงกำาหนดแล้ง
ทัง้ สองฝ่ าย หากฟั งเป็ นจริงตามคำาให้การย่อม
หักกลบลบหนี้ได้ จำานวนเงินที่เหลือโจทก์ต้อง
จ่ายให้แก่จำาเลยก็เกิดจากการนำ ายอดเงินตามเช็ค
ที่โจทก์ฟ้องมาหัก จึงถือได้ว่าฟ้ องแย้งของจำาเลย
เกี่ยวข้องกับฟ้ องเดิมของโจทก์ พอที่จะรวมการ
พิจารณาและชีข้ าดตัดสินเข้าด้วยกันได้ตาม
ป.วิ.พ.มาตรา 177 วรรคสาม และมาตรา 179
วรรคท้าย (ฎ.609/21)
2.คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลมีคำาสัง่ ค้่มครองประโยชน์
ระหว่างการพิจารณา โดยให้จำาเลยนำ าเงินมาฝาก
ธนาคารไว้จนกว่าคดีจะถึงที่ส่ดหรือมีคำาสัง่ ศาล
เป็ นอย่างอื่น ระหว่างที่คดีอย่่ในระหว่างการ
พิจารณาของศาลอ่ทธรณ์ และไม่
ปรากฏว่าศาลมีคำาสัง่ เป็ นอย่างอื่น จำาเลยได้ย่ ืน
คำาร้องต่อศาลอ่ทธรณ์ว่ามีความจำาเป็ นและ
ประสงค์จะนำ าเงินนอกเหนื อจากการค้่มครอง
ประโยชน์ไปใช้จ่าย ศาลอ่ทธรณ์ได้สัง่ ยกคำาร้อง
ของจำาเลย ดังนี้ จำาเลยจะฎีกาคำาสัง่ ยกคำาร้องดัง
กล่าวได้หรือไม่
แนวตอบ
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 228(2) บัญญัติว่า
“ก่อนศาลชีข้ าดตัดสินคดี ถ้าศาลมีคำาสัง่
อย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้ คือ
(2)มีคำาสัง่ อันเกี่ยวด้วยคำาขอเพื่อค้่มครอง
ประโยชน์ของค่่ความในระหว่างการพิจารณา
หรือมีคำาสัง่ อันเกี่ยวด้วยคำาขอเพื่อจะบังคับคดี
ตามคำาพิพากษาต่อไป
คำาสัง่ เช่นว่านี้ ค่่ความย่อมอ่ทธรณ์ได้
ภายในกำาหนดหนึ่ งเดือนนั บแต่วันมีคำาสัง่
เป็ นต้นไป
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 247 บัญญัติว่า
“…และภายใต้บังคับบทบัญญัติส่ีมาตรา
ต่อไปนี้กบั กฎหมายอื่นว่าด้วยการฎีกาให้นำา
บทบัญญัติในลักษณะ 1 ว่าด้วยการอ่ทธรณ์มา
บังคับใช้โดยอน่โลม”
วินิจฉั ย
คำาขอของจำาเลยที่จะนำ าเงินนอกเหนื อไป
จากการค้่มครองประโยชน์ไปใช้จ่ายเป็ นคำาขอ
เกี่ยวด้วยคำาขอเพื่อค้่มครองประโยชน์ระหว่าง
พิจารณาตาม ป.วิ.พ.มาตรา 264 ไม่ใช่การขอ
ท่เลาบังคับตามมาตรา 231 เมื่อศาลอ่ทธรณ์สัง่
ยกคำาร้องดังกล่าวจึงไม่เป็ นการสัง่ เรื่องการท่เลา
การบังคับและไม่เป็ นคำาสัง่ ระหว่างการพิจารณา
ดังนั ้น จำาเลยจึงมีสิทธิฎีกาได้ตามมาตรา 228(2)
ประกอบกับมาตรา 247 (ฎ.486/2533)

3.คดีล้มละลายคดีหนึ่ ง เมื่อสืบพยานและศาลมี
คำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาดภายหลังจากนั ้น 7
วัน เจ้าหนี้ผ้่เป็ นโจทก์ได้ย่ ืนคำาร้องขอถอนฟ้ อง
ต่อศาล ศาลสอบถามจำาเลยแล้ว จำาเลยไม่
คัดค้าน ศาลเห็นว่าคดีนี้ยังมิได้มค ี ำาพิพากษาให้
ล้มละลาย จึงอน่ญาตให้ถอนฟ้ อง ท่านเห็นว่าคำา
สัง่ อน่ญาตของศาลถ่กต้องหรือไม่
แนวตอบ พ.ร.บ.ล้มละลาย มาตรา 11 บัญญัติว่า
“เจ้าหนี้ผ้่เป็ นโจทก์ต้องวางเงินประกันค่า
ใช้จ่ายไว้ต่อศาลเป็ นจำานวนหนึ่ งพันบาทในขณะ
ยื่นคำาฟ้ องล้มละลายและจะถอนคำาฟ้ องนั ้นไม่ได้
เว้นแต่ศาลจะอน่ญาต”
วินิจฉั ย
การถอนฟ้ องคดีล้มละลายนั ้น เจ้าหนี้ผ้่
เป็ นโจทก์จะถอนฟ้ องคำาร้องนั ้นไม่ได้ เว้นแต่
ศาลจะอน่ญาต และการถอนฟ้ องนั ้นจะต้องทำา
ก่อนมีคำาพิพากษา ดังนั ้นในคดีล้มละลาย การ
ถอนฟ้ องจึงต้องกระทำาก่อนมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์
เด็ดขาด เพราะคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาดนั ้น
เป็ นคำาสัง่ วินิจฉั ยชีข้ าดคดี มีผลอย่างคำาพิพากษา
(ฎ.1065/2499 , 8/2509) ดังนั ้นคดีล้มละลาย
เมื่อศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาดแล้วจะขอ
ถอนฟ้ องไม่ได้ (ฎ.3286/2430)
คำาสัง่ ศาลที่อน่ญาตให้ถอนฟ้ องจึงไม่ชอบ
ภาค 2/39
1.โจทก์ฟ้องเรียกเงินก้่จากจำาเลย ศาลชัน ้ ต้นสัง่
ไม่รบ ั ฟ้ อง โจทก์อ่ทธรณ์คำาสัง่ ศาลชัน ้ ต้น ศาล
อ่ทธรณ์พิพากษายกคำาสัง่ ของศาลชัน ้ ต้น ให้ศาล
ชัน
้ ต้นรับฟ้ องของโจทก์ไว้ดำาเนิ นการต่อไป
จำาเลยฎีกา ศาลชัน ้ ต้นสัง่ ว่า”คดีนี้ศาลอ่ทธรณ์สัง่
ให้รบ ั ฟ้ องของโจทก์แล้ว มิใช่สัง่ ไม่รบ
ั นอกจากนี้
คำาสัง่ ของศาลอ่ทธรณ์ท่ีให้รับฟ้ องนั ้น ยังเป็ นคำา
สัง่ ระหว่างการพิจารณาของศาลอ่ทธรณ์ด้วย
จำาเลยจึงไม่มีสิทธิฎีกา จึงไม่รับฎีกาของจำาเลย”
ท่านเห็นด้วยกับคำาสัง่ ของศาลชัน ้ ต้นดังกล่าว
หรือไม่

แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 247 บัญญัติว่า
“ในกรณี ท่ีศาลอ่ทธรณ์ได้พิพากษาหรือมี
คำาสัง่ ในชัน
้ อ่ทธรณ์แล้วนั ้น ให้ย่ ืนฎีกาได้ภายใน
กำาหนดหนึ่ งเดือนนั บแต่วันที่ได้อ่านคำาพิพากษา
หรือคำาสัง่ ศาลอ่ทธรณ์นั้น และภายใต้บังคับ
บทบัญญัติส่ีมาตราต่อไปนี้กบ ั กฎหมายอื่นว่า
ด้วยการฎีกา ให้นำาบทบัญญัติในลักษณะ 1 ว่า
ด้วยอ่ทธรณ์มาใช้บังคับด้วยโดยอน่โลม”
วินิจฉั ย
ตามปั ญหา แม้ศาลชัน ้ ต้นจะสัง่ ไม่รับฟ้ อง
ของโจทก์ แต่ศาลอ่ทธรณ์ก็ได้มีคำาพิพากษายก
คำาสัง่ ของศาลชัน้ ต้น ให้ศาลชัน ้ ต้นรับฟ้ องของ
โจทก์ไว้กำาเนิ นการต่อไป และคำาพิพากษาศาล
อ่ทธรณ์ท่ีให้รับนั ้นมิใช่คำาสัง่ พิจารณาของศาล
อ่ทธรณ์ เพราะคดีท่ีอ่ทธรณ์คำาสัง่ ของศาลชัน ้ ต้น
ต่อศาลอ่ทธรณ์นั้นได้เสร็จสิน ้ ไปจากศาล
อ่ทธรณ์เลยทีเดียว จำาเลยมีสิทธิฎีกาได้ตาม
ปวพ. มาตรา 247 (ฎ.474/2503)

2.นายจันทร์ทำาสัญญาเช่าที่ดินจากนายอังคาร
ปล่กบ้านอย่่อาศัย ต่อมานายอังคารฟ้ องขับไล่
นายจันทร์และบริวารให้ร้ือถอนบ้านและสิ่งปล่ก
สร้างออกไปจากที่ดินของนายอังคาร ศาล
พิพากษาให้นายอังคารชนะคดี และออกคำา
บังคับให้นายจันทร์ปฏิบัติตามคำาพิพากษาแล้ว
ปรากฏว่าบ้านและสิ่งปล่กสร้างของนายจันทร์ดัง
กล่าว ถ่กนายพ่ธเจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาของนาย
จันทร์ในอีกคดีหนึ่ ง นำ าเจ้าพนั กงานบังคับคดียด

ไว้ก่อนแล้ว นายจันทร์จึงแถลงต่อศาลว่า ไม่อาจ
ปฏิบัติตามคำาสัง่ ของศาลที่ให้ร้ือถอนได้ ส่วน
นายอังคารยืนยันขอให้ศาลบังคับนายจันทร์ให้
รื้อถอนบ้านและสิ่งปล่กสร้างออกไปตามคำา
บังคับ ท่านเป็ นศาลจะสัง่ อย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 271 บัญญัติว่า
“ถ้าค่่ความหรือบ่คคลซึ่งเป็ นฝ่ ายแพ้คดี
(ล่กหนี้ตามคำาพิพากษา) มิได้ปฏิบัติตามคำา
พิพากษาหรือคำาสัง่ ของศาลทัง้ หมดหรือบางส่วน
ค่่ความหรือบ่คคลซึ่งเป็ นฝ่ ายชนะ (เจ้าหนี้ตามคำา
พิพากษา) ชอบที่จะร้องขอให้บังคับคดีตามคำา
พิพากษาหรือคำาสัง่ ของศาลนั ้นได้ภายในสิบปี
นั บแต่วันมีคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ โดยอาศัยตาม
คำาบังคับที่ออกตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ นั ้น”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 276 บัญญัติว่า
“ในกรณี ท่ีออกหมายบังคับคดีให้ล่กหนี้
ตามคำาพิพากษาส่งมอบทรัพย์สิน กระทำาการ
หรืองดเว้นกระทำาการอย่างใดอย่างหนึ่ ง หรือให้
ขับไล่ล่กหนี้ตามคำาพิพากษา ให้ศาลระบ่เงื่อนไข
แห่งการบังคับคดีลงในหมายนั ้นตามบทบัญญัติ
มาตรา 213 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิ ชย์ ให้ศาลกำาหนดการบังคับคดีเพียงเท่าที่
สภาพแห่งการบังคับคดีจะเปิ ดช่องให้ทำาได้ โดย
ทางศาลหรือโดยทางเจ้าพนั กงานของศาล”
วินิจฉั ย
ถ้าล่กหนี้ตามคำาพิพากษามิได้ปฏิบัติตาม
คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ ของศาลทัง้ หมดหรือบาง
ส่วน เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาชอบที่จะร้องขอให้
บังคับได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ่ง มาตรา 271 ในกรณี ท่ีออกคำาบังคับให้ลก ่
หนี้ตามคำาพิพากษาส่งมอบทรัพย์สิน กระทำาการ
หรืองดเว้นกระทำาการอย่างใดอย่างหนึ่ งหรือให้
ขับไล่ล่กหนี้ตามคำาพิพากษา ให้ศาลกำาหนดการ
บังคับคดีเพียงเท่าที่สภาพแห่งการบังคับคดีจะ
เปิ ดช่องให้ทำาได้ ตาม ปวพ. มาตรา 276 วรรค
ส่ดท้าย
การที่บ้านและสิ่งปล่กสร้างของนายจันทร์
ถ่กนายพ่ธนำ าเจ้าพนั กงานบังคับคดียึดไว้ก่อน
แล้วนั ้นถือว่าสภาพแห่งการบังคับคดียังเปิ ดช่อง
ทางให้ศาลบังคับนายจันทร์ให้ปฏิบัติตามคำา
บังคับของศาลได้ คดีนี้ปรากฏว่านายจันทร์ได้
ทราบคำาบังคับของศาลแล้ว จึงต้องปฏิบัติตามคำา
บังคับ จะยกเอาเหต่ท่ีเจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาคดี
อื่นยึดไว้แล้วมาอ้างไม่ได้ (ฎ.1485/2513) ศาล
จึงต้องสัง่ ให้นายจันทร์และบริวารรื้อถอนบ้าน
และสิ่งปล่กสร้างออกไปจากที่ดินของนายอังคาร

3.เจ้าหนี้ฟ้องล้มละลายนายธงชัย ศาลมีคำาสัง่
พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาด และมีการประช่มเจ้าหนี้
ครัง้ แรก ปรากฏว่าไม่มีเจ้าหนี้มาประช่มเลย ทัง้
ๆ ที่นายธงชัย จำาเลยเตรียมที่จะขอประนอมหนี้
เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์รายงานว่าไม่มีเจ้าหนี้
มาประช่มเลย ศาลเห็นว่าล่กหนี้เตรียมขอ
ประนอมหนี้ แต่เจ้าหนี้ไม่มา จึงสัง่ งดการ
พิจารณาไว้ และออกหมายเรียกประช่มเจ้าหนี้
ใหม่ ท่านเห็นว่าคำาสัง่ ของศาลชอบหรือไม่
แนวตอบ พ.ร.บ.ล้มละลาย มาตรา 61 บัญญัติ
ว่า
“เมื่อศาลได้มค ี ำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์ล่กหนี้
เด็ดขาดแล้ว และเจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์
รายงานว่า เจ้าหนี้ได้ลงมติในการประช่มเจ้าหนี้
ครัง้ แรกหรือในคราวที่ได้เลื่อนไปขอให้ศาล
พิพากษาให้ลก ่ หนี้ล้มละลายก็ดี หรือไม่ลงมติ
ประการใดก็ดี หรือไม่มีเจ้าหนี้ไปประช่มก็ดี หรือ
การประนอมหนี้ไม่ได้รับความเห็นชอบก็ดี ให้
ศาลพิพากษาให้ลก ่ หนี้ล้มละลาย และเจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์มีอำานาจในการจัดการ
ทรัพย์สินของบ่คคลล้มละลายเพื่อแบ่งแก่เจ้าหนี้
ทัง้ หลาย”
วินิจฉั ย
กรณี ตามปั ญหาได้มีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์ล่ก
หนี้เด็ดขาดแล้ว และเจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์
ได้รายงายศาลว่าในการประช่มครัง้ แรกไม่มีเจ้า
หนี้มาประช่มกรณี ต้องด้วยมาตรา 61(3)
พ.ร.บ.ล้มละลายแล้ว กฎหมายบังคับว่าให้ศาล
พิพากษาให้ลก่ หนี้ล้มละลาย ดังนั ้นเมื่อได้รับ
รายงานดังกล่าวแล้วศาลก็ต้องพิพากษาให้ลก ่
หนี้ล้มละลาย จะสัง่ งดการพิจารณาหรือ
พิพากษาเป็ นอย่างอื่นไม่ได้
(ฎ.980/2531,367/2532)

ซ่อมภาค 1/39
1.โจทก์ฟ้องขับไล่จำาเลยและเรียกค่าเสียหาย
จำาเลยยื่นคำาให้การและบัญชีระบ่พยานไว้แล้ว
แต่ในวันนั ดสืบพยานโจทก์ ซึ่งมีหน้ าที่นำาสืบ
ก่อน จำาเลยและทนายจำาเลยซึ่งทราบวันนั ดสืบ
พยานโจทก์แล้ว ไม่มาศาล ทัง้ มิได้ร้องขอเลื่อน
คดีหรือแจ้งเหต่ขัดข้องที่ไม่มาศาล ศาลจึงสัง่ ว่า
จำาเลยขาดนั ดพิจารณาและสืบพยานโจทก์เสร็จ
ในวันนั ้น จำาเลยก็ยังไม่มาศาล ศาลจึงสัง่ เลื่อน
ไปสืบพยานจำาเลยในนั ดหน้ า เพื่อที่จะได้
พิจารณาว่าจำาเลยขาดนั ดโดยจงใจหรือไม่ ดังนี้
ท่านเห็นว่าคำาสัง่ ของศาลที่ให้เลื่อนคดีไปสืบ
พยานจำาเลยนั ้นชอบหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 202 บัญญัติว่า
“ถ้าได้ส่งหมายกำาหนดวันนั ดสืบพยานให้
จำาเลยทราบโดยชอบแล้ว จำาเลยขาดนั ดพิจารณา
ให้ศาลมีคำาสัง่ แสดงว่าจำาเลยขาดนั ดพิจารณา
แล้วให้พิจารณาและชีข้ าดตัดสินคดีนั้นไปฝ่ าย
เดียวตามบทบัญญัติต่อไปนี้”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 205 วรรค 2 บัญญัติ
ว่า
“ในระหว่างการพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าค่่
ความฝ่ ายที่ขาดนั ดมาศาลภายหลังที่ได้เริ่มต้น
สืบพยานไปบ้างแล้ว และศาลเห็นว่าการขาดนั ด
นั ้นมิได้เป็ นไปโดยจงใจ หรือมีเหต่อันสมควร ให้
ศาลมีคำาสัง่ พิจารณาคดีนั้นใหม่ ถ้าจำาเลยที่ขาด
นั ดพิจารณานั ้น ขาดนั ดยื่นคำาให้การด้วย ให้
บังคับตามบทบัญญัติมาตรา 199 “
วินิจฉั ย
เมื่อจำาเลยขาดนั ดพิจารณาแล้ว ศาลจะสัง่
ให้พิจารณาและชีข้ าดคดีตัดสินไปฝ่ ายเดียวโดย
ไม่ต้องเลื่อนไปสืบพยานจำาเลย (ปวพ.มาตรา
202) ศาลจะพิจารณาว่าจำาเลยขาดนั ดโดยจงใจ
หรือไม่ก็ต่อเมื่อจำาเลยมาศาลในระหว่างพิจารณา
คดีฝ่ายเดียว ดังบัญญัติไว้ในมาตรา 205 วรรค 2
การที่จำาเลยไม่มาศาลจนสืบพยานโจทก์ไปฝ่ าย
เดียวเสร็จแล้ว ศาลจะสัง่ เลื่อนไปสืบพยานจำาเลย
เพื่อที่จะได้พิจารณาว่าจำาเลยขาดนั ดโดยจงใจหรือ
ไม่เช่นนี้ เป็ นคำาสัง่ ที่ไม่ชอบ (ฎ.256/2520)

3.ต้อยกับต้่มร่วมกันไปก้่เงินจากแต๋วมา
100,000 บาท และยังมิได้ชำาระ ต่อมาต้อยถ่ก
ฟ้ องล้มละลาย ศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์ และให้
ผ้่มีสิทธิย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ ต้่มเห็นว่า แต๋วมิได้
ยื่นคำาขอรับชำาระหนี้ จึงคิดว่าหากตนถ่กแต๋ว
เรียกให้ชะระหนี้ในภายหลัง ต้อยก็ล้มละลาย
แล้ว จะไม่มีใครแบ่งภาระหนี้ของตน ต้่มจึงไปยื่น
ขอรับชำาระหนี้จำานวน 100,000 บาทนั ้น เจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ยกคำาร้องให้เหต่ผลว่า ต้่ม
เป็ นล่กหนี้ร่วมกับต้อย มิใช่เป็ นเจ้าหนี้ จึงไม่มี
สิทธิขอรับชำาระหนี้ ท่านเห็นว่าคำาสัง่ ของเจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ถ่กต้องหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมาย พ.ร.บ. ล้มละลาย
มาตรา 101 บัญญัติว่า
“ถ้าล่กหนี้ร่วมบางคนถ่กพิทักษ์ ทรัพย์ ล่ก
หนี้รว่ มคนอื่นอาจยื่นคำาขอชำาระหนี้สำาหรับ
จำานวนที่ตนอาจใช้สิทธิไล่เบีย ้ ในเวลาภายหน้ า
ได้ เว้นแต่เจ้าหนี้ได้ใช้สิทธิขอรับชำาระหนี้ไว้เต็ม
จำานวนแล้ว
บทบัญญัติในวรรคก่อนให้ใช้บังคับแก่ผ้่คาำ ้
ประกัน ผ้ค ่ ำา้ ประกันร่วมหรือบ่คคลที่อย่่ใน
ลักษณะเดียวกันนี้โดยอน่โลม”
วินิจฉั ย
ต้อยกับต้่มเป็ นล่กหนี้รว่ มในหนี้เงินก้่
จำานวน 100,000 บาท เมื่อต้อยล่กหนี้ร่วมคน
หนึ่ งถ่กพิทักษ์ ทรัพย์ และเจ้าหนี้คือแต๋วก็มิได้
ขอรับชำาระหนี้ ต้่มล่กหนี้ร่วมจึงอาจขอรับชำาระ
หนี้สำาหรับจำานวนที่ตนอาจใช้สิทธิไล่เบีย ้ ได้
ภายในเวลาภายหน้ า คือ จำานวน 50,000 บาท
ได้ แม้ตนจะยังมิได้ชำาระหนี้ก็ตาม
ดังนั ้น ต้่มจึงขอรับชำาระหนี้ได้เพียงจำานวน
50,000 บาท เท่านั ้น มิใช่ 100,000 บาท ส่วน
คำาสัง่ ของเจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ก็ไม่ถ่กต้อง
เพราะแม้ต้่มจะมิใช่เจ้าหนี้ก็เป็ นผ้่มีสิทธิตาม
มาตรา 101

ภาค 1/39
1.จำาเลยไม่มาศาลในวันสืบพยาน ศาลจึงสัง่ ว่า
จำาเลยขาดนั ดพิจารณา แล้วสืบพยานโจทก์ไป 2
ปาก จำาเลยมาศาลในระหว่างสืบพยานปากที่ 3
จำาเลยอ้างว่ารถชนบาดเจ็บ ขอให้พิจารณาคดี
ใหม่ ศาลเห็นว่าขาดนั ดไม่จงใจ จึงอน่ญาตให้
พิจารณาคดีใหม่ และให้เลื่อนการสืบพยานโจทก์
ไป 1 เดือน ถึงวันนั ดจำาเลยและทนายไม่มาศาล
อีก ศาลจึงสัง่ ว่าจำาเลยขาดนั ด พิจารณาและสืบ
พยานโจทก์จนเสร็จ แล้วตัดสินในวันนั ้นเองให้
จำาเลยแพ้คดี หลังจากนั ้น 16 วัน ซึ่งศาลยังมิได้
ออกคำาบังคับจำาเลยยื่นคำาร้องขอให้พิจารณาคดี
ใหม่ ในคำาร้องมีข้อความครบครันตามที่
กฎหมายบังคับ โจทก์คัดค้านว่าจำาเลยยื่นคำาร้อง
หลังจากพิพากษาเกิน 15 วันแล้วและในวันที่
ครบกำาหนดก็ไม่ใช่วันหย่ด ทัง้ จำาเลยเคยขอ
พิจารณาใหม่มาครัง้ หนึ่ งแล้ว จึงจะมาขอ
พิจารณาใหม่อก ี ไม่ได้ ข้อคัดค้านของโจทก์จะฟั ง
ขึ้นหรือไม่

แนวตอบ
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 208 บัญญัติว่า
“คำาขอให้พิจารณาใหม่นั้น ให้ย่ ืนต่อศาล
ภายในสิบห้าวันนั บจากวันที่ได้ส่งคำาบังคับตาม
คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ ให้แก่จำาเลย…..”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 207 บัญญัติว่า
“ค่่ความฝ่ ายใดซึ่งศาลแสดงว่าขาดนั ด
พิจารณาและมีคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ ให้แพ้คดีใน
ประเด็นที่พิพาท ค่่ความฝ่ ายนั ้นอาจมีคำาขอให้
พิจารณาใหม่ เว้นแต่
(2) คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ นั ้นให้ค่ความขาดนั ด
แพ้คดีในกรณี ท่ีมีการพิจารณาใหม่ เพราะเหต่ท่ี
ค่่ความฝ่ ายเดียวกันนั ้นได้ขาดนั ดมาครัง้ หนึ่ ง
แล้ว”
วินิจฉั ย ข้อคัดค้านของโจทก์ทัง้ สองกรณี ฟังไม่
ขึ้น
กรณี แรกโจทก์คัดค้านว่า จำาเลยยื่นคำาร้อง
ขอพิจารณาคดีใหม่หลังจากศาลพิพากษาเกิน
15 วัน และวันที่ครบกำาหนดก็ไม่ใช่วันหย่ดนั ้น
ตาม ปวพ. มาตรา 208 คำาขอให้พิจารณาคดีใหม่
ให้ย่ ืนต่อศาลภายใน 15 วัน นั บจากวันที่ได้ส่ง
คำาบังคับตามคำาพิพากษา หาใช่นับจากวันฟั งคำา
พิพากษาไม่ ปรากฏว่าคดีนี้ศาลยังไม่ได้ออกคำา
บังคับ จำาเลยจึงยื่นคำาขอพิจารณาคดีใหม่ได้ หา
เกินกำาหนดไม่
กรณี หลัง ที่โจทก์คัดค้านว่าจำาเลยเคยขาด
นั ดพิจารณาคดีใหม่มาครัง้ หนึ่ งแล้วนั ้น ปวพ.
มาตรา 207(2) ห้ามขอให้มก ี ารพิจารณาใหม่
เฉพาะผ้่ท่ีขาดนั ดพิจารณาและแพ้คดีในประเด็น
พิพาทมาแล้วครัง้ หนึ่ ง และเมื่อขอให้ศาล
พิจารณาใหม่ ก็ขาดนั ดพิจารณาและศาล
พิพากษาให้แพ้คดีอีก จึงจะขอพิจารณาใหม่ไม่ได้
แต่ตามปั ญหา การขาดนั ดพิจารณาในครัง้ แรก
เป็ นการขาดนั ดพิจารณาในวันสืบพยานซึ่งศาล
อน่ญาตให้พิจารณาใหม่ในระหว่างการพิจารณา
ตามมาตรา 205 หาใช่เป็ นกรณี ท่ีศาลอน่ญาตให้
พิจารณาใหม่โดยจำาเลยขาดนั ดแล้วถ่กพิพากษา
ให้แพ้คดีไม่ ตามปั ญหาจำาเลยเพิ่งขาดนั ด
พิจารณาและแพ้คดีเพียงครัง้ เดียว ก็มายื่นคำาขอ
ให้พิจารณาคดีใหม่ กรณี จึงไม่ต้องห้ามตาม
มาตรา 207(2) ข้อคัดค้านของโจทก์ฟังไม่ขึ้นทัง้
สองกรณี

2.ในคดีแพ่งสามัญเรื่องหนึ่ ง ซึ่งโจทก์ฟ้องเรียก
เงินจากจำาเลยฐานผิดในสัญญาซื้อขาย โจทก์
ชนะคดีในศาลชัน ้ ต้นแต่แพ้คดีในศาลอ่ทธรณ์
โจทก์ฎีกา แต่สำานวนอย่่ในระหว่างที่ศาลชัน ้ ต้น
จัดส่งสำาเนาฎีกาให้จำาเลยแก้คดี ชัน้ ฎีกาปรากฏ
ว่าจำาเลยกำาลังจะจำาหน่ ายจ่ายโอนทรัพย์สินของ
จำาเลยให้หมดไป โจทก์จึงยื่นคำาร้องต่อศาลชัน ้
ต้น ขอให้ยด ึ ทรัพย์สินของจำาเลยไว้ก่อนมีคำา
พิพากษาศาลฎีกา และยื่นคำาร้องขอให้ศาล
ไต่สวนในกรณี ฉ่กเฉิ นด้วย ดังนี้ศาลใดจะเป็ นผ้่
ไต่สวนและสัง่ คำาร้อง และถ้าศาลสัง่ ยกคำาร้องก็ดี
หรือสัง่ อน่ญาตตามคำาร้องก็ดี ค่ค ่ วามไม่พอใจจะ
อ่ทธรณ์หรือฎีกาได้หรือไม่ ถ้าอ่ทธรณ์หรือฎีกา
ได้ จะอ่ทธรณ์หรือฎีกาต่อไปยังศาลใด
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 254 วรรคท้าย
บัญญัติว่า
“ในระหว่างระยะเวลานั บแต่ศาลชัน ้ ต้น
หรือศาลอ่ทธร์ได้อ่านคำาพิพากษาหรือคำาสัง่
ชีข้ าดคดีหรือชีข้ าดอ่ทธรณ์ไปจนถึงเวลาที่ศาล
ชัน ้ ต้นได้ส่งสำานวนความที่อ่ทธรณ์หรือฎีกาไป
ยังศาลอ่ทธรณ์หรือฎีกาแล้วแต่กรณี คำาขอตาม
มาตรานี้ให้ย่ ืนต่อศาลชัน ้ ต้น ให้ศาลชัน
้ ต้นมี
อำานาจที่จะสัง่ อน่ญาตหรือยกคำาขอเช่นว่านี้”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 267 บัญญัติว่า
“ให้ศาลพิจารณาคำาขอเป็ นการด่วน ถ้า
เป็ นที่พอใจจากคำาแถลงของโจทก์หรือพยาน
หลักฐานที่โจทก์ได้นำามาสืบหรือที่ศาลเรียกมา
สืบเองว่าคดีนั้นเป็ นคดีมีเหต่ฉ่กเฉิ นและคำาขอ
นั ้นมีเหต่ผลสมควรอันแท้จริง ให้ศาลมีคำาสัง่
หรือออกหมายตามที่ขอภายในขอบเขตและ
เงื่อนไขไปตามที่เห็นจำาเป็ นทันที หากศาลมีคำา
สัง่ ให้ยกคำาขอ คำาสัง่ เช่นว่านี้ให้เป็ นที่ส่ด
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 บัญญัติว่า
“ก่อนศาลชีข้ าดตัดสินคดี ถ้าศาลมีคำาสัง่
อย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้ คือ
(2)มีคำาสัง่ อันเกี่ยวด้วยคำาขอ เพื่อค้่มครอง
ประโยชน์ของค่่ความในระหว่างการพิจารณา
หรือมีคำาสัง่ อันเกี่ยวด้วยคำาขอเพื่อที่จะบังคับคดี
ตามคำาพิพากษาต่อไป
(3)……….
คำาสัง่ เช่นว่านี้ ค่่ความย่อมอ่ทธรณ์ได้
ภายในกำาหนดหนึ่ งเดือนนั บตัง้ แต่วันมีคำาสัง่
เป็ นต้นไป”
วินิจฉั ย
กรณี ตามปั ญหา ปรากฏว่าสำานวนเรื่องนี้
ยังมิได้ส่งไปยังศาลฎีกา ศาลชัน ้ ต้นจึงมีอำานาจ
ไต่สวนและสัง่ คำาร้องได้ตาม ปวพ. มาตรา 254
วรรคท้าย
โดยที่เป็ นคำาขอในกรณี ฉ่กเฉิ น ตาม
ปั ญหาแยกพิจารณาได้ดังนี้
ก.ถ้าศาลชัน ้ ต้นสัง่ ยกคำาขอ คำาสัง่ นี้เป็ น
ที่ส่ด โจทก์อ่ทธรณ์หรือฎีกาไม่ได้ ตาม ปวพ.
มาตรา 267
ข.ถ้าศาลชัน
้ ต้นสัง่ อน่ญาตตามคำาขอ
จำาเลยอ่ทธรณ์ได้ตาม ปวพ. มาตรา 228(2) แต่
ต้องอ่ทธรณ์ไปยังศาลอ่ทธรณ์ จะอ่ทธรณ์ตรงไป
ยังศาลฎีกาเลยไม่ได้

3.ติ๋มฟ้ องต้อยให้ชำาระหนี้ ในที่ส่ดค่่ความ


ประนี ประนอมยอมความกัน และศาลพิพากษา
ตามยอมให้ต้อยชำาระหนี้ 100,000 บาท แต่ต้อย
ก็ไม่ชำาระ อีก 11 ปี ต่อมา ติ๋มไปทวงหนี้ ต้อยจึง
ทำาหนั งสือรับสภาพหนี้ให้ หลังจากนั ้นอีก 1 ปี
ต้อยถ่กฟ้ องล้มละลาย ศาลพิทักษ์ ทรัพย์ ติ๋มจึง
นำ าหนี้ 100,000 บาทมาขอรับชำาระในคดีล้ม
ละลาย เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์สัง่ ว่าหนี้ดัง
กล่าวเป็ นหนี้ท่ีขาดอาย่ความแล้วไม่อาจฟ้ องร้อง
บังคับคดีได้ จึงไม่อาจขอรับชำาระหนี้ในคดีล้ม
ละลายได้ ติ๋มโต้แย้งว่า หนี้รายนี้เป็ นหนี้ท่ีมีคำา
พิพากษาแล้วจึงไม่ขาดอาย่ความ ทัง้ ต้อยก็ได้ทำา
หนั งสือรับสภาพหนี้ให้เมื่อ 1 ปี ท่ีผ่านมา อาย่
ความจึงไม่ขาด ขอรับชำาระหนี้ได้ ท่านเห็นด้วย
กับข้อต่อส้่ของติ๋มหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมาย พ.ร.บ. ล้มละลาย
มาตรา 94 บัญญัติว่า
“เจ้าหนี้ไม่มีประกันอาจขอรับชำาระหนี้ได้
ถ้าม่ลแห่งหนี้ได้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำาสัง่
พิทักษ์ ทรัพย์แม้ว่าหนี้นั้นยังไม่ถึงกำาหนดชำาระ
หรือมีเงื่อนไขก็ตามเว้นแต่
(1)หนี้ท่ีเกิดขึ้นโดยฝ่ าฝื นข้อห้ามตาม
กฎหมาย หรือหนี้ท่ีฟ้องร้องให้บังคับคดีไม่ได้”
วินิจฉั ย
หนี้ของติ๋มที่มีคำาพิพากษาแล้วนั ้นเป็ น
สิทธิเรียกร้องอันตัง้ หลักฐานขึ้นโดยคำาพิพากษา
้ ที่ส่ดของศาลมีอาย่ความ 10 ปี ตาม ป.พ.พ.
ชัน
มาตรา 193/32 อาย่ความอาจเริ่มนั บตัง้ แต่อาจ
บังคับสิทธิเรียกร้องได้เป็ นต้นไป เมื่ออาย่เกิน
10 ปี จึงขาดอาย่ความ (ฎ.3958/2534) ไม่อาจ
ขอรับชำาระหนี้ได้ ข้อต่อส้่ของติ๋มฟั งไม่ขึ้น
อย่างไรก็ตามหลังจากนั ้น ต้อยล่กหนี้ได้
ทำาหนั งสือรับสภาพหนี้ให้เป็ นการละเสียซึ่ง
ประโยชน์แห่งอาย่ความก่อนมีคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์แล้ว ทำาให้เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ไม่
อาจยกอาย่ความขึ้นต่อส้่ในนามของเจ้าหนี้อ่ ืน ๆ
ได้ จึงเป็ นหนี้ท่ีฟ้องให้บังคับคดีได้
ภาค 1/38
1.นายประชาเป็ นโจทก์ฟ้องนายชาติ หาว่านาย
ชาติกระทำาละเมิดและเรียกค่าสินไหมทดแทน
เป็ นเงิน 200,000 บาท นายชาติให้การปฏิเสธ
คดีอย่่ในระหว่างพิจารณา ต่อมานายชาติเป็ น
โจทก์ฟ้องนายประชาหาว่านายประชาแกล้งฟ้ อง
นายชาติโดยไม่มีม่ลและเรียกค่าเสียหายจากนาย
ประชาจำานวนหนึ่ ง นายประชาให้การต่อส้่คดี
และฟ้ องแย้งให้นายชาติรับผิด โดยกล่าวอ้างข้อ
เท็จจริงเช่นเดียวกับคดีแรก แต่เรียกร้องให้นาย
ชาติชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพิ่มขึ้นเป็ นเงิน
250,000 บาท ดังนี้ ถ้าท่านเป็ นทนายของนาย
ชาติ ท่านจะให้การแก้ฟ้องแย้งของนายประชาใน
ข้อกฎหมายประการใดบ้างหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 173 บัญญัติว่า
“เมื่อศาลได้รับคำาฟ้ องแล้ว ให้ศาลออก
หมายส่งสำาเนาคำาฟ้ องให้แก่จำาเลยเพื่อแก้คดี
และภายในกำาหนดเจ็ดวันนั บแต่วันยื่นคำาฟ้ อง
ให้โจทก์ร้องขอต่อพนั กงานเจ้าหน้ าที่เพื่อให้ส่ง
หมายนั ้น
นั บแต่เวลาที่ได้ย่ ืนคำาฟ้ องแล้วคดีนั้นอย่่
ในระหว่างพิจารณาและผลแห่งการนี้
(1)ห้ามไม่ให้โจทก์ย่ ืนคำาฟ้ องเรื่องเดียวกัน
นั ้นต่อศาลเดียวกัน หรือต่อศาลอื่น “
วินิจฉั ย ข้อเท็จจริงตามปั ญหา ปรากฏว่านาย
ประชาได้เป็ นโจทก์ฟ้องนายชาติ หาว่านายชาติ
กระทำาการละเมิดและเรียกค่าสินไหมทดแทน
จากนายชาติไว้ก่อนแล้ว และคดีนั้นยังอย่่ใน
ระหว่างพิจารณา การที่นายประชามาฟ้ องแย้ง
นายชาติในคดีหลังโดยกล่าวอ้างข้อเท็จจริงเช่น
เดียวกับคดีแรก จึงเป็ นการที่นายประชายื่น
คำาฟ้ องเรื่องเดียวกัน ซึ่งต้องห้ามตาม ปวพ.
มาตรา 173(1) แม้จะมีการเรียกร้องจำานวนค่า
สินไหมทดแทนเพิ่มขึ้น ก็เป็ นเรื่องที่นายประชา
ควรจะใช้สิทธิเรียกร้องในคดีเดิมได้อย่่แล้ว
เพราะไม่ปรากฏว่าได้มีกรณี ละเมิดเพิ่มเติมใหม่
แต่ประการใด กรณี เป็ นเรื่องฟ้ องซ้อน ต้องห้าม
ตามมาตรา 173(1) (ฎ.1673/2517)
ทนายความของนายชาติจึงควรยกปั ญหาเรื่อง
ฟ้ องซ้อนต้องห้ามขึ้นเป็ นข้อที่จะให้การแก้ฟ้อง
แย้งของนายประชา

3.ฟ้ าเป็ นล่กหนี้ฝน โดยจำานองที่ดินแปลงหนึ่ ง


ไว้ เมื่อหนี้ถึงกำาหนดชำาระ ฟ้ าจึงชำาระหนี้ไถ่ถอน
จำานองที่ดินเป็ นเงิน 1 ล้านบาท และโอนขายให้
นำ ้ าค้าง บ่ตรสาวของตน โดยนำ ้ าค้างมิได้ร้่ถึงหนี้
สินของฟ้ า ต่อมาอีก 2 เดือน ฟ้ าถ่กเมฆฟ้ องล้ม
ละลาย เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ได้ขอเพิกถอน
การชำาระหนี้ไถ่ถอนที่ฟ้าทำากับฝน และเพิกถอน
การโอนที่ดินให้นำ้าค้าง ท่านเห็นว่าจะเพิกถอน
นิ ติกรรมทัง้ สองรายได้หรือไม่
แนวตอบ
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 114 บัญญัติว่า
“การโอนทรัพย์สินหรือการกระทำาการใด
ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของล่กหนี้ ซึ่งล่กหนี้ได้
กระทำาหรือยินยอมให้กระทำาในระยะเวลาสามปี
ก่อนมีการขอให้ล้มละลายและภายหลังนั ้น ถ้า
เจ้าพนั กงานพิทักษ์ มีคำาขอโดยทำาเป็ นคำาร้อง
ศาลมีอำานาจสัง่ เพิกถอนหรือโอนการกระทำานั ้น
ได้ เว้นแต่ผ้่รับโอนหรือผ้่รับประโยชน์จะแสดง
ให้พอใจศาลว่าการโอนหรือการกระทำานั ้นได้
กระทำาโดนส่จริตและมีค่าตอบแทน”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 115 บัญญัติว่า
“การโอนทรัพย์สินหรือการกระทำาใด ๆ
ซึ่งล่กหนี้ได้กระทำาหรือยินยอมให้กระทำาใน
ระหว่างระยะเวลาสามเดือนก่อนการมีการขอให้
ล้มละลายและภายหลังนั ้น โดยม่่งหมายให้เจ้า
หนี้คนหนึ่ งคนใดได้เปรียบแก่เจ้าหนี้อ่ ืน ถ้าเจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์มีคำาขอโดยทำาเป็ นคำาร้อง
ศาลมีอำานาจสัง่ เพิกถอนหรือโอนการกระทำานั ้น
ได้”
วินิจฉั ย
1.การที่ฟ้าชำาระหนี้ไถ่จำานองจากฝนนั ้น
ฝนเป็ นเจ้าหนี้ท่ีมีประกัน แม้ถึงว่าฟ้ าจะล้ม
ละลาย ฝนก็ยังขอรับชำาระหนี้ได้โดยบังคับเอา
กับทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกัน ซึ่งในกรณี นี้
ทรัพย์อันเป็ นหลักประกันมีราคาเกินกว่าจำานวน
หนี้ การชำาระหนี้ไถ่ถอนจำานองนี้จึงไม่ทำาให้เจ้า
หนี้อ่ ืนเสียเปรียบแต่อย่างใด แม้จะทำานิ ติกรรม
ก่อนถ่กฟ้ องล้มละลายเพียง 2 เดือน ก็ตาม
กรณี ไม่ต้องด้วยมาตรา 115 เมฆจะขอให้เพิก
ถอนไม่ได้ (ฎ.2085/2535)
2.ส่วนการที่ฟ้า โอนขายที่ดินแปลงดัง
กล่าวกับนำ ้ าค้าง แม้จะขายให้ก่อนถ่กฟ้ องล้ม
ละลายเพียงสองเดือน แต่นำ้าค้างก็มิใช่เจ้าหนี้
ของฟ้ า จึงไม่เป็ นการม่่งหมายให้เจ้าหนี้คนหนึ่ ง
คนใดได้เปรียบแก่เจ้าหนี้อ่ ืน กรณี จึงไม่ต้องด้วย
มาตรา 115 ทัง้ จะขอเพิกถอนตามมาตรา 114
ก็ไม่ได้เพราะการกระทำาโดยส่จริตและเสียค่า
ตอบแทน

ซ่อมภาค 2/37
1.คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลสัง่ ว่าจำาเลยขาดนั ดพิจารณา
และดำาเนิ นการสืบพยานโจทก์ไปฝ่ ายเดียวจน
เสร็จแล้วพิพากษาในวันนั ้นเอง ศาลพิพากษาให้
จำาเลยใช้เงินตามฟ้ องของโจทก์ จำาเลยอ่ทธรณ์ว่า
ก่อนศาลสัง่ ว่าจำาเลยขาดนั ดพิจารณา จะต้องฟั ง
เหต่ผลจากฝ่ ายจำาเลยก่อน ถ้าปรากฏว่าจำาเลย
จงใจขาดนั ด ศาลจึงจะมีคำาสัง่ เช่นนั ้นได้ แต่กรณี
นี้ศาลสัง่ โดยไม่ได้ฟังเหต่ผลจากจำาเลยก่อน คำา
สัง่ ที่ศาลสัง่ ว่าจำาเลยขาดนั ดพิจารณาจึงไม่ชอบ
ท่านเห็นว่าอ่ทธรณ์ของจำาเลยฟั งขึ้นหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 197 วรรค 2
บัญญัติว่า
“ถ้าค่่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งไม่มาศาลในวัน
สืบพยานและมิได้ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหต่
ขัดข้องที่ไม่มาศาลเสียก่อนลงมือสืบพยาน ให้
ถือว่าค่่ความฝ่ ายนั ้นขาดนั ดพิจารณา”
วินิจฉั ย
จำาเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานแและมิได้
ร้องขอเลื่อนคดีหรือแจ้งเหต่ขัดข้องที่ไม่มาศาล
เสียก่อนลงมือสืบพยานตาม ปวพ. มาตรา 197
วรรค 2 ให้ถือว่าจำาเลยขาดนั ดพิจารณา คำาสัง่
ศาลจึงชอบ ศาลไม่จำาต้องคอยฟั งเหต่ผลจาก
จำาเลยก่อน อ่ทธรณ์ของจำาเลยฟั งไม่ขึ้น

2.คดีเรื่องหนึ่ ง โจทก์นำาเจ้าพนั กงานบังคับคดียึด


ที่ดินของจำาเลยเพื่อชำาระหนี้ตามคำาพิพากษา
ที่ดินแปลงนั ้นยังมีช่ ือจำาเลยถือกรรมสิทธิอ์ ย่่ แต่
ปรากฏว่าจำาเลยได้ทำาสัญญาจะขายที่ดินนั ้นให้
กับผ้ร่ ้อง ผ้ร่ ้องได้ชำาระราคาครบถ้วนและพ้น
กำาหนดที่จะทำาการโอนแล้ว ดังนี้ โจทก์มีสิทธินำา
ยึดที่ดินแปลงนี้มาชำาระหนี้หรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 บัญญัติว่า
“ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติ มาตรา 288
ว่าด้วยการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของล่กหนี้ตาม
คำาพิพากษา ย่อมไม่กระทบกระทัง่ ถึงบ่ริมสิทธิ
หรือสิทธิอ่ ืน ๆ ซึ่งบ่คคลภายนอกอาจร้องขอให้
บังคับคดีเหนื อทรัพย์สินนั ้นได้ตามกฎหมาย”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 บัญญัติว่า
“ถ้าบ่คคลใดกล่าวอ้างว่าจำาเลยหรือล่กหนี้
ตามคำาพิพากษาไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่เจ้า
พนั กงานบังคับคดีได้ยด ึ ไว้ ก่อนที่ได้เอา
ทรัพย์สินเช่นว่านี้ออกขายทอดตลาดหรือ
จำาหน่ ายโดยวิธีอ่ ืน บ่คคลนั ้นอาจยื่นคำาร้องต่อ
ศาลที่ออกหมายบังคับคดีให้ปล่อยทรัพย์สินเช่น
ว่านั ้น”
วินิจฉั ย
สิทธิของผ้่ร้องตามสัญญาจะซื้อขายที่ทำาไว้
กับจำาเลยไม่ใช่บ่ริมสิทธิหรือสิทธิอ่ ืนซึ่งผ้่ร้องอาจ
ขอให้บังคับเหนื อที่ดินที่โจทก์นำายึด เมื่อกรรม
สิทธิยังมิได้โอนไป เจ้าของกรรมสิทธิก็คือจำาเลย
ผ้่ร้องอ้างไม่ได้ว่าจำาเลยซึ่งเป็ นล่กหนี้ตามคำา
พิพากษาไม่ใช่เจ้าของที่ดินนั ้น ตาม ปวพ.
มาตรา 287,288 โจทก์จึงมีสิทธิยึดที่ดินแปลงนี้
มาชำาระหนี้

ภาค 2/37
2. คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลพิพากษาให้จำาเลยชดใช้ค่า
เสียหายแก่โจทก์เป็ นเงิน 150,000 บาท โจทก์
นำ าเจ้าพนั กงานบังคับคดียด
ึ ทรัพย์สินของจำาเลย
เพื่อขายทอดตลาดชำาระหนี้ ปรากฏว่าที่ดินของ
จำาเลยแปลงหนึ่ งราคา 400,000 บาท ถ่กเจ้าหนี้
คามคำาพิพากษาอีกคนหนึ่ งได้นำาเจ้าพนั กงาน
บังคับคดียึดไว้ก่อนแล้ว แต่จำาเลยเป็ นผ้่ทรงสิทธิ
เรียกร้องโดยจำาเลยมีล่กหนี้อย่ร่ ายหนึ่ งจำานวน
เงิน 200,000 บาท ซึ่งยังมิได้ชำาระหนี้ให้แก่
จำาเลย โจทก์ได้นำาเรื่องมาปรึกษาท่าน ท่านจะ
แนะนำ าโจทก์อย่างไรเพื่อจะได้รับชำาระหนี้ตามคำา
พิพากษา
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 บัญญัติว่า
“เมื่อเจ้าพนั กงานบังคับคดีได้ยึดหรืออายัด
ทรัพย์สินอย่างใดของล่กหนี้ตามคำาพิพากษาไว้
แทนเจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาแล้ว ห้ามมิให้เจ้าหนี้
ตามคำาพิพากษาอื่นยึดหรืออายัดทรัพย์สินนั ้นซำา้
อีก ฯลฯ”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 310(3) บัญญัติว่า
“ถ้าเป็ นสิทธิเรียกร้องขอให้ชำาระเงิน
จำานวนหนึ่ งให้เจ้าพนั กงานบังคับคดีอายัด ซึ่ง
ตามมาตรา 311 บัญญัติว่าสิทธิเรียกร้องซึ่งระบ่
ไว้ในอน่มาตรา (3) ของมาตรา 310 ให้อายัดได้
โดยคำาสัง่ อายัดซึ่งศาลได้ออกให้ตามที่เจ้าหนี้
ตามคำาพิพากษาได้ย่ ืนคำาขอ ฯลฯ”
วินิจฉั ย
ตามปั ญหา ปรากฏว่าที่ดินแปลงหนึ่ งของ
จำาเลยถ่กเจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาอีกคนหนึ่ งได้
นำ าเจ้าพนั กงานบังคับคดียด ึ ไว้ก่อนแล้ว กรณี จึง
ต้องด้วยข้อห้ามตามมาตรา 290 โจทก์ซ่ ึงเป็ นเจ้า
หนี้ตามคำาพิพากษาจะนำ ายึดที่ดินแปลงดังกล่าว
ซำา้ อีกไม่ได้
แต่ตามปั ญหา ปรากฏว่าจำาเลยซึ่งเป็ นล่ก
หนี้ตามคำาพิพากษาเป็ นเจ้าหนี้ของล่กหนี้อย่่ราย
หนึ่ ง ซึ่งจำาเลยยังมิได้รับชำาระหนี้จากล่กหนี้ของ
จำาเลยรายนี้ ฉะนั ้น โจทก์ซ่ ึงเป็ นเจ้าหนี้ตามคำา
พิพากษาชอบที่จะร้องขอต่อศาลไว้สัง่ อายัดเงิน
จำานวนดังกล่าวจากล่กหนี้ของจำาเลย
ข้าพเจ้าจะให้คำาปรึกษาแก่โจทก์โดยนั ยดัง
กล่าว

ภาค 2/36
2.คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลพิพากษาให้จำาเลยรื้อถอน
โรงเรือนออกจากที่ดินพิพาทซึ่งเป็ นของโจทก์
จำาเลยได้ทราบคำาบังคับแล้ว พ้นกำาหนดเวลาตาม
คำาบังคับ จำาเลยยังมิได้ร้ือถอนโรงเรือนออกไป
แต่ได้ย่ ืนคำาร้องต่อศาลว่า จำาเลยหาคนที่จะรื้อ
ถอนไม่ได้ ขอให้โจทก์ร้ือถอนเอง โดยจำาเลยจะ
ยอมออกค่าใช้จา่ ยให้ ถ้าท่านเป็ นศาลจะสัง่
อน่ญาตตามคำาร้องหรือยกคำาร้องของจำาเลย
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 270 บัญญัติว่า
“ถ้าค่่ความหรือบ่คคลซึ่งเป็ นฝ่ ายแพ้คดี
มิได้ปฏิบัติตามคำาพิพากษา ค่่ความหรือบ่คคลซึ่ง
เป็ นฝ่ ายชนะชอบที่จะร้องขอให้บังคับคดีตามคำา
พิพากษา ฯลฯ”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 271 บัญญัติว่า “การ
บังคับคดีต้องเป็ นไปตามคำาพิพากษา ฯลฯ”
วินิจฉั ย
ตามปั ญหาศาลพิพากษาให้จำาเลยรื้อถอน
โรงเรือนออกไปจากที่พิพาท จำาเลยต้องรื้อถอน
เอง จะเกี่ยงให้โจทก์ร้ือถอนโดยจำาเลยยอมเสีย
ค่าใช้จา่ ยไม่ได้ (ฎ.1649/2498) ถ้าข้าพเจ้าเป็ น
ศาลจะสัง่ ยกคำาร้องของจำาเลยเสีย
(หมายเหต่ : จำาเลยจะรื้อถอนเองหรือให้บ่คคล
อื่นรื้อถอนโดยวิธีใดนั ้นเป็ นเรื่องจำาเลย)
ซ่อมภาค 1/37
2.นายแดงฟ้ องนายเขียวขอให้ศาลพิพากษานาย
เขียวใช้หนี้ค่าซื้อของเชื่อ 50,000 บาท และศาล
ได้มคี ำาสัง่ อายัดเงินของนายเขียวซึ่งฝากอย่่ใน
ธนาคารอย่่ 30,000 บาท ไว้ก่อนพิพากษาและ
ได้แจ้งการอายัดตามกฎหมายแล้ว ต่อมาศาลได้
พิพากษาให้นายเขียวชำาระเงินแก่นายแดงตาม
ฟ้ อง นายแดงยังไม่ได้ดำาเนิ นการประการใด จน
เวลาล่วงพ้นมาเป็ นระยะเวลา 20 วัน และเงิน
30,000 บาท ก็ยังอย่่ท่ีธนาคาร ต่อมานายขาว
เจ้าหนี้ของนายเขียวชนะคดีตามคำาพิพากษาอีก
คดีหนึ่ ง นายขาวจะมีทางได้รับชำาระหนี้จากเงินที่
ธนาคารรายนี้โดยทางใดหรือไม่
แนวตอบ
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 260 บัญญัติว่า
“ถ้าในคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ ชีข้ าดตัดสิน
คดี มิได้กล่าวไว้ซ่ ึงวิธีการชัง่ คราวที่ศาลได้สัง่ ไว้
ในระหว่างพิจารณา และ (2) ถ้าคดีนั้นตัดสินให้
โจทก์ชนะ คำาสัง่ นั ้นคงมีผลต่อไปจนกว่าจะได้
ปฏิบัติตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ นั ้นเท่าที่จำาเป็ น
เพื่อบังคับตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ นั ้น แต่ถ้า
โจทก์มไิ ด้ขอหมายบังคับคดีภายในกำาหนด สิบ
ห้าวัน นั บแต่วันสิน ้ ระยะเวลาที่กำาหนดไว้ใน
บังคับ เพื่อให้ปฏิบัติตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่
ให้ถือว่าคำาสัง่ นั ้นเป็ นอันยกเลิกเมื่อสิน
้ ระยะ
เวลาเช่นว่านั ้น”
วินิจฉั ย
ตามปั ญหา ที่วา่ นายแดงยังไม่ได้ดำาเนิ น
การประการใด ก็แสดงว่านายแดงไม่ได้ขอหมาย
บังคับคดีจนเวลาล่วงพ้นมาเป็ นระยะเวลา 20
วัน นั บแต่วันสิน ้ ระยะเวลาที่กำาหนดในคำาบังคับ
ให้ปฏิบัติตามคำาพิพากษา คำาสัง่ ศาลที่ให้อายัด
เงินในธนาคารจึงเป็ นอันยกเลิกเมื่อสิน
้ ระยะ
เวลา 15 วัน ฉะนั ้นนายขาวจึงขอให้บังคับคดีแก่
เงินที่ธนาคารมาชำาระหนี้ในคดีท่ีนายขาวเป็ น
โจทก์ได้

ภาค 2 /37
3.แดงก้่ยืมเงินไปจากต้องเป็ นเงิน 40,000 บาท
เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2538 โดยมิได้ทำาหลัก
ฐานหรือสัญญาก้่ยืมเป็ นหนั งสือ แต่แดงได้ออก
เช็คลงวันที่ 10 มีนาคม 2538 ให้ไว้เป็ นหลัก
ฐาน ต่อมาแดงถ่กเจ้าหนี้อ่ ืนฟ้ องล้มละลาย ศาล
มีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาดเมื่อวันที่ 10
ก่มภาพันธ์ 2538 ต้อยจึงขอยื่นรับชำาระหนี้อ้าง
ว่าเป็ นหนี้ก้่ยืม ศาลสัง่ ยกคำาขอรับชำาระหนี้ ท่าน
เห็นว่าคำาสัง่ ศาลถ่กต้องหรือไม่ และถ้าต้อยยื่น
ขอรับชำาระหนี้ตามม่ลหนี้เช็ค ผลจะเป็ นอย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมาย พ.ร.บ.ล้มละลาย
มาตรา 94 บัญญัติว่า
“เจ้าหนี้ไม่มีประกันอาจขอรับชำาระหนี้ได้
ถ้าม่ลหนี้นั้นได้เกิดก่อนวันที่ศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์ แม้วา่ หนี้นั้นยังไม่ถึงกำาหนดชำาระหรือมี
เงื่อนไขก็ตามเว้นแต่
(1)หนี้ท่ีเกิดขึ้นโดยฝ่ าฝื นข้อห้ามตาม
กฎหมาย หรือศีลธรรมอันดี หรือหนี้ท่ีจะฟ้ อง
ร้องบังคับคดีไม่ได้”

วินิจฉั ย
กรณี ตามปั ญหา หนี้ก้่ยืมเงินของต้อย แม้
ม่ลหนี้จะเกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์ แต่การก้่ยืมเงินนี้ไม่มีหลักฐานเป็ น
หนั งสือ การออกเช็คให้ไว้ไม่พอที่จะถือเป็ นหลัก
ฐานการก้่ยืม ดังนั ้นหนี้รายนี้จึงเป็ นหนี้ท่ีจะฟ้ อง
ร้องบังคับคดีไม่ได้ จึงต้องห้ามมิให้ขอรับชำาระใน
คดีล้มละลายตาม มาตรา 94
และถ้าหากต้อยจะขอรับตามม่ลหนี้เช็ค
เช็คนี้ก็ลงวันที่ 10 มีนาคม 2538 ซึ่งเป็ นวันที่
หลังจากศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์ ซึ่งต้องถือว่า
ม่ลหนี้เช็คนี้เกิดขึ้นหลังจากวันที่ศาลมีคำาสัง่
พิทักษ์ ทรัพย์ หนี้รายนี้จึงต้องห้ามมิให้ขอรับ
ชำาระหนี้ในคดีล้มละลายเช่นเดียวกัน
ดังนั ้น หนี้รายนี้จึงไม่อาจขอรับชำาระในคดี
ล้มละลายไม่วา่ จะอ้างม่ลหนี้กย ้่ ืมหรือม่ลหนี้ตาม
เช็ค

ภาค 1/37
1.นายสมศักดิก
์ ้่ยืมเงินนายทองไปเป็ นจำานวน
500,000 บาท ต่อมานายสมศักดิท ์ ำาการค้าขาย
ขาดท่นมีหนี้สินล้นพ้นตัว นายสมศักดิค์ ด ิ ถึง
บ่ญค่ณนายทองที่เคยช่วยเหลือเสมอ ๆ จึงนำ า
ที่ดินของตนซึ่งเหลืออย่่แปลงเดียวราคา
500,000 บาท มาโอนตีใช้หนี้นายทอง โดยที่
นายทองมิได้ร้่เห็นถึงความมีหนี้สินล้นพ้นตัว
ของนายสมศักดิเ์ ลย ต่อมาอีก 2 เดือน นายสม
ศักดิถ์ ่กเจ้าหนี้อ่ ืนฟ้ องล้มละลาย ศาลมีคำาสัง่
พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาด เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์
ขอให้ศาลมีคำาสัง่ เพิกถอนการโอนที่ดินระหว่าง
นายสมศักดิก ์ ับนายทอง นายทองต่อส้่ว่าตนเอง
ส่จริต ทัง้ ที่ดินก็มีราคาเท่ากับหนี้จึงไม่ทำาให้เจ้า
หนี้อ่ ืนเสียเปรียบ ท่านเห็นว่าข้อต่อส้่ของนาย
ทองฟั งขึ้นหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมาย พ.ร.บ.ล้มละลาย
มาตรา 115 บัญญัติว่า
“การโอนทรัพย์สินการกระทำาใด ๆ ซึ่งล่ก
หนี้ได้กระทำา หรือยินยอมให้กระทำาในระหว่าง
ระยะเวลาสามเดือนก่อนมีการขอให้ล้มละลาย
และภายหลังนั ้นโดยม่่งหมายให้เจ้าหนี้คนหนึ่ ง
คนใดได้เปรียบแก่เจ้าหนี้คนอื่น ถ้าเจ้าพนั กงาน
พิทักษ์ ทรัพย์มีคำาขอโดยทำาเป็ นคำาร้อง ศาลมี
อำานาจสัง่ เพิกถอนการโอนหรือการกระทำานั ้น
ได้”
วินิจฉั ย
กรณี ตามปั ญหา การที่นายสมศักดิซ์ ่ ึงมี
หนี้สินล้นพ้นตัวนำ าที่ดินมาโอนตีใช้หนี้นายทอง
ซึ่งเป็ นเจ้าหนี้คนหนึ่ ง เพราะคิดถึงบ่ญค่ณของ
นายทองเป็ นการโอนทรัพย์สินโดยม่่งหมายให้
นายทองเจ้าหนี้ได้เปรียบเจ้าหนี้อ่ ืน และเป็ นการ
โอนก่อนการมีการขอให้ล้มละลายไม่เกิน 3
เดือน ดังนี้ ศาลจึงมีอำานาจเพิกถอนการโอนได้
ตามมาตรา 115 โดยไม่จำาต้องคำานึ งว่านายทอง
ส่จริตหรือไม่ เพราะมาตรานี้ม่งถึงเจตนาของล่ก
หนี้เท่านั ้น
ส่วนข้อต่อส้่ท่ีว่าราคาที่เดินเท่ากับจำานวน
หนี้ไม่ทำาให้เจ้าหนี้อ่ ืนเสียเปรียบนั ้นฟั งไม่ขึ้น
เพราะการทำาให้นายทองได้รับชำาระหนี้ใน
สัดส่วนที่ส่งกว่าเจ้าหนี้อ่ ืน ก็ถือว่าทำาให้เสีย
เปรียบแล้ว

2.คดีเรื่องหนึ่ ง โจทก์ฟ้องว่าจำาเลยบ่ร่กที่ดินของ
โจทก์ จำาเลยให้การว่าที่ดินเป็ นของจำาเลยไม่ได้
บ่กร่ก โจทก์มีหน้ าที่นำาสืบก่อน ได้สืบพยาน
โจทก์ฝ่ายตนเสร็จแล้ว ถึงวันนั ดสืบพยานจำาเลย
ตัวจำาเลยทนายจำาเลยไม่มาศาล ศาลชัน ้ ต้นจึง
พิพากษาให้โจทก์ชนะคดี จำาเลยไม่ย่ ืนอ่ทธรณ์
แต่ได้ย่ ืนคำาร้องขอให้ศาลพิจารณาคดีใหม่โดยขอ
สืบพยานจำาเลยให้เสร็จสิน ้ กระแสความอ้างว่าที่
ไม่มาศาล เพราะป่ วย และพยานหลักฐานของ
โจทก์ก็ฟังไม่ได้ตามฟ้ อง ถ้าท่านเป็ นศาลจะมีคำา
สัง่ คำาร้องของจำาเลยอย่างไร
แนวตอบ
ที่จะร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้นั้น ต้อง
เป็ นเรื่องที่จำาเลยขาดนั ดพิจารณา (มาตรา 207)
และที่จะถือว่าขาดนั ดพิจารณานั ้น ต้องเป็ นเรื่อง
ที่จำาเลยไม่มาศาลในวันสืบพยานซึ่งหมายถึงวัน
เริ่มต้นทำาการสืบพยานตาม ปวพ. มาตรา
197,1(10)
ตามปั ญหา ได้สบ
ื พยานโจทก์เสร็จแล้ว วัน
เริ่มต้นทำาการสืบพยานได้ผา่ นพ้นไปแล้ว ได้นัด
สืบพยานจำาเลย การที่จำาเลยและทนายจำาเลยไม่
มาศาลในวันนั ้น จึงไม่ใช่การที่จำาเลยไม่มาศาล
ในวันนั ดสืบพยานตามมาตรา 197 จำาเลยจึงขอ
ให้พิจารณาใหม่ไม่ได้ ถ้าข้าพเจ้าเป็ นศาลจะสัง่ ยก
คำาร้องของจำาเลยเสีย

3.คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลพิพากษาให้จำาเลยชำาระหนี้
โจทก์เป็ นเงิน 200,000 บาท กับให้จำาเลยรื้อ
ถอนบ้านพิพาทของจำาเลยออกไปจากที่ดินของ
โจทก์ จำาเลยขัดขืนไม่ปฏิบัติตามคำาบังคับ ปรากฏ
ว่าจำาเลยมีเงินฝากอย่่ในธนาคารไทยสยามเป็ น
เงิน 300,000 บาท โจทก์ซ่ ึงเป็ นเจ้าหนี้ตามคำา
พิพากษาจึงร้องขอให้ศาลสัง่ จับก่มและกักขัง
จำาเลยจนกว่าจำาเลยชำาระหนี้เงินดังกล่าวและรื้อ
ถอนบ้านพิพาทของจำาเลยออกไปจากที่ดินของ
โจททก์ ถ้าท่านเป็ นศาลจะสัง่ คำาร้องของโจทก์
ประการใด
แนวตอบ การที่จะขอให้ศาลมีคำาสัง่ จับก่มและ
กักขังล่กหนี้ตามคำาพิพากษาได้นั้น จะต้องได้
ความว่า
1.ล่กหนี้ตามคำาพิพากษาสามารถที่จะ
ปฏิบัติตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ นั ้นได้ ถ้าตนได้
กระทำาการโดยส่จริต และ
2.ไม่มีวิธีบังคับคดีอ่ ืนใดที่เจ้าหนี้ตามคำา
พิพากษาจะพึงใช้บังคับได้
(ปวพ. มาตรา 297)
ตามปั ญหา ศาลจะสัง่ จับก่มและกักขัง
จำาเลยไม่ได้ เพราะแม้ล่กหนี้ตามคำาพิพากษา
สามารถปฏิบัติตามคำาพิพากษาได้ และยังมีวิธี
บังคับที่เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาจะใช้บังคับได้ ราย
ละเอียดแยกพิจารณาได้ดังนี้
(1)เกี่ยวกับหนี้เงิน 200,000 บาทนั ้น ข้อ
เท็จจริงปรากฏว่าจำาเลยมีเงินฝากอย่่ในธนาคาร
ไทยสยามเป็ นเงิน 300,000 บาท เป็ นเรื่องที่
โจทก์จะร้องขอให้เจ้าพนั กงานบังคับคดีอายัด
หรือศาลสัง่ อายัดได้ตามมาตรา 310(3) และ
311
(2)ส่วนกรณี ท่ีศาลบังคับให้จำาเลยรื้อถอน
บ้านพิพาทออกไปจากที่ดินของโจทก์นั้น ศาลก็
บังคับให้จำาเลยรื้อถอนไปได้โดยจำาเลยเป็ นผ้่เสีย
ค่าใช้จา่ ย

ซ่อมภาค 2/36
1.คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลสัง่ ให้โจทก์นำาสืบก่อน ถึงวัน
สืบพยานโจทก์ โจทก์จำาเลยมาศาล โจทก์สืบ
พยานได้ 3 ปาก แล้วแถลงว่าโจทก์ยังมีพยานอีก
2 ปาก ขอเลื่อนไปสืบนั ดต่อไป ศาลอน่ญาต ถึง
วันนั ด โจทก์ทนายโจทก์มาศาล แต่จำาเลยและ
ทนายจำาเลยไม่มาศาล ศาลสืบพยานโจทก์ต่อจน
เสร็จในวันนั ดนั ้น และจะนั ดพยานจำาเลยต่อไป
โจทก์แถลงว่าจำาเลยขาดนั ดพิจารณาโดยจงใจ ขอ
ให้ศาลชีข้ าดตัดสินคดีไปฝ่ ายเดียว ท่านเห็นด้วย
กับข้อแถลงของโจทก์หรือไม่
แนวตอบ
วันสืบพยานที่จะถือว่าจำาเลยขาดนั ด
พิจารณาและให้ศาลชีข้ าดตัดสินคดีไปฝ่ ายเดียว
ตาม ปวพ. มาตรา 202 นั ้น ต้องเป็ นวันที่ศาล
เริ่มต้นทำาการสืบพยานตามมาตรา 1(10)
ตามปั ญหา โจทก์ได้นำาสืบพยานโจทก์แล้ว
3 ปาก จึงผ่านพ้นวันสืบพยานมาแล้ว นั ดต่อมา
โจทก์สบ ื พยานอีก 2 ปาก มิใช่วันสืบพยาน จึงไม่
ถือว่าจำาเลยขาดนั ดพิจารณา เมื่อโจทก์สืบพยาน
เสร็จแล้ว จำาเลยก็มีสิทธิท่ีจะได้สบ
ื พยานจำาเลย
คำาแถลงว่าจำาเลยขาดนั ดพิจารณาจึงไม่ชอบด้วย
กฎหมาย ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วย ถ้าข้าพเจ้าเป็ นศาล
จะสัง่ นั ดสืบพยานจำาเลยต่อไป

2.ในกรณี ดังต่อไปนี้ จำาเลยไม่ปฏิบัติตามคำา


บังคับของศาล ถ้าท่านเป็ นศาล จะสัง่ จับก่มและ
กักขังจำาเลยหรือไม่
2.1 ศาลพิพากษาให้จำาเลยส่งคืนบ่ตรผ้่
เยาว์ของโจทก์คืนให้แก่โจทก์
2.2 ศาลพิพากษาให้จำาเลยโอนที่ดินที่
พิพาทให้แก่โจทก์ ถ้าไม่ปฏิบัติตามให้
ถือเอาคำาพิพากษาแทนการแสดง
เจตนาของจำาเลย
แนวตอบ
ตาม ปวพ. มาตรา 297 การที่ศาลจะ
อน่ญาตตามคำาขอของโจทก์ท่ีร้องขอต่อศาลให้มี
คำาสัง่ จับก่มและกักขังล่กหนี้ตามคำาพิพากษาได้
นั ้น จะต้องได้ความว่า
(1) ล่กหนี้ตามคำาพิพากษาสามารถที่
จะปฏิบัติตามคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ นั ้น
ได้ ถ้าได้กระทำาการโดยส่จริต และ
(2) ไม่มีวิธีบังคับอื่นใดที่เจ้าหนี้ตาม
คำาพิพากษาจะใช้บังคับได้
ตามปั ญหา ตอบได้ดังนี้
2.1 ถ้าปรากฏว่าจำาเลยสามารถที่จะปฏิบัติตาม
คำาบังคับได้ ถ้าได้กระทำาการโดยส่จริต ก็สัง่
จับก่มและกักขังได้ เพราะไม่มีวิธีการบังคับอย่าง
อื่น
2.3 ศาลจะสัง่ จับก่มและกักขังไม่ได้ เพราะมี
วิธีบังคับอย่างอื่น คือโจทก์สามารถขอให้ถือเอา
คำาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของจำาเลยและ
ขอให้ศาลสัง่ โอนที่ดินได้ตาม ปวพ. มาตรา 297
และ ปพพ. มาตรา 213

3.คดีล้มละลายเรื่องหนึ่ ง ศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์


ทรัพย์นายอึ่งล่กหนี้เด็ดขาด นายอึ่งยื่นคำาขอ
ประนอมหนี้โดยชำาระหนี้ร้อยละ 20 ของจำานวน
หนี้ทัง้ หมด และมีนายอ่างเป็ นผ้่คำา้ ประกัน
สำาหรับจำานวนดังกล่าว ศาลเห็นชอบด้วย ต่อมา
นายอึ่งล่กหนี้ผิดนั ดไม่ชำาระหนี้ตามที่ได้ขอ
ประนอมหนี้ไว้ ศาลจึงมีคำาสัง่ ยกเลิกการ
ประนอมหนี้ และพิพากษาให้ล่กหนี้ล้มละลาย
เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ไม่สามารถยึด
ทรัพย์สินใด ๆ ของนายอึ่งล่กหนี้ได้เลย แต่
ทราบว่านายอ่างมีรถยนต์อย่่คันหนึ่ ง เจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์จึงได้ยึดไว้เพื่อขายทอด
ตลาดชำาระหนี้แก่บรรดาเจ้าหนี้ของนายอึ่ง นาย
อ่างเห็นว่าตนได้หล่ดพ้นจากข้อตกลงใน
ประนอมหนี้แล้ว จึงยื่นคำาร้องต่อศาลขอให้
ปล่อยรถยนต์ของตนที่เจ้าพนั กงานพิทักษ์
ทรัพย์ได้ยด
ึ ไว้ ถ้าท่านเป็ นศาล ท่านจะสัง่ คำาร้อง
ของนายอ่างอย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมาย พ.ร.บ.ล้มละลาย
มาตรา 60 บัญญัติว่า
“ถ้าล่กหนี้ผิดนั ดไม่ชำาระหนี้ตามที่ได้
ตกลงไว้ในการประนอมหนี้ก็ด… ี .เมื่อเจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์รายงานหรือเจ้าหนี้คนใด
มีคำาขอโดยทำาเป็ นคำาร้อง ศาลมีอำานาจยกเลิก
การประนอมหนี้และพิพากษาให้ล่กหนี้ล้ม
ละลาย แต่ทัง้ นี้ไม่กระทบการใดที่ได้กระทำาไป
แล้วตามข้อประนอมหนี้นั้น”
วินิจฉั ย
เมื่อศาลมีคำาสัง่ ยกเลิกการประนอมหนี้
และพิพากษาให้ล่กหนี้ล้มละลายแล้ว การตกลง
ตามข้อประนอมหนี้เป็ นอันถ่กเพิกถอนไปด้วย
ในตัวเสมือนหนึ่ งว่ามิได้มก ี ารประนอมหนี้กัน
เลย หนี้ตามข้อประนอมหนี้ก็เป็ นอันระงับไป
ด้วย เมื่อการยึดรถยนต์ของนายอ่างมิได้กระทะ
ไปตามข้อตกลงในการประนอมหนี้ การยึดรถจึง
ไม่ชอบ ผ้่คาำ ้ ประกันย่อมเป็ นอันหล่ดพ้นตาม
พ.ร.บ.ล้มละลาย มาตรา 60
ถ้าข้าพเจ้าเป็ นศาล จะสัง่ ปล่อยรถยนต์ของ
นายอ่าง

ซ่อมภาค 1/36
1.คดีเรื่องหนึ่ งโจทก์ฟ้องจำาเลยฐานผิดสัญญา
เรียกค่าเสียหาย 500,000 บาท จำาเลยให้การส้่
คดี ศาลให้โจทก์มหี น้ าที่นำาสืบก่อน ในวันนั ดสืบ
พยานโจทก์ โจทก์ ทนายโจทก์ไม่มาศาล จำาเลย
ขอให้ศาลดำาเนิ นกระบวนการพิจารณาต่อไป
ศาลมีคำาสัง่ แสดงว่าโจทก์ขาดนั ดพิจารณา และ
พิพากษายกฟ้ องโจทก์ ต่อมาอีก 5 วันนั บแต่วัน
ศาลพิพากษา โจทก์ย่ ืนคำาร้องขอให้ศาลสัง่
พิจารณาคดีใหม่ โดยอ้างว่าในวันนั ดสืบพยาน
โจทก์นั้น ตัวโจทก์ป่วยหนั กและมารดาทนาย
โจทก์ถึงแก่กรรมจึงมาศาลไม่ได้ โจทก์ขาดนั ด
โดยไม่จงใจและมีเหต่การอันสมควร จำาเลย
ให้การโต้แย้งว่า เมื่อโจทก์ขาดนั ดพิจารณา โจทก์
จะขอให้พิจารณาใหม่ไม่ได้ ต้องห้ามตาม
กฎหมาย ได้แต่ย่ ืนคำาฟ้ องใหม่ ท่านเห็นด้วยกับ
ข้อโต้แย้งของจำาเลยหรือไม่
แนวตอบ
ตาม ปวพ. มาตรา 200 เมื่อจำาเลยแจ้งต่อ
ศาลว่าตนตัง้ ใจจะให้ดำาเนิ นการพิจารณาคดีต่อ
ไป ก็เป็ นกรณี ต้องด้วยวรรค 2 ไม่ใช่วรรค 1
ซึ่งตามวรรค 1 นี้ โจทก์จะขอให้พิจารณาคดีใหม่
ไม่ได้ เมื่อศาลดำาเนิ นกระบวนพิจารณาต่อไป
ตามวรรค 2 โจทก์ย่อมขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้
เมื่อศาลพิพากษาให้ยกฟ้ องโจทก์ จึงถือว่า
โจทก์แพ้คดีในประเด็นข้อพิพาทตามมาตรา 207
โจทก์จึงร้องขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ ข้าพเจ้าไม่
เห็นด้วยกับข้อโต้แย้งของจำาเลย
(หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 207 บัญญัติว่า
“ค่่ความฝ่ ายใดซึ่งศาลแสดงว่าขาดนั ด
พิจารณาและมีคำาพิพากษาหรือคำาสัง่ ให้แพ้คดีใน
ประเด็นที่พิพาท ค่่ความฝ่ ายนั ้นอาจมีคำาขอให้
พิจารณาใหม่ เว้นแต่
(2)คำาพิพากษาหรือคำาสัง่ นั ้นให้ค่ความขาดนั ด
แพ้คดีในกรณี ท่ีมีการพิจารณาใหม่ เพราะเหต่ท่ี
ค่่ความฝ่ ายเดียวกันนั ้นได้ขาดนั ดมาครัง้ หนึ่ ง
แล้ว”)

2.คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลพิพากษาให้จำาเลยใช้เงินแก่
โจทก์ 200,000 บาท โจทก์นำาเจ้าพนั กงานบังคับ
คดียดึ รถยนต์คันหนึ่ ง โดนอ้างว่าเป็ นทรัพย์สิน
ของจำาเลยเพื่อขายทอดตลาดชำาระหนี้แก่โจทก์
นายว่ฒบ ิ ่คคลภายนอกคดีร้องขอให้ปล่อย
รถยนต์ท่ียึด โดยอ้างว่ารถยนต์เป็ นของตน ศาล
ชัน
้ ต้นพิจารณาคดีชัน ้ ร้องขอให้ปล่อยรถยนต์ท่ี
ยึด ฟั งข้อเท็จจริงว่าเป็ นรถยนต์ของนายว่ฒิผ้่
ร้อง จึงสัง่ ให้ปล่อยรถยนต์ท่ียึด โจทก์อ่ทธรณ์
ระหว่างคดีร้องขอให้ปล่อยทรัพย์อย่่ในระหว่าง
การพิจารณาของศาลอ่ทธรณ์เช่นนี้ ท่านเห็นว่า
โจทก์มีทางใดบ้างที่จะยังมิให้มีการถอนการยึด
ในระหว่างอ่ทธรณ์
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 264 บัญญัติว่า
“ค่่ความในคดีอาจมีคำาขอต่อศาล เพื่อให้มี
คำาสัง่ กำาหนดวิธีการเพื่อค้่มครองประโยชน์ของผ้่
ขอในระหว่างพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคำา
พิพากษา ฯลฯ”
วินิจฉั ย
ตามปั ญหา เมื่อศาลสัง่ ปล่อยรถยนต์ท่ียึด
รถยนต์ก็ต้องตกไปอย่่กับนายว่ฒิ ผ้่ร้องขอให้
ปล่อย โจทก์ย่อมจะได้รับความเสียหาย ดังนั ้น
โจทก์อาจยื่นคำาร้องต่อศาลอ่ทธรณ์ โดยให้ระงับ
การถอนการยึดไว้ก่อนได้ตาม ปวพ. มาตรา
264 โจทก์มีวิธีการปฏิบัติได้ดังกล่าว
(ฎ.583/2504)

3.นายโหดฟ้ องนายนิ่ มผ้่ก้่ และนายน่ ่มผ้่คำา้


ประกัน เป็ นจำาเลย ให้รบ ั ผิดทางแพ่งตามสัญญา
ก้่ และสัญญาคำา้ ประกันเป็ นเงินจำานวน
100,000 บาท ศาลชัน ้ ต้นมีคำาพิพากษาให้นาย
นิ่ มและนายน่ ่มร่วมกันรับผิดตามฟ้ อง คดีถึงที่
ส่ด นายนิ่ มไม่มีทรัพย์สินใดที่นายโหดจะยึดมา
บังคับคดีได้ นายโหดจึงยึดทรัพย์สินของนายน่ ่ม
คดีอย่่ในระหว่างการดำาเนิ นการประกาศขาย
ทอดตลาด นายเ***้ยมมาฟ้ องนายนิ่ มเป็ นคดี
ล้มละลาย ศาลสัง่ รับฟ้ องและมีคำาสัง่ ให้พิทักษ์
ทรัพย์นายนิ่ มไว้ชัว่ คราว เจ้าพนั กงานพิทักษ์
ทรัพย์ทราบถึงกรณี ท่ีเจ้าพนั กงานบังคับคดีได้ยด ึ
ทรัพย์สินของนายน่ ่มผ้่คำา้ ประกันนายนิ่ มในคดี
แพ่ง จึงมีหนั งสือถึงเจ้าพนั กงานบังคับคดีเพื่อให้
เจ้าพนั กงานบังคับคดีโอนทรัพย์สินที่ยึดได้ในคดี
แพ่งมาไว้ในคดีล้มละลาย ดังนี้ เจ้าพนั กงาน
บังคับคดีต้องโอนทรัพย์สินดังกล่าวให้เจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์หรือไม่ และหากเจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์มีหนั งสือไปถึงเจ้า
พนั กงานบังคับคดีภายหลังจากเสร็จสิน ้ การขาย
ทอดตลาดไปแล้ว 15 วัน ดังนี้จะทำาให้คำาตอบ
ของท่านเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ อย่างไร
แนวตอบ ตอบตามหลักกฎหมายประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290 และ
พ.ร.บ.ล้มละลาย มาตรา 110
วินิจฉั ย
กรณี ตามปั ญหาในประเด็นแรก แม้การ
บังคับคดีแพ่งจะยังไม่สำาเร็จบริบ่รณ์ก่อนวันที่
ศาลจะมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์ชัว่ คราวก็ตาม แต่ใน
เมื่อเป็ นการยึดทรัพย์ของนายน่ ่มผ้่คำา้ ประกัน
มิใช่ทรัพย์สินของนายนิ่ มจำาเลยในคดีล้มละลาย
แล้ว เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ก็ไม่มีอำานาจสัง่
ให้โอนทรัพย์สินที่เจ้าพนั กงานบังคับคดียึดได้ใน
คดีแพ่งมาไว้ในคดีล้มละลาย เจ้าพนั กงานบังคับ
คดีจึงไม่จำาต้องโอนทรัพย์สินที่ยึดได้ให้แก่เจ้า
พนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์
แม้ว่าการขายทอดตลาดจะสำาเร็จบริบ่รณ์
ไปแล้ว 15 วัน ซึ่งถือไดว่าการบังคับคดีสำาเร็จ
บริบ่รณ์แล้ว เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ก็ไม่มี
อำานาจสัง่ ให้เจ้าพนั กงานบังคับคดีโอนเงินที่ได้
จากการขายทอดตลาดเข้ามาในคดีล้มละลายอย่่
นั ้นเอง เพราะเงินที่ได้จากการขายนั ้นมิใช่เงินที่
ได้จากการขายทรัพย์ของนายนิ่ มนั่ นเอง

ซ่อมภาค 2/35
1.โจทก์ฟ้องให้จำาเลยรื้อรัว้ ที่ร่กลำา้ ที่ดินโจทก์
จำาเลยให้การต่อส้่คดีวา่ มิได้ร่กลำา้ และฟ้ องแย้งว่า
โจทก์ปล่กตึกแถวชิดที่ดิน ทำาให้นำ้าฝนและของ
ตกลงมาในที่ดินของจำาเลย ขอให้โจทก์ร้ือ
กันสาด ถ้าท่านเป็ นศาล จะสัง่ รับฟ้ องแย้งของ
จำาเลยหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 177 วรรค 3
บัญญัติว่า
“จำาเลยจะฟ้ องแย้งมาในคำาให้การก็ได้ แต่
ฟ้ องแย้งนั ้นเป็ นเรื่องอื่นที่ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม
แล้ว ให้ศาลสัง่ ให้จำาเลยฟ้ องเป็ นคดีต่างหาก”
วินิจฉั ย
ตามอ่ทาหรณ์ เรื่องนำ ้ าฝนถ่กกันสาดของ
อาคารโจทก์ และกระเซ็นลงส่่ท่ีดินและบ้านเรือน
ของจำาเลยนั ้น เป็ นปั ญหาเกี่ยวพันกับที่โจทก์
และจำาเลยพิพาทเรื่องเขตแดนตามคำาฟ้ องเดิม
ถ้าข้าพเจ้าเป็ นศาลจะสัง่ รับฟ้ องแย้งของจำาเลย
(ฎ.57/2518)

2.เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษานำ ายึดที่ดินแปลงหนึ่ ง
อ้างว่าเป็ นของล่กหนี้ นายแดงยื่นคำาร้องขอให้
ปล่อยที่ดินที่ยด
ึ อ้างเป็ นของตน ทางพิจารณาได้
ความว่าเป็ นที่ดินกรรมสิทธิร์ วมที่ยังไม่ได้แบ่ง
แยกของนายแดงและล่กหนี้ ท่านเห็นว่าการ
ร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ท่ียึดของนายแดงนั ้นถ่ก
ต้องหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 288 บัญญัติว่า
“ถ้าบ่คคลใดกล่าวอ้างว่าจำาเลยหรือล่กหนี้
ตามคำาพิพากษาไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่เจ้า
พนั กงานบังคับคดีได้ยด
ึ ไว้ บ่คคลนั ้นอาจยื่น
คำาร้องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีขอให้
ปล่อยทรัพย์สินเช่นว่านั ้น”
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 287 บัญญัติว่า
“ภายใต้บังคับแห่งบทบัญญัติมาตรา 288
และ 283 แห่งประมวลกฎหมายนี้ว่าด้วยการ
บังคับคดีแก่ทรัพย์สินของล่กหนี้ตามคำา
พิพากษา ย่อมไม่กระทบกระทัง่ ถึงบ่ริมสิทธิหรือ
สิทธิอ่ ืน ๆ ซึ่งบ่คคลภายนอกอาจร้องขอให้
บังคับเหนื อทรัพย์สินนั ้นได้ตามกฎหมาย”
วินิจฉั ย
การยื่นคำาร้องขัดทรัพย์ขอให้ปล่อยทรัพย์
ที่ยึดนั ้น ต้องเป็ นกรณี ท่ีทรัพย์นั้นมิใช่ของล่ก
หนี้ แต่เมื่อ ปรากฏว่าทรัพย์สินนั ้นเป็ น
กรรมสิทธิร์ วมของล่กหนี้กับนายแดง นายแดง
จึงไม่มีสิทธิขอให้ปล่อยทรัพย์ท่ียึด ตาม มาตรา
283 นายแดงได้แต่จะขอให้กันส่วนของตนตาม
มาตรา 287 เท่านั ้น

3.ในคดีล้มละลายเรื่องหนึ่ ง ที่ประช่มเจ้าหนี้ได้
ลงมิติพิเศษรับคำาขอประนอมหนี้ของล่กหนี้โดย
่ หนี้ชำาระหนี้เพียงร้อยละ 10 ของหนี้
ให้ลก
ทัง้ หมด และศาลได้มค ี ำาสัง่ เห็นชอบด้วยกับการ
ประนอมหนี้นั้นแล้ว ปรากฏว่ามีเจ้าหนี้สองราย
คัดค้าน คือ
1.นายเอนก ปฏิเสธไม่ยอมผ่กพันตามการ
ประนอมหนี้ดังกล่าว โดยอ้างว่าในการประช่ม
เจ้าหนี้ครัง้ นั ้น ตนได้ออกเสียงคัดค้านไม่ยอมรับ
คำาขอประนอมหนี้ และเจ้าพนั กงานพิทักษ์
ทรัพย์ได้จดคำาคัดค้านของตนไว้ในรายงานการ
ประช่มแล้ว
2.นายวิชาญ ปฏิเสธไม่ยอมผ่กพันตาม
การประนอมหนี้ดังกล่าว โดยอ้างว่าตนมิได้เข้า
ร่วมในการประช่มเจ้าหนี้ครัง้ นั ้นด้วย เนื่ องจาก
ติดราชการสำาคัญและเร่งด่วนต้องเดินทางไปต่าง
ประเทศกับนายกรัฐมนตรี
ท่านเห็นว่านายเอนกและนายวิชาญ
ปฏิเสธไม่ยอมรับข้อผ่กพันในการประนอมหนี้
ได้หรือไม่ เพราะเหต่ใด
แนวตอบ หลักกฎหมาย พ.ร.บ.ล้มละลาย
มาตรา 56 บัญญัติว่า
“การประนอมหนี้ซ่ ึงที่ประช่มเจ้าหนี้ได้
ยอมรับและศาลเห็นชอบด้วยแล้ว ผ่กพันเจ้าหนี้
ทัง้ หมดในเรื่องหนี้ท่ีอาจขอรับชำาระได้ แต่ไม่
ผ่กพันเจ้าหนี้คนหนึ่ งคนใดในเรื่องหนี้ซ่ ึงตามพ
ระราชบัญญัติล่กหนี้ไม่อาจหล่ดพ้นโดยคำาสัง่
ปลดจากล้มละลายได้ เว้นแต่เจ้าหนี้คนนั ้นได้ยิน
ยอมในการประนอมหนี้”
วินิจฉั ย
จากมาตรา 56 นี้จะเห็นว่าการประนอม
หนี้ซ่ึงที่ประช่มเจ้าหนี้ได้ยอมรับและศาลเห็น
ชอบด้วยแล้ว ย่อมผ่กพันเจ้าหนี้ทัง้ หมดในเรื่อง
หนี้ท่ีอาจขอรับชำาระได้ ฉะนั ้น แม้นายเอนกจะ
คัดค้านไม่ยอมรับคำาขอประนอมหนี้ในที่ประช่ม
เจ้าหนี้ และแม้นายชาญจะมิได้เข้าร่วมประช่ม
ด้วยเหต่สำาคัญประการใดก็ตาม ทัง้ สองคนไม่
สามารถปฏิเสธความผ่กพันตามการประนอมหนี้
ครัง้ นี้ได้

ซ่อมภาค 1/34
1.คดีเรื่องหนึ่ งโจทก์ฟ้องจำาเลยเรียกค่าซื้อของ
เชื่อแล้วโจทก์ถอนฟ้ องไป ศาลชัน ้ ต้นอน่ญาตให้
ถอนฟ้ องได้แล้ว แต่จำาเลยอ่ทธรณ์คำาสัง่ ที่ศาล
ชัน
้ ต้นอน่ญาตให้ถอนฟ้ อง คดีอย่่ระหว่าง
พิจารณาของศาลอ่ทธรณ์ โจทก์ก็มาฟ้ องจำาเลย
ในม่ลหนี้อันเดียวกันนี้ท่ีศาลชัน ้ ต้นอีก ดังนี้
ท่านเห็นว่าฟ้ องของโจทก์คดีหลังเป็ นฟ้ องซ้อน
กับคดีแรกหรือไม่
แนวตอบ
หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 173 วรรค 2(1)
บัญญัติว่า
“นั บตัง้ แต่เวลาได้ย่ ืนคำาฟ้ องแล้ว คดีนั้น
อย่่ในระหว่างพิจารณา และผลแห่งการนี้
(1)ห้ามมิให้โจทก์ย่ ืนคำาฟ้ องเรื่องเดียวกัน
นั ้นต่อศาลเดียวกัน หรือต่อศาลอื่น”
วินิจฉั ย
ตามปั ญหา แม้โจทก์ถอนฟ้ องและศาล
อน่ญาตแล้วก็ตาม แต่จำาเลยอ่ทธรณ์คำาสัง่ ของ
ศาลชัน ้ ต้นที่อน่ญาตให้โจทก์ถอนฟ้ องอย่่ คดีอย่่
ระหว่างพิจารณาของศาลอ่ทธรณ์ การที่โจทก์มา
ฟ้ องจำาเลยในม่ลหนี้อันเดียวกันนี้ท่ีศาลชัน ้ ต้น
อีก ฟ้ องของโจทก์คดีหลังจึงเป็ นฟ้ องซ้อนกับคดี
แรก

2.คดีเรื่องหนึ่ ง โจทก์จำาเลยทำาหนั งสือยอมความ


กันว่าให้ถือเอาทางเดินพิพาทเป็ นทางสาธารณะ
และจำาเลยรื้อถอนสิ่งปล่กสร้างออกไป ศาล
พิพากษาตามยอมและจำาเลยปฏิบัติตามยอมโดย
รื้อถอนออกไปแล้ว ต่อมาโจทก์เอง(ไม่ใช่จำาเลย)
กลับปล่กสร้างขึ้นบนทางเดินนั ้น ดังนี้ จำาเลยจำา
ร้องขอให้คดีเดิมให้บังคับโจทก์ร้ือสิ่งปล่กสร้างที่
โจทก์ปล่กออกไปได้หรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 271 บัญญัติว่า
“ถ้าค่่ความหรือบ่คคลใดซึ่งเป็ นฝ่ ายแพ้คดี
มิได้ปฏิบัติตามคำาพิพากษาของศาล ค่่ความหรือ
บ่คคลที่เป็ นฝ่ ายชนะชอบที่จะต้องขอให้บังคับ
คดีตามคำาพิพากษานั ้น
การบังคับคดีหรือการปฏิบัติตามคำา
พิพากษาต้องบังคับให้ตรงกับคำาพิพากษา”
วินิจฉั ย
ตามปั ญหาที่โจทก์จำาเลยทำายอมความกัน
ว่าจำาเลยยอมรื้อถอนสิ่งปล่กสร้างออกไปและ
ศาลพิพากษาตามยอมนั ้น ถือได้วา่ จำาเลยเป็ น
ฝ่ ายแพ้คดี จำาเลยได้ปฏิบัติตามยอมโดยรื้อถอน
ไปแล้ว ส่วนกรณี ท่ีโจทก์ปล่กสร้างขึ้นบนทาง
เดินที่พิพาทนั ้น เป็ นกรณี ท่ีเกิดขึ้นใหม่ และคำา
พิพากษาตามยอมบังคับเฉพาะจำาเลย จะบังคับ
โจทก์ไม่ได้ จำาเลยจึงร้องขอในคดีเดิมให้บังคับให้
โจทก์ร้ือสิ่งปล่กสร้างที่โจทก์ปล่กออกไปไม่ได้

3.นายฉิ่ งก้่เงินนายฉาบไปเป็ นจำานวน 50,000


บาท โดยมีนายระนาดเป็ นผ้่คำา้ ประกัน ต่อมา
นายฉิ่ งถ่กเจ้าหนี้ภายนอกฟ้ องล้มละลายและ
ศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาดนายฉิ่ งแล้ว
ปรากฏว่านายฉาบมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้
ภายในเวลาที่กฎหมายกำาหนด นายฉาบจึงเรียก
ร้องให้นายระนาดผ้่คาำ ้ ประกันชดใช้หนี้เงินก้่ดัง
กล่าวแก่ตน นายระนาดปฏิเสธอ้างว่าเมื่อนาย
ฉาบมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ในคดีล้มละลาย
แล้ว หนี้เงินก้่ระหว่างนายฉิ่ งกับนายฉาบก็เป็ น
อันสิน
้ ส่ดลง เมื่อหนี้เงินก้่อันเป็ นหนี้ประธาน
ถ่กระงับแล้ว หนี้คำา้ ประกันของตนก็ย่อมระงับ
สิน
้ ลงเช่นกัน ท่านเห็นว่าข้ออ้างของนายระนาด
ถ่กต้องหรือไม่
แนวตอบ
แม้นายฉาบจะมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้
ภายในเวลาที่กฎหมายกำาหนดก็เป็ นอันหมด
สิทธิท่ีจะได้รับชำาระหนี้จากกองทรัพย์สินของ
นายฉิ่ งในคดีล้มละลายต่อไปเท่านั ้น แต่ว่าหนี้
เงินก้่ระหว่างนายฉิ่ งกับนายฉาบยังคงมีอย่่ตาม
กฎหมายส่วนสารบัญญัติ หาได้ระงับสิน ้ ลงตาม
ที่นายระนาดกล่าวอ้างไม่ ฉะนั ้น นายระนาดซึ่ง
เป็ นผ้่คำา้ ประกันหนี้เงินก้่รายนี้จึงยังคงต้องรับ
ผิดอย่่ ข้อกล่าวอ้างของนายระนาดรับฟั งไม่ได้

ซ่อมภาค 2/33
2.คดีเรื่องหนึ่ ง ศาลพิพากษาให้จำาเลยใช้หนี้เงิน
แก่โจทก์ 200,000 บาท ศาลได้ส่งคำาบังคับให้
แก่จำาเลยทราบแล้ว จำาเลยไม่สามารถชำาระหนี้
ภายในกำาหนดเวลา และศาลได้ออกหมายบังคับ
คดีแจ้งแก่เจ้าพนั กงานบังคับคดีแล้วในการ
บังคับคดีเอาชำาระหนี้จากทรัพย์สินของจำาเลย
ปรากฏว่านายคงได้ยืมรถยนต์นั่งของจำาเลยไป
จากจำาเลย โจทก์มีทางใดบ้างที่จะนำ ารถยนต์ท่ี
นายคงยืมไปจากจำาเลยมาขายทอดตลาดชำาระหนี้
แก่โจทก์
แนวตอบ
ตาม ปวพ. มาตรา 278 เจ้าพนั กงาน
บังคับคดีมีอำานาจที่จะยึดหรืออายัดและยึดถือ
ทรัพย์สินของล่กหนี้ตามคำาพิพากษาไว้ และตาม
มาตรา 311 สิทธิเรียกร้อง มาตรา 310(3) คือ
สิทธิเรียกร้องให้ส่งมอบสิ่งของให้เจ้าพนั กงาน
บังคับคดีอายัด โดยคำาสัง่ อายัดซึ่งศาลได้ออกให้
ตามที่เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาได้ย่ ืนคำาขอโดยทำา
เป็ นคำาร้องฝ่ ายเดียว
โจทก์มีทางที่จะนำ ารถยนต์ของจำาเลยที่นาย
คงยืมไปจากจำาเลยมาขายทอดตลาดชำาระหนี้แก่
โจทก์โดยวิธีการดังนี้
1.การที่นายคงยืมรถยนต์ไปจากจำาเลย
จำาเลยจึงมีสิทธิเรียกร้องให้นายคงส่งมอบ
รถยนต์ โจทก์ชอบที่จะยื่นคำาร้องต่อศาลให้สัง่
อายัดสิทธิเรียกร้องดังกล่าวได้ตาม ปวพ. มาตรา
311 หรือ
2.ร้องขอต่อเจ้าพนั กงานบังคับคดีให้ยึด
รถยนต์มาจากนายคงได้ตามมาตรา 278 แม้
รถยนต์จะอย่่ท่ีบ่คคลภายนอก เจ้าพนั กงาน
บังคับคดีก็ยด ึ ได้ หรือ
3.ร้องต่อเจ้าพนั กงานบังคับคดีให้อายัด
สิทธิเรียกร้องรถยนต์ดังกล่าวและยึดรถยนต์ไว้
ซึ่งเจ้าพนั กงานบังคับคดีทำาได้เองตามมาตรา
278

3.นายหัวหินถ่กศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ด


ขาดไปแล้วในปี 2533 ปรากฏว่ามีเจ้าหนี้พากัน
ยื่นคำาขอรับชำาระหนี้มากมาย แต่ในการ
สอบสวนคำาขอรับชำาระหนี้นั้น เจ้าพนั กงาน
พิทักษ์ ทรัพย์พบว่ามีรายที่เป็ นปั ญหาเพียง 2
รายเท่านั ้น คือ
รายที่ 1 นายประจวบ ยื่นคำาขอรับชำาระหนี้
ตามสัญญาเงินก้่ท่ีนายหัวหินทำาไว้ ตัง้ แต่ก่อนที่
จะมีการฟ้ องคดีล้มละลายนี้ แต่ยังไม่ถึงกำาหนด
ชำาระเงินต้นและดอกเบีย ้ คืน (ตามสัญญาก้ร่ ะบ่
ว่าจะชำาระคืนในปี 2533)
รายที่ 2 นายชะอำา ยื่นคำาขอรับชำาระหนี้
ตามตัว๋ สัญญาใช้เงินที่นายหัวหินเป็ นผ้่ออกตัว๋
ให้ไว้แก่ตนภายหลังที่ศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์
เด็ดขาดแล้ว โดยที่นายชะอำารับไว้โดยส่จริตไม่ร้่
ว่านายหัวหินมีหนี้สินล้นพ้นตัวและไม่ร้่ว่านาย
หัวหินถ่กฟ้ องคดีล้มละลาย
ท่านเห็นว่า นายประจวบและนายชะอำามี
สิทธิขอรับชำาระหนี้ได้เพียงใดหรือไม่
แนวตอบ หลักกฎหมาย พ.ร.บ.ล้มละลาย
มาตรา 94 บัญญัติว่า
“เจ้าหนี้ไม่มีประกันอาจขอรับชำาระหนี้ได้
ถ้าม่ลแห่งหนี้ได้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำาสัง่
พิทักษ์ ทรัพย์ แม้วา่ หนี้นั้นยังไม่ถึงกำาหนดชำาระ
หรือมีเงื่อนไขก็ตาม เว้นแต่…”
วินิจฉั ย
ตามอ่ทาหรณ์ สัญญาเงินก้่ระหว่างนาย
ประจวบและนายหัวหินทำาขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำา
สัง่ พิทักษ์ ทรัพย์ของนายหัวหิน แม้ว่าจะยังไม่ถึง
กำาหนดชำาระหนี้ก็ตาม ก็ยังสามารถยื่นคำาขอรับ
ชำาระหนี้ได้
แต่หนี้ตามตัว๋ สัญญาใช้เงินที่นายชะอำายื่น
คำาขอรับชำาระหนี้มานั ้น เป็ นหนี้ท่ีเกิดขึ้นภาย
หลังจากที่ศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว
จึงต้องห้ามมิให้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ตามมาตรา
94 วรรคแรก ฉะนั ้นแม้ว่านายชะอำาจะรับไว้โดย
ส่จริตก็ขอรับชำาระหนี้ไม่ได้

2.คดีเรื่องหนึ่ ง เจ้าพนั กงานบังคับคดียึดรถยนต์


ของจำาเลยเพื่อขายทอดตลาดชำาระหนี้ตามคำา
พิพากษาแก่โจทก์ แต่ปรากฏว่าจำาเลยคน
เดียวกันนี้ยังเป็ นล่กหนี้ตามคำาพิพากษาของ
โจทก์คดีอ่ ืนอีก 2 คดี คดีแรกครบกำาหนดตามคำา
บังคับแล้ว แต่ศาลยังไม่ได้ออกหมายบังคับคดี
คดีท่ีสอง ศาลออกคำาบังคับส่งแก่จำาเลยแล้ว แต่
ยังไม่ครบกำาหนดตามคำาบังคับ โจทก์ทัง้ สองคดี
นี้ไม่สามารถเอาชำาระหนี้ได้จากทรัพย์สินอื่น ๆ
ของล่กหนี้ตามคำาพิพากษา ดังนี้โจทก์คดีอ่ ืนทัง้
สองคดีดังกล่าว จะร้องขอต่อศาลเพื่อให้ศาลมีคำา
สัง่ ยอมให้ตนเข้าเฉลี่ยในรถยนต์หรือเงินที่ขาย
หรือจำาหน่ ายรถยนต์ได้หรือไม่
แนวตอบ
ตาม ปวพ. มาตรา 290 วรรคแรกและ
วรรคสอง เมื่อเจ้าพนั กงานบังคับคดีได้ยด ึ
ทรัพย์สินอย่างใดของล่กหนี้ตามคำาพิพากษาไว้
แทนเจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาแล้ว ห้ามมิให้เจ้าหนี้
ตามคำาพิพากษาอื่นยึดทรัพย์สินนั ้นซำา้ อีก แต่ให้
เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาเช่นว่านี้มีอำานาจยื่นคำาขอ
โดยทำาเป็ นคำาร้องต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดี
ให้ยด ึ ทรัพย์สินนั ้นเพื่อให้ศาลมีคำาสัง่ ยอมให้ตน
เข้าเฉลี่ยในทรัพย์สินหรือเงินที่ขายหรือจำาหน่ าย
ทรัพย์สินนั ้นได้ แต่ห้ามมิให้ศาลอน่ญาตตาม
คำาขอ เว้นแต่ศาลเห็นว่าผ้่ย่ ืนคำาขอไม่สามารถ
เอาชำาระหนี้ได้จากทรัพย์สินอื่น ๆ ของล่กหนี้
ตามคำาพิพากษา
ตามปั ญหา โจทก์คดีอ่ ืนทัง้ สองย่อมเป็ น
เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษา แม้คดีแรกศาลยังไม่ออก
หมายบังคับคดี และคดีท่ีสอง ยังไม่ครบกำาหนด
ตามคำาบังคับก็ตาม แต่โจทก์ทัง้ สองคดีดังกล่าวก็
เป็ นเจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาอย่่ดี ศาลจะออกคำา
บังคับหรือไม่ ครบกำาหนดตามคำาบังคับหรือไม่
หรือออกหมายบังคับคดีหรือยัง ไม่เป็ นข้อสำาคัญ
ข้อสำาคัญอย่่ท่ีว่าโจทก์เป็ นเจ้าหนี้ตามคำา
พิพากษาหรือไม่เท่านั ้น เมื่อโจทก์ทัง้ สองคดีดัง
กล่าว ไม่สามารถเอาชำาระหนี้ได้จากทรัพย์สินอื่น
ๆ ของล่กหนี้ตามคำาพิพากษา ย่อมร้องขอต่อ
ศาล เพื่อให้ศาลมีคำาสัง่ ยอมให้ตนเข้าเฉลี่ยใน
รถยนต์หรือเงินที่ขายหรือจำาหน่ ายรถยนต์ได้

3.นายหม่ก้่เงินธนาคารไปเป็ นจำานวน 100,000


บาท โดยมีนายไก่เป็ นผ้่คำา้ ประกันโดยไม่จำากัด
จำานวนความรับผิดและมีนายก้่งเป็ นผ้่จำานอง
ที่ดินเป็ นประกันในวงเงินจำานอง 100, 000
บาท เช่นกัน ต่อมานายหม่ถ่กศาลมีคำาสัง่ พิทักษ์
ทรัพย์เด็ดขาด ธนาคารมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้
ภายในกำาหนด ต่อมาธนาคารจึงฟ้ องนายไก่และ
นายก้่งให้ชำาระหนี้แทนนายหม่ นายไก่และนาย
ก้่งต่อส้่ว่าธนาคารมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ไว้
ฉะนั ้น หนี้เงินก้่ของนายหม่ท่ีมีกับธนาคารจึง
เป็ นอันระงับสิน้ ลง นายไก่และนายก้่งไม่ต้องรับ
ผิดกับธนาคารอีก ท่านเห็นว่าข้อต่อส้่ดังกล่าวฟั ง
ขึ้นหรือไม่ เพราะเหต่ใด

แนวตอบ
เมื่อธนาคารมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ต่อ
เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ภายในกำาหนด ก็เป็ น
อันหมดสิทธิท่ีจะได้รับชำาระหนี้จากกอง
ทรัพย์สินของนายหม่เท่านั ้น แต่หนี้เงินก้่
ระหว่างนายหม่กับธนาคารยังคงมีอย่่ตาม
กฎหมายส่วนสารบัญญัติ หาได้ระงับสิน ้ ลงตาม
ที่นายไก่และนายก้่งต่อส้่ไม่
(ฎ.185/2512,1808/2512)
ฉะนั ้น นายไก่ผค้่ ำา้ ประกันและนายก้่งผ้่
จำานองเป็ นประกันหนี้เงินก้่ดังกล่าวจึงยังคังต้อง
รับผิดกับธนาคารอย่่ต่อไป ข้อต่อส้่ของนายไก่
และนายก้่งฟั งไม่ขึ้น

ซ่อมภาค 1/30
1.คดีแพ่งเรื่องหนึ่ ง โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหาย
ฐานละเมิด 500,000 บาท จำาเลยให้การต่อส้่คดี
ศาลชัน
้ ต้นพิพากษาให้จำาเลยใช้เงินแก่โจทก์
100,000 บาท โจทก์อ่ทธรณ์ขอให้ศาลอ่ทธรณ์
พิพากษาแก้เป็ นจำาเลยใช้เงินแก่โจทก์อีก
400,000 บาท คดีอย่่ในระหว่างพิจารณาของ
ศาลอ่ทธรณ์ โจทก์จึงได้มาปรึกษาท่านในฐานะ
ทนายโจทก์ว่า ไม่ติดใจดำาเนิ นคดีกับจำาเลยอีกต่อ
ไป ควรจะปฏิบัติอย่างไรต่อไป ท่านจะแนะนำ าให้
โจทก์ถอนฟ้ องเดิมหรือถอนฟ้ องอ่ทธรณ์
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 175 วรรค 1
บัญญัติว่า
“ก่อนจำาเลยยื่นคำาให้การ โจทก์อาจถอน
คำาฟ้ องได้โดยยื่นบอกกล่าวเป็ นหนั งสือต่อศาล”
วรรค 2 บัญญัติว่า
“ภายหลังจำาเลยยื่นคำาให้การแล้ว โจทก์
อาจยื่นคำาขอโดยทำาเป็ นคำาร้องต่อศาลชัน ้ ต้นเพื่อ
อน่ญาตให้โจทก์ถอนคำาฟ้ องได้….”
วินิจฉั ย
ตามวรรค 1 และวรรค 2 หมายความว่า
จะต้องถอนฟ้ องเดิมก่อนที่ศาลชัน ้ ต้นจะมีคำา
พิพากษา ถ้าศาลพิพากษาแล้ว จะถอนฟ้ องเดิม
ไม่ได้(คำาสัง่ คำาร้อง ฎ. 1014/2514)
นอกจากนี้ อ่ทธรณ์ก็เป็ นคำาฟ้ อง (มาตรา
1(3)) จึงอาจมีการถอนฟ้ องอ่ทธรณ์ได้ และจะ
ถอนฟ้ องอ่ทธรณ์ได้ก็ต่อเมื่อศาลอ่ทธรณ์ยังมิได้
พิพากษาเช่นกัน
ตามปั ญหา ศาลชัน
้ ต้นพิพากษาแล้ว โจทก์
จะถอนฟ้ องเดิมไม่ได้แต่ศาลอ่ทธรณ์ยังมิได้
พิพากษา จึงถอนฟ้ องอ่ทธรณ์ได้ ข้าพเจ้าจะ
แนะนำ าให้โจทก์มิให้ถอนฟ้ องเดิม แต่ให้ถอน
ฟ้ องอ่ทธรณ์

2.ในคดีแพ่งเรื่องหนึ่ ง โจทก์ซ่ ึงเป็ นเจ้าหนี้ตาม


คำาพิพากษานำ ายึดที่ดินแปลงหนึ่ งราคา
2,000,000 บาท ของจำาเลยซึ่งเป็ นล่กหนี้ตามคำา
พิพากษาเพื่อนำ าออกขายทอดตลาดชำาระหนี้ตาม
คำาพิพากษาจำานวน 500,000 บาท เมื่อมีการยึด
ที่ดินแล้ว จำาเลยได้ทำาสัญญาจะขายที่ดินแปลงที่
ถ่กยึดให้แก่นายสมบัติครึ่งหนึ่ งทางทิศตะวัน
ออกทัง้ หมด เมื่อเจ้าพนั กงานบังคับที่ดินจะขาย
ที่ดินที่ยึดทัง้ แปลง นายสมบัติจึงนำ าสัญญาจะซื้อ
ขายไปยันกับเจ้าพนั กงานบังคับคดี ขอให้ขาย
ที่ดินที่ถ่กยึดเพียงครึ่งหนึ่ งทางทิศตะวันออก
โดยอ้างว่าถ้าขายที่ดินไปเพียงครึ่งหนึ่ งจะได้เงิน
1,000,000 บาท หนี้ตามคำาพิพากษามีอย่่เพียง
500,000 บาท รวมทัง้ ค่าฤชาธรรมเนี ยม
ทัง้ หมดไม่ถึง 600,000 บาท ถ้าท่านเป็ นเจ้า
พนั กงานบังคับคดีจะโต้แย้งนายสมบัติอย่างไร
แนวตอบ หลักกฎหมายประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา 305 บัญญัติว่า
“การยึดทรัพย์ของล่กหนี้ตามคำาพิพากษา
ดัง่ บัญญัติไว้ในสองมาตราก่อนนี้ มีผลดัง่ ต่อไป
นี้
(1)การที่ล่กหนี้ตามคำาพิพากษาได้ก่อให้
เกิด โอนหรือเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิในทรัพย์สินที่
ถ่กยึดภายหลังที่ได้ทำาการยึดไว้แล้วนั ้น หาอาจ
ใช้ยันแก่เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาหรือเจ้าพนั กงาน
บังคับคดีได้ไม่ ถึงแม้ว่าราคาแห่งทรัพย์สินนั ้นจะ
เกินกว่าจำานวนหนี้ตามคำาพิพากษาและค่าฤชา
ธรรมเนี ยมที่ใช้ในการฟ้ องร้องบังคับคดี และล่ก
หนี้ตามคำาพิพากษาได้จำาหน่ ายทรัพย์สินเพียง
ส่วนที่เกินนั ้นก็ตาม”
วินิจฉั ย
ตามปั ญหา การที่ลก่ หนี้ตามคำาพิพากษา
ทำาสัญญาจะขายที่ดินแปลงที่ถ่กยึดนั ้นให้แก่
นายสมบัติครึ่งหนึ่ งทางด้านทิศตะวันออก
ทัง้ หมดเป็ นกรณี ท่ีล่กหนี้ตามคำาพิพากษาได้ก่อ
ให้เกิด โอนการเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิในทรัพย์สิน
ที่ถ่กยึดภายหลังที่ได้ทำาการยึดไว้แล้ว นาย
สมบัติย่อมจะใช้ยันแก่เจ้าพนั กงานบังคับคดีไม่
ได้ แม้ถ้าขายที่ดินไปครึ่งหนึ่ งได้เงินถึง
1,000,000 บาท หนี้ตามคำาพิพากษามีอย่่เพียง
500,000 บาท รวมทัง้ ค่าฤชาธรรมเนี ยม
ทัง้ หมดไม่ถึง 600,000 บาทก็ตาม เป็ นกรณี
ต้องห้ามด้วยมาตรา 305(1) นายสมบัติจะขอให้
ขายที่ดินที่ถ่กยึดเพียงครึ่งหนึ่ งทางทิศตะวัน
ออกไม่ได้ ถ้าข้าพเจ้าเป็ นเจ้าพนั กงานบังคับคดี
จะโต้แย้งกับนายสมบัติโดยนั ยดังกล่าว

ภาค 2/29
1.ในคดีแพ่งเรื่องหนึ่ ง จำาเลยมิได้ย่ ืนคำาให้การ
ภายในกำาหนด ศาลสัง่ ว่าจำาเลยขาดนั ดยื่นคำา
ให้การ ก่อนถึงวันนั ดสืบพยานโจทก์ จำาเลยยื่น
คำาร้องขออน่ญาตยื่นคำาให้การและก็ย่ ืนคำา
ให้การมาพร้อมคำาร้องด้วย ศาลชัน ้ ต้นไต่สวน
คำาร้องของจำาเลยแล้ว สัง่ ว่าการขาดนั ดของจำาเลย
เป็ นไปโดยจงใจ ให้ยกคำาร้อง และสัง่ ไม่รับคำา
ให้การของจำาเลยที่ย่ ืนมาพร้อมกับคำาร้องนั ้น
ดังนี้ จำาเลยจะอ่ทธรณ์คำาสัง่ ของศาลที่สัง่ ยก
คำาร้องขออน่ญาตยื่นคำาให้การและคำาสัง่ ที่ไม่
รับคำาให้การได้หรือไม่
แนวตอบ แยกพิจารณาได้ดังนี้
(ก)คำาร้องขอยื่นคำาให้การของจำาเลยไม่ใช่
คำาให้การ ไม่ใช่คำาค่่ความ คำาสัง่ ของศาลที่ว่า
จำาเลยขาดนั ดโดยจงใจ ให้ยกคำาร้องนั ้น ไม่ใช่คำา
สัง่ ไม่รับคำาค่่ความตาม ปวพ. มาตรา 18 อันจะ
ทำาให้จำาเลยมีสิทธิอ่ทธรณ์คำาสัง่ ได้ตามมาตรา
227 คำาสัง่ ดังกล่าวเป็ นคำาสัง่ ระหว่างการ
พิจารณา ต้องห้ามมิให้อ่ทธรณ์ตามมาตรา 226
(ข)คำาให้การของจำาเลยเป็ นคำาค่่ความตามมาตรา
1(5) คำาสัง่ ของศาลที่สัง่ ไม่รับคำาให้การของ
จำาเลยเป็ นคำาสัง่ ไม่รับคำาค่่ความตาม ปวพ.
มาตรา 18 จำาเลยมีสิทธิอ่ทธรณ์ได้ตามมาตรา
227

2.ในคดีแพ่งเรื่องหนึ่ ง โจทก์จำาเลยทำาสัญญา
ประนี ประนอมยอมความกันโดยจำาเลยยอมใช้
เงินให้โจทก์ภายในหนึ่ งเดือน ศาลพิพากษาตาม
ยอมและศาลมีคำาสัง่ ไว้ท้ายคำาพิพากษานั ้นว่า
บังคับตามยอม ทนายจำาเลยลงชื่อรับทรายคำาสัง่
ดังกล่าว ล่วงพ้นกำาหนดหนึ่ งเดือน จำาเลยไม่
ชำาระเงินแก่โจทก์ โจทก์จึงยื่นคำาขอให้ศาลออก
หมายบังคับคดี ศาลชัน ้ ต้นสัง่ ว่า ศาลยังมิได้ออก
คำาบังคับและจำาเลยยังไม่ทราบคำาบังคับ จะขอให้
ออกหมายบังคับคดียังไม่ได้ ให้ยกคำาขอ ท่าน
เห็นด้วยกับคำาสัง่ ของศาลหรือไม่
แนวตอบ แยกพิจารณาดังนี้
(ก)ข้อที่ศาลสัง่ ว่าศาลยังมิได้ออกคำาบังคับ
ปรากฏว่าศาลได้มค ี ำาสัง่ ไว้ท้ายคำาพิพากษาตาม
ยอมแล้วว่าบังคับตามยอม จึงแสดงว่าศาลได้
ออกคำาบังคับแล้ว (ฎ.815/2491,218/2518)
ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วยกับคำาสัง่ ของศาลชัน ้ ต้น
(ข)ข้อที่ศาลสัง่ ว่าจำาเลยยังไม่ทราบคำา
บังคับนั ้น ค่่ความรวมถึงบ่คคลผ้่มีสิทธิทำาการ
แทนในฐานะทนายด้วย (มาตรา 1(11)) และ
ทนายเป็ นผ้่มีสิทธิดำาเนิ นกระบวนการพิจารณา
ใด ๆ แทนค่่ความได้ตามที่เห็นสมควร (มาตรา
62) ฉะนั ้น ตามปั ญหา การที่ทนายความลงชื่อ
ทราบคำาสัง่ ดังกล่าวของศาล จึงถือว่าจำาเลยซึ่ง
เป็ นคำาค่่ความได้ทราบคำาบังคับด้วย
(ฎ.218/2518) ข้าพเจ้าไม่เห็นด้วยกับคำาสัง่ ของ
ศาลชัน้ ต้น

3.นายเหนื อก้ย ่ ืมเงินนายกลางไป 100,000


บาท โดยมีนายใต้เป็ นผ้่คำา้ ประกัน ต่อมานาย
เหนื อถ่กบ่คคลอื่นฟ้ องล้มละลาย และศาลมีคำา
สัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว ปรากฏว่านายกลาง
มิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ภายในเวลาที่กฎหมาย
กำาหนด ต่อมานายกลางได้ฟ้องนายใต้ผ้่คำา้
ประกันชดใช้หนี้เงินก้่ดังกล่าวคืนแก่ตน นายใต้
ต่อส้่ว่า นายกลางมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ในคดี
ล้มละลายที่นายเหนื อเป็ นจำาเลย ฉะนั ้น หนี้เงิน
ก้่รายนี้จึงระงับสิน ้ แล้ว เมื่อหนี้อันเป็ นหนี้
ประธานระงับแล้ว หนี้คาำ ้ ประกันของตนก็ย่อม
ระงับสิน ้ ลงเช่นกัน ท่านเห็นว่าข้อต่อส้่ของนาย
ใต้ฟังขึ้นหรือไม่ เพราะเหต่ใด
แนวตอบ
เมื่อนายกลางมิได้ย่ ืนคำาขอรับชำาระหนี้ต่อ
เจ้าพนั กงานพิทักษ์ ทรัพย์ภายในกำาหนด ก็เป็ น
อันหมดสิทธิท่ีจะได้รับชำาระหนี้จากกอง
ทรัพย์สินของนายเหนื อเท่านั ้น แต่หนี้เงินก้่
ระหว่างนายเหนื อกับนายกลางยังคงมีอย่่ตาม
กฎหมายส่วนสารบัญญัติ หาได้ระงับสิน ้ ลงตาม
ที่นายใต้ต่อส้่ไม่ (ฎ.185/2512,1808/2512)
ฉะนั ้น นายใต้ผ้่คำา้ ประกันหนี้เงินก้่ดัง
กล่าวจึงยังคงต้องรับผิดกับนายกลางอย่่ต่อไป
ข้อต่อส้่ของนายใต้ฟังไม่ขึ้น

วิ 3
1. ประมาณว่า ฟ้ องคดีอาญาข้อหาลักทรัพย์
พนั กงานสอบสวน สอบสวนผ้่ต้องหาโดยแจ้งให้
ผ้่ต้องหาทราบว่า จะให้ถ้อยคำาหรือไม่ก็ได้และ
แจ้งข้อกฏหมายให้ผ้่ต้องหาทราบ เสร็จแล้วรวม
รวมสำานวนส่งให้อัยการฟ้ อง อัยการตรวจ
สำานวนแล้วเห็นว่าสอบสวนไม่ครบบางประเด็น
ที่เป็ นประเด็นสำาคัญ จึงส่งเรื่องให้พนั กงาน
สอบสวนสอบสวนเพิ่มเติม พนั กงานสอบสวน
สอบสวนผ้่ต้องหาเพิ่มเติมโดยมิได้แจ้งให้ทราบ
ว่าจะให้การหรือไม่ก็ได้ เมื่อสอบสวนเสร็จ ก็ส่ง
เรื่องให้อัยการ
ถามว่า การสอบสวนเพิ่มเติมของพนั กงาน
สอบสวน ใช้เป็ นพยานหลักฐานในการเอาผิดผ้่
ต้องหาได้หรือไม่ เพราะเหต่ใด
ข้อ 2 นายแปด แจ้งความต่อพลตำารวจศรี ว่านาย
เก้าขึ้นไปบนบ้านตอนเที่ยงคืนและร้องเอะอะ
โวยวาย นายแปดแจ้งข้อหาว่าบ่กร่ก พลตำารวจ
ศรีทำาการสอบสวนไกล่เกลี่ยประนี ประนอมยอม
ความ โดยนายเก้าชดใช้ค่าเสียหาย 10,000 บาท
ภายใน 1 เดือน แล้วนายแปดจะไม่ติดใจดำาเนิ น
คดีอกี ต่อไป ครบกำาหนดนายเก้าไม่จา่ ยเงินให้
นายแปด ก่อนคดีหมดอาย่ความ นายแปดจึงไป
ร้องท่กข์ต่อร้อยตำารวจตรีร่จน์ ข้อหาบ่กร่ก นาย
เก้าให้การต่อส้่ว่านายแปด ยอมความแล้วกับพล
ตำารวจศรีโดยการไกล่เกลี่ย คดีย่อมระงับตัง้ แต่
วันที่ไกล่เลี่ยยอมความกัน
ถามว่า ร้อยตำารวจตรีร่จน์จะรับแจ้งความร้อง
ท่กข์ของนายแปดได้หรือไม่ เพราะเหต่ใด

ด่ มาตรา 39 (2)
3.นายกลมบ่ตรผ้่ตาย ฟ้ อง นายสีและนายแบน
ในข้อหา ตัวการร่วม ฆ่าบิดาของตนถึงแก่ความ
ตาย (ยังไงต่ออีกน๊ อ..) ตามปอ.288 และ
มาตรา 83 ศาลพิจารณาแล้ว ข้อเท็จจริงฟั งได้ว่า
นายสีเป็ นผ้่ใช้ โดยจ้างวานให้นายแบนฆ่าและ
จัดหาอาว่ธปื นให้

ดังนี้ ศาลควรมีคำาพิพากษาอย่างไร โดยชอบด้วย


กฎหมาย
ด่ มาตรา 192 วรรค 1 วรรค 2

You might also like