You are on page 1of 39

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด

ขอ 1
นายสมบัติกับนายสํารวยเปนเพื่อนกัน นายสํารวยกูเงินนายสมบัติไป 4,000 บาท นาย
สํารวยผิดนั ดชําระหนี้มา 2 เดือนแลว นายสมบัติเปน ชางซอมรถ นายสํารวยนํารถยนตราคา
600,000 บาท มาใหนายสมบัติซอม คิดคาซอม 2,000 บาท ตกลงชําระคาซอมเมื่อซอม
เสร็จแลว เมื่อซอมรถเสร็จ นายสํารวยก็ไมชําระ นายสมบัติจึงยึดหนวงรถของนายสํารวยที่ตน
ครองครองไว อางวาเปนประกันหนี้ที่นายสํารวยติดคางอยูรวมเปนเงิน 6,000 บาท จนกวาจะได
รับชําระหนี้ นายสํารวยโตแยงวา ไมวาเปนหนี้เงินกูห รือหนี้คาซอมรถ นายสมบัติไมมีสิทธิยึด
หนวงรถไว เพราะราคารถสูงกวาจํานวนหนี้มากนัก ทานเห็นดวยกับขอโตแยงของนายสํารวยหรือ
ไม

เฉลย
ปพพ.มาตรา 241 วรรคแรกบัญญัติวา “ผูใดเปนผูครองทรัพยสินของผูอื่น และมีหนี้อัน
เปนคุณประโยชนแกตนเกี่ยวดวยทรัพยสินซึ่งครองนั้นไซร ทานวาผูนั้นจะยึดหนวงทรัพยสินนั้น
ไวจนกวาจะไดชําระหนี้ก็ได แตความที่กลาวนี้ทานมิใหใชบังคับเมื่อหนี้นั้นยังไมถึงกําหนด”

ตามปญหา แยกพิจารณาไดดังนี้
(ก) หนี้เงินกูของนายสํารวยมิใชหนี้อันเปนคุณประโยชนแกนายสมบัติเกี่ยวดวย
รถที่ตนครอบครองไว ดังนั้นนายสมบัติจะยึดหนวงรถไวไมได ขาพเจาเห็นดวยกับขอโตแยงของ
นายสํารวยในผลที่วายึดไมได

(ข) สําหรับหนี้คาซอมรถ เปนหนี้อันเปนคุณ ประโยชนแกนายสมบัติเกี่ยว


ดวยรถยนตของนายสํารวยที่นํามาใหนายสมบัติซอมและนายสมบัติครอบครองไวนั้น นายสมบัติ
จึงมีสิทธิยึดหนวงรถยนตไวได จนกวาจะไดรับชําระหนี้คาซอม แมรถยนตจะมีราคาสูงกวาหนี้คา
ซอมมากเพียงใดก็ตาม ทั้งหนี้ของนายสํารวยก็ถึงกําหนดชําระแลว ขาพเจาไมเห็นดวยกับขอโตแยง
ของนายสํารวย
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 2
นายดําใชไมตีบังคับลิงของนายแดงใหลักมะพราวจากตนของนายเขียวเพื่อนบานใกลเคียง
มาใหนายดํา ลิงเกรงกลัว จึงทําตามที่ถูกนายดําบังคับ นายเขียวมาเรียกรองใหนายดําและนายแดง
รวมกันคืนมะพราวหรือใชราคา ถาทานเปนนายดําหรือนายแดงจะโตแยงประการใดหรือไม

เฉลย
ปพพ. มาตรา 420 บัญญัติไวมีใจความสําคัญวา ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอ
บุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายแกทรัพยสิน….ผูนั้นทําละเมิด จําตองใชคาสินไหมทด
แทนเพื่อการนั้น

ปพพ. มาตรา 433 บัญญัติไวมีใจความสําคัญวา ถาความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว


เจาของสัตวหรือบุคคลผูรับเลี้ยงรับรักษาไวแทนเจาของสัตวจําตองใชคาสินไหมทดแทนใหแกฝาย
ที่ตองเสียหายเพื่อความเสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตสัตวนั้น

ตามมาตรา 420 เปนความรับผิดของบุคคลในการกระทําของตนเอง สวนตามมาตรา


433 เปนความรับผิดของบุคคลในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว

ตามป ญ หา เป น การที่ น ายดําใชลิงของนายแดงเปน เครื่องมื อในการกระทํ าละเมิ ดโดย


บังคับใหลิงลักมะพราวจากตนของนายเขียว เปนความรับผิดของนายดําในการกระทําของตนเอง
มิใชความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตวซึ่งเจาของสัตวจะตองรับผิดตามมาตรา 433
นายดําจึงตองรับผิดตอนายเขียวตามมาตรา 420 นายแดงเจาของลิงไม ตองรับ ผิดตามมาตรา
433 ถาขาพเจาเปนนายดํา จะไมโตแยงกับนายเขียว แตถาเปนนายแดงจะโตแยงกับนายเขียวโดย
นัยดังกลาว
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 3
นายจั น ทรข ายบ า นและที่ ดิ น ให น ายเสาร แต มิ ได ทํ า เป น หนั ง สื อ และจดทะเบี ย นต อ
พนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมาย การซื้อขายตกเปนโมฆะเสียเปลา ตางก็เขาใจวาสัญญามีผล
บังคับใชไดตามกฎหมาย นายจันทรไดสงมอบบานและที่ดินใหนายเสารครอบครอง ลูกจางของ
นายเสารรีดผาใหนายเสารตามหนาที่โดยประมาทเลินเลอ ทําใหไฟไหมบานเสียหายไปแถบหนึ่ง
ดังนี้นายจันทรมีสิทธิเรียกบานและที่ดินคืนไดหรือไม และนายเสารและลูกจางของนายเสารตอง
รับผิดชดใชคาเสียหายใหแกนายจันทรหรือไม

เฉลย
(ก) ในขอที่วานายจันทรจะเรียกบานและที่ดินคืนไดหรือไมนั้น
ปพพ. มาตรา 406 วรรคแรก ตอนแรกบัญญัติวา บุคคลใดไดมาซึ่งทรัพยสิ่งใดเพราะการ
ที่บุคคลอีกคนหนึ่งกระทําเพื่อชําระหนี้ก็ดี หรือไดมาดวยประการอื่นก็ดี โดยปราศจากมูลอันจะ
อางกฎหมายได และเป นทางใหบุคคลอีกคนหนึ่งนั้น เสียเปรียบแลวไซร บุคคลนั้น จําตองคืน
ทรัพยใหแกเขา
และวรรค 2 ตอนแรกบัญญัติวา บทบัญญัติอันนี้ใหใชบังคับตลอดถึงกรณีที่ไดทรัพยมา
เพราะเหตุอยางใดอยางหนึ่งซึ่งมิไดมีไดเปนขึ้นดวย
ตามปญหา การที่มิไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมาย
การซื้อขายตกเปนโมฆะเสียเปลาและนายจันทรไดสงมอบบานและที่ดินใหนายเสารครอบครอง
แลวนั้น เปนการไดทรัพยมาเพราะเหตุที่มิไดมีไดเปนขึ้นตาม ปพพ.มาตรา 406 วรรค 2 และ
ทําใหนายจันทรเสียเปรียบ เปนการไดทรัพยมาโดยลาภมิควรได นายเสารจึงตองคืนบานและที่ดิน
ใหนายจันทรตามมาตรา 406 วรรคแรก
(ข) ในขอที่วานายเสารและลูกจางนายเสารตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกนายจันทร
หรือไมนั้น
ปพพ.มาตรา 420 บัญ ญั ติวา ผูใดจงใจหรือประมาทเลิน เลอ ทําตอบุ คคลอื่ นโดยผิ ด
กฎหมายใหเขาเสียหายแกทรัพยสิน ผูนั้นทําละเมิด จําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 425 บัญญัติวา นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจางในผลแหงละเมิดซึ่งลูกจาง
ไดกระทําไปในทางการที่จาง
ตามปญหา เมื่อการซื้อขายบานและที่ดินตกเปนโมฆะเสียเปลาตาม (ก) บานและที่ดินยัง
เปนของนายจันทรอยู การที่ลูกจางนายเสารรีดผาใหนายเสารตามหนาที่โดยประมาทเลินเลอทําให
ไฟไหมบานเสียหาย เปนการกระทําละเมิดตามมาตรา 420 ลูกจางนายเสารจึงตองรับผิดชดใชคา
เสียหาย เหตุละเมิดไดเกิดขึ้นในทางการที่จางเพราะเกิดเหตุเมื่อลูกจางรีดผาใหตามหนาที่ นายเสาร
จึงตองรวมรับผิดกับลูกจางดวยตามมาตรา 425

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 4
ก ข และ ค รวมกันกูเงิน ง ไป 60,000 บาท เพื่อจะไปลงทุนกิจการคารวมกัน ตอ
มาหนี้ถึงกําหนดชําระ ทั้ง ก ข และ ค เพิกเฉยไมชําระหนี้ ง จึงฟอง ก และ ข ใหชําระหนี้ให
แกตน คนละ 30,000 บาท สวน ค นั้นเปนนักศึกษานิติศาสตร มสธ. ง สงสารไมอยากให
ค เปนความในศาล จึงไมฟอง ค
ก และ ข ตอสู ง วาตางรับผิดเปนจํานวนเทา ๆ กัน คือ คนละ 20,000 บาท ดังนี้ ก
และ ข จึงรับผิดชอบรวมกันเพียง 40,000 บาท อีก 20,000 บาท ง ตองไปฟอง ค อีก
ตางหาก
ดังนี้ ทานเห็นดวยกับขออางของ ก และ ข อยางไรหรือไมเพราะเหตุใด

เฉลย
หลักกฎหมาย
มาตรา 291 บัญญัติวา “ถาบุคคลหลายคนจะตองทําการชําระหนี้โดยทํานองซึ่งแตละ
คนจําตองชําระหนี้โดยสิ้นเชิงไซร แมถึงวาเจาหนี้ชอบที่จะดรับชําระหนี้สิ้นเชิงไดแตเพียงครั้ง
เดียว (กลาวคือ ลูกหนี้รวม) ก็ดี เจาหนี้จะเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้แตคนใดคนหนึ่งสิ้นเชิงหรือ
แตโดยสวนก็ไดตามแตจะเลือก แตลูกหนี้ทั้งปวงก็ยังคงตองผูกพันอยูทั่วทุกคนจนกวาหนี้นั้นจะใช
ชําระเสร็จสิ้นเชิง”

มาตรา 296 บัญญัติวา “ในระหวางลูกหนี้รวมกันทั้งหลายนั้นทานวา ตางคนตางตอง


รับผิดชอบเปนสวนเทา ๆ กัน เวนแตจะไดกําหนดเปนอยางอื่น….”

กรณีนี้เปนเรื่องลูกหนี้รวมซึ่งเปนบุคคลหลายคนซึ่งมีหนาที่รวมกันที่จะตองรับผิดตอเจา
หนี้จะไดรับชําระหนี้โดยสิ้นเชิงหรือแตโดยสวนหรือจะเรียกรองเอาจากลูกหนี้รวมพรอมกันก็ได
ดังนั้นจึงเปนสิทธิของ ง ซึ่งสามารถที่จะเรียกรองให ก และ ข เทานั้นที่จะตองชําระหนี้ให ง

ระหวางลูกหนี้รวมดวยกันแลว ลูกหนี้ตางตองรับผิดเปนสวนเทา ๆ กัน แมวา ก และ ข


จะปฏิเสธไมชําระเกินสวนของตนไมไดก็ตาม เพราะตองผูกพันอยูจนกวาเจาหนี้จะไดรับชําระหนี้
โดยสิ้นเชิง แตเมื่อ ก และ ข ไดชําระหนี้แก ง โดยครบถวนไวแลว ก็มีสิทธิที่จะไลเบี้ยสวนที่แต
ละคนไดออกเกินไปแทน ค ได

ดังนั้น ขาพเจาไมเห็นชอบกับขออางของ ก และ ข โดยเห็นวา ก และ ข ตองชําระหนี้


เงินกูคนละ 30,000 บาท ตามที่ ง ฟอง แตทั้ง ก และ ข ก็มีสิทธิจะไปไลเบี้ยเอาจาก ค ใน
สวนที่แตละคนไดจายเกินไป คือคนละ 10,000 บาท

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 5
ข กูเงิน ก ไป 100,000 บาท ในขณะเดียวกัน ค ก็เปนลูกหนี้ของ ข โดยเปนหนี้เงินคา
ซื้อของเชื่อที่ซื้อไปจาก ข 50,000 บาท ตอมา ข กลายเปนบุคคลที่มีหนี้สินลนพนตัว ไมมีทรัพย
สินใดเหลืออยูเลย และ ข ก็ไมยอมฟองเรียกคาซื้อของเชื่อจาก ค
ดังนี้ ก ไดมาปรึกษาทาน ทานจะใหคําปรึกษาแก ก อยางไร เพื่อ ก จะไดรับชําระหนี้
จาก ข

เฉลย
หลักกฎหมาย
มาตรา 233 บัญญัติวา “ถาลูกหนี้ขัดขืนไมยอมใชสิทธิเรียกรอง หรือเพิกเฉยเสียไมใช
สิทธิเรียกรองเปนเหตุใหเจาหนี้ตองเสียประโยชนไซร ทานวาเจาหนี้จะใชสิทธิเรียกรองนั้นในนาม
ของตนเองแทนลูกหนี้ เพื่อปองกันสิทธิของตนในมูลหนี้นั้นก็ได เวนแตในขอที่เปนการของลูกหนี้
สวนตัวโดยแท”

มาตรา 234 บัญญัติวา “เจาหนี้ผูใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้นั้นจะตองขอหมายเรียกลูก


หนี้มาในคดีนั้นดวย”

กรณีนี้เปนเรื่องการใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้ซึ่งเปนวิธีการที่เจาหนี้สามารถควบคุมกอง
ทรัพยสินของลูกหนี้ รวมทั้งใหเจาหนี้ใชวิธีการที่จะใหไดมาซึ่งทรัพยสินที่บุคคลภายนอกตองชําระ
แกลูกหนี้ดวย
ก สามารถใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้คือ ข ฟอง ค ในนามของตนเอง เพราะการที่ ข
เพิกเฉยไมใชสิทธิเรียกรองของตนโดยไมฟองรอง ค นั้น เปนเหตุใหเจาหนี้คือ ก เสียประโยชน
เพราะ ข เองไมมีทรัพยสินที่จะชําระหนี้ไดครบถวน

ในการฟองคดีที่จะเรียกให ค ชําระหนี้นั้น ก จะตองขอหมายเรียก ข ลูกหนี้เขามาใน


คดีดวย ตาม ม.234 ทั้งนี้เพื่อใหการพิจารณาพิพากษาคดีมีผลผูกพัน ข ซึ่ง ข จะปฏิเสธไมรับรู
ผลของคดีไมได

ดังนั้น ขาพเจาจึงแนะนําให ก ใชสิทธิเรียกรองของ ข ฟอง ค ในนามของตน ให ค


ชําระหนี้ และหมายเรียก ข เขามาในคดีดวย

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 6
ก มาเยี่ยม ข ที่บานซึ่งเปนบานที่ ข เปนเจาของและครอบครองอยูอาศัย ก สูบบุหรี่
แลวขวางกนบุหรี่ไปที่ทางเทาหนาบานโดยประมาทเลินเลอ ทําใหกนบุหรี่ถูก ค ซึ่งเดินอยูที่ทาง
เทาเสียหาย ค มาเรียกรองให ก ในฐานะที่เปนผูขวางกนบุหรี่และ ข ในฐานะที่เปนผูอยูในโรง
เรือนชดใชคาเสียหาย
หากทานเปน ก หรือ ข จะโตแยงกับ ค ประการใดบางหรือไม

เฉลย
ปพพ.มาตรา 420 บัญญั ติวา ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิด
กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี ผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทน
เพื่อการนั้น

มาตรา 436 บัญญัติวา บุคคลผูอยูในโรงเรือนตองรับผิดชอบในความเสียหาย อันเกิด


เพราะของตกหลนจากโรงเรือนนั้น หรือเพราะทิ้งขวางของไปตกในที่อันมิควร

ตามปญหา แยกพิจารณาไดดังนี้
1. การที่ ก ขวางบุหรี่ไปที่ทางเทาถูก ค ซึ่งเดินอยูที่ทางเทาเสียหายเปนการกระทําโดย
ประมาทเลินเลอ ก ผูเดียวจึงตองรับผิดตอ ค ตามมาตรา 420 หากขาพเจาเปน ก จะไมโต
แยงกับ ค แตประการใด

2. ข เปนผูครอบครองอยูอาศัยในบาน ซึ่งตามปกติถามีของตกหลนหรือทิ้งขวางไปตก
ในที่อันมิควรจากบานที่ ข ครอบครองอยูอาศัยโดยที่ไมจงใจหรือประมาทเลินเลอ ข จะตองรับ
ผิดตามมาตรา 436 แตกรณีที่เกิดขึ้นนี้ ก ผูมาเยี่ยม ข ไดกระทําโดยประมาทเลินเลอโดยขวาง
กนบุหรี่ไปถูก ค ที่ทางเทาเสีย แลว ก จึงเปนผูกระทําละเมิดและรับผิดตามมาตรา 420 ดัง
กลาวมา ข จึงไมตองรับผิดตามมาตรา 436

หากขาพเจาเปน ข จะโตแยงกับ ค โดยอาศัยเหตุผลดังกลาว

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 7
นายสวาทเขาไปกินอาหารเย็นและดื่มสุราที่รานของโอชาเมามายจนดึกดื่น ไดเวลาปด
ราน นายโอชาไมสามารถปดรานได ไดขอรองใหนายสวาทออกไปแตโดยดี นายสวาทก็ไมปฏิบัติ
ตาม นายโอชากับลูกจางจึงชวยกันฉุดลากนายสวาทออกไปจากราน นายโอชาจึงปดรานได รุง
ขึ้นเชานายสวาทสรางเมา จึงเรียกรองใหนายโอชาและลูกจางชดใชคาเสียหายฐานรวมกันทํา
ละเมิด นายโอชานําความมาปรึกษาทาน ทานจะใหคําปรึกษาแกนายโอชาวาอยางไร

เฉลย
ตาม ปพพ. มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
ใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี….ผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการ
นั้น และตามมาตรา 451 บุคคลใชกําลังเพื่อปองกันสิทธิของตน ถาตามพฤติการณจะขอใหศาล
หรือเจาหนาที่ชวยเหลือใหทันทวงทีไมได และถามิไดทําในทันใด ภัยมีอยูดวยการที่ตนจะไดสม
ดังสิทธินั้น จะตองประวิงไปมากหรือถึงแกสาปสูญได บุคคลนั้นหาตองรับผิดใชคาสินไหมทด
แทนไม

ตามปญหา นายโอชาจะปดราน เพราะดึกดื่นไดเวลาแลว นายโอชายอมไมสามารถจะ


ขอใหเจาหนาที่ชวยเหลือใหทันทวงทีได ถาหากไมฉุดลากนายสวาทออกไป ก็ยอมปดรานไมได
นายโอชากับลูกจางมีสิทธิกระทําการดังกลาว กรณีตองดวยมาตรา 451 นายโอชากับลูกจางมิได
กระทํ า โดยผิ ด กฎหมายตามมาตรา 420 มิ ได ก ระทํ า ละเมิ ด ต อ นายสวาท ข า พเจ า จะให คํ า
ปรึกษาแกนายโอชาตามบทกฎหมายดังกลาว

หมายเหตุ ตอนแรก เพียงนักศึกษาอางใจความสําคัญตามดวยตัวบทมาตรา 451 วรรค


แรกไมตองอางมาตรา 420 ดวย ก็อาจให 10 คะแนนเต็มได เพราะมิไดถามตามมาตรา 420
เปนขอสําคัญ ตองการถามตามมาตรา 451 ซึ่งเปนนิรโทษกรรมมากกวา

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 8
ในวันที่ 1 มกราคม 2534 นายเดชไดตกลงทําสัญญาจะซื้อบานพรอมที่ดิน เนื้อที่ 100
ตารางวาจากบริษัทเมืองสวรรคจํากัด ในราคา 2 ลานบาท โดยบานยังสรางไมเสร็จเรียบรอย
นายเดชไดชําระเงินมัดจําจํานวน 5 แสนบาทในวัน ทําสัญ ญา ในสัญ ญาดังกลาวกําหนดวา
บริษัทเมืองสวรรคจํากัดจะสรางบานใหเสร็จเรียบรอยภายในวันที่ 1 กรกฎาคม 2534 และจะจด
ทะเบียนโอนบานและที่ดินดังกลาวใหแกนายเดช โดยนายเดชตองชําระเงินที่เหลืออีก 1 ลาน 5
แสนบาท แกบริษัทเมืองสวรรคจํากัดในวันที่จดทะเบียนโอนบานนั้น หากนายเดชไมรับการจด
ทะเบียนโอนและชําระเงินตามกําหนดจะตองชําระดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 5 ของเงินที่คางชําระ
แกบริษัท เมื องสวรรคจํากัดจนกวาจะไปรับโอน ครั้นถึงวันที่ 1 กรกฎาคม 2534 บริษั ท เมื อง
สวรรคจํากัดไดบอกกลาวใหนายเดชไปรับการจดทะเบียนโอนบานและชําระเงิน 1 ลาน 5 แสน
บาท นายเดชไดเตรียมเงินมาชําระแลวแตนายเดชตรวจพบวาบานที่ซื้อนั้นผนังราวไปทั่วบ าน
ประตูหนาตางปดไมสนิทจึงปฏิเสธไมรับโอน บริษัทเมืองสวรรคจํากัดจึงเรียกใหชําระดอกเบี้ยรอย
ละ 5 เนื่องจากนายเดชผิดนัด นายเดชมาปรึกษาทานวาจะตองชําระดอกเบี้ยดังกลาวหรือไมและ
จะเรียกรองบริษัทเมืองสวรรคจํากัดไดอยางไรหรือไม ทานจะใหคําปรึกษาแกนายเดชอยางไรจง
อธิบายพรอมทั้งยกหลักกฎหมายประกอบ

เฉลย
มาตรา 205 ตราบใดการชําระหนี้นั้นยังมิไดกระทําเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูก
หนี้ไมตองรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังหาไดชื่อวาผิดนัดไม

มาตรา 210 ถาลูกหนี้ จําตองชําระหนี้สวนของตนตอเมื่อเจาหนี้ชําระหนี้ตอบแทนดวย


ไซร แมถึงวาเจาหนี้จะไดเตรียมพรอมที่จะรับชําระหนี้ตามที่ลูกหนี้ขอปฏิบัตินั้นแลวก็ดี หากไม
เสนอที่จะทําการชําระหนี้ตอบแทนตามที่จะพึงตองทําเจาหนี้ก็เปนอันไดชื่อวาผิดนัด

มาตรา 215 เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ใหตองตามความประสงคอันแทจริงแหงมูลหนี้ไซรเจา


หนี้จะเรียกเอาคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแตการนั้นก็ได

มาตรา 221 หนี้เงินอันตองเสียดอกเบี้ยนั้น ทานวาจะคิดดอกเบี้ยในระหวางที่เจาหนี้ผิด


นัดหาไดไม

จากอุทาหรณ นายเดชทําสัญญาจะซื้อบานพรอมที่ดินจากบริษัทเมืองสวรรคจํากัดกอให
เกิดหนี้ตางตอบแทนดังกลาวคือบริษัทเมืองสวรรคจํากัดตองสงมอบบานที่สรางเสร็จเรียบรอยใน
สภาพที่ ไม ชํารุดบกพรองให แกนายเดช สวนนายเดชตองชําระราคาคาบานให แกบริษัท เมือง
สวรรคจํากัด ดังนั้นเมื่อบริษัทเมืองสวรรคจํากัดไมไดปฏิบัติการชําระหนี้ใหตองตามความประสงค
อันแทจริงแหงมูลหนี้คือการสงมอบบานในสภาพที่ดีใหแกนายเดช นายเดชก็ยังไมตองชําระราคา
ทั้งนี้เพราะการชําระหนี้จะใหสําเร็จเปนผลอยางใดลูกหนี้จะตองขอปฏิบัติการชําระหนี้ตอเจาหนี้
เปนอยางนั้นโดยตรง กลาวคือบริษัทเมืองสวรรคตองสงมอบบานที่ดีการสงมอบบานผนังราวจึง
เปนการปฏิบัติการชําระหนี้ที่ไมถูกตอง และแมบริษัทเมืองสวรรคจํากัดจะพรอมที่จะรับชําระหนี้แต
ไมชําระหนี้ตามที่พึงตองทําดังกลาวแลวจึงถือวาเปนเจาหนี้ผิดนัดตามมาตรา 210 เมื่อเจาหนี้ผิด
นัดจึงไมมีสิทธิจะคิดดอกเบี้ยในระหวางที่เจาหนี้ผิดนัดตามมาตรา 221 สวนนายเดชยังไมผิดนัด
แมจะไมรับโอนบานตามสัญ ญาเพราะบานราว ทําใหนายเดชยังไมรับโอนบานไดซึ่งเปนพฤติ
การณอันลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบตามมาตรา 205 ในทางตรงกันขามบริษัทเมืองสวรรคจํากัดไม
ชําระหนี้ใหตองตามความประสงคอันแทจริงแหงมูลหนี้ เจาหนี้คือนายเดชยังสามารถเรียกเอาคา
สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแตการนั้นไดตามมาตรา 215 เชน ไมไดรับโอนบานใน
เวลาที่กําหนดทําใหตองไปเชาบานอยูเปนตน

ดังนั้น ขาพเจาจะใหคําปรึกษาวานายเดชไมตองชําระดอกเบี้ยเพราะไมไดเปนฝายผิดนัด
แตเจาหนี้คือบริษัทเมืองสวรรคจํากัด เปนฝายผิดนัดจึงไมอาจเรียกดอกเบี้ยได นอกจากนั้นหาก
นายเดชมีความเสียหายอยางใด ๆ จาการที่บริษัทเมืองสวรรคจํากัดชําระหนี้ไมตองตามความ
ประสงคอันแทจริง คือ สงมอบบานที่ชํารุดเสียหาย นายเดชยังมีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนได

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 9
นายแจง นายแจม และนายแจว รวมกันกูเงินจากนายโต นายแตง และนายตน ซึ่งรวม
กันใหกูเงินแกบุคคลทั้งสามดังกลาว จํานวน 3 ลานบาทโดยตกลงวาจะชําระหนี้ใหเสร็จสิ้นภาย
ใน 1 ป ครั้นครบกําหนดชําระหนี้ นายแจง นายแจม และนายแจว ก็ไมชําระหนี้ นายโต จึงบอก
กลาวใหนายแจงนําเงินมาชําระหนี้เพราะถึงกําหนดชําระแลว สวนนายแตงเปนเพื่อนรักกับนาย
แจม จึงปลดหนี้ใหนายแจม 1 ลานบาท สําหรับนายแจวไดกลายเปนทายาทคนเดียวของนายตน
ซึ่งประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต ดังนี้ นายแจง นายแจม และนายแจวจะตองชําระหนี้รายนี้อยางไร
จงอธิบายพรอมทั้งยกหลักกฎหมายมาประกอบดวย

เฉลย
มาตรา 204 วรรค 2 ถาไดกําหนดเวลาชําระหนี้ไวตามวันแหงปฏิทิน และลูกหนี้มิไดชําระ
หนี้ตามที่กําหนดไซร ทานวาลูกหนี้ตกเปนผูผิดนัดโดยมิทักตองเตือนเลย วิธีเดียวกันนี้ทานใหใช
บังคับแกกรณีที่ตองบอกกลาวลวงหนากอนการชําระหนี้ ซึ่งไดกําหนดเวลาลงไวอาจคํานวณนับได
โดยปฏิทินนับแตวันที่ไดบอก กลาว

มาตรา 293 การปลดหนี้ใหแกลูกหนี้รวมกับคนหนึ่งนั้นยอมเปนไปเพื่อประโยชนแกลูกหนี้


คนอื่น ๆ เพียงเทาสวนที่ลูกหนี้ที่ไดปลดให เวนแตจะไดตกลงกันเปนอยางอื่น

มาตรา 299 วรรค 2 ถาสิทธิเรียกรองและหนี้สินนั้นเปนอันเกลื่อนกลืนกันไปในเจาหนี้


รวมกันคนหนึ่ง สิทธิของเจาหนี้คนอื่น ๆ อันมีตอลูกหนี้ก็ยอมเปนอันระงับสั้นไป

ตามอุทาหรณนายแจง นายแจม และนายแจว เปนลูกหนี้รวมเพราะผูกพันตนรวมกันใน


หนี้ซึ่งกูจากนายโต นายแตง และนายตน ซึ่งเปนเจาหนี้รวมที่ไดรวมกันใหเงินกู 3 ลานบาทและการ
กําหนดชําระหนี้ภายใน 1 ปนั้น ถือวาเปนหนี้มีกําหนดเวลาแนนอน เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้เมื่อครบ
กําหนดจึงถือวาผิดนัดโดยมิทักตองเตือนเลยตามมาตรา 204 วรรค 2 สวนนายแตงปลดหนี้ใหนาย
แจม 1 ลานบาทยอมเปนประโยชนแกลูกหนี้รวมคนอื่น ๆ ดวย ตามมาตรา 293 หนี้รายนี้จึงเหลือ
แคเพียง 2 ลานบาทที่ลูกหนี้รวมจะตองรับผิดรวมกันเพราะสวนที่ปลดหนี้ตกเปนพับแกเจาหนี้ไป
แตเมื่อนายแจวไดกลายเปนทายาทของนายตนสิทธิเรียกรองและหนี้สินจึงเกลื่อนกลืนกันไปในเจา
หนี้รวมคือนายตน สิทธิของเจาหนี้คนอื่น ๆ อันมีตอลูกหนี้จึงระงับสิ้นไปตามมาตรา 299 วรรค 2

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 10
นายสีดาเชาบานนางสําลีอยูอาศัย และบริเวณบานนางสําลีมีตนไมใหญรมครึ้มปลูกอยู
เกาแกหลายป นางสีดาเปนคนรักตนไมจึงหมั่นดูแลอยูเสมอ ตลอดจนนํากระถางตนไมไปวางเรียง
รายอยู ต ามมุ ม บ า น และนํ า ไปตั้ งอยู ริม หน า ต า งให ส วยงามด ว ย ขณะที่ น ายซวยเดิ น ผ า นมา
กระถางตนไมที่วางอยูริมหนาตางหลนมาถูกศรีษะนายซวยแตก สวนนายแสงที่เดินอยูริมรั้วบาน
หลังนี้ถูกตนไมใหญที่ปลูกอยูในบริเวณบาน ซึ่งอายุมากแลวโคนลงมาลมทับขานายแสงจนขาหัก
ทั้งนายซวยและนายแสง จึงเรียกรองใหนางสีดาและนางสําลีรับผิดชดใชคาเสียหาย นางสีดา
ปฏิเสธอางวานางสําลีเปนเจาของบานตองรับผิดเอง สวนนางสําลีโตแยงวานางสีดาเปนผูครองโรง
เรือนในขณะเกิดเหตุตองเปนผูรับผิด ดังนี้ ใหทานวินิจฉัยวานางสีดาและนางสําลีจะตองรับผิด
อยางไรหรือไมเพราะเหตุใด โดยยกกฎหมายมาอธิบายประกอบดวย
เฉลย
มาตรา 434 ถาความเสียหายเกิดขึ้นเพราะเหตุที่โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่น กอ
สรางไวชํารุดบกพรองก็ดี หรือบํารุงรักษาไมเพียงพอก็ดี ทานวาผูครอบครองโรงเรือนหรือสิ่งปลูก
สรางนั้น ๆ จําตองใชคาสินไหมทดแทน แตถาผูครองไดใชความระมัดระวังตามสมควรเพื่อปดปอง
มิใหเกิดเสียหายฉะนั้นแลว ทานวาผูเปนเจาของจําตองใชคาสินไหมทดแทน
บทบัญญัติที่กลาวมาในวรรคกอนนั้นใหใชบังคับไดตลอดถึงความบกพรองในการปลูก
หรือค้ําจุนตนไมหรือกอไผดวย
มาตรา 436 บุคคลผูอยูในโรงเรือนตองรับผิดชอบในความเสียหายอันเกิดเพราะของตก
หลนจากโรงเรือนนั้น หรือเพราะทิ้งขวางของไปตกในที่อันมิควร
ขอเท็จจริงจากอุทาหรณ นางสีดาเชาบานนางสําลีอยูจึงเปนผูครอบครองโรงเรือน ในกรณี
ที่กระถางตนไมที่วางอยูริมหนาตางตกหลนลงมาถูกศรีษะนายซวย ไมไดเกิดจากการกระทําโดยจง
ใจหรือประมาทเลินเลอก็ตาม แตเมื่อมีของตกหลนจากโรงเรือนผูอยูในโรงเรือนจึงตองรับผิด ดังนั้น
นางสีดาผูอยูในโรงเรือนจึงตองรับผิดตอนายซวยที่ไดรับความเสียหายจากการที่มีของตกหลนจาก
โรงเรือน ตามมาตรา 436
ในกรณีที่สอง นางสีดาไดหมั่นดูแลรักษาตนไมอยูเสมอโดยไดระมัดระวังตามควรแลวจึง
ไมตองรับผิดตามมาตรา 434 ซึ่งในมาตราดังกลาววรรคสองใหรวมถึงการรับผิดในความบกพรอง
ของการปลูกตนไมหรือค้ําจุนตนไม กอไผดวย เมื่อผูครองโรงเรือนไมตองรับผิด เพราะไดระมัดระวัง
ตามสมควรแลว เจาของตนไมจึงตองรับผิดในการชําระคาสินไหมทดแทนและความเสียหายที่นาย
แสงไดรับจากการที่ถูกตนไมลมทับขา
สรุป 1. นางสีดาตองรับผิดตอนายซวย เพราะของตกหลนจากโรงเรือนที่นางสีดาอยู
2. นางสําลีตองรับผิดตอนายแสงในฐานะเจาของตนไมในความเสียหายที่เกิด
จากความบกพรองในการปลูกตนไม
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 11
แดงกูเงิน ดํ าไปในวัน ที่ 1 เมษายน 2535 จํานวน 100,000 บาท โดยทําสัญ ญาถูกต อง
กําหนดชําระหนี้เงินกูในวันที่ 13 เมษายน 2536 แตปรากฏวาในวันที่ 13 เมษายน 2536 เปนวัน
สงกรานต แดงจึงนําเงินไปชําระใหดําในวันรุงขึ้น ระหวางทางถูกคนรายจี้เอาเงินไปทั้งหมด แดงจึง
ปฏิเสธไมชําระเงินจํานวนดังกลาวแกดํา เพราะการไมชําระหนี้นั้นเกิดจากเหตุสุดวิสัย และไมใช
ความผิดของแดง ดังนี้ ดําจะเรียกรองใหแดงชําระหนี้เงินกูนั้นแกตนไดหรือไม เพราะเหตุใด
เฉลย หลักกฎหมาย
1. มาตรา 204 วรรค 2 “ถาไดกําหนดเวลาชําระไวตามวันแหงปฏิทินและลูกหนี้
มิไดชําระหนี้ตามกําหนดไซร ทานวาลูกหนี้ตกเปนผูผิดนัดโดยมิทักตองเตือนเลย…”
2. มาตรา 215 เมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ใหตองตามความประสงคอันแทจริงแหงมูล
หนี้ไซร เจาหนี้จะเรียกเอาคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแตการนั้นก็ได
3. มาตรา 221หนี้เงินนั้นทานใหคิดดอกเบี้ยระหวางเวลาผิดนัดรอยละเจ็ดครึ่ง
ตอป
4. มาตรา 217 ลูกหนี้จะตองรับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่เกิดแตความ
ประมาทเลินเลอในระหวางที่ตนผิดนัดทั้งจะตองรับผิดชอบในการที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย
เพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นระหวางผิดนัดนั้นดวย
5. มาตรา219การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งได
เกิดขึ้นภายหลังกอหนี้และซึ่งลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบนั้นไซรทานวาลูกหนี้เปนอันหลุดพนจากการ
ชําระหนี้นั้น
ตามปญหา
แดงกูเงินดําและกําหนดชําระหนี้วันที่ 13 เมษายน 2536 เปนการกําหนดชําระหนี้ไวตาม
วันแหงปฏิทิน ดังนั้นเมื่อถึงกําหนดลูกหนี้คือแดงไมชําระ แดงก็ตกเปนผูผิดนัดโดยมิทักตองเตือน
เลย
และถึงวันที่ 13 เมษายน 2536 จะเปนวันสงกรานตก็เปนเพียงวันหยุดของราชการเทา
นั้น ยังไมอาจถือไดวาเปนประเพณีงดเวนการงานในการชําระหนี้ดวยจึงไมอาจนับวันเริ่มทํางาน
ใหมเขาดวย
เมื่อแดงตกเปนผูผิดนัดชําระหนี้แลว แดงก็ตองรับผิดในความเสียหายอยาง ๆ อันเกิดแต
การผิดนัดชําระหนี้นั้นตามมาตรา 215 และกรณีนี้เปนหนี้เงินลูกหนี้ตองรับผิดในดอกเบี้ยรอยละ
เจ็ดครึ่งตอปนับแตผิดนัดอีกดวย
แมเมื่อแดงนําเงินมาชําระหนี้ในวันรุงขึ้นระหวางทางถูกคนรายจี้เอาเงินไปทั้งหมด การ
ชําระหนี้ก็ยังไมกลายเปนพนวิสัย เพราะเงินนั้นมิใชทรัพยเฉพาะสิ่ง แดงจึงจะอางวาการชําระหนี้
กลายเปนพนวิสัยตนเองไมตองรับผิดตามมาตรา 219 นั่นไมได
และถึงแมวาการชําระหนี้จะกลายเปนพนวิสัย ก็เปนการพนวิสัยในระหวางผิดนัดลูกหนี้ก็
ยังคงตองรับผิดอยูตามมาตรา 217
ดังนั้น ดําจึงมีสิทธิเรียกรองใหแดงชําระหนี้เงินกูรวมทั้งดอกเบี้ยและความเสียหายใด ๆ ที่
อาจเกิดขึ้นแกตนเองได
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 12
ศาลพิพากษาใหเขียวและฟารวมกันชดใชคาสินไหมทดแทนแกมวง ในกรณีที่เขียวและฟา
รวมกันทํารายมวงจนไดรับบาดเจ็บเปนเงิน 10,000 บาท มวงซึ่งเปนเจาหนี้ในหนี้มูลละเมิด เห็นวา
เขียวมีฐานะทางการเงินดีกวาฟามาก จึงเรียกรองเอาจากเขียวคนเดียว เขียวยอมชดใชใหมวง
เพียงครึ่งหนึ่งคือ 5,000 บาท อางวาความจริงตนเปนผูชกตอยมวงเทานั้น สวนฟาเปนผูแทงทํา
รายมวงจนมวงไดรับบาดเจ็บหนัก ทั้งตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 432 วรรค
สาม ก็บัญญัติไววา ในระหวางบุคคลทั้งหลายซึ่งตองรับผิดรวมกันใชคาสินไหมทดแทนตองรับ
ผิดเปนสวน ๆ เทากัน จึงขอใหมวงไปเรียกรองเงินที่เหลืออีกครึ่งหนึ่ง 5,000 บาท จากฟาโดยตรง
ทานเห็นดวยกับขออางของเขียวหรือไม

เฉลย
ปพพ.มาตรา 291 วางหลักวา ลูกหนี้รวมกันนั้นจะเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้แตคนใดคน
หนึ่งสิ้นเชิงหรือแตโดยสวนก็ไดตามแตจะเลือกแตลูกหนี้ทั้งปวงยังคงตองผูกพันอยูทั่วทุกคนจน
กวาหนี้นั้นจะชําระสิ้นเชิงไดตาม ปพพ.มาตรา 291

ตามปญหา เขียวและฟาเปนลูกหนี้รวมกับในมูลละเมิด มวงเจาหนี้จึงชอบที่จะเรียกรอง


ใหเขียวหรือฟา ลูกหนี้คนใดคนหนึ่งชําระหนี้โดยสิ้นเชิงหรือแตโดยสวนก็ได และเขียวกับฟาก็ยังคง
ผูกพันอยูจนกวาหนี้รวมกันจะไดชําระสิ้นเชิงตาม ม.291

การที่เขียวยอมชดใชใหมวงเพียงครึ่งเดียวคือ 5,000 บาท และอางมาตรา 432 วรรค 3


นั้น ฟงไมขึ้น เพราะมาตรา 432 วรรค 3 เปนเรื่องระหวางลูกหนี้รวมกันที่จะไปใชสิทธิไลเบี้ยกัน
จะยกมาตอสูมวงซึ่งเปนเจาหนี้ไมได ดังนั้นแมเขียวจะชําระไปแลว 5,000 บาท เขียวก็ยังคงผูกพัน
ตองชําระอยูจนกวาหนี้จะไดชําระสิ้นเชิง คือ ตองชําระอีก 5,000 บาท ขออางของเขียวฟงไมขึ้น
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 13
แดงยกปนจะยิงดํา กอนที่แดงจะลั่นไก ดําก็ใชไมตีปนของแดง หลุดจากมือแดง
แดงไดรับบาดเจ็บ ดังนี้ แดงจะเรียกคาสินไหมทดแทนจากดําไดหรือไม

เฉลย
ตาม ปพพ.มาตรา 420 “ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
ใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางใด
อยางหนึ่งก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิด จําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

กรณีตามปญหา การที่แดงยกปนจะยิงดํา ดําจึงใชไมตีปนของแดงนั้นเปนการปองกันโดย


ชอบดวยกฎหมาย ดังนั้นแมวาจะเกิดความเสียหายแกแดงคือทําใหแดงบาดเจ็บ ดําก็หาตองรับ
ผิดชดใชคาสินไหมทดแทนไม

เมื่อการกระทําของดําเปนการปองกันโดยชอบดวยกฎหมายเปนนิรโทษกรรมแลว จึงไม
เปนการละเมิดตาม มาตรา 420
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 14
นายแดงทําสัญญาจะขายที่ดินใหนายดํา โดยนายแดงตกลงจะแบงแยกโฉนด
และไปโอนใหนายดําภายใน 4 เดือน นับแตวันทําสัญญา มิฉะนั้นจะคืนเงินมัดจําที่นายแดงรับไว
จํ า นวน 200,000 บาท และให ป รับ อี ก 2 เท า ของเงิ น มั ด จํ า ปรากฏว า ถึ ง กํ า หนดนายแดงไม
สามารถไปโอนใหไดเพราะรังวัดแบงแยกไมเสร็จเนื่องจากน้ําทวมรังวัดไมได นายดําฟองใหนาย
แดงคืนเงินมัดจําและเรียกเบี้ยปรับตามสัญญา ทานเปนศาลจะวินิจฉัยคดีนี้อยางไร

เฉลย
หลักกฎหมาย มาตรา 204 วรรค 2 บัญญัติวาถาไดกําหนดเวลาชําระหนี้ไวตาม
วันแหงปฏิทินและลูกหนี้มิไดชําระหนี้ตามกําหนดไซร ทานวาลูกหนี้ตกเปนผูผิดนัดโดยมิทักตอง
เตือนเลย…
มาตรา 205 ตราบใดการชําระหนี้นั้นมิไดกระทําลงเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่ง
วึ่งลุกหนี้ไมตองรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังหาไดชื่อวาผิดนัดไม

ประเด็น มีวาลูกหนี้ผิดนัดหรือไม การที่แดงและดําทํ าสัญ ญาจะขายที่ดิน และ


กําหนดไปโอนภายใน 4 เดือน นับแตวันทําสัญญานั้น ถือไดวาไดเกิดหนี้ขึ้นระหวางแดงและดํา
และเปนหนี้ซึ่งไดกําหนดเวลาชําระหนี้ไวตามวันแหงปฏิทินคือภายใน 4 เดือนนับแตวันทําสัญญา
ดังนั้นโดยหลักแลวเมื่อถึงกําหนด 4 เดือนตามสัญญาแลวแดงไมสามารถโอนที่ดินใหดําถือวาแดง
ผิดนัดทันทีโดยไมตองเตือน

แตการที่แดงไมสามารถจะชําระหนี้ไดนั้นเกิดจากน้ําทวมมิไดเกิดจากความผิด
ของแดงเปนพฤติการณซึ่งลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ ดังนั้นในชวงที่น้ําทวมจึงรังวัดแบงแยกไมเสร็จนี้
จึงยังไมถือวา ลูกหนี้คือแดงผิดนัดในชวงนี้ เมื่อแดงยังไมผิดนัดนั้น ดําจะฟองแดงใหคืนเงินมัดจํา
และเรียกเบี้ยปรับตามสัญญาไมได (ฎีกา 750/2518)

ถาขาพเจาเปนศาลจะวินิจฉัยวาแดงยังไมผิดนัดจึงไมตองคืนเงินมัดจํา และไม
ตองเสียเบี้ยปรับ

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 15
ก เปนลูกหนี้ซื้อของเงินเชื่อ ข อยู 6 แสนบาท ตอมากิจการของ ก ตองขาดทุนลง ก มี
ทรัพยสินอยูเพียงอยางเดียวคือบานของตนเอง ก เกรงวา ข จะมาบังคับชําระหนี้ จึงไดโอนบาน
ใหแกมารดาซึ่งไมมีที่พักอาศัยเปนของตนเอง โดยมิไดบอกเรื่องหนี้สินของตนเอง เพราะเกรงวา
มารดาจะเสียใจ เมื่อ ก ทําการโอนบานใหแกมารดาไปแลว 2 ป ข จึงไดรูวาบานไมไดเปนของ ก
เสียแลว ข มาปรึกษาทานเพื่อจะบังคับชําระหนี้รายนี้ทานจะใหคําปรึกษา ข อยางไร

เฉลย
มาตรา 237 วรรคแรก เจาหนี้ชอบที่จะรองขอใหศาลเพิกถอนเสียไดซึ่งนิติกรรมใด ๆ อัน
ลูกหนี้ไดกระทําลงนั้นรูอยูวาจะเปนการใหเจาหนี้เสียเปรียบ แตความขอนี้ทานมิไดใชบังคับ ถาป
รากฎวาในขณะที่ทํานิติกรรมนั้นบุคคลซึ่งเปนผูไดลาภงอกแตการนั้นมิไดรูเทาถึงขอความจริงอัน
เปนทางใหเจาหนี้ตองเสียเปรียบนั้นดวย แตหากกรณีเปนการทําโดยเสนหาทานวาเพียงแตลูกหนี้
เปนผูรูฝายเดียวเทานั้นก็พอแลวที่จะขอเพิกถอนได
มาตรา 240 การเรียกรองขอเพิกถอนนั้น ทานหามมิใหฟองรองเมื่อพนปหนึ่งนับแตเวลาที่
เจาหนี้ไดรูตนเหตุอันเปนมูลใหเพิกถอน หรือพนสิบปนับแตไดทํานิติกรรม
ตามปญหา เปนกรณีการเพิกถอนฉอฉล เพราะเมื่อ ก เปนหนี้ ข อยู และไมมีทรัพยสิน
อื่นเหลืออยูในการชําระหนี้ใหแก ข เลย มีแตเพียงบานหลังเดียวและไดโอนไปใหมารดาของตน
นั้นถือไดวาการโอนใหโดยเสนหานั้นเปนนิติกรรมและ ก ทําลงโดยรูอยูแลววาเปนทางให ข ซึ่ง
เปนเจาหนี้เสียเปรียบเพราะไมมีทรัพยสินอื่นเหลือพอชําระหนี้

แตนิติกรรมใหโดยเสนหานั้นเพียงแต ก ลูกหนี้ฝายเดียวรูวาเจาหนี้เสียเปรียบก็เปนเหตุ
เพี ยงพอให เจาหนี้ฟ องขอเพิ กถอนการใหซึ่งเกิดจากการฉอฉลนั้นได แล ว ซึ่งตามป ญ หาแมวา
มารดาของ ก จะไมรูวาการโอนใหนั้นทําให ข เสียเปรียบก็ตาม ข ก็สามารถฟองศาลใหเพิกถอน
นิติกรรม การใหโดยเสนหานี้ได

อีกทั้งนิติกรรมการโอนใหนี้ทําขึ้นเพียง 2 ป เทานั้นกฎหมายใหสิทธิเจาหนี้ที่จะขอเพิก
ถอนไดภายในสิบปนับแตวันทํานิติกรรม เพราะภายใน 1 ปนับแตเวลาที่เจาหนี้รูถึงการโอนให

ดังนั้นขาพเจาจะใหคําแนะนําให ข ฟองศาลขอเพิกถอนการฉอฉลเสียภายใน 1 ป หลัง


จากที่ ข รูถึงการโอนนั้นแลว เมื่อฟองขอเพิกถอนแลวทรัพยสินที่โอนก็กลับคืนสู ก ผูโอนทําให
ข สามารถ บังคับชําระหนี้จากทรัพยสินนั้นได
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 16
บานของนายอาจอยูติดกับสวนของนายเอิบ ซึ่งนายเอิบครอบครองอยู ลิงของนายอาจ
หลุดเขามาลักกลวยในสวนของนายเอิบกินหมดไปแลวหลายหวี นายเอิบจึงจับลิงขังไวเพื่อจะ
เรียกเอาคาเสียหายจากนายอาจ นายอาจติดตามหาลิงมาตอวานายเอิบ โดยอางวานายเอิบไมมี
สิทธิที่จะจับลิงของตนขังไว มีสิทธิแตเพียงขับไลลิงออกจากสวนของตนและเรียกคากลวยที่ลิงกิน
ไปเทานั้น การจับลิงขังไวเปนการละเมิดตอนายอาจ ขอใหนายเอิบคืนลิงและชดใชคาสินไหมทด
แทน ทานเห็นดวยกับขออางของนายอาจหรือไม นายเอิบตองคืนลิงแกนายอาจ และนายอาจกับ
นายเอิบจะเรียกคาสินไหมทดแทนจากกันและกันไดหรือไม

เฉลย
ตาม ปพพ.มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให
เขาเสียหายถึงแกทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใด ผูนั้นทําละเมิด จําตองใชคาสินไหมทดแทน
และตามมาตรา 433 ถาความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว เจาของสัตวจําตองใชคาสินไหมทดแทน
ใหแกฝายที่ตองเสียหายเพื่อความเสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตสัตวนั้น ฯลฯ

นอกจากนี้ตามมาตรา 452 ผูครองอสังหาริมทรัพยชอบที่จะจับสัตวของผูอื่นอันเขามาทํา


ความเสียหายในอสังหาริมทรัพยนั้นและยึดไวเปนประกันคาสินไหมทดแทนอันจะพึงตองใชแกตน
ได ฯลฯ

แยกพิจารณาไดดังนี้
(ก) ลิงของนายอาจหลุดเขามาลักกลวยในสวนของนายเอิบกิน นายอาจเจาของลิงจึง
ตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกนายเอิบผูเสียหายตามปพพ.มาตรา 433

(ข) นายเอิบเปนเจาของสวนซึ่งเปนอสังหาริมทรัพย เมื่อลิงของนายอาจเขามาทําความ


เสียหายในสวนโดยลักกลวยกิน นายเอิบจึงมีสิทธิจับลิงของนายอาจไวเปนประกัน คาสินไหมทด
แทนเป น นิ รโทษกรรมตามมาตรา 452 นายเอิบจึ งไมได กระทําผิดกฎหมายการจับ ลิ งขังไวไม
ละเมิดตามมาตรา 420 นายเอิบไมตองคืนลิงแกนายอาจจนกวาจะไดคาสินไหมทดแทน ขาพเจา
ไมเห็นดวยกับขออางของนายอาจ และนายอาจไมมีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนจากนายเอิบ

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 17
มี น าอ ยู ที่ จั งห วั ด ป ทุ ม ธานี ต ก ล งทํ าสั ญ ญ าซื้ อ รถ ย น ต ห ม าย เล ข 9ช .999
กรุงเทพมหานคร จากเมษา ณ รานจําหนายรถยนตของเมษาที่กรุงเทพมหานคร ชําระราคา
ครบถวนแลวและตกลงจะไปโอนทะเบียนกันอีก 1 สัปดาหขางหนา เมษาไดมอบกุญแจรถใหมีนา
ขับไป แตมีนาไมยอมบอกวาจะไปธุระตางจังหวัด แลวไดมอบกุญแจใหกับเมษาขับไปสงใหที่บาน
ของมีนาดวย แตเมษาบอกวาไมมีคนขับ มีนาบอกวาไมเปนไร อีก 2 วันก็ได ปรากฎวาในวันรุงขึ้น
ตอนกลางดึก เกิดไฟไหมจากบานขางเคียงและไดไหมรานของเมษารวมถึงรถยนตคันดังกลาวดวย
เมื่อมีนากลับจากตางจังหวัดรูวารถคันดังกลาวไหมใชการไมไดเลย จึงมาขอเงินคารถคืน แตเมษา
ไมให อางวาการชําระหนี้เปนพนวิสัย ไมใชความผิดตน ดังนี้ ทั้ง 2 ไดมาปรึกษาทาน ทานเห็น
ดวยกับขออางของเมษาหรือไม เพราะเหตุใด
เฉลย
หลักกฎหมาย ปพพ. มาตรา 324 บัญญัติวา “เมื่อมิไดแสดงเจตนาไวโดยเฉพาะเจาะจงวา
จะพึงชําระหนี้ ณ สถานที่ใดไซร หากจะตองสงมอบทรัพยเฉพาะสิ่ง ทานวาจะตองสงมอบกัน ณ
สถานที่ซึ่งทรัพยนั้นไดอยูในเวลาเมื่อกอใหเกิดหนี้นั้น สวนการชําระหนี้โดยประการอื่นทานวาตอง
ชําระ ณ สถานที่ซึ่งเปนภูมิลําเนาปจจุบันของเจาหนี้
มาตรา 219 วรรค 1 บัญญัติวา ถาการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอันใด
อันหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังที่ไดกอหนี้ และซึ่งลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบนั้นไซร ทานวาลูกหนี้เปนอัน
หลุดพนจากการชําระหนี้นั้น
กรณีเปนเรื่องการชําระหนี้โดยชอบแลวหรือไม ซึ่งตามขอเท็จจริงเปนปญหาวาการชําระ
หนี้ คือ การสงมอบรถยนตนั้นเมื่อคูกรณีทั้ง 2 คือ ทั้ง มีนาและเมษาไมไดตกลงกันมากอนวาจะ
ตองชําระหนี้คือสงมอบรถยนต ณ ที่ใด และทรัพยที่จะตองสงมอบนั้นก็เปนทรัพยเฉพาะสิ่งคือตอง
เปนรถยนตคันหมายเลขทะเบียน 9ช 9999 เทานั้น ดังนั้นโดยนัยแหงมาตรา 324 ดังกลาวตองสง
มอบกัน ณ สถานที่ซึ่งทรัพยนั้นไดตั้งอยูในเวลาที่กอการนั้น ซึ่งเมื่อเมษาไดสงมอบกุญแจใหมีนา
แลวนั้นถือวาไดชําระหนี้ คือสงมอบรถยนตโดยชอบดวยกฎหมายแลวไมตองขับไปสงใหมีนาที่
จังหวัดปทุมธานี
เมื่อการสงมอบเปนทรัพยเฉพาะสิ่งและไดสงมอบถูกตองแลว กรรมสิทธิ์ในรถยนตโอนไป
เปนของผูซื้อแลวถึงแมวารถยนตนั้นจะยังอยูในความครอบครองของผูขายก็ตาม แตเมื่อมีนาได
มอบกุญแจใหเมษาขับรถไปสงที่บานของมีนาดวย โดยเมื่อเมษายอมรับกุญแจไปแลวนั้น เทากับ
วามีการตกลงกันใหมวาเมษายังคงมีหนาที่ตองชําระหนี้ที่บานของมีนา ดังนั้นเมื่อเกิดเหตุไฟไหม
เปนเหตุซึ่งสุดวิสัยที่จะปองกันไดการที่รถยนตคันดังกลาวไหมใชการไมไดนั้นเปนพฤติการณซึ่งเกิด
ขึ้นภายหลังที่กอหนี้ขึ้นและลูกหนี้คือผูขายไมตองรับผิดชอบ คือไมไดเกิดเพราะความผิดของผูขาย
ดังนั้น ผูขายคือเมษา ไมตองรับผิดชดใชคารถยนตใหแกมีนาแตอยางไร
ขาพเจาเห็นดวยกับขออางเมษา เพราะการชําระหนี้เปนพนวิสัยไมใชความผิดของเมษา
จึงไมตองชําระเงินคารถยนตคืนใหแกมีนา ตามนัยมาตรา 219
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 18
คลองกูเงินทะเลไป 2 แสนบาท ในขณะเดียวกันแมน้ําก็เปนลูกหนี้คลองคารับเหมากอ
สราง เปนเงิน 6 หมื่นบาท ตอมาคลองกลายเปนบุคคลที่มีหนี้สินลนพนตัว ไมมีทรัพยสินพอที่จะ
ชําระหนี้ ดังนี้ ทะเลมาปรึกษาทานเพื่อจะหาทางใหคลองชําระหนี้ ทานจะใหคําปรึกษาแกทะเล
อยางไร

เฉลย
หลักกฎหมาย ปพพ. มาตรา 233 บัญญัติวา “ถาลูกหนี้ขัดขืนไมยอมใชสิทธิเรียกรองหรือ
เพิกเฉยเสียไมใชสิทธิเรียกรองเปนเหตุใหเจาหนี้ตองเสียประโยชน เจาหนี้จะใชสิทธิเรียกรองนั้นใน
นามของตนเองแทนลูกหนี้ เพื่อปองกันสิทธิของตนในมูลหนี้นั้นก็ได เวนแตในขอที่เปนการของลูก
หนี้สวนตัวโดยแท”

มาตรา 234 บัญญัติวา “เจาหนี้ผูใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้นั้นจะตองขอหมายเรียกลูก


หนี้มาในคดีนั้นดวย”

กรณีนี้เห็นไดวาลูกหนี้ไมมีทรัพยสินที่จะชําระหนี้ใหแกเจาหนี้เพราะคลองลูกหนี้เปนบุคคล
ที่มีหนี้สินลนพนตัว ดังนั้นวิธีที่เจาหนี้จะสามารถรวบรวมทรัพยสินของลูกหนี้มาเพื่อชําระหนี้แกตน
ไดนั้น คือตองใหคลองนั้นฟองเรียกเงินคารับเหมากอสรางจากแมน้ําซึ่งเปนลูกหนี้ของตนเสียกอน

หากคลองนั้นเพิกเฉยหรือขัดขืนไมยอมที่จะบังคับชําระหนี้คารับเหมากอสรางจากแมน้ํา
แลว ทะเลสามารถที่ใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้คือ คลองนั้นฟองแมน้ําไดในนามของตนเอง ตาม
นัยมาตรา 233 เพราะการที่คลองไมยอมใชสิทธิเรียกรองของตนนั้นทําใหทะเลซึ่งเปนเจาหนี้นั้น
เสียประโยชน เพราะคลองไมมีทรัพยสินพอที่จะชําระหนี้ได

ในการฟองคดีโดยใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้นี้ ทะเลตองขอหมายเรียกใหคลองลูกหนี้ของ
ตนเขามาในคดีนี้ดวยตามนัย มาตรา 234 ทั้งนี้ เพื่อใหการพิจารณาพิพากษาคดีนี้มีผลผูกพัน
คลองซึ่งจะปฏิเสธไมรับรูผลของคดีนี้ไมได

ดังนั้นจึงแนะนําใหทะเลใชสิทธิเรียกรองของคลองในนามของตนเองฟองแมน้ําใหชําระหนี้
และขอหมายเรียกคลองเขามาในคดีดวย

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 19
นายโดดลักรถยนตนั่งของนายทิพยไป นายทิพยจึงไมมีรถใชตองไปเชารถของบุคคลอื่น
ใช ขณะเดียวกันนายโดดก็นํารถของนายทิพยที่ตนลักมานั้นไปใช และขับรถชนเสาไฟฟาขางทาง
โดยอุบัติเหตุ รถเสียหายยับเยินทั้งคัน ดังนี้ นายโดดตองชดใชคาเสียหายในการที่นายทิพยตอง
ไปเชารถบุคคลอื่นใชและที่รถพังยับเยินโดยอุบัติเหตุใหนายทิพยหรือไม

เฉลย
หลักกฎหมาย ปพพ. มาตรา 420 บัญ ญั ติวา “ผูใดจงใจ หรือประมาทเลินเลอ ทําตอ
บุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี
ทรัพยสินหรือสิทธิอยางอื่นอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิด จึงตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อ
การนั้น”

มาตรา 439 บัญญัติวา “บุคคลผูจําตองคืนทรัพย อันผูอื่นตองเสียไปเพราะละเมิดแหง


ตนนั้น ยังตองรับผิดชอบตลอดถึงการที่ทรัพยนั้นทําลายลงโดยอุบัติเหตุ หรือการคืนทรัพยตกเปน
พนวิสัยเพราะเหตุอยางอื่นโดยอุบัติเหตุหรือทรัพยนั้นเสื่อมลงโดยอุบัติเหตุนั้นดวย…”

จากการที่นายโดดลักรถยนตนั่งของนายทิพยไปนั้น เปนการกระทําละเมิดตอนายทิพย
เพราะการลักรถยนตนั้นเปนการจงใจเอา ทรัพยของผูอื่นไป โดยผิดกฎหมายจึงทําใหนายทิพย
เสียหาย เพราะนายทิพยไมมีรถใชจึงตองไปเชารถของบุคคลอื่นใช นายโดดจึงตองชดใชคาสิน
ไหมทดแทนใหแกนายทิพยเปนคาเสียหาย เพราะการที่นายทิพยตองไปเชารถคนอื่น เปนผลโดย
ตรงจากการที่นายโดดลักรถยนตไปตามนัยมาตรา 420

การที่นายโดดขับรถไปชนเสาไฟฟาขางทางโดยอุบัติเหตุ รถเสียหายยับเยินทั้งคันนั้นก็เปน
กรณีซึ่งทรัพยนั้นทําลายลงโดยอุบัติเหตุ แมนายโดดจะไมไดขับรถโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอก็
ตาม นายโดดก็ตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกนายทิพยตามนัย มาตรา 439 เพระนายโดดมี
หนาที่ตองคืนรถที่ตนไดโขมยมาโดยละเมิด จึงตองรับผิดแมวาเหตุจะเกิดจากอุบัติเหตุก็ตาม
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 20
นายแดงเจาของรานคาไมอยู เด็กชายนอยอายุ 14 ป ผูเยาวซึ่งเปนเด็กซุกซน เขาจัดการ
รานโดยตั้งใจทําแทนนายแดงและโดยที่นายแดงมิไดวาขานวานใช โดยปราศจากความระมัดระวัง
เด็กชายน อยทํ าให จานที่วางขายแตกไปหลายใบ นอกจากนี้ ยั งขายผงซัก ฟอกต่ํากวาราคาที่
กําหนดไวโดยรูดีวาตองขายในราคาเทาใด ดังนี้เด็กชายนอยตองรับผิดตอนายแดงเจาของรานใน
การที่ทําใหจานแตกหรือไม และยังตองรับผิดในราคาผงซักฟอกที่ยังขาดไปหรือไม

เฉลย
หลักกฎหมาย
ปพพ. มาตรา 420 บัญญัติวา “ผูใดจงใจ หรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิด
กฎหมายใหเขาเสียหายถึงทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใด ผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหม
ทดแทนเพื่อการนั้น”

ปพพ. มาตรา 429 บัญญั ติวา “บุคคลใดแมไรความสามารถ เพราะเหตุเปนผูเยาว ก็


ตองรับผิดในผลที่ตนทําละเมิด…”

ตามปญหา
การที่เด็กชายนอย ซุกซนเขาไปจัดการรานโดยปราศจากความระมัดระวังทําใหจานที่วาง
ขายแตกไปหลายใบนั้น เนนไดวาเด็กชายนอยนั้น กระทําโดยประมาทเลินเลอ โดยทําใหเกิด
ความเสียหายตอทรัพยสินของนายแดง คือ จานที่วางขายอยูหลายใบ เด็กชายนอยจึงกระทํา
ละเมิดตอนายแดง

นอกจากนี้เด็กชายนอยยังขายผงซักฟอกต่ํากวาราคาที่กําหนดไว โดยรูดีวาตองขายใน
ราคาเทาใด จึงเปนการที่เด็กชายนอยกระทําโดยจงใจโดยทําใหเกิดความเสียหายตอนายแดง
เพราะขายต่ํากวาราคาทําใหนายแดงไดเงินนอยลง เด็กชายนอยจึงกระทําละเมิดตอนายแดง
(มาตรา 420)
เด็กชายนอยอายุ 14 ป เปนผูเยาวจริง แตวัยของเด็กชายนอยนั้นสามารถที่จะรูจักผิด
ชอบในการกระทําของตนไดแลว แมเด็กชายนอยจะเปนผูเยาวก็ตามก็ตองรับผิดในผลที่ตนทํา
ละเมิดของตน (มาตรา 429)

เมื่อเด็กชายนอยทําละเมิดและตองรับผิดในผลละเมิดนั้นคือตองชดใชคาสินไหมทดแทน
เปนคาเสียหายซึ่งทําใหจานแตก และยังตองชดใชราคาคาผงซักฟอกที่ยังขาดอยูแกนายแดงเจา
ของรานดวย
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 21
ตุลาเปนคนหนี้สินลนพนตัว วันหนึ่งไดขับรถจักรยานยนตโดยประมาทเลินเลอชนธันวาได
รับบาดเจ็บ ตุลาไมมีเงินจายคารักษาพยาบาล จึงถอดสรอยคอทองคําหนัก 1 บาทใหธันวาไป
โดยธันวาเองก็รูวาตุลาเปนคนหนี้สินลนพนตัว สิงหาซึ่งเปนเจาของหนี้คนหนึ่งของตุลา รูถึงการ
ชําระหนี้นั้น ไดฟองศาลขอใหเพิกถอนการชําระหนี้นั้น เพราะตนเปนเจาของหนี้คนแรกและหนี้ถึง
กําหนดแลวตองชําระใหตนกอน จะชําระใหแกธันวากอนไมได หากทานเปนผูพิพากษา ทานเห็น
ดวยกับขออางของสิงหาหรือไมเพราะเหตุใด

เฉลย
หลักกฎหมาย ปพพ. มาตรา 237 บัญญัติวา “เจาหนี้ชอบที่จะรองขอใหศาลเพิกถอน
เสียไดซึ่งนิติกรรมใด ๆ อันลูกหนี้ไดกระทําลงทั้งรูอยูวาจะเปนทางใหเจาหนี้เสียเปรียบ แตความ
ขอนี้ทานมิใหใชบังคับถาปรากฏวาในขณะที่ทํานิติกรรมนั้น บุคคลซึ่งเปนผูไดลาภงอกแตการนั้นมิ
ไดรูเทาถึงขอความจริงอันเปนทางใหเจาหนี้ตองเสียเปรียบนั้นดวย…”

ตามปญหา นี้เปนกรณีซึ่งเจาหนี้ใชสิทธิเพิกถอนการฉอฉลหลักเกณฑการเพิกถอน การ


ฉอฉลของลูกหนี้นั้นตองเปนกรณีซึ่งเปนนิติกรรม ซึ่งลูกหนี้รูอยูวานิติกรรมที่ตนทําลงนั้นทําใหเจา
หนี้ของตนเสียเปรียบ และคูกรณีอีกฝายหนึ่งก็ตองรูถึงขออันเจาหนี้จะเสียเปรียบดวย เจาหนี้จะ
ขอเพิกถอนนิติกรรมนั้นได

ความขอเท็จนั้น การที่ตุลาเปนคนมีหนี้สินลนพนตัวนั้นก็แสดงอยูในตัววาไมมีทรัพยสิน
พอที่จะชําระหนี้ไดอยูแลว การที่ถอดสรอยคอทองคําใหธันวาไปแทนคารักษาพยาบาลนั้น ธันวา
เองก็รูวาตุลาเปนคนหนี้สินลนพนตัว ดังนั้นการชําระหนี้ของตุลายอมทําใหสิงหาซึ่งเปนเจาหนี้อีก
คนหนึ่งเสียเปรียบเพราะจะไมสามารถบังคับชําระหนี้ของตน จากตุลาไดเพราะตุลาไมมีทรัพยสิน
พอ

แตอยางไรก็ตาม มูลหนี้ที่เกิดขึ้นอันเปนเหตุใหตุลาตองชําระหนี้นั้นไมใชมูลหนี้ที่เกิดจาก
นิติกรรม แตเปนมูลหนี้ซึ่งเกิดจากละเมิด ซึ่งตามหลักเกณฑ มาตรา 237 นั้น ตองเปนนิติกรรม
ดังนี้กรณีการชําระหนี้ของตุลาจึงไมตองดวยหลักเกณฑการเพิกถอนการฉอฉลดังกลาว

ดังนั้นขาพเจาไมเห็นดวยกับขออางของสิงหา สิงหาไมสามารถฟองขอเพิกถอนการชําระ
หนี้จากมูลละเมิดได

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 22
เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2538 แกวโดยความประมาทเลินเลอไดขับรถขวดไดรับบาด
เจ็บ ตอมาอีก 2 เดือน เมื่อขวดมีอาการดีขึ้นแลว ไดมาพบแกวเรียกคาเสียหาย ซึ่งขวดตองเสีย
ไปในการรักษาตัวเปนเงิน 50,000 บาท แตแกวอางวามากไป ถาอยากไดใหไปฟองเอง ขวดจึง
ฟองเรียกคาเสียหาย 50,000 บาท พรอมทั้งดอกเบี้ยรอยละเจ็ดครึ่งตอป นับแตวันที่ถูกรถชนไป
จนกวาแกวจะชําระ แกวอางวาหนี้นี้ไมมีกําหนดเวลาชําระหนี้ ขวดไมไดเตือนตน หนี้จึงยังไมถึง
กําหนดชําระ และดอกเบี้ยก็ไมไดมีการตกลงไวจะเรียกรองกันไมได ดังนี้ทานเห็นดวยกับขออาง
ของแกวหรือไม เพราะเหตุใด

เฉลย
หลักกฎหมาย ปพพ. มาตรา 206 บัญญัติวา “ในกรณีหนี้อันเกิดแตมูลละเมิด ลูกหนี้ได
ชื่อวาผิดนัดมาแตวันทําละเมิด”

ปพพ. มาตรา 224 บัญญัติวา “หนี้เงินนั้น ทานใหคิดดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดรอยละ


เจ็ดครึ่งตอป…”

ตามปญหา การที่แกวขับรถชนขวดจนไดรับบาดเจ็บนั้น เปนกรณีซึ่งเกิดหนี้ขึ้นแลว โดย


เปนหนี้อันเกิดจากมูลละเมิด ซึ่งแกวเปนลูกหนี้ตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกขวดเจาหนี้ตาม
มาตรา 206 หนี้ซึ่งเกิดจากมูลละเมิดนั้น ลูกหนี้ไดชื่อวาผิดนัดนับแตวันทําละเมิดแลว คือ ผิดนัด
ตั้งแตวันที่ขับรถชนขวด คือ วันที่ 10 มีนาคม 2538 ดังนั้น เมื่อกฎหมายใหผิดนัดนับแตวันทํา
ละเมิดแลว เจาหนี้คือขวดก็ไมตองเตือนใหและหนี้นั้นตองชําระนับแตวันทําละเมิด จะอางวาหนี้
ไมถึงกําหนดชําระไมได

ในกรณีดอกเบี้ยนั้น แมไมไดตกลงกันก็สามารถเรียกรองไดตามกฎหมายถึง มาตรา 224


เพราะคาเสียหายในมูลละเมิดตองจายเปนเงินตามที่ขวดเรียกรอง เพื่อเปนหนี้เงินก็มีดอกเบี้ยตาม
ที่กฎหมายกําหนด เมื่อขวดผิดนัดไมชําระหนี้ก็ตองเสียดอกเบี้ยซึ่งผิดนัดตามกฎหมาย แมจะมิได
ตกลงกันไว เจาหนี้ก็เรียกรองได

ขาพเจาไมเห็นดวยกับแกวทั้งสองกรณี เพราะวาขวดไมตองเตือน หนี้นั้นถึงกําหนดชําระ


แลวนับแตวันทําละเมิและสามารถเรียกดอกเบี้ยไดตามกฎหมายแมไมตกลงกันไว

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 23
กอเมาสุราขับรถยนตชนเกิดไดรับบาดเจ็บ เมื่อวัน ที่ 1 มกราคม 2540 เกิดตองเขา
รักษาพยาบาลในโรงพยาบาลอยู 3 วัน เมื่อออกจากโรงพยาบาลเสียคารักษาไป 5,000 บาท เกิด
ไปหากอที่บานเพื่อใหชําระคารักษาพยาบาล แตกอไมอยูจึงบอกกับขาว ซึ่งเปนนองของกอเวลา
ผานไปอีก 2 เดือน กอก็ไมนําเงินมาชําระเกิดจึงฟองกอเรียกคารักษาพยาบาล และดอกเบี้ยตั้งแต
วันที่ศาลพิพากษา ดังนี้ทานเห็นดวยกับขออางของกอหรือไม เพราะเหตุใด

เฉลย
หลักกม.ปพพ.ม.206 บัญญัติวาในกรณีหนี้อันเกิดจากมูลละเมิด ลูกหนี้ไดชื่อวาผิดนัด
มาแตเวลาทําละเมิด

ปพพ.บ.ม. 224 บัญญัติวาหนี้เงินนั้น ทานใหคิดดอกเบี้ยในระหวางผิดนัด

กรณีนี้เปนเรื่องลูกหนี้ผิดนัดโดยการผิดนัดนี้เกิดจากกอขับรถชนเกิดในขณะเมาสุรา ดัง
นั้น มูลหนี้ที่เกิดเปนมูลหนี้อันเกิดจากการละเมิด เมื่อหนี้เกิดจากมูลละเมิดแลว กอซึ่งเปนลูกหนี้
นั้น ไดชื่อวาผิดนัดนับแตวันทําละเมิดคือวันที่ 1 มกราคม 2540
ที่กออางวาตนยังไมผิดนัดนั้นไมถูกตองเพราะหนี้อันเกิดแตมูลละเมิดนั้นผิดนัดทันทีนับแต
วันที่เกิดละเมิดโดยผลของกฎหมายตาม ม.206 จึงไมตองมีการเตือนทั้งขาวไมไดบอกก็ไมเปนขอ
อางแตอยางไร

เมื่อเกิดหนี้เงินนั้นจากมูลละเมิดแลวกฎหมายใหคิดดอกเบี้ยไดในระหวางผิดนัด ฉะนั้นถือ
ไดวากอผิดนัดนับแตวันทําละเมิดคือวันที่ 1 มกราคม 2540 ดังนั้นดอกเบี้ยตองคิดนับแตวันทํา
ละเมิดตาม ม.224 มิใชคิดแตวันที่ศาลมีคําพิพากษา ดังนี้จึงไมเห็นดวยกับขออางของกอในทุก
กรณี

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 24
กอนใหเงินเขียดกูไป 2 แสนบาท ตอมากอนทําหนังสือโอนสิทธิการเปนเจาหนี้ของตนให
คลอง คลองไดโทรศัพทมาบอกเขียด เขียดโกรธมากและไมเชื่อวามีการโอนหนี้ดังกลาวไป เพราะ
กอนและเขียดตกลงหามโอนกันไวแตคลองบอกวาตนไมรู เขียดจึงโทรศัพทไปตอวากอน กอนจึง
สงแฟกซมาถึงเขียดอีกวาไดโอนหนี้กันไปใหคลองจริง ดังนี้เขียดจะตองชําระหนี้ใหแกกอนหรือ
คลอง เพราะเหตุใด

เฉลย
ปพพ.ม.303 บัญญัติวา “สิทธิเรียกรองนั้นทานวาจะพึงกันไดเวนไวแตสภาพแหงสิทธิ์
นั้นเองจะไมเปดชองใหโอนกันได”

ความที่กลาวมานี้ยอมไมใชบังคับหากคูกรณีไดแสดงเจตนาเชนนี้ ทานหามมิใหยกขึ้นเปน
ขอตอสูบุคคลภายนอก ผูกระทําการโดยสุจริต

ปพพ.ม.306 วรรคแรก บัญญัติวา “การโอนหนี้อันจะพึงตองชําระแกเจาหนี้คนหนึ่ง


โดยเฉพาะเจาะจงนั้น ถาไมทําเปนหนังสือ ทานวาไมสมบูรณ อนึ่งการโอนหนี้นั้นทานวาจะยกขึ้น
เปนขอตอสูลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกไดแตเมื่อไดบอกกลาวการโอนไปยังลูกหนี้หรือลูกหนี้จะได
ยินยอมดวยในการโอนนั้น คําบอกกลาวหรือความยินยอมเชนวานี้ทานวาตองทําเปนหนังสือ

กรณีนี้เปนเรื่องการโอนสิทธิเรียกรอง การที่กอนไดโอนการเปนเจาหนี้ของตนที่มีตอเขียด
ไปใหคลองนั้นยอมทําได เพราะเปนสิทธิเรียกรองซึ่งไมตองหามโดยกฎหมายแตอยางใด อีกทั้ง
การโอนหนี้นั้นไดทําเปนหนังสือระหวางกอนและคลองแลว การโอนสิทธิเรียกรองนี้จึงสมบูรณ

ถึงแมวาเขียดจะอางวาตนและกอนไดตกลงหามโอนสิทธิเรียกรองนี้ก็ตามกฎหมายหามยก
ขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูสุจริต คลองเปนผูรับโอนสุจริตไมรูวามีขอตกลงหามโอนกันดัง
กลาวดังนั้น เขียดจะอางขอตกลงนี้ตอคลองไมได

ทั้งตอมากอนไดแฟกซมาถึงเขียดแจงการโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวใหคลองไปแลวซึ่งก็
เทากับวาแมในตอนแรกคลองเพียงแตโทรศัพทไปแจงใหเขียดทราบนั้นจะยกหนี้เปนขอตอสูเขียด
ไมไดก็ตาม แตตอมาไดมีการบอกกลาวเปนหนังสือทางแฟกซมายังเขียดแลวแมวากอนจะเปนผู
แจงมาเอง ก็ถือวาการแจงนั้นสมบูรณทําเปนหนังสือแลวตามมาตรา 306 เขียดจะยินยอมหรือไม
ไมเปนขอสําคัญเมื่อการโอนสิทธิเรียกรองสมบูรณเขียดตองชําระหนี้ใหคลองมิใชกอน

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 25
แคลวไมชอบกูเมื่อเดินผานบานกูแคลวจึงแกลงแหยใหสุนัขกูโกรธอยูเสมอ ๆ วันหนึ่ง
แคลวเดินผานหนาบานกู และไดแหยสุนัขใหโกรธแลวก็เดินหนีไป กูออกมาพบจึงเปดประตูให
สุนัขของตนออกไปกัดแคลว แตแคลวใสกางเกงหนา สุนัขของกูตัวเล็กจึงกัดไมเขา ดังนี้กูตองรับ
ผิดหรือไม เพราะเหตุใด

เฉลย
หลั ก กฎหมาย ปพพ.ม.420 “ผู ใดจงใจหรือ ประมาทเลิ น เล อ ทํ า ต อ บุ ค คลอื่ น โดยผิ ด
กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิ
อยางใดก็คือทานวาผูนั้นทําละเมิด จึงตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

ปพพ.ม. 433 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตวทานวาเจาของ


สัตวหรือบุคคลผูรับเลี้ยงรับรักษาไวแทนเจาของ จําตองใชคาสินไหมทดแทนใหแกฝายที่ตองเสีย
หายเพื่อความเสียหายแตใด ๆ อันเกิดแตสัตวนั้น เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวัง
อันสมควรแกการเลี้ยงรักษาตามชนิดและวิสัยของสัตว หรือตามพฤติการณอยางอื่นหรือพิสูจนได
วาความเสียหายนั้นยอมจะตองเกิดมีขึ้นทั้งที่ไดใชความระมัดระวังถึงเพียงนั้น

กรณีนี้เปนเรื่องบุคคลใชสัตวเปนเครื่องมือในการทําละเมิดผูนั้นไดเปดประตูโดยปลอยให
สุนัขของตนไปกัดแคลวนั้นเปนการกระทําโดยจงใจ ใหบุคคลอื่น คือแคลวไดรับความเสียหาย โดย
ใชสุนัขเปนเครื่องมือในการทําละเมิด โดยสุนัขไดไปกัดแคลวตามเจตนาของตน ดังนี้กูตองรับผิด
เพื่อละเมิดซึ่งตนไดกระทําไปโดยใชสุนัขคือสัตวในการทําละเมิด

แมวากางเกงแคลวจะไมขาดก็ตามถือวากูไดทําละเมิดแลวเพราะการที่สุนัขไปกัดแคลว
นั้น แมวากางเกงไมขาด แคลวไมไดรับบาดเจ็บก็เปนการละเมิดสิทธิของแคลวแลวกูจึงตองรับผิด
ชดใชคาสินไหมทดแทนตาม ม.420

กูไมตองรับผิดตาม ม.433 ในฐานะเจาของสุนัขเพราะกรณีนี้ไมใชเรื่องที่เจาของบกพรอง


ในการดูแลรักษาสัตวแตอยางไร แตเปนเรื่องจงใจทําละเมิด

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด

ขอ 26
กองเปนหนี้ซื้อของเชื่อจุนอยูเปนเงินหนึ่งแสนบาท โดยปกติจุนจะแจงใหกองทราบลวง
หนาแลวสงพนักงานมาเก็บเงินที่คางชําระ ตอมาจุนพบกองที่รานอาหารแหงหนึ่งจึงแจงใหกองนํา
เงินคาซื้อของมาชําระใหตน กองบอกวาตนพรอมจะชําระแตใหจุนทําใบแจงหนี้เปนหนังสือมา
กอนแลวใหพนักงานมาเก็บเงินเหมือนเคย แตจุนไมปฏิบัติตาม ตอมาอีก 3 เดือน จุนฟองกอง
เรียกเงินหนึ่งแสนบาทพรอมดอกเบี้ยนับแตวันที่ตนทวง กองอางวาจุนไมบอกกลาวโดยชอบดวย
กฎหมายเพราะไมมีทําเปนหนังสือทั้งตนยังไมผิดนัด เพราะเปนความผิดของเจาหนี้เองที่ผิดนัดไม
สงพนักงานไปเก็บเงิน จุนเรียกดอกเบี้ยไมได จุนมาปรึกษาทาน ทานจะใหคําปรึกษาจุนอยางไร
เฉลย
หลักกฎหมาย
มาตรา 203 ถาเวลาอันจะพึงชําระหนี้มิไดกําหนดลงไว หรือจะอนุมานจากพฤติการณ
ทั้งปวงก็ไมไดไซร ทานวาเจายอมจะเรียกใหชําระหนี้ไดโดยพลัน และฝายลูกหนี้ก็ยอมจะชําหนี้
ของตนไดโดยฉับพลันดุจกัน
มาตรา 224 หนี้เงินนั้น ทานใหคิดดอกเบี้ยในระหวางผิดนัดรอยละเจ็ดครึ่งตอป
กรณีนี้เปนเรื่องหนี้ไมมีกําหนดเวลาชําระเพราะเปนหนี้ซื้อของเชื่อ ทั้งไมสามารถที่จะ
อนุมานไดจากพฤติการณใด ๆ ก็ไมไดวาจะชําระหนี้กันเมื่อใด เพราะโดยปกติทางเจาหนี้จะเปนผู
เรียกใหลูกหนี้ชําระหนี้เอง
หนี้ไมมีกําหนดเวลาชําระนั้น หนี้ถึงกําหนดชําระเมื่อเกิดหนี้ขึ้น ซึ่งเจาหนี้สามารถเรียกให
ลูกหนี้ชําระหนี้โดยพลัน และฝายลูกหนี้ก็มีหนาที่ตองชําระใหกับเจาหนี้โดยพลันเชนกัน เมื่อจุน
เรียกใหกองชําระหนี้แลวที่รานอาหารเพราะเปนหนี้ไมหนดเวลาชําระ กองมีหนาที่ที่จะตองชําระ
โดยพลันทั้งกองเองก็บอกวาตนพรอมที่จะชําระหนี้แลว และเวลาก็ลวงเลยมานานถึง 3 เดือนแลว
กองจะอางวาจุนบอกกลาวไมชอบดวยกฎหมายเพราะไมทําเปนหนังสือไมได เพราะการบอกกลาว
ใหชําระหนี้ตามกําหมายไมไดกหนดใหตองทําเปนหนังสือ การที่จุนเรียกใหกองชําระหนี้ดวยวาจา
จึงเปนการชอบแลว
เมื่อกองไมชําระหนี้ เมื่อจุนเรียกใหชําระหนี้แลว กองผิดนัดนับแตเวลาที่จุนทวง การที่จุน
ไมสงพนักงานมาเก็บเงินไมทําใหกองหลุดพนจากการชําระหนี้ ดังนั้นเมื่อกองผิดนัดจึงตองชําระ
ทั้งเงินคาซื้อของเชื่อจํานวนหนึ่งแสนบาทและยังตองเสียดอกเบี้ยในจํานวนเงินดังกลาวนับแตเลาที่
ผิดนัดดวยรอยละ 7.5 ตอป

ดังนั้นขออางของกองฟงไมขึ้น กองผิดนัดนับแตวันที่จุนทวงถามใหชําระหนี้ และตอง


เสียดอกเบี้ยนับแตวันที่ผิดนัดนั้นดวย

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 27
หนึ่งเปนเจาหนี้สองอยู 3 แสนบาท กิจการของสองขาดทุนมากไมมีทรัพยสินพอจะชําระ
หนี้ใหหนึ่ง สองจึงตกลงจางสามมาเปนผูจัดการกิจการแทนตน เพราะสามมีความสามารถในการ
บริหาร จึงจางในราคาแพง โดยสามเองก็รูวาสองเปนคนหนี้สินลนพนตัวแตก็รับจางทํางานนี้ ตอ
มาหนึ่งรูถึงนิติกรรมนี้เห็นวาสองตองจายเงินมากขึ้นทําใหตนเสียเปรียบเพราะจะไดรับชําระหนี้ไม
เพียงพอ จึงฟองขอเพิกถอนสัญญาจางดังกลาว สองมาปรึกษาทาน ทานจะแนะนําสองอยางไร
เฉลย
หลักกฎหมายมาตรา 237 บัญญัติวา เจาหนี้ชอบที่จะรองขอใหศาลเพิกถอนเสียได ซึ่ง
นิติกรรมใด ๆ อันลูกหนี้ไดกระทําลงทั้งรูอยูวาจะเปนทางใหเจาหนี้เสียเปรียบ แตความขอนี้ทานมิ
ใหใชบังคับ ถาปรากฏวาในขณะที่ทํานิติกรรมนั้น บุคคลซึ่งเปนผูไดลาภงอกแตการนั้นมิไดรูเทาถึง
ขอความจริง อันเปนทางใหเจาหนี้ตองเสียเปรียบนั้นดวย แตหากกรณีเปนการทําใหโดยเสนหา
ทานวาเพียงแตลูกหนี้เปนผูรูฝายเดียวเทานั้นก็พอแลวที่จะขอเพิกถอนได
บทบัญญัติดังกลาวมาในวรรคกอนหนานี้ ทานมิใหใชบังคับแกนิติกรรมใด ๆ อันมิไดมี
วัตถุเปนสิทธิในทรัพยสิน
วินิจฉัย กรณีนี้เปนเรื่องการเพิกถอนการฉอฉลโดยเจาหนี้คือหนึ่ง การเพิกถอนการฉอฉล
จะทําไดตอเมื่อลูกหนี้ทํานิติกรรมจําหนายจายโอนทรัพยสินของตนเองจนทําใหเจาหนี้เสียเปรียบ
คือไมมีทรัพยสินพอที่จะชําระหนี้ใหแกเจาหนี้ไดเพียงพอ ทั้งผูไดลาภงอกก็ตองรูอยูดวยวาเปนการ
ทําใหเจาหนี้เสียเปรียบ
สองเปนลูกหนี้กิจการของสองขาดทุนมากไมมีทรัพยสินพอชําระหนี้ใหหนึ่ง การที่สองได
ตกลงจางสามมาเปนผูจัดการกิจการแทนตน เปนการทํานิติกรรม คือ สัญญาจาง โดยคาจางนั้นได
จางกันในราคาแพง ซึ่งสามเองในที่นี้เปนผูไดลาภงอกโดยเปนผูที่เขาทํานิติกรรมกับลูกหนี้และได
ประโยชนจากสัญญาจางนี้
ทั้งสองและสามตางคนตางก็รูอยูวา สองไมมีเงินพอชําระหนี้ใหกับเจาหนี้ คือ หนึ่ง แตสาม
ก็ยังรับจาง คือยินยอมทํานิติกรรม ทั้งที่รูอยูวาจะเปนทางใหเจาหนี้ของสองเสียเปรียบ คือไมไดรับ
เงินเพียงพอเพื่อชําระหนี้นั่นเอง

สัญญาจางนี้แมนเปนนิติกรรมที่สมบูรณจริง แตเจาหนี้คือ หนึ่งสามารถขอเพิกถอนนิติ


กรรมที่เกิดจากการฉอฉลนี้เสียได โดยตองฟองเปนคดีขอเพิกถอนสัญญาจางนี้เสีย ทําใหสัญญาจาง
ไมมีผลบังคับ

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 28
ขําเปนเจาของรถยนตและใหบุคคลอื่นเชารถเพื่อใชขับเปนรถรับจาง คุมเปนลูกจางขํามี
หนาที่ทําบัญชีและดูแลจัดการความเรียบรอยของรถยนตที่ใหเชา และคุมมักจะขับรถยนตของขํา
ไปรับลูกของตนกลับบานอยูเสมอ โดยขําก็ยินยอม วันหนึ่งระหวางทางคุมขับรถของขําไปรับลูก
ฝนตกถนนลื่น คุมรีบขับรถไป ปรากฏวารถเบรคไมอยูไปชนรถของงอ เสียหาย งอ จึงฟองเรียก
คาเสียหายจากขําซึ่งเปนนายจางและคุมลูกจาง ดังนี้ ขําและคุมตองชดใชคาเสียหายอยางไรหรือไม
เพราะเหตุใด

เฉลย
หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
1. มาตรา 420 บั ญ ญั ติ ว า “ผู ใดจงใจหรื อ ประมาทเลิ น เล อ ทํ า ต อ บุ ค คลอื่ น โดยผิ ด
กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิ
อยางหนึ่งอยางใดก็ดีทานวาผูนั้นทําละเมิด จึงตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

2. มาตรา 425 บัญญัติวา “นายจางตองรวมรับผิดกับลูกจางในผลแหงละเมิด ซึ่งลูก


จางไดกระทําไปในทางการที่จางนั้น”

คุมเปนลูกจางขําเมื่อคุมขับรถยนตไปรับลูกของตน เมื่อฝนตกถนนลื่นรถเบรคไมอยูไปชน
รถของ งอ เสี ย หาย นั่ น คื อ คุ ม ขั บ รถด ว ยความประมาทเพราะฝนตกถนนลื่ น ถ า ไม ขั บ ด ว ย
ความเร็วเกินควรก็คงไมชนรถของ งอ เสียหาย ดังนั้นคุมทําละเมิดตามมาตรา 420 เพราะกระทํา
โดยประมาทเลินเลอทําใหเบรคของ งอ เสียหาย ใครผิดกฎหมาย ดังนั้น คุมกระทําละเมิดตาม
มาตรา 420 เปนความรับผิดในการกระทําของตนเอง ดังนั้นคุมตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
ให งอ ในผลละเมิดที่ตนไดกระทํา

สวนขําเปนนายจางคุม เมื่อลูกจางขําละเมิด แมวานายจางคือขําจะมิไดกระทําเองก็ตาม


กฎหมายก็ใหนายจางตองรวมรับผิดดวย ซึ่งเปนความรับผิดในการกระทําของบุคคลอื่น ซึ่งความ
รับผิดนี้ตองเปนการละเมิดของลูกจางขํากระทําในทางการที่จางคือ ในระหวางปฏิบัติหนาที่ตาม
สัญญาจาง

คุมแมจะเปนลูกจางของขําก็ตาม แตในขณะที่คุมทําละเมิดนั้น คุมไมไดทําละเมิดในทาง


การที่จางเพราะงานที่จาง ซึ่งคุมมีหนาที่ตองปฏิบัติตามสัญญาคือ มีหนาที่ทําบัญชีและดูแลจัด
การความเรียบรอยของรถยนตที่ใหเชา แมวาขํานายจางจะยินยอมใหคุมใชรถยนตของตนก็ไมเปน
เหตุใหขําตองรับผิดรวมกับคุม แตอยางใดเพราะการที่คุมขับรถยนตไปรับลูกเปนการทําไปนอก
ทางการที่จางเปนเรื่องสวนตัวของลูกจางเอง ดังนั้น ขํานายจางจึงไมตองรวมรับผิดดวย
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 29
ก เชารถ ข ไปเที่ยวตางจังหวัด กําหนดสงคืนรถ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2542 ปรากฏวาเมื่อ ก
ขั บ รถไปเที่ ย วนั้ น น้ํ า ท ว มทางขาด ก กลั บ มาไม ทั น วัน ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ 2542 ครั้น วัน ที่ น้ํ า ลด
สามารถเดินทางได ก รีบกลับเพื่อจะนํารถมาคืนให ข เมื่อกลับมาถึงบานของ ก วันรุงขึ้นเปนวัน
อาทิตยที่ 7 กุมภาพันธ 2542 ก จึงพักผอน 1 วัน ครั้นวันที่ 8 กุมภาพันธ 2542 ซึ่งเปนวันจันทร ก
จึงนํารถไปสงให ข ปรากฏวา ง ขับรถประมาทเลินเลอชนรถ ข ซึ่ง ก ขับอยูไฟไหมเสียหายทั้งคัน
ก บาดเจ็บตองนอนพักรักษาตัวอยูโรงพยาบาลอยูหลายวัน ข จึงฟอง ก เรียกคาเสียหาย ก อางวา
ตนไมตองรับผิด เพราะวาเหตุเกิดจาก ง ซึ่งประมาทเลินเลอดังนั้นทานเห็นดวยกับขออางของ ก
หรือไม เพราะเหตุใด
หลั ก กฎหมาย มาตรา 204 วรรค 2 ถ าไดกําหนดเวลาชําระหนี้ ไวตามวัน แห งปฏิ ทิ น
และลูกหนี้ไมไดชําระหนี้ตามกําหนดไซรทานวาลูกหนี้ตกเปนผูผิดนัด โดยมิพักตองเตือนเลย วิธี
เดียวกันนี้ทานใหใชบังคับแกกรณีที่ตองบอกกลาวลวงหนากอนการชําระหนี้ซึ่งไดกําหนดเวลาลง
ไว อาจคํานวณนับไดโดยปฏิทินนับแตวันที่ไดบอกกลาว
มาตรา 205 ตราบใดการชําระหนี้นั้นยังมิไดกระทําลง เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่ง
ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังหาไดชื่อวาผิดนัดไม
มาตรา 217 ลูก หนี้ จะต องรับ ผิดชอบในความเสี ยหายบรรดาที่ เกิดแต ค วามประมาท
เลินเลอในระหวางที่ตนผิดนัด ทั้งจะตองรับผิดชอบในการที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย เพราะ
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในระหวางเวลาที่ผิดนัดนั้นดวย เวนแตความเสียหายนั้นถึงแมวาตนจะไดชําระ
หนี้ ทันเวลากําหนดก็คงจะตองเกิดมีอยูนั่นเอง
วินิจฉัย ตามขอเท็จจริง เมื่อ ก เชารถ ข โดยมีกําหนดสงคืนรถวันที่ 1 กุมภาพันธ 2542
นั้นเปนกรณีที่หนี้นั้นมีกําหนดชําระแนนอนตามวันแหงปฏิทิน ซึ่งตามมาตรา 204 วรรค 2 หากวา
เมื่อถึงกําหนดวันดังกลาวแลว ก ซึ่งเปนลูกหนี้ ไมนํารถที่เชามาคืน ข ซึ่งเปนเจาหนี้แลว ก ไดชื่อวา
ผิดนัดโดยที่ ข ไมตองเตือนเลย
ตอมาปรากฎวาในขณะหนี้ยังไมถึงกําหนดชําระ น้ําทวมทางขาดซึ่งตามมาตรา 205 นั้น
เปนกรณีซึ่งทําให ก ยังมาชําระหนี้ไมได เพราะทางขาด ซึ่งเปนพฤติการณซึ่งเกิดขึ้นโดยที่ ก ลูก
หนี้ไมตองรับผิดชอบ ดังนั้นแมวาจะเลยกําหนดสงคืนรถไปแลว เพราะก ไมสามารถกลับบานได
เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ 2542 ในขณะนั้นถือวา ก ก็ยังไมผิดนัด แตเมื่อ ก กลับมาถึงบานแลวยัง
ไมรีบนํารถสงคืนรถให ข กลับรอไปจนถึงวันที่ 8 กุมภาพันธ 2542 แลวจึงคอยขับรถไปคืน ข ดังนี้
เห็นไดวา ก นั้นผิดนั้น เพราะเลยกําหนดเวลาชําระหนี้ตามวันแหงปฏิทินแลวทั้งพฤติการณซึ่งทํา
ใหลูกหนี้ไมผิดนัดก็ผานพนไปแลว แมวา การที่รถของ ข ไหมเสียหายทั้งคันทําใหการชําระหนี้เปน
พนวิสัยซึ่งมิใชความผิดของ ก ก ลูกหนี้ก็ยังคงตองรับผิด เพราะเหตุเกิดในระหวางที่ ก ผิดนัดดวย
ตามมาตรา 217
ขาพเจาไมเห็นดวยกับขออางของ ก ก ตองรับผิดในการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย เพราะ
อุบัติเหตุซึ่งเกิดในระหวางที่ ก ผิดนัด ก ตองชดใชคาเสียหายให ข
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 30
ก ข และ ค เปนลูกหนี้รวมกันกูเงิน ง ไป 30,000 บาท ตอมา ก ถูกศาลสั่งใหเปนคนไร
ความสามารถเมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระ ง ฟอง ก ข และ ค ใหชําระหนี้แกตน ผูอนุบาลของ ก หาเปน
โมฆียะ ข ค ก็อางวาตนหลุดพนจากความรับผิดชอบเชนกัน เพราะ ข ค เปนลูกหนี้รวมกับ ก เมื่อ
ก มีสิทธิอยางใด ข ค ก็มีสิทธิเชนเดียวกับ ก ดังนี้ทานเห็นดวยกับขออางของ ก ข และ ค หรือไม
เพราะเหตุใด
หลักกฎหมาย
มาตรา 291 ถาบุคคลหลายคนจะตองทําการชําระหนี้โดยทํานองซึ่งแตละคนจําตองชําระ
หนี้สิ้นเชิงไซร แมถึงวาเจาหนี้ชอบที่จะไดรับชําระหนี้เชิงไดแตเพียงครั้งเดียว(กลาวคือลูกหนี้รวม
กัน)ก็ดี เจาหนี้จะเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้แตคนใดคนหนึ่งสิ้นเชิง หรือแตโดยสวนก็ไดตามแตจะ
เลือก แตลูกหนี้ทั้งปวงก็ยังคงตองผูกพันอยูทั่วทุกคนจนกวาหนี้นั้นจะไดชําระเสร็จสิ้นเชิง
มาตรา 295 วรรคแรก ขอความจริงอื่นใด นอกจากที่ระบุไวในมาตรา 292 ถึง 294 นั้นเมื่อ
เปนเรื่องเทาถึงตัวลูกหนี้รวมกันคนใดก็ยอมเปนไปเพื่อคุณและโทษแตเฉพาะแกลูกหนี้คนนั้น เวน
แตจะ ปรากฏวากับสภาพแหงหนี้นั้นเอง
วินิจฉัย ก ข และ ค เปนลูกหนี้รวมกูเงิน ง ไป 30,000 บาท ตามมาตรา 291 เห็นไดวา
ก ข ค รวมกันผูกพันในสัญญาเงินกูอันเดียวกัน บุคคลดังกลาวซึ่งเปนลูกหนี้หลายคนตองรวมผูก
พันกันเปนลูกหนี้รวม
ผลของการเปนลูกหนี้รวม คือ เจาหนี้สามารถเรียกใหลูกหนี้ชําระหนี้ไดโดยสิ้นเชิง โดยลูก
หนี้ทั้งปวงยังคงตองผูกพันกันอยูจนกวาหนี้นั้นจะไดชําระจนเสร็จสิ้นแลว
การที่ ก อางวาหลุดพนจากการชําระหนี้ เพราะหยอนความสามารถนั้น เปนกรณี ก อาง
เหตุสวนตัวเพื่อเปนขอยกเวนตามมาตรา 295 วรรค 1 ซึ่งใหถือวาเปนไปเพื่อคุณและโทษเฉพาะตัว
ลูกหนี้คนนั้นเทานั้น ก ถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถหลังจาก ก ไดกอหนี้แลวดังนั้น ในขณะ
ที่หนี้เกิดขึ้น ก ยังเปนบุคคลซึ่งมีความสามารถอยู ดังนี้ ระหวาง ก และ ง เปนหนี้ที่สมบูรณ ก ไม
สามารถอางเหตุสวนตัวดังกลาวใหหลุดพนจากการชําระหนี้ นิติกรรมไมเปนโมฆียะ ก ยังคงตอง
ชําระหนี้
ข และ ค ก็ไมหลุดพนจากการรับผิดเชนกัน เพราะ ขออางของ ก เปนเหตุสวนตัวเปน
คุณและโทษเฉพาะตัวลูกหนี้คนใดคนหนึ่งลูกหนี้คนอื่น ๆ จะยกขึ้นกลาวอางไมได ข และ ค เปน
ลูกหนี้รวมไมหลุดพนความรับผิด
ขาพเจาไมเห็นดวยกับขออางของ ก ข และ ค เพราะบุคคลทั้ง 3 เปนลูกหนี้รวม เมื่อหนี้
ถึงกําหนดชําระ ก ข และ ค ตองชําระหนี้ใหแก ง

กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด


ขอ 31
ก ขับรถรับจางรับหนึ่งไปสงที่สถานีรถไฟหัวลําโพงโดยความประมาทเลินเลอของ ก ขับ
ดวยความเรงรีบเลี้ยวออกจากซอย ข ขับรถรับจางอีกคันหนึ่งดวยความประมาทเลินเลอเลี้ยวเขา
ซอยดังกลาวดวยความเร็วเปนเหตุใหรถซึ่ง ก และ ข ขับชนกัน หนึ่งไดรับบาดเจ็บจากการที่รถทั้ง 2
ชนกัน หนึ่งฟองขอใหรับผิดตอตน ข อางวาตนไมตองรับผิดแตผูเดียว ก เองก็ตองรวมรับผิดตอ ข
ดวย เพราะ ก เองก็ประมาท
หลักกฎหมาย
มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสีย
หายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี
ทานวาผูนั้นทําละเมิด จึงตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 432 ถาบุคคลหลายคนกอใหเกิดเสียหายแกบุคคลอื่นโดยรวมกันทําละเมิด ทาน
วาบุคคลเหลานั้นจะตองรวมกันรับผิดชอบรวมกันใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น ความ
ขอนี้ทานใหใชตลอด กรณีที่ไมสามารถสืบรูตัวไดแนวาในจําพวกที่ทําละเมิดรวมกันนั้น คนไหน
เปนผูที่กอใหเกิดเสียหายนั้นดวย
อนึ่ ง บุ ค คลผู ยุ ย งส งเสริม หรือช วยเหลื อ ในการทํ า ละเมิ ด ท า นก็ ให ถือ วาเป น ผู ก ระทํ า
ละเมิดรวมกันดวย
ในระหวางบุคคลทั้งหลายซึ่งตองรับผิดรวมกันใชคาสินไหมทดแทนนั้น ทานวาตางตองรับ
ผิดเปนสวนเทา ๆ กัน เวนแตโดยพฤติการณ ศาลจะวินิจฉัยเปนประการอื่น
วิ นิ จ ฉั ย การที่ ก และ ข ขั บ รถชนกั น เป น เหตุ ให ห นึ่ งได รับ บาดเจ็ บ นั้ น ก และ ข ทํ า
ละเมิดตอตอหนึ่ง เพราะทั้ง ก และ ข ขับรถโดยความประมาทเลินเลอ เปนเหตุใหหนึ่งไดรับบาด
เจ็บจากความประมาทเลินเลอขอ ก และ ข ซึ่งเปนกรณีทําใหหนึ่งเสียหายตอรางกาย ก และ ข
ตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกหนึ่ง ในการทําละเมิดนั้นตามมาตรา 420
ที่ ข อ างวาตนไม ตองรับ ผิดแตผูเดีย ว ก เองตองรวมรับ ผิดดวยเพราะ ก เองประมาท
เลินเลอทําใหเกิดเหตุ การที่จะรวมกันรับผิดในกรณี รวมกันทําละเมิดนั้นตองไดความวาบุคคล
หลายคนนั้นรวมกันทําละเมิดจึงจะรวมกันรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนอยางลุกหนี้ตามมาตรา
432
แตกรณีนี้เปนกรณี ก และ ข ไดประมาทเลินเลอกอความเสียหายแกบุคคลอื่นในเหตุเดียว
กัน แตไมไดรวมกันทําละเมิด จึงไมเขามาตรา 432 จึงไมตองรวมกันรับผิด
ทั้ง ก และ ข ตองรับผิดฐานละเมิด แตแยกกันรับผิด โดยรับผิดมากนอย แลวแตความราย
แรงนั้น
ดังนั้น ขาพเจาจะแนะนําใหหนึ่งฟองทั้ง ก และ ข เรียกคาสินไหมทดแทนฐานละเมิดตอ
หนึ่ง แตไมใชรวมกันรับผิดคือ ตางคนตางรับผิดตาม มาตรา 420 ตามแตความรายแรงของผลการ
ทําละเมิดของแตละฝาย
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 32
กอยกูเงินของไป 50,000 บาท ตกลงกันวาใหใชเงินคืนภายใน 1 ป นับแตวันทําสัญญา
หลังจากเงินกูไปได 11 เดือน กอยไดนําเงินที่กูไปคืนของ แตระหวางทางถูกรถยนตของคุดชนได
รับบาดเจ็บสาหัสตองนอนพั กรักษาตัวที่โรงพยาบาล หลังจากรักษาตัวอยูที่โรงพยาบาลได 3
เดือน ของฟองกอยใหชําระหนี้เงินกูดังกลาว แตกอยอางวาตนยังไมผิดนัด เพราะประสบอุบัติเหตุ
อันเนื่องมาจากตนไดนําเงินไปคืนใหของนั่นเอง ทั้งของเองก็ยังไมไดเตือนตนใหชําระหนี้
ดังนั้นทานเห็นดวยกับขออางของกอยอยางไรหรือไม เพราะเหตุใด

เฉลย
ม. 204 วรรค 2 “ถาไดกําหนดเวลาชําระหนี้ไวตามวันแหงปฏิทิน และลูกหนี้มิไดชําระหนี้
ตามกําหนดไซร ทานวาลูกหนี้ตกเปนผูผิดนัดโดยมิพักตองเตือนเลย…..”
ม. 205 “ตราบใดการชําระหนี้ยังมิไดกระทําลงเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม
ตองรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังหาไดชื่อวาผิดนัดไม”

วินิจฉัย
กอยกูเงินของไปโดยมีขอตกลงวาจะใชเงินคืนภายใน 1 ปนับแตวันทําสัญญา ขอตกลงใน
สัญญานี้ถือวาการชําระหนี้สามารถจะกําหนดนับไดตามวันแหงปฏิทิน เพราะสามารถนับวันทํา
สัญญาไปครบ 1 ป เมื่อใดก็ตองชําระหนี้เมื่อนั้น ดังนี้จึงเปนหนี้ที่ไดกําหนดเวลาชําระหนี้ไวตาม
วันแหงปฏิทินแลว
ตอมากอยถูกรถชนไดรับบาดเจ็บรักษาตัวอยูโรงพยาบาลนาน 3 เดือน แตกอยก็ยังคงมี
หนาที่จะตองชําระหนี้เมื่อหนี้ถึงกําหนดคือ เมื่อครบ 1 ป นับแตวันสําสัญญา เมื่อกอยไมชําระหนี้
ตามกําหนด กอยจึงผิดนัดซึ่งตามกรณีตามมาตรา 204 วรรค 2 ถือวากอยตกเปนผูผิดนัดโดยที่
ของไมจําเปนตองเตือนแตอยางใดเลย ดังนั้นขออางของกอยนั้นไมถูกตอง

กอยอางวาตนประสบอุบัติเหตุตองนอนอยูที่โรงพยาบาลมาเปนขอแกตัวที่กอยจะยังไมชะ
ระหนี้ไมไดเพราะเหตุหรือพฤติการณตาม ม . 205 ซึ่งลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบตองเปนเหตุขัดขวาง
ที่ไมอาจกาวลวงไปไดเลย แตกรณีตามขอเท็จจริงนี้เปนแตเพียงเหตุขัดของซึ่งอาจจะกาวลวงได
คือสามารถใหบุคคลอื่นไปชําระหนี้แทนได ลูกหนี้จะถือเอาเปนพฤติการณอันขัดขวางตนไวมิให
ตองรับผิดชอบไมได (ฎ166/2478)

ดังนั้นจึงไมเห็นดวยกับขออางของกอย กอยเปนผูผิดนัดโดยตองชําระหนี้ ของไมตอง


เตือนและจะเอา ม. 205 เพื่อเปนขอแกตัวไมได
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 33
แดง เหลือง เขียว รวมกันกูเงินเจริญไป 60,000 บาท ปรากฏวาเมื่อเวลาผานไป 9 ป แดง
ไดนําเงินมาผอนชําระใหเจริญบางสวน ตอมาเวลาลวงเลยมา 10 ปเศษ เจริญตองการเงินคืนจาก
ลูกหนี้ทั้งสามคนนี้จึงฟองลูกหนี้ทั้ง 3 คนดังกลาว ใหชําระหนี้ที่รวมกันกูไปทั้ง แดง เหลือง เขียว จึง
มาปรึกษาทาน ทานจะใหคําแนะนําแกเขาทั้ง 3 คนอยางไร
เฉลย
ม. 291 “ถาบุคคลหลายคน จะตองกระทําการชําระหนี้โดยกําหนดซึ่งแตละคนจําตอง
ชําระหนี้สินแลวไซร แมถึงวาเจาหนี้ชอบที่จะไดรับชําระหนี้สิ้นเชิงไดแตเพียงครั้งเดียว (กลาวคือลูก
หนี้รวมกัน) ก็ดี เจาหนี้จะเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้แคคนใดคนหนึ่งสิ้นเชิงหรือโดยสวนก็ไดตามแต
จะเลือก แตลูกหนี้ทั้งปวงยังคงตองผูกพันอยูทั่วทุกคนจนกวาหนี้นั้นจะไดชําระเสร็จสิ้นเชิง
ม. 295 ขอความจริงอื่นใด นอกจากที่ระบุไวในมาตรา 292 ถึง 294 นั้น เมื่อเปนเรื่องเทา
ตัวถึงลูกตัวหนี้รวมกันคนใดก็ยอมเปนไปเพื่อคุณและโทษเฉพาะแกลูกหนี้คนนั้น เวนแตจะปรากฏ
วาขัดกับสภาพแหงหนี้นั้นเอง
ความที่วามานี้ เมื่อจะกลาวโดยเฉพาะก็คือวาใหใชแกการใหคําบอกกลาว การผิดนัด การ
ที่หยิบยกอางความผิด การชําระหนี้อันเปนพนวิสัยแกฝายลูกหนี้รวมกันคนหนึ่งกําหนดอายุความ
หรือการที่อายุความสะดุดหยุดลง และการที่สิทธิเรียกรองเกลื่อนกลืนกันไปกับหนี้สิน
วินิจฉัย
แดง เหลือง เขียว รวมกันกูเงินเจริญไป ดังนั้นบุคคลทั้ง 3 จึงเปนลูกหนี้รวม และตองผูก
พันที่จะชําระหนี้ใหแกเจาหนี้โดยสิ้นเชิง ตอมาเมื่อเวลาผานไป 9 ป แดงแตผูเดียวไดนําเงินบาง
สวนมาผอนชําระหนี้ใหแกเจริญ จึงเปนกรณีซึ่งแดงรับสภาพหนี้โดยการชําระหนี้บางสวน เปนเหตุ
ใหอายุความคือระยะเวลาที่ลวงไปแลวนี้ ไมนับเขาในอายุความ และใหเริ่มนับอายุความขึ้นใหม
แมตอมาเวลาจะลวงเลยมา 10 ปเศษแลวก็ตาม หนี้ของแดงก็ยังไมขาดอายุความ

เหลือง และเขียว แมจะเปนลูกหนี้รวมกันกับแดงแตมิไดมีสวนในการชําระหนี้บางสวนกับ


แดงแตอยางใด เพราะกรณี เป น เรื่องทาวถึ งตัวลูกหนี้ รวมคนใดก็ยอมเป น เพื่ อคุณ และโทษแต
เฉพาะแกลูกหนี้คนนั้น กรณีเรื่องอายุความนี้เปนคุณแกเหลืองและเขียว เหลือง เขียวจึงสามารถ
ยกกําหนดอายุความมาเปนขอตอสู เจริญวาหนี้กูยืมนั้นขาดอายุความแลว เพราะไดกูยืมกันมา
เกิน 10 ป แลว ตาม ม. 295 ดังนี้ เหลือง เขียว จึงหลุดพนไมตองชําระหนี้ใหแกเจริญ

แตแดงไมสามารถยกเรื่องอายุความในกรณีเหลืองกับเขียวมากลาวอางได เพราะตนไดรับ
สภาพหนี้ ซึ่งทําใหอายุความในสวนของตนสะดุดลงเปนโทษเฉพาะตัวของแดง แดงจึงยังคงตอง
ผูกพันที่จะตองชําระหนี้ใหกับเจริญแตเพียงผูเดียว
กฎหมายแพง 2 : หนี้ ละเมิด
ขอ 34
กอมาเยี่ยมของที่บานของของ ขณะนั่งคุยกันที่ระเบียง กอไดสูบบุหรี่และถามของวาไมมี
ที่เขี่ยบุหรี่หรือ ของบอกวาไมมีกอจึงดีดบุหรี่ทิ้งไปนอกบานไปถูกเสื้อของคดซึ่งเดินผานมาไหมเปน
รู คดจึงฟองทั้งกอ และของ ใหรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นแกตน ดังนี้ของมาปรึกษาทาน ๆ จะ
ใหคําแนะนําแกของอยางไร

เฉลย
ม.420 “ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย ใหเขาเสียหายถึง
แกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทาน
วาผูนั้นทําละเมิด จําตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

ม.436 “บุคคลผูอยูในโรงเรือนตองรับผิดชอบในความเสียหาย อันเกิดเพราะของตกหลน


จากโรงเรือนนั้น หรือเพราะทิ้งขวางของไปตกในที่อันมิควร”

วินิจฉัย
การที่กอมาอยูที่บานของ แลวดีดบุหรี่ไปนอกบานไปถูกเสื้อของคดไหมเปนรูนั้น เปนกรณี
ซึ่งกอไดกระทําโดยประมาทเลินเลอโดยผิดกฎหมายเปนเหตุใหบุหรี่ถูกเสื้อของคดเสียหายไหมเปน
รู ดังนั้นกอจึงกระทําละเมิดตอคด ตาม ม.420 ซึ่งเปนความรับผิดในการกระทําดวยตนเอง ตอง
ชดใชคาสินไหมใหคดเพราะเหตุละเมิด ตาม ม.420 นี้

ของเปนเจาของบาน เปนผูครอบครองโรงเรือนก็จริงแตกรณีนี้ความเสียหายเกิดเพราะกอ
เปนผูทําละเมิดความเสียหายมิไดเกิดจากของตกหลนจากโรงเรือนหรือเพราะทิ้งขวางตกในที่อันมิ
ควร แตเปนกรณีมีบุคคลประมาทเลินเลอทําละเมิด เพียงแตบุคคลผูทําละเมิดอยูในบานของของ
เทานั้น ดังนั้นของมิไดทําละเมิดจึงไมตองรับผิด

You might also like