You are on page 1of 18

แนวขอสอบ กฎหมายวิธีสบัญญัติ 1

1. คําถาม
นายแดงเปนโจทกฟองบริษัทฟารุง จํากัด เปนจําเลย อางวาจําเลยเลิกจางโจทกโดยที่โจทกไมมีความผิด โจทกจึงมี
สิทธิไดรับคาชดเชย แตจําเลยไมยอมจาย ขอใหบังคับจําเลยจายคาชดเชยใหแกโจทก คดีอยูระหวางพิจารณาของศาลชั้นตน
นายดําผูรองยื่นคํารองวา ผูรองเปนผูถือหุนและเปนกรรมการผูจัดการบริษัทจําเลย กับเปนผูมีคําสั่งเลิกจางโจทก จึงมีสวนได
เสียตามกฎหมายในผลแหงคดีและหากจําเลยจะตองจายคาชดเชยใหแกโจกทตามคําพิพากษา ผูรองในฐานะผูถือหุนยอมได
รับความเสียหาย จึงเปนการจําเปนเพื่อยังใหไดรับความรับรอง คุมครอง หรือบังคับตามสิทธิของผูรองที่มีอยูขอเขามาเปน
จําเลยรวม ดังนี้ ใหวินิจฉัยวา นายดําผูรองจะเขามาเปนจําเลยรวมไดหรือไม

แนวตอบ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 57 บัญญัติวา “บุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูความอาจเขามาเปนคูความ
ไดโดยการรองสอด
(1) ดวยความสมัครใจเองเพราะเห็นวาเปนการจําเปนเพื่อยังใหไดความรับรอง คุมครอง หรือบังคับตามสิทธิ
ของตนที่มีอยู โดยยื่นคํารองตอศาลที่คดีนั้นอยูในระหวางพิจารณา
(2) ดวยความสมัครใจเองเพราะตนมีสวนไดเสียตามกฎหมายในผลแหงคดีนั้น โดยยื่นคําขอรองตอศาลไม
วาเวลาใดๆกอนมีคําพิพากษา ขออนุญาตเขาเปนโจทกรวมหรือจําเลยรวม”

ตามคําถาม จําเลยเปนบริษัทจํากัด มีฐานะเปนนิติบุคคลแยกตางหากจากนายดําผูรอง แมผูรอง


เปนผูถือหุนของบริษัทจําเลย แตการที่จําเลยจะตองรับผิดตอโจทกหรือไม ไมมีผลโดยตรงตอผูรอง ทั้งการที่ผูรองเปน
กรรมการผูจัดการของบริษัทจําเลยและเปนผูมีคําสั่งเลิกจางโจทก ก็เปนการกระทําในฐานะผูแทนจําเลยซึ่งเปนนิติบุคคล เมื่อ
ไมปรากฏเหตุอื่นใดที่จะทําใหผูรองตองรับผิดเปนการสวนตัวตอโจทก ผูรองจึงไมมีความจําเปนที่จะตองเขามาเปนคูความ
เพื่อยังใหไดรับความรับรอง คุมครอง หรือบังคับตามสิทธิของผูรอง และไมมีสวนไดเสียในผลแหงคดี ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 57 (1) (2) นายดําผูรองจึงไมอาจขอเขาเปนจําเลยรวมได
ดังนั้น นายดําผูรองจะเขามาเปนจําเลยรวมไมไดตาม ปวพ.มาตรา 57(1)(2)

2. คําถาม
นางสาวนัทเปนโจทก็ฟองขับไลนายเตาเปนจําเลยใหรื้อถอนบานพัก และใหจําเลยออกไปจากที่ดินของโจทก นาย
เตาใหการตอสูวาที่ดินที่พิพาทอยูนอกเขตที่ดินของโจทก ในวันนัดสืบพยานโจทกซึ่งมีหนาที่นําสืบกอนไมมาศาล จําเลย
แถลงขอใหดําเนินกระบวนการพิจารณาตอไป ศาลชั้นตนมีคําสั่งวาโจทกขาดนัดพิจารณา จําเลยแถลงไมติดใจสืบพยาน ศาล
ชั้นตนวินิจฉัยวา โจทกซึ่งมีภาระการพิสูจนไมมีพยานมาสืบ จึงฟงไมไดวาจําเลยปลูกบานพักอยูในที่ดินของโจทก พิพากษา
ยกฟอง คดีถึงที่สุด ขอเท็จจริง ปรากฎวานายเตายังคงอาศัยอยูในบานพักซึ่งตั้งอยูในเขตที่ดินของนางสาวนัทเชนนี้ นางสาว
นัทจะฟองขับไลนายเตาใหรื้อถอนบานพักออกไปจากที่ดินของตนพรอมกับเรียกคาเสียหายจากนายเตาไดดวยหรือไม
เพราะเหตุใด

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 148 บัญญัติวา “คดีที่ไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดแลว หามมิใหคูความเดียวกันรื้อรองฟองกัน
อีก ในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน”
ตามคําถามคดีมีประเด็นวา นายเตาจําเลยปลูกบานพักในเขตที่ดินของนางสาวนัทโจทกหรือไม ซึ่งโจทกมีหนาที่
นําสืบกอน แตในวันนัดสืบพยานโจทกไมมาศาล ศาลชั้นตนมีคําสั่งวา โจทกขาดนัดพิจารณาแลวดําเนินกระบวนการ
พิจารณาตอไปตามที่จําเลยแถลง จําเลยแถลงไมติดใจสืบพยาน ศาลชั้นตนจึงพิพากษายกฟอง เพราะโจทกซึ่งมีภาระการ
พิสูจน ไมมีพยานมาสืบ จึงฟงไมไดวาจําเลยปลูกบานพักอยูในที่ดินของโจทก ถือวาศาลชั้นตนไดวินิจฉัยประเด็นแหงคดี
นั้นแลว เมื่อคดีถึงที่สุด นางสาวนัทจะกลับมาฟองขับไลนายเตาโดยอางวานายเตาปลูกบานพักอยูในเขตที่ดินของนางสาว
นัทอีกไมได เพราะเปนการกลาวอางในประเด็นที่ที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกันตาม ปวพ. มาตรา 148 แมนายเตา
ยังกระทําละเมิดอยูตลอดเวลาเปนการโตแยงสิทธิของนางสาวนัทและคดีหลังมีประเด็นใหมเรื่องคาเสียหาย ซึ่งไมมีประเด็น
ในคดีเดิมก็ตาม แตประเด็นเรื่องคาเสียหายนั้นนางสาวนัท ควรจะฟองเรียกมาในคดีเดิมไดอยูแลว การฟองเรียกคาเสียหาย
ของนางสาวนัทจึงเปนการฟองซ้ํา ตองหามตาม ปวพ. มาตรา 148
ดังนั้น นางสาวนัทจะฟองขับไลนายเตาใหรื้อถอนบานพักออกไปจากที่ดินของตนพรอมกับเรียกคาเสียหายไมได
เพราะเปนการฟองซ้ํา

3. คําถาม
นายแดงมีภูมิลําเนาอยูจังหวัดตาก จดทะเบียนสมรสกับนางเขียวและอยูกินดวยกันที่จังหวัดสุโขทัยนานประมาณ
20 ป มีบุตรดวยกัน 3 คน มีทรัพยสินเปนบานและที่ดินอยูที่จังหวัดสุโขทัย แตนายแดงไมไดยายทะเบียนไปอยูกับครอบครัว
ที่จังหวัดสุโขทัยดวย ตอมานายแดงประสบอุบัติเหตุและถึงแกความตายที่จังหวัดพิษณุโลก กอนตายไมไดทําพินัยกรรมหรือ
ตั้งผูจัดการมรดกไว นางเขียวไดยื่นคํารองขอแตงตั้งผูจัดการมรดกตอศาลจังหวัดสุโขทัยซึ่งตนเองมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาล
นายดําผูพิพากษาตรวจคํารองขอแลว เห็นวานายแดงไมมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลจังหวัดสุโขทัย จึงมีคําสั่งยกคํารองขอของ
นางเขียว
ใหวินิจฉัยวา คําสั่งของศาลจังหวัดสุโขทัยชอบดวยกฎหมายหรือไม

แนวตอบ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 4 จัตวา วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “คํารองขอแตงตั้งผูจัดการมรดก ให
เสนอตอศาลที่เจามรดกมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลในขณะถึงแกความตาย…”

คําสั่งของศาลจังหวัดสุโขทัยที่ยกคํารองของนางเขียวไมชอบดวยกฎหมาย เพราะแมนายแดงเจามรดกมีภูมิลําเนา
อยูจังหวัดตาก แตก็ไดอยูกินกับนางเขียวผูรองขอที่จังหวัดสุโขทัยนานประมาณ 20 ป จนมีบุตรดวยกัน 3 คน มีทรัพยสินเปน
บานและที่ดินที่จังหวัดสุโขทัย แสดงวาเจามรดกทีบานอยูที่จังหวัดสุโขทัย ซึ่งเปนสถานที่อยูอันเปนหลักแหลงสําคัญอีก
แหงหนึ่งดวย จังหวัดสุโขทัยจึงเปนภูมิลําเนาของเจามรดกตาม ป.พ.พ. มาตรา 37 ดวย
นางเขียวผูรองขอจึงมีสิทธิเสนอคํารองขอแตงตั้งผูจัดการมรดกตอศาลจังหวัดสุโขทัย ซึ่งเจามรดกมีภูมิลําเนาอยูใน
เขตศาล ในขณะถึงแกความตายได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 4 วรรค 1

4. คําถาม
นายมั่งกูเงินนายมี 100,00 บาท โดยนายมาเปนผูค้ําประกันสัญญาเงินกู เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระนายมีไดมีหนังสือ
ทวงถามใหชําระหนี้แลวหลายครั้ง แตนายมั่งเพิกเฉย นายมีจึงเปนโจทกฟองนายมั่งเปนจําเลยตอศาลจังหวัดสตูลใหชําระหนี้
ตามสัญญาเงินกูดังกลาวโดยไมคิดดอกเบี้ยตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ จําเลยตอสูวา ไดกูเงินโจทกจริง แตไดชําระหนี้
ครบถวนแลว แตในทางพิจารณาไดความวาจําเลยยังมิไดชําระหนี้จํานวนดังกลาวแกโจทก ศาลจังหวัดสตูลจึงพิพากษาให
จําเลยชําระหนี้จํานวน 100,000 บาทแกโจทก พรอมดอกเบี้ยรอยละ 15 ตอป นับแตวันฟองจนถึงวันชําระเสร็จ ดังนี้ ทานวา
คําพิพากษาของศาลจังหวัดสตูลชอบดวยกฎหมายหรือไม
แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 142 บัญญัติวา “คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลที่ชี้ขาดคดีตองตัดสินตามขอหาในคําฟองทุกขอ แต
หามมิใหพิพากษาหรือทําคําสั่งใหสิ่งใดๆเกินไปกวาหรือนอกจากที่ปรากฏในคําฟอง เวนแต…
(6) ในคดีที่โจทกฟองขอใหชําระเงินพรอมดวยดอกเบี้ยซึ่งมิไดมีขอตกลงกําหนดอัตราดอกเบี้ยกันไว เมื่อศาลเห็น
สมควรโดยคํานึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตในการสูความหรือการดําเนินคดี ศาลจะพิพากษาใหจําเลยชําระดอกเบี้ยใน
อัตราที่สูงขึ้นกวาที่โจทกมีสิทธิไดรับตามกฎหมาย แตไมเกินรอยละ 15 ตอป นับจากวันที่ฟองหรือวันที่อื่นหลังจากนั้นก็ได”

ตามขอเท็จจริง นายมีเปนโจทกฟองนายมั่งตามสัญญาเงินกู โดยในคําฟอง โจทกขอใหศาลพิพากษาใหจําเลยชําระ


หนี้จํานวน 100,000 บาท ที่จําเลยกูไปเทานั้น ไมปรากฏวาโจทกเรียกดอกเบี้ยมาในฟองดวยแตประการใด การที่ศาลจังหวัด
สตูลพิพากษาใหจําเลยชําระดอกเบี้ยดวยอีกรอยละ 15 ตอป นับตั้งแตวันฟองจนถึงจนกวาจําเลยจะชําระเสร็จ กรณีนี้ไมเขา
ขอยกเวนตามมาตรา 142(6) เพราะมาตรา 142(6) เปนกรณีที่ศาลเห็นสมควร โดยคํานึงถึงเหตุสมควรและความสุจริตในการ
สูความ หรือการดําเนินคดีใหจําเลยชําระดอกเบี้ยในอัตราที่สูงขึ้นกวาที่โจทกมีสิทธิไดรับตามกฎหมาย แตตองเปนกรณีที่
โจทกเรียกดอกเบี้ยมาในคําฟองแลว เมื่อศาลจังหวัดสตูลพิพากษาใหจําเลยชําระดอกเบี้ยดวยนอกจากเงินตน 100,000 บาท
จึงเปนคําพิพากษาที่เกินคําฟองของโจทก คําพิพากษาของศาลจังหวัดสตูลในคดีดังกลาวจึงไมชอบดวยกฎหมายตาม
ปวพ.มาตรา 142

5. คําถาม
โจทกเปนกรรมการบริษัทจํากัด ฟองใหจําเลยชําระคาติดตั้งระบบคอมพิวเตอรที่จําเลยจางโจทกเปนเงิน
50,000,000 บาท ศาลชั้นตนกําหนดใหโจทกนําพยานโจทกเขาสืบกอน แลวใหจําเลยนําพยานเขาสืบแก มีการสืบพยานทั้ง
สองฝายจนเสร็จ และศาลนัดฟงคําพิพากษาแลว แตกอนศาลชั้นตนอานคําพิพากษา ศาลชั้นตนเรียกใหโจทกสืบพยานเพิ่ม
เติมเพื่อพิสูจนลายมือชื่อโจทกตามคําฟองกับลายมือชื่อโจทกที่กระทรวงพาณิชยซึ่งไมตรงกัน แลวพิพากษาใหโจทกชนะคดี
จําเลยอุทธรณวา คดีเสร็จการพิจารณาเมื่อโจทกจําเลยสืบพยานฝายของตนเสร็จ และศาลชั้นตนนัดฟงคําพิจารณาพิพากษา
แลว ศาลชั้นตนไมมีอํานาจสั่งสืบพยานโจทกเพิ่มเติมได ตองพิพากษาอยางเดียวเทานั้น และปญหาที่สั่งใหโจทกสืบพยาน
เพิ่มเติมนั้น โจทกมิไดยื่นบัญชีระบุพยาน โจทกจึงไมมีสิทธินําพยานหลักฐานเขามาสืบ
ดังนี้ อุทธรณของจําเลยทั้งสองขอนั้น ฟงขึ้นหรือไม เพียงใด

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 86 วรรคสาม บัญญัติวา “เมื่อศาลเห็นวาเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมเปนการจําเปนที่จะตองนํา
พยานหลักฐานอื่นอันเกี่ยวกับประเด็นในคดีมาสืบเพิ่มเติม ใหศาลทําการสืบพยานหลักฐานตอไป ซึ่งอาจรวมทั้งการที่จะ
เรียกพยานที่สืบมาแลวมาสืบใหมดวย โดยไมมีฝายใดรองขอ”
มาตรา 88 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “เมื่อคูความฝายใดมีความจํานงที่จะอางอิงเอกสารฉบับใดหรือคําเบิกความของ
พยานคนใด หรือมีความจํานงที่จะใหศาลตรวจบุคคล วัตถุ สถานที่ หรืออางอิงความเห็นของผูเชี่ยวชาญที่ศาลตั้ง เพื่อเปน
พยานหลักฐานสนับสนุนขออางหรือขอเถียงของตน ใหคูความฝายนั้นยื่นตอศาลกอนวันสืบพยานไมนอยกวาเจ็ดวัน ซึ่ง
บัญชีระบุพยาน โดยแสดงเอกสารหรือสภาพของเอกสารที่จะอาง และรายชื่อ ที่อยู ของบุคคล วัตถุ หรือสถานที่ซึ่งคูความ
ฝายนั้นระบุอางเปนพยานหรือขอใหศาลไปตรวจ หรือขอใหตั้งผูเชี่ยวชาญแลวแตกรณี พรอมทั้งสําเนาบัญชีระบุพยานดัง
กลาวในจํานวนที่เพียงพอ เพื่อใหคูความฝายอื่นมารับไปจากเจาพนักงานศาล”
มาตรา 187 บัญญัติวา “เมื่อไดสืบพยานตามที่จําเปนและคูความไดแถลงการณ ถาหากมีเสร็จแลว ใหถือวาการ
พิจารณาเปนอันสิ้นสุด แตตราบใดที่ยังมิไดมีคําพิพากษา ศาลอาจทําการพิจารณาตอไปอีกไดตามที่เห็นสมควร เพื่อ
ประโยชนแหงความยุติธรรม”
ศาลมีอํานาจหนาที่จะทําการสืบพยานหลักฐานตอไปได ถาศาลเห็นวาเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมจําเปนที่จะ
ตองนําพยานหลักฐานอื่นอันเกี่ยวกับประเด็นในคดีมาสืบเพิ่มเติม ซึ่งอาจรวมทั้งการเรียกพยานที่สืบแลวมาสืบใหมได โดย
ไมมีคูความฝายใดรองขอ ศาลจะใชอํานาจนี้เมื่อใดก็ได กอนที่จะมีคําพิพากษา แมการพิจารณาจะสิ้นสุดลงแลวก็ตาม (ปวพ.
มาตรา 86 วรรคสาม และมาตรา 187)
กรณีตามปญหาการที่ศาลชั้นตนสั่งสืบพยานโจทกเพิ่มเติมภายหลังจากการสืบพยานโจทกจําเลยเสร็จแลวนั้น มี
ความจําเปนเพื่อพิสูจนลายมือชื่อของโจทกที่ปรากฏในสํานวนคดีแตกตางกันซึ่งมีผลกระทบตอทั้งโจทกจําเลย ถาปรากฏ
วาไมใชลายมือชื่อของโจทกหรือใชลายมือชื่อของโจทก จึงเปนการดําเนินกระบวนการพิจารณาเพื่อประโยชนแหงความยุติ
ธรรมทั้งโจทกและจําเลย ศาลจึงมีอํานาจสั่งใหสืบพยานโจทกดังกลาวเพิ่มเติมได โดยกระทําไดกอนมีคําพิพากษา ทั้งนี้
ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่อางขางตน ซึ่งใหอํานาจแกศาลได เมื่อศาลมีอํานาจสั่งสืบพยานเพิ่มเติมเชนนี้ พยานหลัก
ฐานที่นํามาสืบจึงไมอยูภายใตบังคับแหง ปวพ. มาตรา 88 วรรคหนึ่ง ที่โจทกจะตองไดยื่นบัญชีระบุพยานไวกอน(ฎ.
656/2513 และ5132/2531) อุทธรณของจําเลยฟงไมขึ้น

6. คําถาม
ผูรองยื่นคํารองวา ผูรองเปนบุตรของนายเขียว นายเขียวบิดาของผูรองถึงแกความตายแลว มีทรัพยมรดกเปนที่
ดินมีโฉนดเลขที่ 100 และมีเหตุขัดของในการจัดการมรดก ผูรองมีคุณสมบัติไมตองหามตามกฎหมาย ขอใหศาลมีคําสั่งตั้งผู
รองเปนผูจัดการมรดกของผูตาย ระหวางนัดไตสวนผูรองยื่นสอดยื่นคํารองวา ที่ดินโฉนดเลขที่ 100 ไมใชทรัพยมรดกของ
นายเขียว เพราะเปนของผูรองสอด ผูรองสอดมีสวนไดสวนเสียในคดี จําตองเขามาเพื่อใหศาลรับรอง คุมครองและบังคับ
ตามสิทธิที่มีอยู ขอใหยกคํารอง
ดังนี้ ใหวินิจฉัยวา ผูรองสอดมีอํานาจรองสอดเขามาเปนคูความในคดีหรือไม

แนวตอบ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 57 บัญญัติวา “บุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูความอาจเขามาเปนคูความ
ไดโดยการรองสอด
(1) ดวยความสมัครใจเองเพราะเห็นวาเปนการจําเปนเพื่อยังใหไดความรับรอง คุมครอง หรือบังคับตามสิทธิของ
ตนที่มีอยู โดยยื่นคํารองตอศาลที่คดีนั้นอยูในระหวางพิจารณา
(2) ดวยความสมัครใจเองเพราะตนมีสวนไดเสียตามกฎหมายในผลแหงคดีนั้น โดยยื่นคําขอรองตอศาลไมวา
เวลาใดๆกอนมีคําพิพากษา ขออนุญาตเขาเปนโจทกรวมหรือจําเลยรวม”

ตามคํารองของผูรองมีประเด็นที่ศาลจะตองวินิจฉัยแตเพียงวา สมควรตั้งผูรองเปนผูจัดการมรดกของผูตายหรือไม
ซึ่งแมศาลจะตองผูรองเปนผูจัดการมรดกตามคํารองขอ ก็ไมมีผลกระทบกระเทือนถึงสิทธิของผูรองสอด หากผูรองสอดมี
กรรมสิทธิ์ในที่ดินโฉนดเลขที่ 100 อยูอยางไรก็คงมีอยูอยางนั้น ไมมีความจําเปนใดที่จะตองรองสอดเขามาในคดีเพื่อใหศาล
รับรอง คุมครองหรือบังคับตามสิทธิที่มีอยู กรณีไมตองดวย ปวพ. 57(1) ผูรองสอดจึงไมอํานาจรองสอดเขามาเปนคูความใน
คดี

7. คําถาม
นายยอดและนางทองอยูเปนสามีและภริยาที่ชอบดวยกฎหมาย นางทองอยูไดไปกูยืมเงินจากนายสําเภาเปนจํานวน
เงิน 5,000 บาท โดยมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อนางทองอยู ตอมานางทองอยูไดถึงแกกรรมและยังมิไดชําระหนี้ให
แกนายสําเภา นายสําเภาจึงนําคดีมาฟองนายยอดเปนจําเลย ขอใหบังคับนายยอดซึ่งเปนสามีและผูรับมรดกของนางทองอยู
ภริยาจําเลยรับผิดทั้งตนเงินและดอกเบี้ยซึ่งนางทองอยูกูไปแลวไมชําระ นายยอดขาดนัดยื่นคําใหการศาลชั้นตนพิพากษาให
นายยอดแพคดีชําระหนี้ตามฟอง แตนายยอดไมชําระ นายสําเภานําเจาพนักงานบังคับคดียึดที่ดิน 1 แปลง เพื่อขายทอดตลาด
ชําระหนี้ตามคําพิพากษา ตอมาวันที่ 26 พฤศจิกายน 2544 นายยอดยื่นคํารองวา ที่ดินที่นายสําเภายึดเปนสินสมรสระหวาง
นางทองอยูและนายยอด นายสําเภายึดทั้งหมดไมไดจะตองแยกสินสมรสในสวนของตนเสียกอน ขอใหศาลชั้นตนปลอย
ทรัพยที่ยึด ศาลชั้นตนสั่งยกคํารองดังกลาวของนายยอด ตอมาวันที่ 24 ธันวาคม 2544 นายยอดยื่นคํารองอยางเดียวกันอีก
ศาลชั้นตนสั่งยกคํารอง โดยใหเหตุผลวานายยอดซึ่งเปนจําเลยและภริยาเปนเจาของในที่ดินดังกลาวรวมกัน จะขอใหปลอย
ทรัพยที่ยึดไมได
ใหทานวินิจฉัยวา การที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งยกคํารองของนายยอดชอบดวยกฎหมายหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 144 บัญญัติวา “เมื่อศาลใดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดแหงคดีแลว
หามมิใหดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดแลว เวนแตกรณีจะอยูภายใต
บังคับบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวย
(1) การแกไขขอผิดพลาดเล็กนอยหรือขอผิดหลงเล็กนอยอื่นๆ ตามมาตรา 143
(2) การพิจารณาใหมแหงคดีซึ่งไดพิจารณาและชี้ขาดตัดสินไปฝายเดียว ตามมาตรา 209 และคดีที่เอกสารไดสูญ
หายหรือบุบสลายตามมาตรา 53
(3) การยื่น การยอมรับ หรือไมยอมรับ ซึ่งอุทธรณหรือฎีกาตามมาตรา 229 และ 247 และการดําเนินวิธีบังคับชั่ว
คราวในระหวางยื่นอุทธรณ หรือฎีกาตามมาตรา 254 วรรคสุดทาย
(4) การที่ศาลฎีกาหรือศาลอุทธรณสงคดีคืนไปยังศาลลางที่ไดพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีนั้น เพื่อใหพิพากษา
ใหมหรือพิจารณาและพิพากษาใหมตามมาตรา 243
(5) การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งตามมาตรา 302
ทั้งนี้ไมเปนการตัดสิทธิในอันที่จะบังคับตามบทบัญญัติแหงมาตรา 16 และ 240 วาดวยการดําเนินกระบวนการ
พิจารณาโดยศาลอื่นแตงตั้ง”

คํารองของนายยอดลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2544 ฉบับแรก และคํารองลงวันที่ 24 ธันวาคม 2544 ฉบับหลัง มีใจ


ความอยางเดียวกันวา นายสําเภายึดที่ดินแปลงนี้ไมได เพราะเปนสินสมรสตองแยกสินสมรสในสวนของตนเสียกอน และ
ขอใหศาลชั้นตนปลอยทรัพยที่ยึด จึงมีประเด็นแหงคดีเดียวกัน เมื่อศาลชั้นตนมีคําสั่งยกคํารองฉบับแรก จึงเปนกรณีที่ศาล
ไดมีคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดแหงคดีดังกลาวแลว หากนายยอดไมพอใจอยางไร นายยอดชอบที่จะ
อุทธรณคําสั่งของศาลชั้นตนภายในเวลาที่กฎหมายกําหนดไว นายยอดไมอุทธรณกลับมายื่นคํารองใหมจึงเปนการดําเนิน
กระบวนการพิจารณาในศาลเดียวกันอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดแลวโดยคูความรายเดียวกันเปนการ
ดําเนินกระบวนการพิจารณาซ้ํา ตองหามตาม ปวพ. มาตรา 144 และกรณีดังกลาว ไมเขาขอยกเวนตาม ปวพ. 144 (1) ถึง
(5) การที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งยกคํารองฉบับหลังของนายยอดจึงชอบดวยกฎหมายแลว

8. คําถาม
โจทกฟองวาโจทกทําสัญญาเชากับจําเลยตามภาพถายสัญญาเชาทายฟองโจทกยื่นบัญชีระบุพยานตามกฎหมาย
จําเลยใหการและฟองแยงวา โจทกไมไดทําสัญญาเชากับจําเลย จําเลยเพียงแตใหโจทกอาศัยอยูในที่ดินพิพาท ซึ่งจําเลย
สามารถเรียกคืนไดตลอดเวลา ศาลชั้นตนกําหนดประเด็นขอพิพาทวาโจทกเชาที่ดินที่พิพาทจากจําเลยหรือไม โจทกมีสิทธิ
อยูในที่ดินตอไปอีกเปนเวลา 2 ปหรือไม และจําเลยตองชดใชคาเสียหายแกโจทกหรือไมเพียงใด ในชั้นสืบพยานโจทก
โจทกขอสืบพยานวา โจทกตั้งตัวแทนไปทําสัญญาเชากับจําเลยและที่ดินพิพาทเปนที่สาธารณสมบัติของแผนดิน ดังนี้โจทก
กระทําไดหรือไมกับศาลจะมีอํานาจวินิจฉัยขอเท็จจริงและขอกฎหมายเกี่ยวกับภาพถายสัญญาเชาทายฟองหรือไม
แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 87 บัญญัติวา “หามมิใหศาลรับฟงพยานหลักฐานใด เวนแต
(1) พยานหลักฐานนั้นเกี่ยวถึงขอเท็จจริงที่คูความฝายหนึ่งฝายใดในคดีจะตองนําสืบ และ
(2) คูความฝายที่อางพยานหลักฐานไดแสดงความจํานงที่จะอางอิงพยานหลักฐานนั้น ดั่งที่บัญญัติไวใน
มาตรา 88 และ 90 แตถาศาลเห็นวา เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม จําเปนจะตองสืบพยานหลักฐานอันสําคัญ ซึ่งเกี่ยวกับ
ประเด็นขอสําคัญในคดี โดยฝาฝนตอบทบัญญัติอนุมาตรานี้ ใหศาลมีอํานาจรับฟงพยานหลักฐานเชนวานั้นได”

กรณีตามอุทาหรณตองปรับแกแกกรณีบทกฎหมายดังกลาววา พยานหลักฐานใดที่ศาลจะรับฟงไดนั้น ในเบื้องตนมี


ขอตองพิจารณา 2 ประการ คือ
1. ตองเปนพยานหลักฐานที่เกี่ยวถึงขอเท็จจริงที่คูความจะตองนําสืบซึ่งอาจเปนขอเท็จจริงในประเด็นและขอเท็จ
จริงอันเกี่ยวพันกับประเด็นก็ไดซึ่งในที่นี้หมายถึงงประเด็นขอพิพาทตามกฎหมายที่ศาลกําหนดในวันชี้สองสถานดวย และ
2. คูความฝายที่อางอิงพยานหลักฐานไดแสดงความจํานงที่จะอางอิง โดยการระบุไวในบัญชีระบุพยาน และถาเปน
เอกสารจะตองสงสําเนาเอกสารนั้นใหแกคูความอีกฝายหนึ่ง ภายในเวลาที่กฎหมายกําหนด เวนแตจะเขาขอยกเวนที่ไมตอง
สงสําเนา
ตามอุทาหรณมีปญหาตองวินิจฉัย ดังนี้
1. โจทกขอสืบพยานโจทกวา โจทกตั้งตัวแทนไปทําสัญญาเชาไดหรือไม เนื่องจากในคําฟองของโจทกกลาวเพียง
วา โจทกทําสัญญาเชากับจําเลยเทานั้น ดังนี้ การนําสืบของโจทกก็เปนเรื่องนําสืบแสดงวาโจทกไดทําสัญญาเชาที่พิพาทกับ
จําเลยหรือไม สวนวิธีการเชาจะทําที่ไหน อยางไร หรือตั้งตัวแทนไปทําสัญญาเชากับจําเลยนั้นเปนรายละเอียดวาไดทํา
สัญญาเชาจริงหรือไม จึงเปนการนําสืบพยานอันเปนขอเท็จจริงในประเด็นโดยตรง โจทกมีสิทธินําพยานเขาสืบในปญหานี้
ได
2.โจทกขอนําสืบพยานโจทกวาที่ดินที่พิพาทเปนสาธารณะสมบัติของแผนดินไดหรือไม กรณีนี้เปนเรื่องที่ศาลมิได
กําหนดเปนประเด็นขอพิพาทไวในวันชี้สองสถาน การนําสืบของโจทกจึงเปนเรื่องนําสืบนอกประเด็น โจทกจึงไมมีสิทธินํา
พยานเขาสืบ เพราะแมนําสืบไปกฎหมายก็หามมิใหศาลรับฟงอยูแลว
3. ศาลมีอํานาจวินิจฉัยเกี่ยวกับภาพถายสัญญาเชาทายฟองหรือไม การตั้งขอกลาวหาของโจทกเปนประเด็นโดยตรง
ในคําฟองเกี่ยวกับสัญญาเชาที่พิพาทระหวางโจทกกับจําเลยแลว สําเนาภาพถายสัญญาเชาทายฟองเปนการยืนยันถึงความมี
อยูหรือเกิดขึ้นแหงสัญญา ยอมถือไดวาเปนสวนหนึ่งของคําฟอง การนําสืบขอเท็จจริงตามเอกสารทายคําฟอง จึงอยูใน
ขอบเขตแหงมาตรา 87(1) ศาลจึงมีอํานาจวินิจฉัยขอเท็จจริงและขอกฎหมายเกี่ยวกับสัญญาเชาที่ดินพิพาทได

9. คําถาม
นายฉัตรมีภูมิลําเนาอยูที่จังหวัดกาญจนบุรี มีทาวนเฮาสอยูที่จังหวัดเพชรบุรี นายเฉลยซึ่งมีภูมิลําเนาอยูที่จังหวัด
ราชบุรีไดเชาทาวนเฮาสของนายฉัตรอยูอาศัย โดยทําสัญญาเชากันที่จังหวัดนครปฐม นายเฉลยผิดนัดไมชําระคาเชา นายฉัตร
ประสงคจะฟองเรียกคาเชาจากนายเฉลย ดังนี้ นายฉัตรจะฟองไดที่ศาลใดบาง

แนวคิด
ปวพ. มาตรา 4 ทวิ บัญญัติวา “คําฟองเกี่ยวดวยอสังหาริมทรัพยหรือสิทธิประโยชนอันเกี่ยวดวยอสังหาริมทรัพย
ใหเสนอตอศาลที่อสังหาริมทรัพยนั้นตั้งอยูในเขตศาลไมวาจําเลยจะมีภูมิลําเนาอยูในราชอาณาจักรหรือไม หรือตอศาลที่
จําเลยมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาล”
การฟองนายเฉลยผูเชาเปนจําเลย ขอใหชําระคาเชาทาวนเฮาสที่คางนั้น เปนคําฟองเกี่ยวกับประโยชนอันเกี่ยวดวย
อสังหาริมทรัพย นายฉัตรโจทกสามารถเสนอคําฟองไดตอศาลที่อสังหาริมทรัพยนั้นตั้งอยูในเขตศาล คือ ศาลจังหวัด
เพชรบุรี หรือตอศาลที่จําเลยมีภูมิลําเนาอยูอยูในเขตศาล คือ ศาลจังหวัดราชบุรี ตาม ปวพ. มาตรา 4 ทวิ

10. คําถาม
ธนาคารประชาชน(มหาชน)จํากัด เปนโจทกฟองใหนายแดง คนจน ชําระหนี้เงินกูที่ยืมไปจํานวน 100,000 บาท
พรองดอกเบี้ยรอยละ 21 ตอป ตามสัญญา นับแตวันผิดนัด โดยดอกเบี้ยที่เรียกนั้นเปนอัตราที่กระทรวงการคลังประกาศ
อนุญาตใหสถาบันการเงินเรียกได นายแดงจําเลยใหการตอสูวา โจทกไมมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรารอยละ 15 ตอป สัญญา
ขอที่ใหเรียกดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 21 ตอป ตองหามตามกฎหมายตกเปนโมฆะ ศาลนัดพรอมในวันนัดคูความแถลงไมติด
ใจสืบพยาน
ดังนี้ จําเลยจะตองรับผิดชําระดอกเบี้ยแกโจทกตามที่โจทกฟองหรือไม เพราะเหตุใด

แนวคิด
ปวพ. มาตรา 84 กําหนดหลักเกณฑวาดวยภาระการพิสูจนวา “ ถาคูความฝายใดฝายหนึ่งกลาวอางขอเท็จจริงอยาง
ใดๆเพื่อสนับสนุนคําฟองหรือคําใหการของตนใหหนาที่นําสืบขอเท็จจริงนั้นตกอยูแกคูความฝายที่กลาวอาง
แตวา (1) คูความไมตองพิสูจนขอเท็จจริงที่รูกันอยูทั่วไป หรือซึ่งไมอาจโตแยงได หรือซึ่งศาลเห็นวาคูความอีก
ฝายหนึ่งไดรับแลว ฯลฯ “

กรณีตามอุทาหรณจําเลยใหการตอสูเฉพาะในเรื่องดอกเบี้ยเทานั้น คดีมีประเด็นขอพิพาทเพียงขอเดียววา ขอสัญญา


ที่ใหเรียกดอกเบี้ยเงินกูในอัตรารอยละ 21 ตอป ตองหามตามกฎหมายตกเปนโมฆะหรือไม การวินิจฉัยประเด็นขอพิพาทดัง
กลาวตองพิจารณาวามีประกาศกระทรวงการคลังอนุญาตใหธนาคารฯเรียกดอกเบี้ยจากผูกูได ในอัตรา รอยละ 21 ตอป หรือ
ไม
ประกาศกระทรวงดังกลาว แมจะมีกฎหมายใหอํานาจออกได และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวก็ตาม แตมิใช
ขอกฎหมายที่ศาลรูเอง ทั้งมิใชขอเท็จจริงที่รูกันทั่วไป หากแตเปนขอเท็จจริงที่โจทกผูกลาวอางจะตองนําสืบพิสูจนตอศาล
ดังนั้น เมื่อโจทกเปนฝายกลาวอางวาโจทกมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยเกินกวาอัตราที่ ปพพ. กําหนดตามประกาศกระทรวงการคลัง
ดังกลาว และจําเลยปฏิเสธ ภาระการพิสูจนจึงตกแกโจทกตาม ปวพ. มาตรา 84 เมื่อโจทกไมนําสืบ คดีจึงรับฟงไมไดวามี
ประกาศกระทรวงการคลังใหสิทธิแกโจทกเรียกดอกเบี้ยเกินกวารอยละ 15 ตอปได จําเลยจึงไมตองรับผิดชอบดอกเบี้ยสวน
ที่เกินแกโจทกตามฟอง

11. คําถาม
นายเสนาะผูเยาวใหนางฉลวยเชาตึกซึ่งเปนของนายเสนาะเองทําการคาขาย นางฉลวยผิดนัดชําระคาเชา นายเสนาะ
จึงยื่นฟองขับไลนางฉลวย ศาลชั้นตนรับฟองไวแลว ตอมาระหวางพิจารณาศาลทําการสอบสวนไดความวานายเสนาะเปนผู
เยาว และฟองคดีโดยมิไดรับความยินยอมจากนายสนองบิดา มีคําสั่งใหจําหนายคดีของนายเสนาะออกจากสารบบความ แลว
ใหนายเสนาะยื่นฟองเขามาใหม โดยไดรับความยินยอมจากนายสนองบิดา นายเสนาะแถลงโตแยงวาตึกแถวทีใหเชาเปน
ของตนและตนเปนผูใหเชา ตนสามารถฟองคดีไดเองโดยไมตองไดรับความยินยอมจากบิดา ทานเห็นดวยกับคําสั่งของศาล
และขอโตแยงของนายเสนาะหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 56 วรรค 1 และ 2 บัญญัติวา
“ผูไรความสามารถหรือผูกระทําการแทนจะเสนอขอหาตอศาลหรือดําเนินกระบวนการพิจารณาใดๆ ไดตอเมื่อได
ปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยความสามารถและตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมาย
นี้ การใหอนุญาตหรือยินยอมตามบทบัญญัติเชนวานั้นใหทําเปนหนังสือยื่นตอศาลเพื่อรวมไวในสํานวนความ
ไมวาเวลาใดๆ กอนมีคําพิพากษา เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูความฝายหนึ่งฝายใดยื่นคําขอโดยทําเปนคํารอง
ใหศาลมีอํานาจทําการสอบสวนในเรื่องความสามารถ ศาลอาจมีคําสั่งใหแกไขขอบกพรองนั้นเสียใหบริบูรณภายในกําหนด
เวลาอันสมควรที่ศาลจะสั่ง”

ตามปญหา นายเสนาะเปนผูเยาวจึงเปนผูไรความสามารถ แมตึกแถวจะเปนของนายเสนาะ และนายเสนาะเปนผูให


เชา ในการฟองคดีก็ตองไดรับอนุญาตหรือความยินยอมจากนายสนอง บิดาซึ่งเปนผูแทนโดยชอบธรรม (ปวพ. มาตรา 56
วรรค 1) การที่นายเสนาะยื่นฟองคดีโดยไมไดรับอนุญาตหรือยินยอมจากบิดา จึงเปนการบกพรองในเรื่องความสามารถ ศาล
ชอบที่จะมีคําสั่งกําหนดใหแกไขขอบกพรองนั้นเสียใหบริบูรณภายในกําหนดเวลาอันสมควรที่ศาลจะสั่ง(ปวพ. มาตรา 56
วรรค 2) ไมใชสั่งใหจําหนายคดีของนายเสนาะออกจากสารบบความ แลวใหนายเสนาะยื่นฟองเขามาใหมโดยไดรับความยิน
ยอมจากบิดา ขาพเจาไมเห็นดวยกับคําสั่งของศาลหรือขอโตแยงของนายเสนาะ

12. คําถาม
ก. โจทกยื่นฟองคดีเรียกเงินตามเช็คจากจําเลยหนึ่งลานบาทที่ศาลแพง ศาลสั่งวาโจทกยังชําระคาธรรมเนียม
ศาลไมครบ ใหนํามาชําระภายใน 7 วัน มิฉะนั้นจะไมรับคําฟอง แตโจทกไมมีเงินจึงรีบเดินทางไปเชียงใหมเพื่อยืมเงินญาติ
แตเผอิญเดินทางกลับมาไมไดเนื่องจากน้ําทวม ถาโจทกไมนําเงินมาชําระที่ศาลแพงภายในกําหนด ศาลแพงก็อาจสั่งไมรับ
ฟองซึ่งทําใหโจทกเสียหาย ขณะที่โจทกอยูในศาลจังหวัดเชียงใหม โจทกจึงนําเรื่องมาปรึกษาทาน ทานจะใหคําปรึกษาแก
โจทกประการใด
ข. โจทกฟองวาจําเลยขายที่ดินใหโจทก สงมอบแกโจทกและรับชําระราคาแลว จําเลยเชาที่ดินตอไป จําเลย
ไมชําระคาเชา ขอใหศาลบังคับจําเลยสงคืนที่ดิน ใหขับไลจําเลยและชําระคาเชาที่คาง คดีไดความวา สัญญาซื้อขายไมจด
ทะเบียน เปนโมฆะ โจทกยังไมไดครอบครองที่ดิน ศาลพิพากษาใหจําเลยคืนคาซื้อที่ดิน ทานเห็นวาศาลพิพากษานอกฟอง
หรือไม

แนวตอบ
ก. เปนกรณีที่โจทกไมอาจดําเนินกระบวนการพิจารณาในศาลชั้นตนที่มีเขตศาลเหนือคดีนั้นได ตามปญหา
คือศาลแพง ทั้งนี้โดยมีเหตุสุดวิสัย กลาวคือเดินทางกลับมาไมไดเนื่องจากน้ําทวม โจทกจึงอาจไดรับความเสียหาย เพราะ
ศาลแพงสั่งไมรับฟองของโจทก โจทกจึงอาจยื่นคําขอฝายเดียวโดยทําเปนคํารองตอศาลจังหวัดเชียงใหมซึ่งโจทกอยูในเขต
ศาลในขณะนั้น ขอผัดการชําระเงินหรือขอชําระเงินที่ศาลจังหวัดเชียงใหมซึ่งศาลเชียงใหมที่รับคํารองไวมีอํานาจทําคําสั่ง
อยางหนึ่งอยางใดตามเห็นสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ทั้งนี้ตาม ปวพ. มาตรา 10 (บัญญัติวา “ถาไมอาจดําเนิน
กระบวนการพิจารณาในศาลชั้นตนที่มีเขตศาลเหนือคดีนั้นไดโดยเหตุสุดวิสัย คูความฝายที่เสียหายหรืออาจจะเสียหายเพราะ
การนั้นจะยื่นคําขอฝายเดียวโดยทําเปนคํารองตอศาลชั้นตนซึ่งตนมีภูมิลําเนาหรืออยูในเขตศาลขณะนั้นก็ได และใหศาลนั้น
มีอํานาจทําคําสั่งอยางหนึ่งอยางใดตามที่เห็นสมควรเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม”) ขาพเจาจะใหคําปรึกษาแกโจทก
โดยนัยดังกลาว
ข. การที่ศาลพิพากษาวาใหจําเลยคืนคาซื้อที่ดิน เปนการพิพากษาใหสิ่งใดๆ นอกจากที่ปรากฏในคําฟอง
ซึ่งตองหามตาม ปวพ. มาตรา 142 (บัญญัติวา “คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลที่ชี้ขาดคดีตองตัดสินตามขอหาในคําฟองทุก
ขอ แตหามมิใหพิพากษาหรือทําคําสั่งใดๆ เกินไปกวาหรือนอกจากที่ปรากฏในคําฟอง เวนแต…”) และไมตองดวยขอยก
เวนที่จะพิพากษาใหได
13. คําถาม
คดีแพงเรื่องหนึ่ง โจทกฟองจําเลยที่ 1 ลูกจาง และจําเลยที่ 2 นายจางเปนจําเลยรวมกันวา จําเลยที่ 1 ขับรถยนตใน
ทางการที่จางของจําเลยที่ 2 โดยประมาทเลินเลอชนรถของโจทกเสียหายขอใหจําเลยทั้งสองรวมกันชดใชคาเสียหายแก
โจทก จําเลยที่ 1 ใหการวา ขับรถโดยประมาทเลินเลอจริง จําเลยที่ 2 ใหการวา จําเลยที่ 1 มิไดขับรถโดยประมาทเลินเลอ ดัง
นี้ คําใหการของจําเลยที่ 1 ซึ่งยอมรับวาตนขับรถโดยประมาทเลินเลอมีผลผูกพันจําเลยที่ 2 หรือไม

แนวตอบ

ปวพ. มาตรา 59 บัญญัติวา “ บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปอาจเปนคูความในคดีเดียวกันได โดยเปนโจทกรวมหรือ


จําเลยรวม ถาหากปรากฏวาบุคคลเหลานั้นมีผลประโยชนรวมกันในมูลความแหงคดี แตหามมิใหถือวาบุคคลเหลานั้นแทน
ซึ่งกันและกัน เวนแตมูลความแหงคดีเปนการชําระหนี้ซึ่งแบงแยกจากกันมิไดหรือไดมีกฎหมายบัญญัติไวดั่งนั้นโดยชัดแจง
ในกรณีเชนนี้ถือวาบุคคลเหลานั้นแทนซึ่งกันและกันเพียงเทาที่จะกลาวตอไปนี้
(1) บรรดากระบวนการพิจารณาซึ่งทําไดโดยหรือทําตอคูความรวมคนหนึ่งนั้นใหถือวาไดทําโดยหรือทําตอ
คูความรวมคนอื่นๆดวย เวนแตกระบวนการพิจารณาที่คูความรวมคนหนึ่งกระทําไปเปนที่เสื่อมเสียแกคูความรวมคนอื่นๆ
(2) ….”

แมจําเลยที่ 1 และที่ 2 จะเปนคูความรวมกัน โดยมีมูลความแหงคดีเปนการชําระหนี้ซึ่งแบงแยกจากกันมิได ซึ่ง


ปวพ. มาตรา 59(1) ใหถือวากระบวนการพิจารณาซึ่งไดทําโดยคูความรวมคนหนึ่ง เปนการทําโดยคูความรวมคนอื่นดวยก็
ตาม แตมาตรา 59(1) ตอนทายก็ไดบัญญัติยกเวนไววา ไมรวมถึงกระบวนการพิจารณาที่คูความรวมคนหนึ่งกระทําไปเปนที่
เสื่อมเสียแกคูความคนอื่นๆดวย การที่จําเลยที่ 1 ใหการรับวา ตนไดขับรถโดยประมาทเลนเลอจริงนั้น เปนกระบวนการ
พิจารณาที่เสื่อมเสียแกจําเลยที่ 1 จึงไมมีผลผูกพันจําเลยที่ 2 ( ฎ. 382/2506)

14. คําถาม
คดีกอนนายสมบูรณเปนโจทกฟองนายสมบัติเปนจําเลยขอใหศาลสั่งแสดงวาที่พิพาทนั้นเปนของนายสมบูรณ ศาล
พิพากษาวาที่พิพาทนั้นเปนของนายสมบูรณโจทก ไมใชของนายสมบัติจําเลย ตอมานายจักรเปนโจทก็ฟองนายสมบูรณเปน
จําเลยอีกคดีหนึ่ง ขอใหศาลพิพากษาวาที่พิพาทแปลงเดียวกันนี้เปนของนายจักร ไมใชของนายสมบูรณซึ่งเปนโจทกในคดี
กอน ดังนี้ ถามวา
1. คําพิพากษาในคดีกอนที่นายสมบูรณฟองนายสมบัติจะใชยันนายจักรไดหรือไม
2. นายจักรจะอางวาคําพิพากษาในคดีกอนไมถูกตองไดหรือไม
3. ในคดีหลังที่นายจักรฟองนายสมบูรณ นายจักรจะนําสืบวาตนมีสิทธิดีกวานายสมบูรณไดหรือไม

แนวตอบ
ปวพ.มาตรา 145(2) บัญญัติวา” คําพิพากษาที่วินิจฉัยถึงกรรมสิทธิ์แหงทรัพยสินใดๆ เปนคุณแกคูความฝายใดฝาย
หนึ่งอาจใชยันแกบุคคลภายนอกได เวนแตบุคคลภายนอกนั้นจะพิสูจนไดวาตนมีสิทธิดีกวา”

ตามอุทาหรณ แยกพิจารณาไดดังนี้
1. คําพิพากษาในคดีกอนที่นายสมบูรณเปนโจทกฟองนายสมบัติเปนจําเลย เปนคําพิพากษาที่วินิจฉัยถึง
กรรมสิทธิ์ในที่พิพาทเปนคุณแกนายสมบูรณ จึงใหใชยันนายจักรซึ่งเปนบุคคลภายนอกคดีกอนได ตาม ปวพ.มาตรา 145(2)
2. เมื่อใชยันนายจักรไดแลว นายจักรจะอางวาคําพิพากษาในคดีกอนไมถูกตองหาไดไม
3. นายจักรยอมมีสิทธินําสืบวาตนมีสิทธิดีกวานายสมบูรณซึ่งเปนโจทกในคดีกอน โดยนัยแหงอนุมาตรา
(2) ตอนทาย

15. คําถาม
ก. โจทกฟองจําเลยขอใหศาลสั่งแสดงที่พิพาทเปนของโจทก จําเลยใหการวาที่พิพาทเปนของจําเลย คดีอยู
ระหวางพิจารณา นายเอกมาปรึกษาทานวาที่พิพาทที่โจทกจําเลยเปนความกันอยู ความจริงเปนของนายเอก ไมใชของโจทก
จําเลย นายเอกประสงคจะขอใหศาลสั่งแสดงที่พิพาทเปนของตนและมาปรึกษาทาน ทานจะใหคําปรึกษาแกนายเอกอยางไร
ข. โจทกเคยฟองจําเลยที่ 1 ผูเดียวออกจากหองเชาเลขที่ 300 ในขอหาผิดสัญญาเชาเพราะเอาหองไปให
จําเลยที่ 2 เชา ศาลพิพากษาใหโจทกแพคดี คดีถึงที่สุด โจทกก็มาฟองใหมขับไลทั้งจําเลยที่ 1 และ 2 โดยอาศัยมูลความผิด
สัญญาเชาเหตุเดียวกันนั้น ขอใหศาลขับไลจําเลยทั้งสอง ดังนี้ ฟองของโจทกคดีใหมเปนฟองซ้ํากับคดีเดิมหรือไม

แนวตอบ

ก. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 57 บัญญัติวา “บุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูความอาจเขามาเปนคู


ความไดโดยการรองสอด
(1) ดวยความสมัครใจเองเพราะเห็นวาเปนการจําเปนเพื่อยังใหไดความรับรอง คุมครอง หรือบังคับตามสิทธิของ
ตนที่มีอยู โดยยื่นคํารองตอศาลที่คดีนั้นอยูในระหวางพิจารณา
(2) ดวยความสมัครใจเองเพราะตนมีสวนไดเสียตามกฎหมายในผลแหงคดีนั้น โดยยื่นคําขอรองตอศาลไมวา
เวลาใดๆกอนมีคําพิพากษา ขออนุญาตเขาเปนโจทกรวมหรือจําเลยรวม”

ดังนั้น ขาพเจาจะใหคําปรึกษาแกนายเอกวา นายเอกซึ่งเปนบุคคลภายนอกมิใชคูความ แตไดถูกโตแยงสิทธิ อาจ


รองขอเขาเปนคูความฝายที่ 3 ไดโดยการรองสอดและสมัครใจเอง เพราะเห็นความจําเปนเพื่อยังใหไดรับความรับรองคุม
ครองหรือบังคับสิทธิของตนที่มีอยู โดยยื่นคํารองตอศาลที่โจทกฟองจําเลยเปนคดีและอยูในระหวางการพิจารณานั้น ขอให
ศาลสั่งแสดงสิทธิของตน หามโจทกจําเลยเขาเกี่ยว ทั้งนี้ตาม ปวพ. มาตรา 57(1)

ข. ปวพ. มาตรา 148 บัญญัติวา “คดีที่ไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดแลว หามมิใหคูความเดียวกันรื้อรองฟอง


กันอีก ในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน”

ฟองของโจทกเกี่ยวกับจําเลยที่ 1 เปนฟองซ้ํา เพราะคดีเดิมถึงที่สุดแลว เปนการรื้อรองฟองกันอีกในประเด็นที่ได


วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุเดียวกันนั้นคือผิดสัญญาเชาเหตุเดียวกัน ทั้งนี้ตาม ปวพ. มาตรา 148
สวนฟองของโจทกเกี่ยวกับจําเลยที่ 2 ไมเปนฟองซ้ํา เพราะจําเลยที่ 2 มิไดเปนคูความในคดีกอน

16. คําถาม
ก. ฟองขับไล ข. ออกจากตึกพิพาทเนื่องจาก ข. ผิดสัญญาไมชําระคาเชา ศาลชั้นตนพิพากษายกฟอง ตอมา
อีก 15 วันนับแตวันศาลชั้นตนพิพากษายกฟองซึ่งคดียังไมถึงที่สุด ก. ก็มาฟองขับไล ข. ที่ศาลเดียวกันโดยอาศัยมูลผิดสัญญา
มูลเดียวกันนั้นอีก ดังนี้ ฟองของ ก. คดีหลังเปนการดําเนินกระบวนการพิจารณาซ้ําหรือฟองซ้ํากับคดีแรกหรือไม

แนวตอบ
1. ปวพ. มาตรา 144 บัญญัติวา” เมื่อศาลใดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือในประเด็นขอใดแหงคดี
แลว หามมิใหดําเนินการพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ไดวินิจฉัยชี้ขาดแลวนั้น เวนแตกรณีจะอยูภายใต
บังคับบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวย…”

ดังนั้น ศาลชั้นตนวินิจฉัยชี้ขาดโดยยกฟองคดีแรกแลว การที่ ก.กลับมาฟองขับไล ข. ที่ศาลเดียวกันนั้นโดยอาศัย


มูลผิดสัญญามูลเดียวกันนั้นอีก จึงเปนการดําเนินกระบวนการพิจารณาซ้ําตาม ปวพ. มาตรา 144

2. ปวพ. มาตรา 148 บัญญัติวา “คดีที่ไดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งถึงที่สุดแลว หามมิใหคูความเดียวกันรื้อ


รองฟองกันอีก ในประเด็นที่ไดวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอยางเดียวกัน เวนแตในกรณีตอไปนี้…
(3) เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นใหยกคําฟองเสียโดยไมตัดสิทธิโจทกที่จะนําคําฟองมายื่นใหมในศาล
เดียวกัน หรือในศาลอื่นภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยอายุความ ”

ดังนั้น เมื่อคดีแรกยังไมถึงที่สุด เพราะอยูในระยะเวลาที่โจทกอาจอุทธรณได การที่ ก. โจทกมาฟองขับไล ข. อีก


แมจะอาศัยมูลผิดสัญญาเชามูลเดียวกันนั้น จึงไมเปนฟองซ้ําตาม ปวพ. มาตรา 148 (3)

17. คําถาม
ปญหาขอเท็จจริงกับปญหาขอกฎหมายทานเขาใจวาอยางไร
คดีฟองเรียกเงินกูเรื่องหนึ่ง ทุนทรัพย 50,000 บาท ซึ่งตองหามอุทธรณในปญหาขอเท็จจริง ศาลชั้นตนพิพากษายก
ฟองโจทกดวยเห็นดวยวา ตามขอเท็จจริงที่ยุตินั้นฟองของโจทกขาดอายุความ ดังนี้โจทกจะอุทธรณวา ฟองของตนไมขาด
อายุความไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ
ปญหาขอกฎหมายเปนปญหาหารือบท หรือปญหาที่เกี่ยวกับการตีความหรือปรับตัวบทกฎหมายเขากับขอเท็จจริง
ที่ฟงยุติแลว สวนปญหาขอเท็จจริง เปนปญหาขออางหรือขอเถียงของคูความที่ตองชี้ขาดโดยอาศัยพยานหลักฐาน เชน โจทก
ฟองวา จําเลยกูเงินโจทกไป 50,000 บาท จําเลยใหการวาไดกูเงินโจทกเพียง 5,000 บาท สัญญากูที่โจทกนํามาฟองจึงเปน
สัญญาปลอม ใชเปนพยานหลักฐานในศาลไมได ขอใหยกฟอง ดังนี้ ปญหาที่วาจําเลยไดกูเงินโจทกไปเทาใดนั้น ตองอาศัย
พยานบุคคลที่รูเห็นการกูเงิน พยานผูเชี่ยวชาญที่ลงความเห็นเกี่ยวกับความแทจริงแหงสัญญากูฉบับพิพาท ตลอดจนพยาน
เอกสาร คือตัวสัญญากูฉบับนั้นเองประกอบการวินิจฉัยชี้ขาดปญหาดังกลาว แมปญหาที่วา โจทกไดเติมเลขศูนยเขาไปอีก
หนึ่งตัว ทําใหสัญญาดังกลาวเปนสัญญาปลอมดังจําเลยอางหรือไมก็เปนขอเท็จจริง สวนปญหาที่วาสัญญาดังกลาวหากมีหฃ
การปลอมดวยการเติมเลขศูนยจริงแลว จะใชเปนพยานหลักฐานในคดีไดหรือไม อันจะทําใหศาลพิพากษาใหโจทกชนะคดี
บางสวนหรือตองยกฟองเลยนั้นเปนปญหาขอกฎหมาย

กรณีตามปญหาที่วา ฟองโจทกขาดอายุความหรือไมนั้น พึงเขาใจวาศาลฟงพยานหลักฐานอันเปนขอเท็จจริงแลว


วา สิทธิเรียกรองของโจทกเกิดขึ้นเมื่อใด โจทกยื่นฟองจําเลยเมื่อใด ยุติเด็ดขาดแลว ฟองโจทกขาดอายุความหรือไม จึงเปน
การหารือบทหรือปญหาขอกฎหมาย โจทกอุทธรณปญหานี้โดยไมตองหาม
18. คําถาม
ก. ในคดีที่โจทกฟองเรียกคาเสียหายในหนี้มูลละเมิดจากจําเลยเมื่อพนหนึ่งปโดยอางวารูตัวจําเลยวาจําเลย
จะตองรับผิด และจําเลยใหการตอสูวาคดีโจทกขาดอายุความ เพราะมิไดฟองภายใน 1 ป นับแตรูการละเมิดและรูตังจําเลย
ดังนี้ฝายใดมีหนาที่นําสืบกอน
ข. โจทกฟองขับไลจําเลยออกจากบานเชาที่เชาจากโจทก จําเลยมิไดใหการวาทําสัญญาเชาแทนบิดาจําเลย ดังนี้
จําเลยจะนําสืบวาทําสัญญาแทนบิดาไดหรือไม
ค. ในคดีแพงเรื่องหนึ่ง โจทกจําเลยพิพาทกันวาใครมีสิทธิครอบครองที่พิพาท คําที่จําเลยใหการกลาวกับ
บุคคลภายนอกวา จําเลยรับจํานําที่พิพาทไวจากโจทกใชยันจําเลยไดหรือไม

แนวตอบ
ก. ปวพ. มาตรา 84 กําหนดหลักเกณฑวาดวยภาระการพิสูจนวา “ ถาคูความฝายใดฝายหนึ่งกลาวอางขอเท็จ
จริงอยางใดๆเพื่อสนับสนุนคําฟองหรือคําใหการของตนใหหนาที่นําสืบขอเท็จจริงนั้นตกอยูแกคูความฝายที่กลาวอาง…”

ดังนี้ ถือวาโจทกกลาวอางโดยปริยายวาคดีของตนอยูในอายุความ เมื่อจําเลยตอสูวา ฟองของโจทกขาดอายุความ


โจทกซึ่งเปนผูกลาวอาง จึงตองมีภาระตองพิสูจนวาฟองยังไมขาดอายุความ (ปวพ. มาตรา 84 ) โจทกมีหนาที่นําสืบกอนวา
ฟองของโจทกไมขาดอายุความ

ข. จําเลยจะตองนําสืบขอเท็จจริงตามคําใหการของตน (ปวพ. มาตรา 84) ตามปญหาจําเลยจะนําสืบไมได เปน


การนําสืบนอกประเด็น เพราะจําเลยไมไดใหการตอสูไว

ค. เปนคํากลาวที่เปนปฏิปกษตอผลประโยชนของจําเลยเอง เปนคําบอกกลาวที่เปนคํารับของจําเลยเอง จึงใช


ยันจําเลยได

19. คําถาม
ก. กรณีที่ขายหองแถวในที่ดินที่เชามาโดยประสงคใหหองแถวคงติดที่ดินอยู แตเอกสารสัญญาไมกลาวถึง
เรื่องการโอนสิทธิการเชา เมื่อมีคดีระหวางผูขายผูซื้อที่จะตองบังคับกันตามสัญญาซื้อขาย ผูขายจะนําสืบวาไมรวมถึงการ
โอนสิทธิการเชาดวยไดหรือไม
ข. ในการดําเนินคดีแพงเรื่องหนึ่ง เมื่อพยานเบิกความตอศาลเสร็จแลว จึงยื่นคํารองขอเพิ่มเติมอธิบายคําที่เบิก
ความไปแลว ศาลจะยกเอาคํารองนี้มาหักลางคําเบิกความในศาลไดหรือไม
ค. ในคดีแพง เมื่อคูความฝายหนึ่งมิไดคัดคานการอางเอกสารเปนพยานของคูความอีกฝายหนึ่งเสียในวันสืบ
พยานดังนี้ ศาลจะตองยอมรับวาความจริงเปนดังที่ปรากฏในเอกสารนั้นไดหรือไม

แนวตอบ
ก. ปวพ. มาตรา 94 บัญญัติวา “เมื่อใดมีกฎหมายบังคับใหตองมีพยานเอกสารมาแสดง หามมิใหศาลยอมรับฟง
พยานบุคคล ในกรณีอยางใดอยางหนึ่งดั่งตอไปนี้ แมถึงวาคูความอีกฝายหนึ่งจะไดยินยอมก็ดี
(ก) ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไมสามารถนําเอกสารมาแสดง
(ข) ขอสืบพยานบุคคลประกอบขออางอยางใดอยางหนึ่ง เมื่อไดนําเอกสารมาแสดงแลววายังมีขอความเพิ่ม
เติมตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแกไขขอความในเอกสารนั้นอยูอีก
….”
ตองฟงวาการซื้อขายนั้นรวมถึงการโอนสิทธิการเชาดวย เพราะไดซื้อขายกันโดยประสงคจะใหหองแถวติดที่ดิน
อยูเปนการซื้อขายอยางอสังหาริมทรัพย ผูขายจะนําสืบวาไมรวมถึงการโอนสิทธิการเชาดวยไมได เพราะเปนการสืบพยาน
เพิ่มเติมขอความในเอกสาร ตองหามตาม ปวพ. มาตรา 94

ข. คํารองนี้มิใชคําเบิกความเปนพยาน ศาลจะยกเอาคํารองมาหักลางคําเบิกความในศาลไมได

ค. ปวพ. มาตรา 125 บัญญัติวา “ คูความฝายที่ถูกอีกฝายหนึ่งอางอิงเอกสารมาเปนพยานหลักฐานยันตนอาจ


คัดคานการนําเอกสารนั้นมาสืบโดยเหตุที่วาไมมีตนฉบับหรือตนฉบับนั้นปลอมทั้งฉบับหรือบางสวน หรือสําเนานั้นไมถูก
ตองกับตนฉบับ โดยคัดคานตอศาลกอนการสืบพยานเอกสารนั้นเสร็จ…
...ถาคูความซึ่งประสงคจะคัดคาน ไมคัดคานการอางเอกสารนั้นเสียกอนการสืบพยานหลักฐานนั้นเสร็จ หรือศาล
ไมอนุญาตใหคัดคานภายหลังวันนั้น หามมิใหคูความนั้นคัดคานการมีอยูและความแทจริงของเอกสารนั้นหรือความถูกตอง
แหงสําเนาเอกสารนั้น แตทั้งนี้ไมตัดอํานาจของศาลในอันที่จะไตสวนและชี้ขาดในเรื่องการมีอยู ความแทจริง หรือความถูก
ตองเชนวานั้น ในเมื่อศาลเห็นสมควรและไมตัดสิทธิของคูความนั้นที่จะอางวาสัญญาหรือหนี้ที่ระบุไวในเอกสารนั้นไม
สมบูรณหรือคูความอีกฝายหนึ่งตีความหมายผิด”

แมคูความฝายหนึ่งจะมิไดคัดคานการอางเอกสารเปนพยานของคูความอีกฝายหนึ่งเสียภายในวันสืบพยานตาม
ปวพ. มาตรา 125 ก็เพียงแตหามมิใหคูความฝายนั้นคัดคานการมีอยู และความแทจริงของเอกสารหรือความถูกตองแหง
สําเนาเอกสารนั้นเมื่อพนเวลากําหนดเทานั้น หาใชเปนการบังคับใหศาลยอมรับวาความจริงเปนดังที่ปรากฏในเอกสารนั้นไม
เพราะความจริงเปนอยางไร เปนเรื่องที่ศาลจะตองรับฟงจากพยานหลักฐานทั้งปวงอีกชั้นหนึ่งตางหาก

20. คําถาม
ในคดีแพงเรื่องหนึ่ง โจทกจําเลยไดทําสัญญาประนีประนอมยอมความกันในศาลชั้นตนใหที่พิพาทตกเปนของ
จําเลยและศาลไดพิพากษาตามยอมไปแลว โจทกจะมาฟองขอเพิกถอนเปลี่ยนแปลงคําพิพากษาหรือจะอุทธรณพิพากษาดัง
กลาวไดหรือไม

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 20 บัญญัติวา “ไมวาการพิจารณาคดีจะไดดําเนินไปแลวเพียงใด ใหศาลมีอํานาจที่จะไกลเกลี่ยใหคู
ความไดตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในขอพิพาทนั้น”
ปวพ. มาตรา 138 บัญญัติวา “ในคดีที่คูความตกลงกัน หรือตกลงประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแหงคดี
โดยมิไดมีการถอนคําฟองนั้นและขอตกลงหรือการประนีประนอมยอมความกันนั้นไมเปนการฝาฝนตอกฎหมาย ใหศาลจด
รายงานพิสดารแสดงขอความแหงขอตกลงหรือการประนีประนอมยอมความเหลานั้นไว แลวพิพากษาไปตามนั้น
หามมิใหอุทธรณคําพิพากษาเชนวานี้ เวนแตในเหตุตอไปนี้…
(1)…
(2)…
(3)…”
ปวพ. มาตรา 145 บัญญัติวา “ภายใตบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยการอุทธรณฎีกาและการพิจารณา
ใหม คําพิพากษาหรือคําสั่งใดๆ ใหถือวาผูกพันคูความในกระบวนการพิจารณาของศาลที่พิพากษาหรือมีคําสั่ง นับแตวันที่ได
พิพากษาหรือมีคําสั่งจนถึงวันที่คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นไดถูกเปลี่ยนแปลง แกไข กลับหรืองดเสีย ถาหากมี…”
ตาม ปวพ. มาตรา 145 ใหถือวาคําพิพากษาผูกพันคูความในกระบวนการพิจารณาของศาลที่พิพากษานับแตวันที่ได
พิพากษา
และตาม ปวพ. มาตรา 138 วรรค 2 หามมิใหอุทธรณคําพิพากษาที่พิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ
นอกจากจะเขาขอยกเวนคืออนุมาตรา (1)(2)และ(3)
ตามปญหาแยกพิจารณาไดดังนี้
(ก) เมื่อโจทกจําเลยไดทําสัญญาประนีประนอมยอมความใหที่ดินที่พิพาทตกเปนของจําเลย และศาล
พิพากษาตามยอมไปแลว คําพิพากษาของศาลยอมผูกพันโจทกจําเลย โจทกจะมาฟองขอใหเพิกถอนเปลี่ยนแปลงคําพิพากษา
ไมได (ฎ.297/2515)
(ข) โจทกจะอุทธรณคําพิพากษาตามยอมไมได ตองหามตามมาตรา 138 วรรค 2

21. คําถาม
โจทกฟองขอใหศาลบังคับใหจําเลยชําระหนี้เงินกู 100,000 บาท จําเลยใหการวาจําเลยไมไดรับเงินกูไปจากโจทก
เลย เพราะเมื่อจําเลยลงลายมือชื่อในสัญญาเงินกูแลว บังเอิญโจทกไมมีเงินติดบาน นัดใหจําเลยมาเอาในวันหลัง แตโจทกก็
หลบหลีกไมจายเงินตามสัญญากูใหจําเลยเรื่อยมา ดังนี้ จําเลยมีสิทธิสืบพยานบุคคลวาไมไดรับเงินตามสัญญากูหรือไม

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 94 วรรค 1 และวรรค 2 บัญญัติไวมีใจความสําคัญที่เกี่ยวกับปญหาที่ถามวา เมื่อใดมีกฎหมายบังคับ
ใหตองมีพยานเอกสารมาแสดง หามมิใหศาลยอมรับฟงพยานบุคคล ในกรณีอยางใดอยางหนึ่งดั่งตอไปนี้ คือ ขอสืบพยาน
บุคคลประกอบขออางอยางใดอยางหนึ่ง เมื่อไดนําเอกสารมาแสดงแลววายังมีขอความเพิ่มเติมตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงแก
ไขขอความในเอกสารนั้นอยูอีก แตวาบทบัญญัติแหงมาตรานี้มิใหถือวาเปนการตัดสิทธิคูความในอันที่จะกลาวอางและนํา
พยานบุคคลมาสืบประกอบขออางวาสัญญาหรือหนี้อยางอื่นที่ระบุไวในเอกสารนั้นไมสมบูรณ
ตามปญหา จําเลยใหการโดยชัดแจงแลววา ไมไดรับเงินไปจากโจทกเพราะเหตุใด การที่จําเลยไมไดรับเงินเปนการ
กลาวอางวาสัญญากูหรือหนี้ตามสัญญากูนั้นไมสมบูรณเพราะสัญญากูจะสมบูรณหรือบริบูรณเมื่อสงมอบเงินที่ยืม จําเลยจึง
มีสิทธิสืบพยานบุคคลไดวา ไมไดรับเงินไปตามสัญญากูตามขอยกเวนที่บัญญัติไวในมาตรา 94 วรรค 2

22. คําถาม
นายปองเทพฟองสมาคมสุโขทัยธรรมาธิราชซึ่งตนเปนสมาชิกเปนจําเลย หาวามติของที่ประชุมใหญของสมาคม
ที่เลือกนางสาวเอมิกา ซึ่งไมใชสมาชิกเปนกรรมการชองสมาคมนั้นฝาฝนตอขอบังคับ ขอใหศาลสั่งเพิกถอนมตินั้นตาม
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย สมาคมสุโขทัยธรรมาธิราชขาดนัดยื่นคําใหการ
ระหวางการพิจารณา นางสาวเอมิกายื่นคํารองสอดวา ตนเปนสมาชิกของสมาคมนั้น และไดรับการเลือกตั้งเปน
กรรมการโดยถูกตองตามขอบังคับแลว ขอใหยกฟอง
นายปองเทพโจทกคัดคานการรองสอดวา เมื่อคดีนี้จําเลยขาดนัดยื่นคําใหการ ผูรองจะรองสอดเขามาในคดีไมได
เพราะเปนการใชสิทธิตอสูคดีกับโจทกฝายเดียว เทากับผูรองสอดเขามาใชสิทธิแทนจําเลยนั่นเอง ใหวินิจฉัยวา นางสาวเอมิ
กามีสิทธิรองสอดเขามาในคดีตามคํารองไดหรือไม

แนวตอบ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 57 บัญญัติวา “บุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูความอาจเขามาเปนคูความ
ไดโดยการรองสอด
(1) ดวยความสมัครใจเองเพราะเห็นวาเปนการจําเปนเพื่อยังใหไดความรับรอง คุมครอง หรือบังคับตามสิทธิของ
ตนที่มีอยู โดยยื่นคํารองตอศาลที่คดีนั้นอยูในระหวางพิจารณา….”
และมาตรา 58 บัญญัติวา “ผูรองสอดที่ไดเขาเปนคูความตามอนุมาตรา (1) และ (3) แหงมาตรากอนนี้ มีสิทธิเสมือน
หนึ่งวาตนไดถูกฟองหรือถูกฟองเปนคดีเรื่องใหม ซึ่งโดยเฉพาะผูรองสอดอาจนําพยานหลักฐานใหมมาแสดง คัดคาน
เอกสารที่ไดยื่นไว ถามคานพยานที่ไดสืบมาแลวและคัดคานพยานหลักฐานที่ไดสืบไปกอนที่ตนไดรองสอด อาจอุทธรณ
ฎีกาคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลตามที่กฎหมายบัญญัติไวและอาจไดรับหรือถูกบังคับใหใชคาฤชาธรรมเนียม
หามมิใหผูรองสอดที่ไดเปนคูความตามอนุมาตรา (2) แหงมาตรากอน ใชสิทธิอยางอื่นนอกจากสิทธิที่มีอยูแกคู
ความฝายซึ่งตนเขาเปนโจทกรวมหรือจําเลยรวมในชั้นพิจารณาเมื่อตารองสอดและหามมิใหสิทธิเชนวานั้นในทางที่ขัดกับ
สิทธิของโจทกหรือจําเลยเดิมฯลฯ”

ตามคําถาม นางสาวเอมิกามีสิทธิที่จะเขามาในคดี เพื่อขอความรับรอง คุมครองหรือบังคับตามสิทธิของตนได โดย


การรองสอดเขามาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 57(1) เพราะไดถูกโตแยงสิทธิดวย แมสมาคมสุโขทัย
ธรรมาธิราชจําเลยจะขาดนัดยื่นคําใหการ ก็หาเปนการตัดสิทธินางสาวเอมิกาผูรองสอดไม กรณีไมตองหามตาม ปวพ.
มาตรา 58 วรรคสอง

23. คําถาม
นายโชติกับนายชิตเปนโจทกที่ 1 และที่ 2 รวมกันฟองบริษัทเดินรถไทย จํากัด เปนจําเลยและเรียกคาเสียหายในมูล
หนี้ละเมิดที่ลูกจางของบริษัทฯขับรถโดยสารโดยประมาทเลินเลอ ทําใหรถที่โจทกทั้งสองโดยสารมาพลิกคว่ํารายเดียวกัน
โจทกตางไดรับบาดเจ็บ โจทกที่ 1 เรียกคาเสียหาย 40,000 บาท โจทกที่ 2 เรียกคาเสียหาย 30,000 บาท ศาลชั้นตนสั่งวา
โจทกทั้งสองจะฟองรวมกันมาในคดีเดียวกันไมได เพราะเปนหนี้คนละราย เรียกคาเสียหายมาคนละจํานวนกัน เปนการฟอง
เรียกรองคาเสียหายกันคนละขอหา ใหโจทกแยกฟองเปนคนละคดี ทานเห็นดวยกับคําสั่งของศาลชั้นตนหรือไม

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 59 บัญญัติวา “บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป อาจเปนคูความในคดีเดียวกันได โดยเปนโจทกรวมหรือ
จําเลยรวม ถาหากปรากฏวา บุคคลเหลานั้นมีผลประโยชนรวมกันในมูลความแหงคดี…”
ปวพ. มาตรา 29 บัญญัติวา “ ถาคดีที่ฟองกันนั้นมีขอหาหลายขอดวยกันและศาลเห็นวาขอหาขอหนึ่งขอใดเหลานั้น
มิไดเกี่ยวของกันกับขออื่นๆ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูความผูมีสวนไดเสียไดยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองใหศาลมีคําสั่ง
ใหแยกคดีเสียโดยเร็ว…”

ตามปญหา การที่ลูกจางของบริษัทจําเลยขับรถโดยประมาทเลินเลอ ทําใหรถโดยสารคว่ํารายเดียวกัน ทําใหโจทก


ทั้งสองที่โดยสารมาไดรับบาดเจ็บ แมโจทกจะเรียกคาเสียหายมาคนละจํานวนแยกออกจากกัน แตก็เปนกรณีที่โจทกมีผล
ประโยชนรวมกันในมูลความแหงคดี เพราะรถพลิกคว่ํารายเดียวกัน กรณีตองตามมาตรา 59 จึงยอมเปนโจทกเปนคูความ
รวมในคดีเดียวกันได กรณีไมตองดวยมาตรา 29 ที่มีขอหาหลายขอหาและขอหาเหลานั้นมิไดเกี่ยวของกับขออื่นๆ ศาลจะสั่ง
ใหแยกฟองเปนคนละคดีหาไดไม ขาพเจาไมเห็นดวยกับคําสั่งของศาลชั้นตน

24. คําถาม
โจทกฟองขอใหศาลบังคับจําเลยใชคาสินไหมทดแทนในกรณีละมิดเปนเงิน 50,000 บาท ในการสงหมายเรียกและ
สําเนาคําฟองใหจําเลยนั้น เจาพนักงานศาลพบจําเลย แตจําเลยไมยอมรับหมายและเดินออกไปจากบาน เจาพนักงานศาลจึง
ปดหมายไวที่ประตูบาน โดยนายดําผูใหญบานเปนพยาน ดังนี้ การสงหมายและสําเนาคําฟองดังกลาวชอบหรือไม
แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 78 บัญญัติวา “ ถาคูความหรือบุคคลที่ระบุไวในคําคูความหรือเอกสารปฏิเสธไมยอมรับคําคูความ
หรือเอกสารนั้นจากเจาพนักงานศาลโดยปราศจากเหตุอันชอบดวยกฎหมาย เจาพนักงานนั้นชอบที่จะขอใหพนักงานเจาหนา
ที่ฝายปกครองที่มีอํานาจ หรือเจาพนักงานตํารวจไปดวยเพื่อเปนพยาน และถาคูความหรือบุคคลนั้นยังคงปฏิเสธไมยอมรับ
อยูอีก ก็ใหวางคําคูความหรือเอกสารไว ณ ที่นั้น…”
ปวพ. มาตรา 79 บัญญัติวา “ ถาการสงคําคูความหรือเอกสารนั้นไมสามารถจะทําไดดั่งที่บัญญัติไวในมาตรากอน
ศาลอาจสั่งใหสงโดยวิธีอื่นแทนได กลาวคือ ปดคําคูความหรือเอกสารไวในที่แลเห็นไดงาย ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักทําการ
งานของคูความหรือบุคคลผูมีชื่อระบุไวในคําคูความหรือเอกสารหรือมอบคําคูความหรือเอกสารไวแกเจาพนักงานฝายปก
ครองในทองถิ่นหรือเจาพนักงานตํารวจ แลวปดประกาศแสดงการที่ไดมอบหมายดั่งกลาวแลวนั้นไวดังกลาวมาขางตน หรือ
ลงโฆษณา หรือทําวิธีอื่นใดตามที่ศาลเห็นสมควร…”

ในการสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองใหจําเลยนั้น เจาพนักงานศาลพบจําเลย แตจําเลยไมยอมรับหมายและเดิน


ออกจากบานไป จึงเปนกรณีที่เจาพนักงานศาลไมอาจจะวางหมายตามมาตรา 78 ได เพราะการวางหมายจะตองวางตอเมื่อคู
ความหรือบุคคลในหมายยังอยู ณ ที่นั้น แตบุคคลดังกลาวไมยอมรับหมายหรือคําคูความแตโดยดี ในกรณีตามปญหา จําเลย
ไดเดินออกจากบานไป เจาพนักงานศาลจะวางหมายไมได ชอบแตจะทําการปดหมายตามมาตรา 79 เพราะเปนการไม
สามารถจะสงคําคูความหรือเอกสารนั้นไดตามมาตรา 78 แตการปดหมายนั้น เจาพนักงานศาลจะสงหมายเรียกและสําเนาคํา
ฟองใหจําเลยโดยปดหมายไดตองเปนเรื่องที่กระทําโดยคําสั่งศาล หาใชเจาพนักงานศาลมีสิทธิใชดุลพินิจปดหมายเองโดย
พลการไม การปดหมายที่ไดกระทําไปตามปญหามิใชโดยคําสั่งศาล จึงไมชอบดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา 79 กรณียังถือไมไดวามีการสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองใหจําเลยโดยชอบแลว แมวาจะมีนายดําผูใหญบานซึ่งเปน
เจาพนักงานฝายปกครองเปนพยานในการปดหมายไวที่ประตูบานก็ตาม

25. คําถาม
ในคดีที่โจทกฟองวาจําเลยกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหรถยนตของโจทกเสียหาย ขอใหบังคับจําเลยใชคาเสีย
หายจํานวน 200,000 บาท พรอมดอกเบี้ยแกโจทก จําเลยใหการปฏิเสธวา จําเลยมิไดกระทําโดยละเมิดตอโจทกและโจทกไม
เสียหาย ขอใหยกฟอง โจทกอางใบเสร็จรับเงินคาซอมรถยนตโจทกและภาพถายสภาพรถยนตซึ่งโจทกถายรูปไวกอนสง
ซอม ซึ่งพยานหลักฐานทั้งสองสิ่งอยูที่โจทกและโจทกไดระบุไวในบัญชีระบุพยานแลว ดังนี้ โจทกจะตองสงสําเนาพยาน
เอกสารดังนั้นใหแกใครหรือไม และเมื่อใด

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 90 วรรคหนึ่ง “ใหคูความฝายที่อางอิงเอกสารเปนพยานหลักฐานเพื่อสนับสนุนขออางหรือขอเถียง
ของตนในมาตรา 88 วรรคหนึ่ง ยื่นตอศาลและสงใหคูความฝายอื่น ซึ่งสําเนาเอกสารนั้นกอนวันสืบพยานไมนอยกวาเจ็ดวัน”

การอางอิงหรือนําสืบพยานเอกสารหรือพยานวัตถุ นอกจากจะตองมีการระบุอางไวในบัญชีระบุพยานตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 88 วรรคหนึ่งแลว กอนที่คูความจะสงตนฉบับเอกสารตอศาล คูความยังตอง
ยื่นสําเนาเอกสารนั้นตอศาลและสงใหแกคูความอีกฝายหนึ่งกอนวันสืบพยานไมนอยกวา 7 วันดวย ทั้งนี้ตาม ปวพ. มาตรา
90 วรรคหนึ่ง ขางตน
กรณีตามคําถามอาจแยกพิจารณาได 2 กรณีดังนี้
กรณีแรก คือ ใบเสร็จรับเงินคาซอมรถยนตโจทกซึ่งอยูที่โจทก เมื่อโจทกไดอางไวในบัญชีระบุพยานและยื่นตอ
ศาลแลว เมื่อใบเสร็จรับเงินคาซอมรถยนตโจทกเปนเอกสารและอยูในความครอบครองของโจทก โจทกจึงมีหนาที่ตองยื่น
สําเนาเอกสารดังกลาวนั้นตอศาลและสงใหแกคูความอีกฝายหนึ่งกอนวันสืบพยานไมนอยกวา 7 วัน (ฎ.288/2536)
กรณีที่สอง ภาพถายสภาพรถยนตซึ่งโจทกถายรูปไวกอนสงซอม ภาพถายดังกลาวถือวาเปนภาพจําลองวัตถุ ไมใช
เปนพยานเอกสารตามความในมาตรา 90 วรรคหนึ่ง จึงไมอยูในบังคับตองยื่นสําเนาใหแกศาลและสงใหแกคูความอีกฝาย
หนึ่งกอนวันสืบพยาน ดังนั้นโจทกจึงไมตองยื่นสําเนาและสงใหแกจําเลยกอนวันสืบพยาน(ฎ.157/2518)

26. คําถาม
นายแดงประกอบกิจการขายเครื่องใชไฟฟาและเครื่องเสียง โดยใหซื้อขายเงินผอนและใหเชาซื้อ ไดใหนายเขียวเชา
ซื้อรถจักรยานยนตไปในราคา 30,000 บาท โดยทําสัญญาเชาซื้อกันไวเปนหนังสือ นายเขียวไมชําระคาเชาซื้อตามสัญญา จึง
ตกเปนผูผิดนัด นายแดงฟองบังคับใหชําระคาเชาซื้อที่คางทั้งหมดพรอมดอกเบี้ย ในระหวางการชี้สองสถานนั้นเอง ปรากฏ
วาหนังสือสัญญาเชาซื้อสูญหายไป นายแดงจะนําพยานบุคคลมาสืบวาสัญญาเชาซื้อสูญหายไปและมีการเชาซื้อรถจักรยาน
ยนตตามสัญญาเชาซื้อที่สูญหายไปไดหรือไม

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 93 บัญญัติวา “การอางอิงเอกสารเปนพยานนั้น ใหยอมรับฟงไดแตตนฉบับเอกสารเทานั้น เวนแต..
ฯลฯ
(2)ถาตนฉบับเอกสารหาไมได เพราะสูญหาย หรือถูกทําลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือไมสามารถนําตนฉบับมาไดโดย
ประการอื่น ศาลจะอนุญาตใหนําสําเนาหรือพยานบุคคลมาสืบก็ได”
ปวพ. มาตรา 94 บัญญัติวา “ เมื่อใดมีกฎหมายบังคับใหตองมีพยานเอกสารมาแสดง หามมิใหศาลรับฟงพยาน
บุคคลในกรณีอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ แมวาคูความอีกฝายหนึ่งจะไดยินยอมก็ดี
(ก) ขอสืบพยานบุคคลแทนพยานเอกสาร เมื่อไมสามารถนําเอกสารมาแสดง
…แตวาบทบัญญัติแหงมาตรานี้ มิใหใชบังคับในกรณีที่บัญญัติไวในอนุมาตรา (2) แหงมาตรา 93 ”

ตามคําถาม การนําสืบวาหนังสือสัญญาเชาซื้อสูญหายไป นายแดงยอมนําพยานบุคคลมาสืบได เพราะบทบัญญัติ


มาตรา 94 ก็ดี บทบัญญัติอื่นวาดวยพยานหลักฐานก็ดี มิไดหามในกรณีดังกลาวไว
สวนการนําพยานบุคคลมานําสืบวาการเชาซื้อรถจักรยานยนตตามหนังสือสัญญาเชาซื้อนั้น แมเปนกรณีที่
กฎหมายบังคับใหตองมีพยานเอกสารมาแสดงซึ่งหามมิใหศาลยอมรับฟงพยานบุคคลที่นํามาสืบแทนพยานเอกสารนั้น ตาม
มาตรา 94 ขางตน แตเนื่องจากมาตรา 94 มิใหใชบังคับในกรณีที่บัญญัติไวในมาตรา 93(2) ดังนั้น เมื่อสัญญาเชาซื้อสูญหาย
ไมสามารถนํามาแสดงตอศาลได โจทกจึงมีสิทธินําพยานบุคคลมาสืบแทนสัญญาเชาซื้อได

27. คําถาม
คุณหญิงวาสเคยกลาวกับคุณหญิงสรอยเพื่อนสนิทของตนวา คุณหญิงวาสเคยมีบุตรชาย 1 คน ชื่อ วิชัย กอนที่คุณ
หญิงวาสจะสมรสกับพลเอกศักดิ์ โดยคุณหญิงวาสนําวิชัยไปฝากใหญาติของตนชื่อ บุญมี เลี้ยงดูตั้งแตเด็ก ตอมาคุณหญิงวาส
ตายลง วิชัยจึงฟองขอแบงมรดกจากพลเอกศักดิ์ โดยอางคุณหญิงสรอยเปนพยานเบิกความถึงขอเท็จจริงดังกลาว คําเบิก
ความของคุณหญิงสรอยรับฟงไดหรือไม

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 95 บัญญัติวา “ หามมิใหรับฟงพยานบุคคลใด เวนแตบุคคลนั้น
(1) สามารถเขาใจ และตอบคําถามได
(2) เปนผูที่ไดเห็น ไดยิน หรือทราบขอความเกี่ยวในเรื่องที่จะใหการเปนพยานนั้นมาดวยตนเองโดยตรง แตความ
ในขอนี้ใหใชไดตอเมื่อไมมีบทบัญญัติแหงกฎหมายโดยชัดแจงหรือคําสั่งของศาลวาใหเปนอยางอื่น”

ตามคําถามคําเบิกความของคุณหญิงสรอยเปนเพียงพยานบอกเลา เพราะคุณหญิงสรอยไมไดรูเห็นวาคุณหญิงวาสมี
บุตรชายชื่อวิชัยจริงหรือไม เพียงแตรับฟงขอมูลมาจากคุณหญิงวาสเทานั้น
แตเนื่องจากคําพยานบอกเลาดังกลาวเปนคํากลาวถึงเครือญาติวงศตระกูลโดยตรง ทั้งผูบอกกลาวก็เปนเครือญาติ
ในสกุลเดียวกัน และไดถึงแกความตายไปแลว ดังนั้นคําเบิกความของคุณหญิงสรอยจึงเปนพยานบอกเลาที่รับฟงได สวนจะ
มีน้ําหนักเพียงใดนั้นเปนดุลยพินิจของศาลที่จะพิจารณา

28. คําถาม
ในระหวางพิจารณาคดีเรื่องหนึ่ง โจทกและจําเลยทําสัญญาประนีประนอมยอมความแบงที่ดินพิพาทกัน เมื่อศาล
พิพากษาตามยอมแลว จําเลยอางวาตนทําสัญญายอมความไปโดยสําคัญผิดทําใหจําเลยเสียเปรียบ กลาวคือ จําเลยไดเนื้อที่
นอยกวาที่ควรจะได สวนโจทกกลับไดที่ดินมากเชนนี้ จําเลยจะอุทธรณคําพิพากษาดังกลาวไดหรือไม

แนวตอบ
ปวพ. มาตรา 138 บัญญัติวา “ ในคดีที่คูความตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแหงคดีโดยมิ
ไดมีการถอนคําฟองนั้น และขอตกลงยอมความกันนั้นไมเปนการฝาฝนตอกฎหมาย ใหศาลจดรายงานพิสดารแสดงขอความ
แหงขอตกลงหรือการกระนีประนอมยอมความเหลานั้นไว แลวพิพากษาไปตามนั้น
หามมิใหอุทธรณคําพิพากษาเชนวานี้ เวนแตในเหตุตอไปนี้
(1) เมื่อมีคูความฝายใดฝายหนึ่งฉอฉล…..”

ตามคําถาม กรณีที่โจทกและจําเลยตกลงทําสัญญายอมความกันและศาลพิพากษาตามยอมไปแลว คําพิพากษาดัง


กลาวยอมมีผูกพันคูความใหตองปฏิบัติตาม แมจําเลยจะกลาวอางวาการแบงที่ดินพิพาทดังกลาวทําใหจําเลยเสียเปรียบก็ตาม
สวนกรณีที่จําเลยอางวาจําเลยทําสัญญายอมความโดยสําคัญผิดนั้น มิใชเหตุอันจะกลาวอางไดตามขอยกเวนที่กฎหมายใหคู
ความมีสิทธิอุทธรณได
ดังนั้น จําเลยตองผูกพันตามคําพิพากษาตามสัญญายอมความฉบับนั้นจะอุทธรณตอไปไมได

You might also like