You are on page 1of 11

คําถามกฏหมายแพง 3

ขอ 1 .สัญญาระหวางสามีภรรยา ที่ทําขึ้นภายหลังใชพรบ.บรรพ 5 มีผลบังคับไดเพียงใดหรือไม


นายขาวกับนางเขียวสมรสกันเมื่อพ.ศ.2470 ตอมาทําสัญญากันวาถาขาดจากสามีภรรยากันเมื่อใด ใหแบงสิน
สมรสแกนายขาว 3 สวน ใหแกนางเขียว สวนหนึ่ง ถาสัญญานั้นทําขึ้นในพศ.2471 อยางหนึ่ง ทําขึ้นในพ.ศ.
2481 อีกอยางหนี่ง สัญญานั้นจะมีผลบังคับได ณ บัดนี้เพียงใด หรือไม
ธงคําตอบ
ป.พ.พ.มาตรา 1461 สัญญาระหวางสามีภริยาที่ทําขึ้นภายหลังใชป.พ.พ.บรรพ 5 มีผลบังคับใชไดจนกวา
ฝายใดฝายหนึ่งจะบอกลาง การบอกลางนี้จะบอกไดระหวางเปนสามีภรรยากันอยูหรือภายในหนึ่งปนับแตขาด
จากการเปนสามีภรรยากัน
ตามอุทาหรณ สัญญาที่ทําขึ้นในพ.ศ. 2471 ซึ่งเปนเวลากอนใชป.พ.พ.บรรพ5ตกเปนโมฆะ เพราะฝาฝนกฏ
หมายตามนัยแหงคําพิพากษาฏีกาที่ 195/2465
สวนสัญญาที่ทําขึ้นในพ.ศ.2481 หลังใชป.พ.พ.บรรพ5ยอมมีผลบังคับไดณ บัดนี้เวนแตฝายใดฝายหนึ่งจะ
บอกลางตามหลักที่กลาวขางตน (ขอสอบเนติฯ พ.ศ.2492)
ขอ 2. นาย ก เคยทําพินัยกรรมไวเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2476 ยกทรัพยมรดกทั้งหมดใหแกนาง ข ซึ่งเปน
ภรรยา ในวันนี้ นาย ก ประสงคทําพินัยกรรมใหมเพื่อใหแบงปนมรดกดังนี้
1.ใหดช. ค บุตรชายไดรับอสังหาริมทรัพยทั้งหมด
2.ใหดญ. ง บุตรหญิงไดรับเงิน 10,000 บาท
3.ใหนาง ข ไดรับทรัพยมรดกที่เหลือทั้งหมด
4. ใหนาง ง.เปนผูจัดการมรดกจัดการศพและปกครองทรัพยไวเพื่อเด็กชาย ค และเด็กหญิง ง
ใหทานรางพินัยกรรมขึ้นเพื่อใหนาย ก และพยานลงลายมือชื่อ
ธงคําตอบ
เขียนขึ้นโดยอาศัยหลัก ในป.พ.พ.มาตรา 1656 และ 1687
หลักในการพิจารณาคําตอบ
1.เปนพินัยกรรมที่สมบูรณ
2.ไมมีขอความฟุมเฟอย
3.ขอกําหนดพินัยกรรมใหเปนไปตามที่ตั้งไวในปญหา
4.พินัยกรรมไดรางขึ้นเพื่อความรอบคอบตามสมควรเพื่อขจัดปญหาอาจกระทบกระเทือนความสมบูรณแหงพินัย
กรรม (ขอสอบเนติฯ พ.ศ.2492)
ขอ 3. นายใชสมรสกับนส.ชอยโดยทําสัญญากอนสมรสไววาทรัพยสินทุกอยางที่ฝายใดมีมากอนสมรสให
เปนสินสวนตัวของฝายนั้น ปรากฏวานส.ชอยมีที่ดินแปลงหนึ่งกอนสมรส ครั้นสมรสกันแลวและนางชอยตกลง
กันฉีกสัญญากอนสมรสนั้นทิ้งเสีย แลวโอนใสชื่อนายใชเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกลาวแลวแทนนางชอย
ภายหลังนายใชขายกรรมสิทธิ์ที่ดินนั้นใหแกนายชาญไปดังนี้นางชอยขะขอใหทําลายนิติกรรมการขายนี้ไดหรือ
ไม
ธงคําตอบ
สัญญากอนสมรสที่กําหนดใหที่ดินเปนสินสวนตัวของนางชอย จะเปลี่ยนแปลงมิได เวนแตจะไดรับอนุญาต
จากศาล การฉีกหนังสือสัญญาจึงไมมีผลเปลี่ยนแปลงสัญญากอนสมรส การที่นางชอยโอนที่ดินใสชื่อนายใช
สามีนั้นเปนสัญญาระหวางสมรสซึ่งนางชอยอาจบอกลางได แตนิติกรรมการขายระหวางนายใชกับนายชาญนั้น
นางชอยจะขอใหทําลายไดก็ตอเมื่อปรากฏวานายชาญรับซื้อไวโดยไมสุจริต (ป.พ.พ. ม.1459 1464 37)
ขอสอบเนติฯสมัยที่ 3
ขอ 4. เด็กเกิดกอนสมรสจะเปนบุตรชอบดวยกฏหมายของบิดาไดในกรณีใดบางและเปนบุตรชอบดวยกฏ
หมายของมารดาหรือไม
ธงคําตอบ
เปนบุตรชอบ ดวยกฏหมายของบิดาในกรณีใดกรณีหนึ่งดังตอไปนี้
1.บิดามารดาไดสมรสกัน
2.บิดาไดจดทะเบียนวาเปนบุตร
3.ศาลพิพากษาวาเปนบุตรชอบดวยกฏหมายของมารดาเสมอ( ป.พ.พ.ม.1525 1526)
(ขอสอบเนติ สมัยที่ 3)
ขอ 5. นาย กทําพินัยกรรมแบบมีพยานลุกนั่งยกสมบัติของตนทั้งหมดใหนาย ข กับนาย ค คนละครึ่งใน
พินัยกรรมมีพยานลงลายมือชื่อ 3 คนคนหนึ่งเปนภรรยาของนาย ขผูรับพินัยกรรม นาย ก ตาย จ บุตรคนเดียว
ของนาย ก ไมยอมปฏิบัติตามคําสั่งในพินัยกรรมใหวินิจฉัยสิทธิของ ข ค และ จ.วามีอยูหริอไมอยางไร
ธงคําตอบ
คูสมรสของพยานในพินัยกรรมจะเปนผูรับทรัพยตามพินัยกรรมไมได เพราะฉะนั้นจึงเปนโมฆะเฉพาะสวนที่
เกี่ยวกับการยกทรัพยสมบัติใหแก ข ทรัพยสมบัติสวนนี้จึงเปนมรดกไมมีพินัยกรรมตกไดแกทายาทโดยธรรม
ของกคือ จ สวน ค มีสิทธิไดรับทรัพยมรดกตามพินัยกรรม ( ป.พ.พ.มาตรา 1620 1653 1699 1705)
(เนติ พ.ศ.2493)
ขอ 6.เด็กหญิงสา ไดจดทะเบียนสมรสกับนายแสงและอยูรวมกับนายแสง จนมีครรภ ตอมาปรากฏวา
ขณะทําการสมรสนั้นเด็กหญิงสา อายุเพียง 14 ปเทานั้น แตบิดามารดาของเด็กหญิงสา ก็ยินยอมไมคัดคานการ
สมรสนั้น การสมรสของเด็กหญิงสาเปนการสมบูรณตามกฏหมายหรือไม
ธงคําตอบ
การสมรสของเด็กหญิงสาผิดบทบัญญัติแหงป.พ.พ.มาตรา1445 (1) โดยปกติอาจถูกเพิกถอนได แตเมื่อ
ปรากฏวาเด็กหญิงสา มีครรภกับนายแสงกอนเด็กหญิงสามีอายุครบกําหนดตองถือวาการสมรสของเด็กหญิงสา
สมบูรณมาแตเวลาสมรส (ป.พ.พ. ม.1489)( เนติฯ สมัยที่ 4)
ขอ 7. (ก)ในกรณีที่ศาลพิพากษาวาบุตรนอกสมรสเปนบุตรที่ชอบดวยกฏหมายการเปนบุตรชอบดวยกฏ
หมายนั้นจะมีผลตั้งแตเมื่อใด
(ข) บุตรนอกสมรสซึ่งมีหลักฐานฟงไดวาขณะบิดามีชีวิตอยูบิดาไดรับรองตอคนทั่วๆไปวาเปนบุตรแตศาล
เพิ่งพิพากษาวาเปนบุตรชอบดวยกฏหมายภายหลังเมื่อบิดาถึงแกกรรมไปแลวบุตรคนนี้จะไดรับมรดกบิดาได
หรือไม
ธงคําตอบ
(ก) การเปนบุตรชอบดวยกฏหมายตองนับแตวันที่คําพิพากษาถึงที่สุดตามป.พ.พ.มาตรา 1530 (3) และฏี
กาที่ 210/2491
(ข) ถามีหลักฐานฟงไดวาบิดาไดรับรองอยางในปญหานี้ยอมมีผลยอนหลังถึงวันเกิดของบุตรบุตรจึงมี
สิทธิรับมรดกของบิดาได ป.พ.พ.มาตรา1524และ1627 คําพิพากษาฏ.ที่446/2493
ขอ 8.นายแดงมีภรรยาโดยกฏหมายอยูแลวแตภายหลังรางกับภรรยาเดิมไปทําการสมรสกับหญิงอื่น
โดยจดทะเบียนสมรสกับหญิงนั้นตอพนักงานเจาหนาที่และเกิดบุตรกับหญิงนั้น ภายหลังเมื่อนายแดงตาย
แลวภริยาเดิมไดฟองขอใหศาลสั่งเพิกถอนการสมรสระหวางนายแดงกับหญิงคนที่กลาวนั้น ศาลมีคําสั่ง
เพิกถอนโดยพิพากษาวาการสมรสนั้นเปนโมฆะ ใหทานวินิจฉัยวาบุตรนายแดงซึ่งเกิดดวยหญิงที่ถูกเพิก
ถอนการสมรสนั้นเปนบุตรที่ชอบดวยกฏหมายของนายแดงหรือไมโดยยกกฏหมายประกอบ
ธงคําตอบ
การสมรสของนายแดงขัดตอป.พ.พ.มาตรา1445(3)เปนโมฆะตามป.พ.พ.มาตรา1490 จึงไมใชกรณีที่การ
สมรสอาจจะถูกเพิกถอนได กรณีไมเขาป.พ.พ.มาตรา 1532 บุตรของนายแดงไมใชบุตรชอบดวยกฏหมาย
(ขอสอบเนติฯสมัยที่6)
ขอ 9. นายแดงมีนิสัยชอบเสพสุราทําการสมรสกับนางสาวขาวกอนทําการสมรสนายแดงไดทําสัญญาให
ไวแกนางสาวขาววาจะเลิกเสพสุราอยางเด็ดขาด ถาเสพสุราอีกใหภรรยาฟองหยาไดครั้นทําการสมรสกันแลว
นายแดงยังคงเสพสุราอยูดังเดิมภริยานายแดงจะอาศัยสัญญากอนสมรสนั้นฟองหยาไดหรือไม หากทําสัญญา
กันดั่งนี้ภายหลังทําการสมรส จะมีผลแตกตางกันอยางไรหรือไม
ธงคําตอบ ตามป.พ.พ.พ.มาตรา1458 สัญญากอนสมรสทําไดแตในเรื่องทรัพยสินและการที่นายแดง
ผิดสัญญากอนสมรสที่จะเลิกเสพสุราก็ไมเปนเหตุฟองหยาอยางใดอยางหนึ่งตามป.พ.พ.มาตรา1500
ภริยานายแดงจะอาศัยเปนเหตุฟองหยาไมได แตถาสัญญาดังนี้ทํากันภายหลังสมรสเปนทัณฑบน
ภริยานายแดงยอมถือเปนเหตุที่จะหยาไดตามป.พ.พ.มาตรา 1500(7) ( ขอสอบเนติฯ สมัยที่ 7)
ขอ 10. นายขาวซึ่งกําพราบิดามารดาสมรสกับนางเขียวกอนใชป.พ..พ.บรรพ5 เกิดบุตรดวยกัน 3 คน ภาย
หลังเมื่อใช ป.พ.พ.บรรพ 5แลว นางเขียวตาย นายขาวสมรสกับนางเหลืองไมมีบุตรดวยกัน ตอมานายขาวตายมี
ที่ดินซึ่งเปนทรัพยมรดกอันเปนสินสมรสระหวางนางเขียวกับนายขาวอยูหนึ่งแปลง และเปนสินสมรสระหวางนาย
ขาวกับนางเหลืองอีกหนี่งแปลงดังนี้ในกรณีทุกฝายมีสินเดิมจะแบงที่ดินสองแปลงนั้นเปนมรดกของนายขาวแก
ทายาทอยางใด
ธงคําตอบ แบงที่ดินที่เปนสินสมรสระหวางนายขาวกับนางเขียวออกเปน 3 สวนเปนสินสมรสสวนของนาง
เขียวเสีย 1 สวน ซึ่งตกไดแกทายาทของนางเขียวอีกสองสวนเปนสินสมรสสวนของนายขาวตกเปนมรดกของขาว
และแบงที่ดินที่เปนสินสมรสระหวางนายขาวกับนางเหลืองออกเปนสองสวน เปนสินสมรสสวนของนางเหลือง 1
สวนเปนสินสมรสสวนของนายขาว1สวนตกเปนมรดกของนายขาว ที่ดินสวนที่เปนมรดกของนายขาวในที่ดินทั้ง
สองแปลงมารวมกันแลวแบงเปน 4 สวน ไดแกบุตรนายขาว 3 คนและนางเหลือง คนละ 1 สวนเทาๆกันทั้งนี้เมื่อ
สินเดิมถาขาด ไดหักสินสมรสแลวทั้งสองกรณี (พรบ.ใหใชบทบัญญัติบรรพ 5 แหงป.พ.พ.พ.ศ.2477 มาตรา4
(1)กฏหมายลักษณะผัวเมียบทที่ 68 ) ป.พ.พ.มาตรา 1517 1629(1)และ1635 (1) ขอสอบเนติฯสมัยที่ 8
ขอ11.นายดําและนางแดงซึ่งมิใชเปนสามีภรรยากันตามกฏหมายไดสมัครใจไดเสียกันและเกิดบุตรดวยกัน
คนหนึ่งแตไมมีผูอื่นทราบวาเด็กนั้นเปนบุตรของนายดํา ตอมานายดําไมใหเงินคาเลี้ยงดูบุตรนั้น นางแดงขอให
นายดํารับรองบุตรนั้นวาเปนบุตรชอบดวยกฏหมายของนายดํา นายดําปฏิเสธ นางแดงจะมีทางบังคับใหนายดํา
รับรองบุตรนั้นตามกฏหมายบางหรือไม
ธงคําตอบ ไมมี เพราะกรณิไมเขาเกณฑที่จะฟองขอใหรับรองบุตรไดตามบทบัญญัติแหงป.พ.พ.มาตรา 1529
(คําพิพากษาฏีกาที่ 368/2499) ขอสอบเนติฯ สมัยที่ 9

ขอ 12. ชายมีสินเดิมคือเงิน10,000 บาท เรือ 1 ลํา ราคา 2,000 บาท หญิงมีทองแทงหนัก 20 บาท เวลานั้น
ราคา บาทละ 200 บาท ในระหวางสมรส ตัดทองสินเดิมของหญิงไปขายหนัก 5 บาท ราคาบาทละ 400 บาท
และหญิงเอาไฟเผาเรือสินเดิมของชายไหมหมดไป ในเวลาขาดจากการสมรสมีสินบริคณห คือเงิน 4,000 บาท
กับทองของหญิงที่เหลือจากขาย ในเวลาขาดจากการสมรสทองราคาบาทละ 600 บาท ให ทานแบงทรัพยรายนี้
ธงคําตอบ
ตองคิดวาฝายใดมีสินเดิมเทาใดเสียกอน
ชายมีสินเดิมคือเงิน 10,000 บาท เรือราคา 2,000 บาท รวม 12,000 บาท หญิงมีทองแทงเปนสินเดิมตองคิด
ราคาราคาดังนี้ คือ ตัดขายไปหนัก 5 บาท ราคาบาทละ 400 บาท ตองคิดเปนราคาสินเดิมเทาที่ขายไปคือ
2,000 บาท ทองที่เหลือตองคิดราคาปจจุบันคือหนัก 15 บาท บาทละ 600 บาท เปนเงิน 9,000บาท ฉะนั้น หญิง
มีสินเดิมรวมราคา 11,000 บาท
หญิงเผาเรือสินเดิมของชายตองเอาทรัพยสวนของหญิงชดใชสินเดิมของชายเต็มจํานวนคือ 2,000 บาท
ในการเอามาชดใชนี้ตองเอาเขามาเพื่อคิดแบงเฉลี่ยชดใชสินเดิมที่ขาดเสียกอนและจะหัก เอาจากทองของหญิง
ไปชดใชทีเดียวไมไดเพราะทองที่เหลือทั้งหมดจะตองคิดชดใชสินเดิมที่ขาดเสียกอนฉะนั้นในการคํานวนจึงตอง
เอาราคาเรือสินเดิมเขามาเปนกองกลางรวมกับทรัพยที่เหลือแลวคิดเฉลี่ยชดใชสินเดิมแตละฝาย ฉะนั้น ชายได
รับเงินใชสินเดิมดังนี้ (4000+9000+2000) x1200 หาร 23000
= 15000 x 12000 หาร 23000
= 7826 2/23 บาท
ฉะนั้น เงิน 4,000 บาท ชดใชสินเดิมใหชายแลว ชายไดรับชดใชจากทองสินเดิมอีกราคา 3826 2/22 บาท
เพราะฉะนั้นหญิงไดรับสวนแบงซึ่งเปนทองคินไปราคา 9,000 บาท – 382 2/23 บาท = 5173 21/32 บาท
(ขอสอบ เนติฯ สมัยที่ 10 )
ขอ13.นายอาทิตยกับนางจันทราเปนสามีภรรยากันตามกฏหมายนายอาทิตยไปทํางานอยูหัวเมืองสวนนาง
จันทราอยูบานที่กรุงเทพฯนางจันทรามีบุตรคนหนึ่งซึ่งชาวบานตางเขาใจวาเกิดจากชูชื่อนายแจงทั้งนายอาทิตย
และนายแจงเคยพูดอยูเสมอวาเด็กคนนี้เปนบุตรนายแจงไมใชบุตรของนายอาทิตยตอมานายอาทิตยตาย นาง
จันทราและบุตรมีสิทธิไดรับมรดกนายอาทิตยหรือไม
ธงคําตอบ นางจันทรายังเปนภริยาตามกฏหมายของนายอาทิตยอยูยังไมขาดจากการสมรสจึงเปนทายาท
โดยธรรมมีสิทธิไดรับมรดกนายอาทิตยในฐานะคูสมรสตามป.พ.พ.มาตรา1629 วรรคสุดทาย
สวนบุตรนั้นเกิดขณะนางจันทรามารดาเปนภริยานายอาทิตยตามป.พ.พ.1519 ถือวาเปนบุตรของนายอาทิตย
ตามกฏหมาย แตเพียงคนพูดวาไมใชบุตรของนายอาทิตยเทานั้นไมมีใครฟองคดีตอศาลไมรับเปนบุตร
ตามป.พ.พ.มาตรา 1520-1523 จึงเปนบุตรตามกฏหมายของนายอาทิตยอยูและเปนทายาทโดยธรรมมีสิทธิได
รับมรดกนายอาทิตยฐานเปนผูสืบสันดานตามป.พ.พ.มาตรา 1629(1) (ขอสอบเนติฯสมัยที่10)
ขอ14. นายปลั่งทําพินัยกรรมยกที่บานใหแกนายแดงซึ่งเปนบุตรและไดเขียนในพินัยกรรมไวดวยวาหามมิให
นายแดงโอนขายที่บานนี้เมื่อนายแดงตายใหตกแกบุตรของนายแดงถานายแดงละเมิดคําสั่งใหบุตรของนายแดง
มีสิทธิเรียกรองเอาที่บานไดทันที ตอมานายปลั่งตายแลวอีก 2 ป ตอมานายแดงไดโอน ขายบานนี้ใหแกนายสิทธิ
ดังนี้บุตรของนายแดงจะมีสิทธิเรียกรองที่บานนี้จากนายสิทธิไดหรือไม
ธงคําตอบ บุตรของนายแดงเรียกรองไมได ขอกําหนดหามนายแดงโอนนั้นขัดตอวรรค 2 แหงป.พ.พ.มาตรา
1700 ตองถือวาขอกําหนดหามโอนไมมี (ขอสอบเนติฯสมัยที่ 11)
ขอ15. นาย ก ถึงแกกรรมป2501 ในขณะถึงแกกรรมนั้นปรากฏวา นาย กมีภริยาที่ยังมีชิวิต อยู 3 คนคือ
ภริยาคนที่ 1ไดแตงงานกับนาย ก เมื่อกอนประกาศใชป.พ.พ.บรรพ 5 ภริยาที่2 นาย กไดเปนภริยาเมื่อประกาศ
ใช ป.พ.พ.บรรพ 5 แลวและไมไดจดทะเบียนสมรสกันสวนภริยาคนที่ 3 ไดกับนาย ก และจดทะเบียนสมรสกับ
นาย กเมื่อกอนนาย ก ตาย 7ป นาย ก มีบุตรกับภริยาและบุตรทุกคนเทาเทียมกันบุตรซึ่งเกิดกับภริยาทั้งสามคน
นั้น นาย ก ไดไปจดทะเบียนสํามะโนครัววาเปนบุตรของนาย ก และเลี้ยงดูตลอดจนแนะนําตอเพื่อนฝูงวาเปน
บุตรของนาย กเหมือนกันดังนี้เมื่อนาย ก ตาย ถาตางคนไมฟองรองกัน ภริยาคนไหนบางและบุตรของภริยาคน
ไหนบางที่มีสิทธิจะไดรับมรดกของนาย ก
ธงคําตอบ ภริยาคนที่ 1 เปนภริยาที่ชอบดวยกฏหมายมีสิทธิไดรับมรดกนาย ก
ภริยาคนที่ 2 เปนภริยาที่ไมชอบดวยกฏหมาย ไมมีสิทธิรับมรดก
ภริยาคนที่ 3 เปนภริยาที่จดทะเบียนสมรสโดยที่นายกมีภริยาที่ชอบดวยกฏหมายอยูแลวผิดเงื่อนไข ขอ 3 ของ
มาตรา 1445 เปนโมฆะตามม.1590 แตไมมีใครอางไดวาการสมรสเปนโมฆะนอกจากศาลจะพิพากษา(ป.พ.
พ.ม.1488) เมื่อตางคนตางไมฟองรองกัน ภริยาคนที่ 3 ก็ยังเปนภริยาที่ชอบดวยกฏหมายอยูจึงมีสิทธิรับมรดก
นาย ก บุตรของภริยาคนที่ 1 เปนบุตรที่ชอบดวยกฏหมายมีสิทธิรับมรดกนาย ก
บุตรภริยาคนที่ 2 เปนบุตรที่ไมชอบดวยกฏหมายแตบิดารับรอง มีสิทธิรับมรดก นาย ก ตาม ป.พ.พ. มาตรา1627
บุตรภริยาคนที่ 3 เปนบุตรชอบดวยกฏหมายเพราะเกิดระหวางสมรส มีสิทธิรับมรดก นาย ก
( ขอสอบเนติฯ สมัยที่ 11)
ขอ 16. นายแดงจับนายขาวไปขังและใชปนขูบังคับใหนายขาวเขียนพินัยกรรมยกทรัพยใหแกนายเขียวทั้ง
หมด นายขาวกลัวตายจึงยอมทําพินัยกรรมยกทรัพยใหแกนายเขียวทั้งหมดและมอบหนังสือใหแกนายแดงไป
เมื่อนายแดงปลอยตวนายขาว นายขาวก็ไปแจงความตอเจาพนักงาน เจาพนักงาน ตามจับนายแดงไมได และ
นายขาว ไดบอกแกนายเขียววาตนไมยอมเปนไปตามหนังสือพินัยกรรมที่เขียนมอบแกนายแดง เพราะตนทําไป
โดยถูกบังคับขูเข็ญตอมาอีก 2 ปนายขาวตายนายเขียวไดรับหนังสือจากนายแดงดังนี้นายเขียวจะฟองเรียกรอง
ทรัพยของนายขาวทั้งหมดจากทายาทของนายขาวไดหรือไม
ธงคําตอบ นายเขียวฟองเรียกทรัพยมรดกทั้งหมดจากทายาทของนายขาวได เพราะแมจะทําโดยถูกขมขูแตมิ
ไดมีการเพิกถอนพินัยกรรมนั้นตามป.พ.พ.ม.1693 , 1708 พินัยกรรมที่นายขาวทําไวจึงยังคงมีผลตามกฏหมาย
(ขอสอบเนติฯสมัยที่ 12 )
ขอ 17. นายชูทําหนังสือหยาและจดทะเบียนการหยากับนางชิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2500 วันที่ 1
กุมภาพันธ 2500 นางชิด จดทะเบียนสมรสกับนายแดง วันที่ 1 กันยายน 2500 นางชิดคลอดบุตร ใหทานชี้แจง
วาบุตรที่เกิดจากนางชิดเปนบุตรใคร
ธงคําตอบ เปนบุตรของนายชู ตาม ป.พ.พ.ม.1492 (ขอสอบเนติฯ สมัยที่ 12)
ขอ 18.ในขณะจดทะเบียนสมรส ชายมีเงิน 2 พันบาท กับปนราคา หนึ่งพันบาท หญิงมีเงิน หนึ่งพันบาท
กับเครื่องทองรูปพรรณราคา 5 พันบาท เครื่องทองรูปพรรณนั้นหญิงปกปดมิใหสามีรูและฝากมารดาไว หลังจาก
สมรสแลว 5 ป เครื่องทองรูปพรรณที่หญิงฝากมารดาไวนั้นถูกคนรายลักไปหมดหญิงจึงบอกใหสามีรูสวนชายให
ปนไปทําการปลนแลวถูกยิงจนตกน้ําหายไป เวลาขาดจากการสมรสมีทรัพยระหวางสามีภรรยาคูนี้คือเงิน
1,000,บาท เทานั้น ใหทานแบงทรัพยรายนี้
ธงคําตอบ ทรัพยทีมีกอนสมรสเปนสินเดิมของแตละฝาย แมหญิงจะปกปดมิใหสามีรูและฝากมารดาไวก็ตาม
สินเดิมสูญหมดทั้งสองฝายโดยไมมีฝายใดจําหนายเพื่อประโยชนของตนฝายเดียวหรือจงใจทําใหสูญหายไปจึง
เฉลี่ยเงิน1,000 บาทใหแกชายและหญิงตามสวนของสินเดิม (ป.พ.พ.ม.1463 1513 1514)ขอสอบเนติฯสมัยที่13
ขอ19. นายชิต ชูสกุล ทําพินัยกรรม ไวดังนี้
1 มกราคม 2500
ถาขาพเจาถึงแกกรรมใหทรัพยมรดกของขาพเจาตกไดแกบุตรคนหัวป 2สวน บุตรคนอื่นคนละ 1 สวน
ลงชื่อ นาย ชิต ชูสกุล
ผูทําพินัยกรรม
ลงชื่อ นายเชิด ชูสกุล
พยานและผูเขียน
ลงชื่อ นาย ขาว รักสกุล พยาน
เมื่อนายชิต ชูสกุลตาย ปรากฏวามีมรดก อยู 6,000บาท มีภริยา 1 คนมีบุตร 3คน นายเชิด ชูสกุลเปนบุตร
คนหัวปของนายชิต ชูสกุล ใหทานแบงมรดกรายการนี้
ธงคําตอบ นายเชิด ชูสกุล เปนพยานผูเขียนจึงรับทรัพยมรดกตามพินัยกรรมไมได (ป.พ.พ.มาตรา
1653 1705 )
แตพินัยกรรมสวนที่ยกใหผูอื่นยังคงสมบูรณ จึงแบงมรดก 6,000 บาท ใหบุตรอื่น 2 คน คนละ 1,500บาท เหลือ
3,000 บาท แบงใหทายาทโดยธรรม คือ ภริยาและบุตร 3 คน ใหคนละ 750 บาท ขอสอบเนติ สมัยที่13
ขอ20.โจทกสมรสกับนางสมรบุตรสาวของจําเลย โจทกฟองหาวาจําเลยบุกรุกที่นาซึ่งเปนสินเดิมของนางสมร
จําเลยตอสูวาโจทกไมมีอํานาจฟองเพราะที่นาตามที่โจทกอางเปนสินเดิมของนางสมรจําเลยเปนบิดาของนาง
สมร ฟองของโจทกจึงเปนการฟองบุพการีตองหามตามกฏหมาย คดีนี้โจทกจะมีอํานาจฟองหรือไม
ธงคําตอบ โจทกมีอํานาจฟองจําเลยได ไมเปนฟองอันตองหามตามป.พ.พ.มาตรา1534 เพราะจําเลยไมไดเปน
บุพการีของโจทกที่นาพิพาทเปนสินเดิมของนางสมรจึงเปนสินบริคณหระพวางโจทกกับนางสมร โจทกเปนสามี
นางสมรเปนผูมีอํานาจฟองคดีเกี่ยวกับทรัพยสินบริคณหตามป.พ.พ.มาตรา 1469 (ขอสอบเนติฯสมัยที่ 15 )
ขอ 21. นายทองกับนางสุวรรณีเปนบิดามารดาของนส. วิไล อายุ 17 ป ไดรับหมั้นนส.วิไลไวจากนายเลิศเปน
เงินสองหมื่นบาทโดยนส.วิไลไมทราบครั้นนายทองนางสุวรรณีกับนายเลิศกําหนดวันแตงงานและแจงใหนส.วิไล
ทราบ นส.วิไลไมยอมแตงงานระหวางนี้นายเลิศไดจัดการซื้อเครื่องเรือนเพื่อเตรียมแตงงานสิ้นเงินไปหนึ่งหมื่น
บาทและจัดหาซื้อสุรากับเครื่องประกอบอาหารอยางดีไวเลี้ยงแขกในวันแตงงานสิ้นเงินไปหนึ่งหมื่นบาทครั้นถึง
วันแตงงานนส.วิไลหนีไปอยูกินฉันทสามีภรรยากับนายรส ซึ่งรักใครกันมากอน โดยนายรสทราบอยูแลววาบิดา
มารดานส.วิไลหมั้นนส.วิไลไวกับนายเลิศ นายเลิศจึงฟองนายทองนางสุวรรณีนส.วิไลและนายรสเปนจําเลยให
คืนของหมั้นใหใชเงินที่จายไปเปนคาเครื่องเรือนและคาสุราอาหารโดยเฉพาะนายรสใหใชคาทดแทนที่ลวง
เกินนส.วิไลในทางประเวณีอีกหนึ่งหมื่นบาทดวยใหทานวินิจฉัยความผิดของจําเลยทั้ง 4 คน
ธงคําตอบ สัญญาหมั้นผูกพันนายทอง นางสุวรรณี แตไมผูกพันนส.วิไลเพราะนส.วิไลไมไดตกลงยิน
ยอมดวยแมจะมีอายุเพียง 17 ป แตเปนการที่ตองทําเองเฉพาะตัวตามป.พ.พ.มาตรา23 เมื่อนส.วิไลไม
ตองผูกพันตามสัญญานั้น นส.วิไลและนายรสยอมไมตองรับผิดตามที่โจทกเรียกรองทั้งสิ้น
สวนนายทองนางสุวรรณี เปนฝายผิดสัญญาหมั้น ตองคืนของหมั้นและใชเงินที่ไดจายไปเปนคาเครื่อง
เรือน ซึ่งเปนคาใชจายโดยสุจริตเนื่องในการเตรียมการสมรส (ปพพ.มาตรา 1439 (2) แตไมตองใชคาสุราอาหาร
เพราะเปนคาใชจายในการแตงงานไมใชคาใชจายในการเตรียมการสมรส (ขอสอบเนติฯสมัยที่ 16)
ขอ22. นางประภาศรีตั้งครรภไมปรากฏบิดา นายปอง พี่ชายรวมบิดาของนางประภาศรีเกรงนางประภาศรี
จะอับอายจึงนํานางประภาศรีไปจดทะเบียนสมรสโดยแจงเท็จแกเจาพนักงานวาไมไดเปนญาติกันเจาพนักงาน
หลงเชื่อก็จดทะเบียนใหครั้นนางประภาศรีคลอดบุตรเปนชายชื่อกรุณานายปองไดนําไปจดทะเบียนเปนบุตร
ตอมานางประภาศรีคลอดบุตรกับนายปองอีก 1 คนเปนหญิงชื่อปราณีนอกจากนั้นนายปองยังขอเด็กชายชื่อบุญ
จากโรงพยาบาลมาเลี้ยงและจดทะเบียนเปนบุตรบุญธรรมครอบครัวนายปองคงดํารงอยูเชนนี้จนกระทั่งนายบุญ
เติบโตและทําการสมรสเกิดบุตรชาย 1 คนชื่อแบน แลวนายบุญก็ถึงแกความตายนายบุญตายแลว 1 ปนายปอง
ก็ถึงแกความตาย เมื่อแบงทรัพยสินระหวางสามีภรรยาแลวนายปองมีทรัพยมรดกทั้งสิ้นแปดหมื่นบาท
ใหวินิจฉัยวาใครบางมีสิทธิรับมรดกของนายปองและเปนจํานวนเทาใด
ธงคําตอบ แมกรุณาจะไมใชบุตรนายปองแตนายปองนําไปจดทะเบียนเปนบุตรและไมมีผูใดฟองขอใหถอนการ
จดทะเบียนนั้น ก็ตองถือวาเปนบุตรนายปองโดยชอบดวยกฏหมายตามทะเบียนจึงเปนทายาทมีสิทธิรับมรดก
เชนเดียวกับปราณี สวนบุญซึ่งเปนบุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกในฐานะเปนผูสืบสันดานเหมือนกับบุตรที่ชอบ
ดวยกฏหมาย(ป.พ.พ.มาตรา 1627 ประกอบดวยมาตรา 1629) เมื่อบุญตายไปกอนเจามรดกแบนจึงเปนผูสืบ
สันดานของบุญมีสิทธิรับมรดกแทนที่ตามป.พ.พ.มาตรา1639 (คําพิพากษา ฏ.ที่ 290/2494 )
ฉะนั้น ผูเปนทายาทมีสิทธิรับมรดกในเรื่องนี้คือ นางประภาศรี กรุณา ปราณี และแบน ซึ่งมีสิทธิไดคนละเทาๆกัน
คนละ 20,000 บาท (ขอสอบ เนติฯสมัยที่ 16)
ขอ23. นายเทพจดทะเบียนสมรสกับนางกินรี เกิดบุตรดวยกันคนหนึ่งคือ เด็กชายนอย ตอนายตอมาไดจด
ทะเบียนสมรสกับนางเทวีอีกผูผูหนึ่งภายหลังนายเทพ กับนางกินรีจดทะเบียนหยาขาดจากกันและแบงทรัพยสิน
กันนายเทพไดรับสวนแบงคือที่ดินหนึ่งแปลง หลังจากรับโอนที่ดินแปลงนั้นมาแลวนายเทพไดโอนตอไปใหเด็ก
ชายนอยโดยเสนหาโดยไมไดรับความยินยอมจากนางเทวี ดังนี้ นางเทวีจะขอใหเพิกถอนการใหนั้นไดหรือไม
ธงคําตอบ ทั้งนางกินรีและนางเทวีเปนภริยาที่ชอบดวยกกหมายของนายเทพเพราะแมจะขัดดวยป.พ.พ.มาตรา
1445 (3) แตใครจะกลาวอางมิไดนอกจากศาลพิพากษา (ม.1488) เมื่อนายเทพรับสวนแบงที่ดินมายอมเปนสิน
สมรสและสินบริคณหระหวางนายเทพกับนางเทวีตามมาตรา 1466 ซึ่งนายเทพมีอํานาจจําหนายตามมาตรา
1473 การเอาไปโอน ใหเด็กชายนอยซึ่งเปนบุตรใหในทางศีลธรรมอันดี แมเด็กชายนอยจะไมใชบุตรของนางเทวี
ก็ตาม (มาตรา 1473(3) และเทียบฏีกาที่524/2506 ) ฉะนั้นการใหยอมสมบูรณเพิกถอนไมได (เนติฯสมัยที่ 17 )
ขอ24.นายสายมีบุตร 3 คน คือนายสอน นางสําอางค และนายสุวรรณ บุตรนายสายทั้งสามคนนี้ตางมีบุตร
ชอบดวยกฏหมายรายละ 1 คน นายสายทําพินัยกรรมไววายกทรัพยสินที่มีอยูทั้งหมดคือเงินสด 3 หมื่นบาทให
แกนางสําอางคและนายสุวรรณนางสําอางคตายกอนนายสายตอมานายสายถูกนายสุวรรณวางยาพิษแตไมตาย
ศาลพิพากษาถึงที่สุกวานายสุวรรณพยายามฆานายสายโดยเจตนาและมิชอบดวยกฏหมาย หลังจากนั้น 1
เดือน นายสายจึงปวยเปนไขถึงแกความตายดังนี้ใหทานแบงมรดกนายสาย
ธงคําตอบ พินัยกรรมในสวนที่เกี่ยวกับนางสําอางคตกไปเพราะตายกอนเจามรดก(ป.พ.พ.มาตรา
1698 (1)
นายสุวรรณถูกกําจัดไมใหรับมรดกในฐานไมสมควรตามม.1606(1) พินัยกรรมที่เกี่ยวกับนายสุวรรณไรผลและรับ
มรดกแทนที่ในฐานะผูรับพินัยกรรมไมได(มาตรา 1642) เปนอันตองนํามาแบงแกทายาทโดยธรรมตามม.1620
1699 นายสอนซึ่งเดิมถูกตัดไมใหรับมรดกตามม.1608 วรรคทายกลับมารับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมได
บุตรนางสําอางครับมรดกแทนที่ไดตามมาตรา 1639 นายสุวรรณยังคงถูกกําจัดไมใหรับมรดกแตบุตรรับมรดก
แทนที่ไดตามม1606(1) 1639 และไดสวนแบงคนละเทาๆกัน ฉะนั้นมรดกรายนี้ แบงใหนายสอน บุตรนาง
สําอางคและบุตรนายสุวรรณคนละหนึ่งหมื่นบาท
ขอ 25. นายกิจกับนางกรรณ จดทะเบียนสมรสกันเมื่อพ.ศ.2500 โดยทั้งสองฝายมีแหวนเพชรราคา 1 หมื่น
บาท คนละ 1 วงเปนสินเดิม กอนจดทะเบียนสมรสทั้งสองฝายไดทําหนังสือสัญญากันไวหนึ่งฉบับลงลายมือชื่อ
ทั้งสองฝายและมีพยานสองคนความวาใหนางกรรณมีอํานาจจัดการสินบริคณหแตผูเดียวและทรัพยสินไดมา
ระหวางสมรสใหตกเปนกรรมสิทธิของนางกรรณแตเพียงผูเดียว ครั้นสมรสกันแลว ทั้งสองฝายไดทําสัญญากัน
ขึ้นอีกฉบับหนึ่งความวาทรัพยสินที่ไดมาระหวางสมรสตองตกเปนของทั้งสองฝายรวมกันแตนายกิจยอมยกแหวน
เพชรซึ่งเปนสินเดิมของตนใหเปนกรรมสิทธิของนางกรรณ ระหวางสมรสนายกิจซื้อแหวนเพชรมาอีก 1 วงราคา 2
หมื่นบาท ตอมานายกิจกับนางกรรณหยากัน ใหทานแบงทรัพยสินของสามีภรรยาดังกลาว
ธงคําตอบ สัญญาที่ทั้งสองทําไวกอนสมรส (ป.พ.พ.ม.1458) วาทรัพยสินที่ไดมาระหวางสมรสใหตกเปนกรรม
สิทธิของนางกรรณ แตผูเดียวขัดตอ ป.พ.พ.มาตรา 1517 อันเปนกฏหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของ
ประชาชน ซึ่งประสงคจะใหเกิดความราบรื่นมั่นคงในครอบครัวเปนโมฆะฉะนั้น การทําสัญญาระหวางเปนสามี
ภรรยากัน(ป.พ.พ.มาตรา1461)ขึ้นใหมจึงไมมีผลเปนการเปลี่ยนแปลงสัญญากอนสมรส(ป.พ.พ.1459 วรรค 2) ที่
จําตองไดรับอนุญาตจากศาลกอนจึงใชไดรวมทั้งขอที่ นายกิจยอมยกแหวนเพชรซึ่งเปนสินเดิมของตนใหเปน
กรรมสิทธิของนางกรรณดวย เพราะการยกทรัพยสินเฉพาะอยางที่ตนมีกรรมสิทธิอยูแลวใหแกอีกฝายหนึ่งยอม
ทําไดฉะนั้นแหวนเพชรสินเดิมของนายกิจจึงตกไดแกนางกรรณและเปนการไดมาระหวางสมรสเปนสินสมรตาม
มาตรา1466 (คําพิพากษาฏ.577/2488) แหวนเพชรที่ซื้อมาใหมก็เปนสินสมรสและคงถือวาทั้งสองฝายมีสินเดิม
ฉะนั้นการแบงตองคืนแหวนสินเดิมใหแกนางกรรณและชักสินเดิมใชสินเดิมใหนายกิจ 1 หมื่นบาท(ป.พ.พ.
มาตรา 1513 )สวนแหวนเพชรสินเดิมของนายกิจ และที่ซื้อมาใหมรวมราคา 3 หมื่นบาทเปนสินสมรส เมื่อคืนสิน
เดิมและชักสินสมรสใชสินเดิมแลวแบงกันคนละครึ่งตามป.พ.พ.มาตรา 1517 คือคนละ 1 หมื่นบาท
(ขอสอบเนติฯสมัยที่ 18 )
ขอ 26. นายเอกนายโทนายตรี และนายจัตวา เปนพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน นายจัตวาถึงแกความ
ตายโดยไมมีทายาทอื่นอีก มีทรัพยมรดกคือที่ดิน 1 แปลงราคา 1 แสนบาท กับทรัพยสินอื่นราคา 3 แสนบาท
นายจัตวาทําพินัยกรรมระบุเฉพาะที่ดินยกใหนายเอกผูเดียวหลังจากนายจัตวาตายแลวนายเอกยักยายทรัพย
มรดกนอกพินัยกรรมไปโดยฉอฉลเปนราคา 5 หมื่นบาท สวนนายโททําหนังสือมอบใหนายตรีไววาไมขอรับมรดก
นายจัตวาทั้งสิ้น ดังนี้ใหทานแบงมรดกนายจัตวา
ธงคําตอบ นายเอกยักยายทรัพยมรดกโดยฉอฉลถูกกําจัดมิใหรับมรดกตามป.พ.พ.ม.1605 วรรค 2 เฉพาะที่ดิน
ตามพินัยกรรมเปนการยกใหฌแพาะสิ่งเฉพาะอยางนายเอกไมถูกจํากัดมิใหรับมรดกที่ดินแปลงนี้ตามป.
พ.พ.มาตรา 1605 วรรค 2 นายเอกมีสวนควรไดรับทรัพยมรดกนอกพินัยกรรมเปนเงิน 1 แสนบาท แตไดยักยาย
ไปโดยฉอฉล 5 หมื่นบาท เปนการยักยายนอยกวาสวนที่ตนจะไดคงถูกกําจัดเฉพาะสวนที่ถูกที่ยักยาย 5หมื่น
บาท ยังมีสิทธิไดรับมรดกนอกพินัยกรรม 5 หมื่นบาท (ป.พ.พ.มาตรา 1605 วรรค แรก)
การที่นายโททําหนังสือมอบใหนายตรี ไววาไมขอรับมรดกนายจัตวาทั้งสิ้นไมเปนการสละมรดกเพราะไมได
เแสดงเจตนาชัดแจงเปนหนังสือมอบไวใหแกพนักงานเจาหนาที่และขอเท็จจริงเพียงเทาที่ตั้งมาในปญหาก็ไมพอ
ฟงวาไดมีการทําสัญญาประนีประนอมยอมความตามป.พ.พ.มาตรา1612จึงยังมีสิทธิรับมรดกอยู การแบงคือ
1. ที่ดินตามพินัยกรรมตกไดแก นายเอก
2. ทรัพยสินนอกพินัยกรรมตกไดแกนายเอก 5 หมื่นบาท
3. ทรัพยมรดกที่เหลืออีก สองแสนหาหมื่นบาทตกไดแกนายโทและนายตรีคนละครึ่ง
(ขอสอบเนติฯสมัยที่18)
ขอ27.นายสิงหอายุ 16 ป จดทะเบียนสมรสกับเด็กหญิงสี อายุ 14 ป โดยบิดามารดาของทั้งสองฝายทํา
หนังสือใหความยินยอมโดยแจงตอนายทะเบียนวาเด็กอายุครบตามกฏหมายแลวเมื่อสมรสแลวนายสิงหไดทํา
สัญญายืมเงินนายสอน 2 หมื่นบาทเพื่อเปนคาใชจายในการพาเด็กหญิสีไปเที่ยวตางประเทศ ครั้นสมรสกันไดหก
เดือนบิดามารดาของนายสิงหกลับใจตองการถอนความยินยอมและบอกลางสัญญายืมที่นายสิงหทําไวกับนาย
สอนทั้งตองการฟองขอใหเพิกถอนการสมรสเพราะเหตุขัดตอเงื่อนไขในเรื่องอายุและความยินยอมของบิดา
มารดาดังนี้ใหแนะนําบิดามารดของนายสิงหวาจะทําตามความตองการนั้นไดเหรือไมเพียงใด
ธงคําตอบ นายสิงหและเด็กหญิงสียังไมบรรลุนิติภาวะเพราะการสมรสเนื่องจากอายุต่ํากวาที่บัญญัติไวในป.พ.
พ.มาตรา 20 ฉะนั้น บิดามารดาจึงยังเปนผูใชอํานาจปกครองและเปนผูแทนโดยชอบธรรมตามมาตรา1541 การ
ทําสัญญายืมโดยไมไดรับการยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมเปนโมฆียะตาม ม.21 บิดามารดาบอกลางได
ตามม.137 แตบิดามารดาจะถอนความยินยอมใหสมรสไมไดตามม1448 และขอใหเพิกถอนการสมรสเพราะเหตุ
ขัดตอเงื่อนไขเรื่องอายุและความยินยอมของบิดามารดาไมไดตามม.1489 (ขอสอบเนติฯสมัยที่ 20)
ขอ 28.นายอาทิตยนางจันทรา แตงงานกันโดยไมจดทะเบียนสมรสเกิดบุตรชื่อนายอังคาร นายอาทิตย
แจงทะเบียนคนเกิดทะเบียนสํามะโนครัว และทะเบียนโรงเรียนวานายอังคารเปนบุตรของตนนายอังคารไดใช
นามสกุลของนายอาทิตยตลอดมาและไดอุปสมบทเปนพระภิกษุอยูวัดแคระหวางอยูในสมณะเพศมีผูนําพระ
พุทธรูปทองคํา 1 องคมาถวายพระอังคารสึกออกมา 6 เดือนแลวไดอุปสมบทอีกณวัดเดิมคราวหลังนี้มีผูนําพระ
พุทธรูปมรกตมาถวายอีก 1 องคตอมาพระอังคารมรณภาพ พระพุทธรูปทั้ง2องคตกอยูที่วัด แคเปนเวลา 2 ป
นายอาทิตยและนางจันทราฟองเรียกพระพุทธรูป 2 องคจากวัดแค วัดแคตอสูวาเปนมรดกของพระภิกษุอังคาร
ซึ่งตกเปนสมบัติของวัดทั้งยกอายุความขึ้นตอสูดวยดังนี้ ในระหวางนายอาทิตยนางจันทราและวัดแคใครมีสิทธิ
ในพระพุทธรูป 2 องคนั้น
ธงคําตอบ การแตงงานระหวางนายอาทิตยกับนางจันทราไมเปนการสมรสที่สมบูรณตามป.พ.พ.มาตรา1449
แตถึงกระนั้นพระภิกษุอังคารก็เปนบุตรชอบดวยกฏหมายของนางจันทรา(ป.พ.พ.ม.1525) แตนายอาทิตยไมใช
ทายาทโดยธรรมของพระภิกษุอังคารไมมีสิทธิรับมรดกของพระภิกษุอังคาร
พระภิกษุที่สึกแลวอุปสมบทใหมเฉพาะทรัพยสินที่ไดมาระหวางอุปสมบทใหมเทานั้นที่จะเปนสมบัติของวัดพระ
พุทธรูปทองคําจึงเปนมรดกตกทอดแกนางจันทรา(ป.พ.พ.ม.1624)แมพระพุทธรูปทองคําจะตกอยูที่วัดแคเปน
เวลา 2 ป แตวัดแคไมใชทายาทของพระภิกษุอังคาร จึงยกอายุความขึ้นตอสูนางจันทราไมได (ป.พ.พ.ม 1755 )
สวนพระพุทธรูปมรกตยอมตกเปนสมบัติของวัดแค(ป.พ.พ.มาตรา1623 ) ฉะนั้น นางจันทรามีสิทธิในพระพุทธรูป
ทองคํา วัดแคมีสิทธิในพระพุทธรูปมรกตนายอาทิตยไมมีสิทธิใดๆในพระพุทธรูป 2 องคเลย (เนติฯสมัยที่19)
ขอ 29. นายเชามีภริยาชอบดวยกฏหมายชื่อนางสาย ญาติอื่นนอกจากนี้ไมมีอีกแลวนายเชาแอบลักลอบ
ไดเสียกับนางบายหญิงรับใชในบานจนนางบายตั้งครรภนางสายรูเรื่องไดดาวานายเชาที่ประพฤตินอกใจ แต
กลับถูกนายเชาตบตีทําราย นางสายระงับอารมณไมอยูไดใชปนยิงนายเชาถึงแกความตายและตนเองตองคํา
พิพากษาถึงที่สุดวาฆานายเชาตายโดยเจตนาโดยบันดาลโทสะ สวนนางบายไดคลอดบุตรชื่อดญ.เย็น ตอมา
หลังจากนายเชาตายได 10 เดือน นางบายในฐานะผูแทนโดยชอบธรรมของดญ.เย็นไดยื่นคํารองขอตอศาลขอให
มีคําสั่งวาดญ.เย็นเปนบุตรชอบดวยกฏหมายของนายเชา ศาลไดพิจารณาคดีอยูประมาณ 1 ป จึงมีคําสั่งถึงที่สุด
วาดญ.เย็นเปนบุตรชอบดวยกฏหมายของนายเชา ดังนี้หากปรากฏวาเมื่อแบงสินสมรสระหวางนายเชากับนาง
สายแลวมีสินสมรสสวนของนายเชาเปนเงินจํานวน 3 แสนบาท นอกจากนี้นายเชาซึ่งเปนพนักงานบริษัทแหง
หนึ่งยังมีสิทธิไดรับเงินชดเชยตามขอบังคับของบริษัทซึ่งจะจายใหกับพนักงานที่เสียชีวิตอีกเปนเงิน 1 แสนบาท
ใหวินิจฉัยวา ดญ.เย็นมีสิทธิไดรับสวนแบงในเงินทั้งสองจํานวนนั้นหรือไมอยางไร
ธงคําตอบ แมป.พ.พ. มาตรา 1557(3)บัญญัติใหการเปนบุตรชอบดวยกฏหมายมีผลนับแตวันมีคํา
พิพากษาถึงที่สุดก็ตามแตเมื่อนางบายในฐานะผูแทนโดยชอบธรรมของดญ.เย็นไดรองขอใหศาลมีคํา
สั่งวาดญ.เย็นเปนบุตรชอบดวยกฏหมายของนายเชาภายหลังนายเชาตายได 10 เดือนอันอยูใน
กําหนดอายุความฟองคดีมรดกตามมาตรา 1754 วรรคหนึ่ง และศาลไดมีคําสั่งถึงที่สุดวาดญ.เย็นเปน
บุตรชอบดวยกฏหมายของนายเชา กรณีจึงตองดวยมาตรา1558 วรรคหนึ่ง ดญ.เย็นจึงมีสิทธิรับมรดก
ในฐานะทายาทโดยธรรมของนายเชาได
สวนนางสายคูสมรสที่ยังมีชีวิตอยู แมจะเปนทายาทโดยธรรมของนายเชาตามป.พ.พ.มาตรา 1629 วรรค
ทายก็ตาม แตเมื่อนางสายตองคําพิพากษาถึงที่สุดวาไดเจตนากระทําใหนายเชาเจามรดกถึงแกความตายโดยมิ
ชอบดวยกฏหมาย นางสายจึงถูกกําจัดมิใหรับมรดกฐานเปนผูไมสมควรตามมาตรา 1606 (1) เมื่อนายเชาไมมี
ญาติอื่นนอกจากนี้อีกแลว มรดกของนายเชาทั้งหมดจึงตกทอดแกดญ.เย็นบุตรชอบดวยกฏหมายของนายเชาซึ่ง
เปนทายาทตาม ม.1629 (1) แตเพียงผูเดียว
เมื่อปรากฏวาภายหลังไดแบงสินสมรสระหวางนายเชากับนางสายแลวมีสินสมรสสวนของนายเชาเปนเงิน 3
แสนบาท สินสมรสสวนของนายเชาจึงเปนมรดกตกทอดแกดญ.เย็น สวนสิทธิที่จะไดรับเงินชดเชยตามขอบังคับ
ของบริษัทที่จายใหแกพนักงานที่เสียชีวิตนั้นเปนสิทธิที่เกิดขึ้นเนื่องจากความตายของนายเชามิใชเปนทรัพยสินที่
นายเชามีอยูแลวในระหวางมีชีวิตหรือขณะถึงแกความตายจึงมิใชกองมรดกที่จะตกทอดแกทายาทตามป.
พ.พ.ม.1599 1600 (คําพิพากษาฏที่ 4714/2542) แตอยางไรก็ดีกรณีดังกลาวหากขอบังคับของบริษัท ไมไดระบุ
ผูรับผลประโยชนไว ดญ.เย็นก็ยอมไดรับเงินชดเชย 1 แสนบาท เสมือนหนึ่งเปนกองมรดกโดยกฏหมายวาดวย
มรดกในฐานะเปนกฏหมายใกลเคียงอยางยิ่งตามป.พ.พ.มตรา 4 วรรค สอง ( ขอสอบเนติฯ พ.ศ.2543 )
ขอ 30. นายแกวเปนสามีโดยชอบดวยกฏหมายของนางเอก นายแกวทราบวานางเอกมีชูรูสึกเสียใจมากจึง
ไปบวชเปนพระภิกษุอยูที่วัดแหงหนึ่ง ระหวางเวลาที่อยูในสมณะเพศไดรับมรดกที่นาและที่สวนอยางละ 1 แปลง
มาจากบิดา ตอมานายแกวไดลาสิกขาจากสมณเพศและไดจดทะเบียนสมรสกับนางโทกับไดทําพินัยกรรมยกที่
นาใหแกนางโทดวย ครั้นนายแกวเห็นนางเอกตกระกําลําบากเพราะชายชูทอดทิ้งจึงไดยกที่นาใหแกนางเอกโดย
เสนหา แตตอมานายแกวไดฟองเรียกถอนคืนการใหที่นาเพราะนางเอกผูรับประพฤติเนรคุณ หลังจากศาลไดมีคํา
พิพากษาถึงที่สุดใหที่นากลับคืนมาเปนของนายแกวแลวนายแกวไดถึงแกความตาย ปรากฏวานายแกวไมมี
ทายาทอื่นใดนอกจากนางเอกและนางโท ใหวินิจฉัยวา ที่นาและที่สวนของนายแกวจะตกทอดใหแกใคร
ธงคําตอบ การที่นายแกวไปบวชเปนพระภิกษุไมทําใหการสมรสระหวางนายแกวกับนางเอกสิ้นสุดลง เมื่อนาย
แกวสึกจากสมณเพศมาจดทะเบียนสมรสกับนางโท จึงเปนการสมรสซอนที่ผิดเงื่อนไขตามป.พ.พ.มาตรา 1452
ยอมตกเปนโมฆะตามมาตรา 1495 การสมรสที่เปนโมฆะดังกลาวไมทําใหนางโทคูสมรสเกิดสิทธิรับมรดกใน
ฐานะทายาทโดยธรรมของนายแกว ตามมาตรา 1499 วรรคสอง แตนางโทอาจเปนทายาทที่มีสิทธิตามพินัย
กรรมที่เรียกวาผูรับพินัยกรรม ได
นายแกวไดที่นาและที่สวนมาระหวางสมรสโดยการรับมรดกจากบิดา ที่ดินทั้งสองแปลงดังกลาวยอมเปน
สินสวนตัวของนายแกวตามมาตรา 1471 (3) นายแกวจึงมีสิทธิที่จะทําพินัยกรรมยกที่นาใหแกนางโทได สวนการ
โอนไปโดยสมบูรณซึ่งทรัพยอันเปนวัตถุแหงขอกําหนดพินัยกรรมอันจะทําใหขอกําหนดพินัยกรรมนั้นเปนอันเพิก
ถอนไปตาม มาตรา 1696 วรรคหนึ่งหมายถึงการโอนทรัพยสินที่ยังมีผลอยูในขณะที่ผูทําพินัยกรรมตาย เมื่อนาย
แกวทําพินัยกรรมยกที่นาใหแกนางโทแลวแมตอมาไดจดทะเบียนยกที่นาแปลงนี้ใหแกนางเอกโดยเสนหาก็ตาม
แตหลังจากนั้นนายแกวก็ไดฟองขอถอนคืนการใหเพราะนางเอกผูรับประพฤติเนรคุณและศาลไดมีคําพิพากษา
ถึงที่สุดใหที่นากลับคืนมาเปนของนายแกวแลวจึงถือไมไดวานายแกวไดโอนไปโดยสมบูรณซึ่งที่นาอันเปนวัตถุ
แหงขอกําหนดพินัยกรรม ขอกําหนดที่ยกที่นาใหแกนางโทจึงหาเปนอันเพิกถอนไปตามมาตรา 1696 วรรคหนึ่ง
ไมที่นาจึงตกทอดไดแกนางโทตามขอกําหนดของพินัยกรรม
ที่สวนซึ่งเปนสินสวนตัวของนายแกวตามม.1471(3)นั้นเมือนายแกวถึงแกความตายยอมเปนทรัพยมรดกตก
ทอดไปยังทายาทโดยธรรม นางเอกเปนภริยาโดยชอบดวยกฏหมายเมื่อนายแกวไมมีทายาทอื่น ดังที่ระบุไวใน
มาตรา1629 นอกจากนางเอกอีก นางเอกซึ่งเปนคูสมรสที่ยังมีชีวิตอยูยอมมีสิทธิไดรับมรดกทั้งหมด ตามมาตรา
1635 (4) ดังนั้น ที่สวนแปลงนี้ยอมตกทอดไดแกนางเอก (ขอสอบเนติฯพ.ศ. 2544)

You might also like