You are on page 1of 135

คู่มือการใช้โปรแกรม

พระไตรปิฎก

้ เมื่อท่านได้ใส่แผ่น CD
การติดตัง
ROM เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
โปรแกรมจะทำาการติดตั้งแบบอัตโนมัติ
โดยจะปรากฎรูปพระแก้วมรกตพร้อมฉัพ
พรรณรังสี นานอยู่ประมาณ ๘ วินาที
แล้วจะบอกให้ท่านติดตั้งโปรแกรม ให้
๊ ไปที่ป่่ม ทำาตูอไป เมื่อ
ท่านใช้เม้าส์คลิก
กดป่ ่ม ทำาต่อไปแล้ว โปรแกรมจะเลื่อน
ไปติดตั้งใน PROGRAM FILE ให้ท่านค
๊ ป่ ่มที่ เริม
ลิก ่ ติดตัง
้ แล้วรอเวลา
ประมาณ 2-3 นาที โปรแกรมก็จะติดตั้ง
เสร็จสมบูรณ์ ให้ท่านคลิก
๊ ที่ให้ไอคอน
เสร็จสมบ่รณ์

แล้วโปรแกรมก็จะเริ่มทำางาน
ได้ทันที พร้อมมีไอคอน เป็ นรูปดอกบัว
สีชมพู และ
คู่มือการใช้โปรแกรมทั้งหมด ซึง
่ อยู่ใน
ี อม จะ copy ลงใน HARDISK
แผ่นซีดร
ก็ได้
ไอคอนรูปดอกบัวสีชมพู นี้ จะอยู่ใน
DESTOP เป็ นหลักในการเปิ ดโปรแกรม
ท่กครั้ง

(เมื่อท่านติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้วให้นำา
แผ่น CD ROM ออกจากเครื่องได้ และ
สามารถนำาไปติดตั้งเครื่องอื่น ๆ ได้ท่ก
เครื่อง)

หลังจากที่เราได้เปิ ดโปรแกรมแล้วจะ
ปรากฏภาพพระแก้วมรกต ประมาณ 8
วิ.

หลังจากนั้น ก็จะปรากฏเป็ นคำาอน่โม


ธนาของพระเดชพระค่ณสมเด็จพระพ่ฒา
จารย์ (เกี่ยว อ่ปเสโณ) วัดสระเกศพร้อม
เสียง
(ในกรณีท่ีท่านได้ทราบข้อความ
อน่โมทนาดังกล่าวแล้ว หากไม่ต้องการ
เสียเวลารอ ให้กดปูม ่ ข้ามหน้านี้ไป
โปรแกรมจะปรากฎหน้าต่อไปทันที หรือ
หากท่านไม่ต้องการให้ปรากฏขึ้นในการ
เปิ ดโปรแกรมท่กครั้งก็ให้ เอา
เครื่องหมายถูก √ออก ตรงที่ช่อง แสดง
หน้านี้ทุกครั้งที่เรียกใช้งาน การเปิ ด
โปรแกรมครั้งต่อไปก็จะข้ามคำา
อน่โมทนาไป แต่หากต้องการจะดูอีกก็ให้
กดป่ ่ม F 11)

****ท่กครั้งที่มีหน้าต่างของโปรแกรม
ซ้อนกันอยู่ ถ้าท่านต้องการยกเลิกหน้า
ต่างนั้นๆให้ท่านกดป่ ่มยกเลิกคือ Esc
(Escape) ด้านซ้ายมือด้านบนส่ดของคีย
บอร์ดท่กครั้ง*
การใช้ปู่มลัดให้ทำาหน้าทีต
่ ูางๆ

ปู่มลัดเรียงแถวตามแนวนอนอยู่
ด้านบนส่ดของคีย์บอร์ดท่กอัน
้ แตู F1 - F 12
ตัง

ปู่ม F 1 ค้นหา (ใช้ในกรณี ทีต


่ ้องการค้นท่ก
เลูมและไมูจำาเป็นต้องเปิดคัมภีร์)

ปู่ม F 2 เปิดคัมภีร์ (เลือกพระ


ไตรปิฎก,อรรถกถา,วิสท
่ ธิมรรคหรืออื่นๆ
ปู่ม F 3 สารบัญ (ต้องการเปิดคัมภีร์
พระไตรปิฎกหรืออรรถกถาแล้ว)

ปู่ม F 4 เทียบอรรถกถา-พระ
ไตรปิฎก สลับไปมา

ปู่ม F 5 ยูอจอภาพเนื้ อความลง


ครึง
่ หนึ่งและขยายเต็มหน้า

ปู่ม F 6 ด่ผบ
้่ ริจาค

ปู่ม F 7 ด่วูามีคัมภีร์เลูมใดบ้าง
ทีเ่ ปิดอยู่

ปู่ม F 8 สลับเข้า-ออกโปรแกรมกับ
โปรแกรมอื่น ๆหรือย่บหน้าตูาง

ปู่ม F 9 สัง่ พิมพ์ โดยมีเมน่พิมพ์


ให้เลือกกูอน

ปู่ม F 10 ปิดหน้าตูางโปรแกรม
หรือคัมภีร์ทีเ่ ปิดอยู่
ปู่ม F 11 ด่ภาพและคำา
อน่โมทนาสมเด็จพระพ่ฒาจารย์

ปู่ม F 12 ปิดโปรแกรมพระไตรปิฎก-
อรรถกถาทัง ้ หมด
หมายเหต่ ปู่มลัดขัน
้ ตอนนี้ ถ้า
สามารถจำาได้ จะสะดวกในการใช้
โปรแกรมมาก

ท่านควรลองกดเล่นดูต้ังแต่ F 1 ถึง
F 12 จะทำาให้เข้าใจง่ายขึ้น

พระไตรปิฎก ฉบับ
ธรรมทาน
1. จะเป็ นไอคอนชื่อ พระไตรปิฎก
ฉบับธรรมทาน ซึง ่ อยู่ด้านบนส่ด ป่ ่มนี้
จะใช้ต่อเมื่อเราต้องการจะเรียกเมนูหลัก
(ภาพด้านบน) หรือในขณะที่เราจะใช้เปิ ด
คัมภีร์ต่างๆ และต้องการเปิ ดโปรแกรม
อื่นๆ หรือใช้ขณะที่ท่านเปิ ดโปรแกรมใด
อยู่และต้องการที่จะเปลี่ยนเพื่อดูคัมภีร์
อื่นๆ หรือต้องการจะออกโปรแกรม
ทั้งหมด หลังจากที่ไม่ต้องการใช้
โปรแกรมแล้ว ให้กดป่ ่ม พระไตรปิฎก
ฉบับธรรมทาน ซึง ่ บนส่ด
แล้วเลือกไอคอนในเมนูได้ตามที่ท่าน
ต้องการ ตามตัวอย่าง ด้านบน

(ในกรณีท่ีเรากดป่ ่ม พระไตรปิฎก
ฉบับธรรมทาน แล้ว หากท่านไม่
ต้องการและจะยกเลิก เมนูหลักนี้ ให้กด
ป่ ่ม Esc)

2. ปุ ุมคัมภีร์ คือ ที่เก็บคัมภีร์ไว้


ทั้งหมด ตั้งแตุ
2.1 พระไตรปิ ฎกไทย มีพระวินัย
ปิ ฎก พระสูตร พระอภิธรรม รวม
๔๕ เล่ม

2.2 อรรถกถาไทย ขยายความใน


พระไตรปิ ฎก ให้เข้าใจละเอียดลึก
ซึ้งยิ่งขึ้น

2.3 มิลินทปั ญหา เป็ นคัมภีร์


สำาคัญ ถามตอบในข้อสงสัยใน
พระพ่ทธศาสนา

2.4 วิสุทธิมรรค เป็ นการขยาย


ความเกี่ยวกับศีล สมาธิ ปั ญญา
ในข้อปฎิบัติ

2.5 พุทธธรรม ตำาราอันทรง


ค่ณค่าในย่คปั จจ่บน
ั ของพระเดช
พระค่ณ

พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปย่ตฺโต) ตำาราเล่ม


นี้ ได้ขยายเนื้ อความในพระไตรปิ ฎกให้
เข้าใจแบบเรียบง่ายและลึกซึ้ง มีการยก
ตัวอย่างและการใช้ภาษาในย่คปั จจ่บัน
เพื่อให้เข้าได้ง่ายยิ่งขึ้น เหมาะจะเป็ น
คู่มือสำาหรับบ่คคลที่ไม่มีเวลาอ่านพระ
ไตรปิ ฎกและอรรถกถา.

1.6 สารานุกรมพระไตรปิ ฎก
คณะผู้จัดทำามีความเห็นว่า
ข้อความในพระไตร
ปิ ฎกและอรรถกถา มักจะเน้นไปทาง
เรื่องใดเรื่องหนึ่ ง แต่เนื้ อความในประวัติ
บ่คคลและเรื่องต่างๆ ไม่ได้รวมไว้อยู่ใน
จ่ดเดียวกัน ทำาให้ต้องเสียเวลาในการ
ค้นหา บางเรื่องต้องเอาเนื้ อความใน
แต่ละเล่มถึง 10 กว่าเล่ม จึงจะครบเนื้ อ
ความ ดังนั้น คณะผู้จัดทำาจึงรวบรวม
เรื่องต่างๆ และประวัติอริยบ่คคลและ
บ่คคลต่างๆ มารวมอยู่ในคำาของ
สาราน่กรมนี้ เช่น คำาว่า สังคายนา ท่าน
จะสามารถทราบรายละเอียดทั้งหมดของ
พระไตรปิ ฎก ว่ามีการทำาสังคายนากี่ครั้ง
ใครเป็ นผู้ทำาสังคายนา เริ่มทำาเดือนใด ปี
ใด สาเหต่ท่ีต้องทำาสังคายนาคืออะไร
หรือคำาว่า พระสารีบต ่ ร ท่านจะทราบ
ว่า ท่านเป็ นบ่ตรของใคร ชื่อเดิมว่า
อย่างไร มีพ่ีนอ
้ งกี่คนชื่ออะไรบ้าง ชีวิตใน
ฆราวาสเป็ นอย่างไร ออกบวชเพราะ
อะไรและเมื่อไร ตรัสร้เู มื่อไร เพราะธรรม
อะไร ท่านปรินิพพานที่ไหน และเมื่อไร
ผลงานของท่านมีอะไรบ้าง ในอดีตชาติ
ท่านทำาบารมีอะไรมาบ้าง เป็ นต้นฯ
ดังนั้น หากท่านต้องการทราบเรื่อง
ใด หรือประวัติบ่คคลใด ประวัติเมืองหรือ
แคว้นต่างๆ วัดต่างๆ หลักธรรมต่างๆ
ท่านเพียงพิมพ์ช่ ือบ่คคลนั้น ชื่อเมือง ชื่อ
วัดหรือชื่ออื่นๆ ที่ท่านต้องการทราบ
ท่านก็สามารถจะทราบรายละเอียด
ทั้งหมดได้โดยไม่ต้องเสียเวลาในการ
ค้นคว้า.

โปรแกรมบทสวดต่าง ๆ จะ
รวบรวมบทสวด ปาฏิโมกข์ ตำารา
เจ็ดตำานาน
สิบสองตำานาน วิธีบวชแบบเก่า และ
พิธีกรรมอื่นๆ มากมาย

1. ป่่มค้นหา คือ โปรแกรมค้นหา


คัมภีร์พระไตรปิฎกทัง
้ ๔๕
เลูม และคัมภีร์อรรถกถาทัง

๙๑ เลูม อยูางละเอียดท่กตัว
อักษร.
2. แนะนำา คือ โปรแกรมสอนวิธี

ใช้โปรแกรมพระไตรปิฎก
ทัง้ หมด ซึง
่ มีคำาอธิบายอยูาง
ยูอ และร่ปภาพประกอบ มีข้อ
หัวให้เลือกวูา จะต้องการ
ทราบวิธีใช้แบบใด
3. ผ้้บริจาค คือ โปรแกรมที่

บรรจ่รายชื่อผ้่บริจาคไว้
ทัง ้ หมด และภาพจะเลื่อนได้
เองโดยอัตโนมัต.ิ
4. ปิดโปรแกรม คือ ต้องการ

ออกจากโปรแกรมทัง ้ หมด

* เคล็ดไมูลับในการใช้โปรแกรม
พระไตรปิฎก-อรรถกถาอยูาง
รวดเร็ว*
1. ควรจะสั่งพริ้นข้อมูลคู่มือการใช้
โปรแกรมออกมา เพื่อสะดวกใน
การอ่านและใช้พร้อมกับเปิ ด
โปรแกรมพระไตรปิ ฎก จะทำาให้
เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น
2. ให้จำาป่ ่มลัด ตั้งแต่ F1- F12 ให้
แม่น โดยแรกๆ ให้ลองกดป่ ่ม
ตั้งแต่F1- F12 ดูว่า ผลปรากฎ
ออกมามีอะไรบ้าง ท่านก็จะได้
เข้าใจการทำางานว่าแต่ละป่ ่ม
มีหน้าที่อย่างไร เพื่อความสะดวก
และรวดเร็วในการใช้โปรแกรม

3. ให้เอาเม้าส์ไปชี้ท่ีไอคอนต่างๆ ดู
จะมีคำาอธิบายบอกสถานะของไอคอน
นั้นๆ อยู่ตรงกลางด้านล่างส่ดของจอ
เพื่อท่านจะได้เข้าใจการทำางานของ
ไอคอนต่างๆ เหล่านั้น ควรสังเกต่ท่กครั้ง
ที่นำาเม้าส์ไปชี้ท่ีไอคอนว่า ณ เวลานี้
ไอคอนนั้นอยู่ในสถานะใด
ข้อสังเกต่อีกอย่างคือ หน้า และข้อ ให้ใช้
เม้าส์ช้ีไปที่ตัวเลข จะเปลี่ยนเป็ นรูปมือ
4. ในกรณีท่ีท่านเปิ ดโปรแกรมพระ
ไตรปิ ฎกไว้ และได้เปิ ดโปรแกรมอื่นๆ ไว้
ด้วยหลายโปรแกรมเช่น MICROSOFT
WORD, WORD PAD หรือโปรแกรมอื่นๆ
ซึ่งมีหลายโปรแกรมที่เปิ ดพร้อมกัน ท่าน
ไม่จำาเป็ นต้องปิ ดโปรแกรมพระไตรปิ ฎก
ซึ่งทำาให้เสียเวลา ท่านเพียงกด Alt ค้าง
ไว้ แล้วกด Tab จะมีไอคอนปรากฏขึ้นให้
เลือกว่า ท่านต้องการจะเข้าไปอยู่ใน
โปรแกรมใด ให้ท่านกด Tab ไปเรื่อยๆ
เพื่อจะได้ตรงใจกับท่านว่า ท่านต้องการ
จะเข้าไปในโปรแกรมใดของที่เปิ ดอยู่
แต่ในขณะเดียวกัน ถ้าท่านไม่ได้เปิ ด
โปรแกรมอะไรไว้เลย เปิ ดเพียง
โปรแกรมของพระไตรปิ ฎก ท่านสามารถ
ทำาได้ 2 วิธีคือ

3.1 กดป่ ่มลัดคือ F8 โปรแกรมของ


พระไตรปิ ฎกจะย่บลงมาด้านล่างเพื่อรอ
ใช้งานใหม่ แล้วหน้าต่างที่ปรากฏก็คือ
หน้าต่างของ WINDOW ตามปกติท่ียังไม่
ได้เปิ ดโปรแกรมใดเลย ท่านก็สามารถ
เลือกเปิ ดโปรแกรมอื่นๆ ได้ตามปกติ

3.2 ให้กดป่ ่ม Alt และตามด้วยป่ ่ม


Esc เมนูตรง Start ของ WINDOW จะ
ปรากฏด้านล่างส่ดของของจอ ท่านก็
สามารถเปิ ดโปรแกรมอื่นได้ตามที่ท่าน
ต้องการ

***กรณี ทีท่ ูานต้องใช้บูอย คือ ใน


ขณะทีท ่ ูานใช้โปรแกรมพระ
ไตรปิฎก และอูานข้อความในพระ
ไตรปิฎก หรืออรรถกถาไทย หรือ
พ่ทธธรรม หรือสาราน่กรมพระ
ไตรปิฎก แล้วทูานพอใจในเนื้ อ
ความนัน ้ ทูานต้องการจะเก็บข้อม่ล
อันนัน
้ ไว้ แยกมาตูางหาก ทูานก็
ต้อง COPY ข้อความทีท ่ ูานต้องการ
เก็บไว้ และเปลีย
่ นหน้าตูาง
โปรแกรมตามวิธีทีก ่ ลูาวไว้ข้างต้น
แล้ววางข้อความลงในโปรแกรมที่
ทูานต้องการจะเก็บไว้ เชูน
MICROSOFT WORD หรือ NOTE PAD

ด่คำาอธิบายปู่ม คัมภีร์
ด้านลูาง

เมื่อเรากดป่ ่ม คัมภีร์ แล้ว จะปรากฏ


่ คือ พระไตรปิฎก อรรถ
เมนูโดยมีป่ม
กถา มิลินทปั ญหา วิส่ทธิมรรค และ
บทสวดตูางๆ สารบัญ ปู่มเปิด ปูม ่
ปิด ดังภาพลูาง
๑ เมื่อทูานต้องการอูานเนื้ อความ
พระไตรปิฎก ให้ทูานกดปู่ม พระ
ไตรปิฎก แล้วเลือกคัมภีร์เล่มที่ ๑–๔๕
ของพระไตรปิ ฎก ท่านสามารถเลือกเล่ม
โดยวิธเี ลื่อนลูกศรขึ้น หรือลง ที่คีย์บอร์ด
ตามต้องการ หรือจะใช้เม้าส์เลื่อน
scollbar อยู่ด้านขวาท้ายรายชื่อพระ
ไตรปิ ฎกก็ได้ ข้อสังเกต่ ถ้าท่านยังไม่ได้
เลือกคัมภีร์ป่่ม ดูสารบัญ จะเป็ นแทบสี
เทาดำา ตามรูปด้านบน
หลังจากทีท ่ ูานเลือกคัมภีร์แล้วจะมี แทบ
สีน้ ำาเงิน อยู่ทีเ่ ลูมคัมภีร์ทีท
่ ูานเลือกไว้ และแทบ
สีเทาดำาทีป ่ ู ่ม ด่สารบัญ จะหายไป และพร้อมที่
จะเปิดด่สารบัญได้ ดังภาพด้านบน และทูาน
สามารถเปิดด่เนื้ อหาได้ ๒ วิธี คือ

๑.๑ เปิ ดคัมภีร์ในเล่มที่ท่านเลือกไว้แล้ว


ได้ทันที โดยกดที่ป่่ม เปิด หรือ
๑.๒ ใช้เม้าส์ดับเบิ้ลคลิก ๊ ที่เล่มที่
ท่านต้องการจะขึ้นเป็ นแทบ
สีน้ ำาเงิน เพื่อเปิ ดพระไตรปิ ฎก ดัง
ภาพด้านบน ดังตัวอย่างต้องการ
เปิ ดพระไตรปิ ฎกเล่มที่ ๑ และเมื่อ
เปิ ดแล้วแสดงผลออกมา ดังภาพ
ด้านล่าง
๑.๓
เมื่อท่านเลือกเล่มที่ท่านต้องการแล้ว
แทบสีน้ ำาเงิน ซึง
่ จะอยู่ท่ีเล่มที่ท่านเลือก
ไว้ ท่านสามารถเลือกดูเนื้ อหาในสารบัญ
ของเล่มนั้นก่อนที่จะเปิ ดหนังสือก็ได้
โดยกดป่ ่ม ด่สารบัญ ซึง
่ อยู่ด้านซ้าย
มือ
หัว
เรื่องของสารบัญก็จะปรากฏแทนชื่อ
พระไตรปิฎก ในตัวอยูาง เป็น
สารบัญของพระไตรปิฎกเลูมที่ ๑ ดัง
ภาพด้านลูาง เนื้ อความในสารบัญก็จะ
ปรากฏแทน และ เมื่อท่านเลือกสารบัญ
ใดแล้ว แทบสีน้ ำาเงินก็จะไปอยู่ตรงหัว
เรื่องที่ท่านเลือกนั้น
ตัวอย่าง เช่น ท่านเลือกหัวเรื่องสารบัญ
คือ พระวินัยปิ ฎก เล่ม ๑
ให้
ท่านกดป่ ่ม เปิ ด หรือจะดับเบิ้ลคลิก
๊ เม้าส์
หัวเรื่องสารบัญที่ท่านเลือกแล้วซึ่งมีแทบ
สีน้ ำาเงินตรงนั้น ดังตัวอย่างในภาพก่อน
เนื้ อความหัวเรื่องที่ท่านเลือก ก็แสดง
ผลออกมา ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง

(แสดง
สถานะไอคอน)

๑.๓.๑ ในกรณีท่ีท่านเปิ ดคัมภีร์แล้ว


โดยไม่ผ่าน เมนูสารบัญ แต่ต้องการดูหัว
เรื่องสารบัญอีกครั้ง ให้ท่านกดป่ ่ม เปิด
สารบัญ (ตามล่กศร) ขึน
้ มาอีกครั้ง
เมนูสารบัญก็จะปรากฏให้ท่านเรื่องหัว
เรื่องสารบัญได้อีกตามต้องการ ดังภาพ
ต่อไป
สิง่ ทีน่ ูาสังเกต่คือ ถ้าเราต้องการทราบ
ว่า ป่ ม
่ ไอคอนแต่ละไอคอนคือป่ ่มอะไร
บ้าง ให้ใช้เม้าส์ไปชี้ท่ีป่่มใดป่ ่มหนึ่ ง จะมี
คำาอธิบายตรงกลางด้านล่างส่ด อาทิเช่น
ในตัวอย่าง เม้าส์ไปชี้ท่ีป่่ม เปิ ดสารบัญ
จะมีคำาบอก เปิดสารบัญ ตรงกลางด้าน
ล่างส่ด เพื่อแสดงสถานะไอคอน ในขณะ
นั้น ดังภาพด้านบน

***(สิง ่ ำาคัญอย่าลืมใช้ป่่มลัด F1-


่ ทีส
F12 ให้เป็นประโยชน์ทีส
่ ่ดเพื่อการ
รวดเร็วในใช้งานของโปรแกรม)
***********
เมื่อกดป่ ่ม เปิ ดสารบัญ แล้ว จะมีหน้า
ต่างสารบัญซ้อนขึ้นมา เพื่อให้เลือกหัว
เรื่องในสารบัญใหม่ ตามต้องการอีกครั้ง
ดังตัวอย่างด้านบน เลือกหัวเรื่อง คือ
ทรงแสดงฌาน ๔ และวิชชา ๓ และ
กดปูม่ เปิดหรือ ดับเบิ้ลคลิก
๊ เม้าส์ที่
หัวเรื่องนัน

ภาพจะแสดงออกมาตามที่เราเลือกหัว
เรื่องนั้นคือ ทรงแสดงฌาน ๔ และ
วิชชา ๓
รา
ยละเอียดเกีย
่ วกับปู่มตูางๆ ใน
โปรแกรมยูอย
รูปกล้อง หมายถึงป่ ่มค้นหา ใช้ต่อเมื่อเรา
ต้องการค้นหาข้อมูล (จะกล่าวภายหลัง)
ป่ ่มเทียบอรรถกถา คือปู ่มทีส
่ ลับเนื้ อ
ความในพระไตรปิฎกเป็นอรรถกถา ให้มีเนื้ อ
ความและความหมายเดียวกัน วิธีใช้กดปู ม ่ เทียบ
อรรถกถา เนื้ อความในพระไตรปิฎกก็จะเปลีย ่ น
เป็นเนื้ อความในอรรถกถาทันที ปู ่มนี้จะสลับไป
มาระหวูางอรรถกถาและพระไตรปิฎก
ปู ่มเทียบพระไตรปิฎก ใช้ในกรณี ทีเ่ ราเปิด
อรรถกถาอยู่ และต้องการเปรียบเทียบกับพระ
ไตรปิฎกในความหมายเดียวกันปู ่มนี้จะสลับไป
มาระหวูางอรรถกถาและพระไตรปิฎก
ป่ ่มดูคม
ั ภีร์ท่ีเปิ ดอยู่
คือ ปู ม
่ ทีจ
่ ะใช้ตูอ
เมื่อต้องการทราบวูา โปรแกรมเปิดคัมภีร์เลูมใด
ค้างอยู่บ้าง หรือต้องการจะให้คัมภีร์ทีค่ ้างอยู่นัน

แสดงผลตามทีเ่ ราเลือกเปิดสลับไป
มา โดยไมูต้องเสียเวลาในการเปิดคัมภีร์ตามขัน

ตอน ด่ตว
ั อยูางในภาพตูอไป
ตามตัวอยูาง ๑ เมื่อทูานกด ปู ่มด่ภีรท ์ ีเ่ ปิด
อยู่ จะหน้าตูางปรากฏดังภาพด้านบนทัง ้ ๒ แบบ
ในตัวอยูาง ๒ จะมีคัมภีรท์ ีเ่ ปิดอยู่ คือ พระ
ไตรปิฎก เลูม ๑, อรรถถาไทย เลูม ๑, มิลินท
ปั ญหา
ข้อสังเกต่ เมื่อทูานต้องการจะเลือกเปิด
คัมภีร์ใดคัมภีร์หนึ่ง ให้ทูานใช้เม้าส์ไปคลิก๊ ด้าน
หน้าในชูองสีเ่ หลีย
่ ม ของคัมภีร์ทีท่ ูานเลือก จะมี
เครื่องหมาย √ อยู่ในชูองสีเ่ หลีย่ มนัน้ และจะมี
แทบสีน้ ำาเงินตามไปด้วย ตามตัวอยูางด้านบน
ทูานสามารถเลือกเปิดคัมภีรท ์ ีเ่ ปิดอยู่นัน
้ ให้
แสดงผลตามทีท ่ ูานต้องการ แทนหน้าตูาง
ปั จจ่บน
ั ได้ทันที ตามตัวอยูาง หน้าทีแ ่ สดงผล
ั คือ พระไตรปิฎกเลูม ๑ (หน้ากูอน) และ
ปั จจ่บน
ทูานได้เลือกทีจ่ ะเปิดคัมภีร์ทีค
่ ้างอยู่ คือ อรรถ
กถาเลูม ๑ (ร่ปปั จจ่บันด้านบน) เมื่อทูานเลือก
คัมภีร์แล้วโดยการใสูเครื่องหมาย ถ่ก √ หน้า
คัมภีร์ทท
ี่ ูานเลือก แล้วให้กดปู ่ม เปิด หรือ
ดับเบิ้ลคลิก ๊ เม้าส์ คัมภีร์ทท
ี่ ูานเลือกก็จะแสดง
ผลออกมาทันที ตัวอยูางด้านลูาง
ข้อสังเกต่ ประโยชน์โดยตรงสำาหรับปู ่มนี้ คือ
ทูานสามารถเปิดคัมภีรท ์ ีท
่ ูานเลือก โดยที่
ข้อความยังอยู่เชูนเดิมในครัง ้ ส่ดท้ายทีเ่ ปิดค้าง
ไว้ ทำาให้ไมูต้องเสียเวลาในการค้นหาอีก และ
เนื้ อหาคัมภีร์นัน
้ อีก และเอาไว้เปรียบคัมภีร์ ๒
คัมภีร์ได้ ในหน้าจอเดียวกัน
ตัวอยูางที่
๒ คือ ทูานสามารถเลือกเปิดคัมภีร์ เพื่อด่พร้อม
กันได้ทัง ้ สองคัมภีร์ เพื่อเป็นการเปรียบเทียบกัน
ในตัวอยูาง ๑ ให้ทูานทำาเครื่องหมาย ถ่ก √ ใน
ชูองสีเ่ หลีย่ มหน้าคัมภีร์ทีท
่ ูานต้องการจะด่พร้อม
กัน ในตัวอยูางด้านลูางคือ ได้เลือกพระไตรปิฎก
เลูมที่ ๑ และเลือก มิลินทปั ญหา และเมื่อกดปู ่ม
เปิดหรือ ดับเบิ้ลคลิก ๊ เม้าสแล้ว ก็จะได้ภาพที่ ๒
ช่องเพื่อเปลี่ยนเลขหน้า คือ เมื่อท่านเปิ ด
คัมภีร์พระไตรปิ ฎก หรืออรรถกถาแล้ว
หากท่านต้องการจะอ่านเนื้ อความใน
หน้าอื่น ซึ่งอยู่หน้าที่ห่างหน้ามาก ท่าน
ไม่จำาเป็ นจะต้องเลื่อน SCOLBAR หรือจะ
้ PAGE UP หรือเลื่อนลง PAGE
เลื่อนขึน
DOWN ที่คีย์บอร์ด เพื่อจะหาหน้านั้น
ทำาให้เสียเวลา ท่านเพียงเอาเม้าส์ไปชี้ท่ี
ตัวเลข หลังคำาว่า หน้า สิ่งที่สังเกต่ได้คือ
รูปเม้าส์จะเปลี่ยนจากรูปลูกศร เป็ นรูป
มือแทน ดังตัวอย่างด้านบน
จากนั้นให้ท่านใช้เม้าส์ดับเบิ้ลคลิก
๊ ที่
ตัวเลข ตัวเลขในช่องจะเปลี่ยนไปเป็ น
จากเลขไทย เป็ นเลขอารบิค และพร้อมที่
จะให้ท่ีเลือกพิมพ์เลขหน้าอารบิคว่า ท่าน
ต้องการจะค้นหาหน้าไหนในเล่มคัมภีร์
นั้น ดังภาพในหน้าต่อไป
หลังจากนัน
้ ให้ทูานใสู
หมายเลขอารบิคทีค ่ ีย์บอร์ด
ด้านขวา ตามตัวอยูาง
ด้านลูาง คือ ต้องการจะเปิดหน้าที่
๕ ก็ให้ใสูเลข 5 เป็นเลขอารบิคลงไป
ในชูองหน้า ตามตัวอยูางด้านลูาง
เมื่อ
ท่านพิมพ์เลขหน้าเสร็จแล้ว ให้กด Enter
โปรแกรมจะแสดงผลเนื้ อความเริ่มต้นใน
นั้นหน้าตามที่ท่านเลือกไว้ออกมา
ตัวอย่างคือ หน้า ๕ ตามตัวอย่างด้าน
ล่าง
ช่องเพื่อเปลี่ยนเลขข้อ มีลักษณะการ
ทำางานเหมือนกับเปลี่ยนเลขหน้า คือ เอา
เม้าส์ไปชี้ท่ีตัวเลขไทย ด้านหลังคำาว่า ข้อ
แล้วเม้าส์จะเปลี่ยนเป็ นรูปมือดังภาพล่าง

หลังจากนัน ้ ให้ทูานดับเบิ้ลคลิก
๊ เม้าส์ทีต
่ ัวเลข
หลังคำาวูา ข้อ ชูองของข้อก็จะพร้อมทีจ ่ ะให้ทูาน
เปลีย
่ น ตัวเลขข้อ ตามทีท ่ ูานต้องการ ดัง
ตัวอยูางด้านลูาง
ตามตัวอยูางด้านบน จะเลือกด่ ข้อ 10 ของพระ
ไตรปิฎก จึงพิมพ์หมายเลข 10 ในชูอง

เมื่อพิมพ์เลขข้อแล้ว ให้กด Enter โปรแกรมจะ


แสดงผลเนื้ อความเริม ่ ต้น ในข้อ ตามทีท
่ ูาน
เลือกไว้ คือ ข้อ ๑๐ ตามตัวอยูางด้านลูาง
ป่ ่มคัดลอกข้อความ (copy) คือ ปู ม
่ ที่
ต้องการนำาข้อม่ลออกจากโปรแกรมเพื่อนำาไป
เก็บไว้ในโปรแกรมอื่น เชูน Microsoft word
เป็นต้น โดยปกติปู่มนี้ จะไมูทำางานมีสีจาง หาก
ทูานไมู MARK หรือทำาแถบดำาในข้อความเพื่อ
คัดลอก ดังตัวอยูางด้านลูาง ทีล
่ ่กศรชี้

เมื่อทูานต้องการจะ MARK ข้อความ ให้ใช้เม้าส์


ชี้ไปทีข ่ ูานต้องการจะ COPY ให้กด
่ ้อความทีท
เม้าส์ด้านซ้ายมือค้างไว้ แล้วลากไปทางขวาจะมี
แทบดำาตามเนื้ อความไปเรื่อยๆ ตามแตูทูาน
ต้องการ ตามตัวอยูางด้านบน เนื้ อความทีจ่ ะคัด
ลอกออกมาคือ พร้อมด้วยภิกษ่สงฆ์ ให้สังเกต่
ปู ่ม คัดลอกข้อความ (copy) ตามล่กศรจะเริม ่ มีสี
เข้มขึ้น ซึง
่ หมายถึงพร้อมทีจ
่ ะทำางาน ทูาน
สามารถคัดลอกข้อความได้ 2 วิธีคือ

1. หลังจากที่ Mark ข้อความเป็นแทบดำา


แล้ว ให้ทูานใช้เม้าส์ไปคลิก
๊ ไอคอนคัด
ลอกข้อความ เพื่อเก็บข้อม่ล หรือ
2.

หลังจากที่ Mark ข้อความเป็นแทบดำา


แล้ว ให้ทูานคลิก เมนู
๊ เม้าส์ขวามือ จะมี
ลัดการทำางานให้ท่านเลือก คือ
ค้นหา
คัดลอก
ข้อความ
พิมพ์ข้อค
เลือกไว้
เลือกทั้งห
ดูตัวอย่างในหน้าต่อไป

ตัวอยูางวิธีที่ ๑ ให้ทูานใช้เม้าส์กดที่
คัดลอกข้อความ เพื่อเก็บข้อม่ล หลัง
จากนัน้ ให้ทูานกด ปู่ม F8 ที่
คีย์บอร์ด โปรแกรมจะย่บลง แล้วให้
ทูานเลือกวูาจะเก็บข้อม่ลลงใน
โปรแกรมใด เชูน Microsoft word ,
Wordpad หรือ Notepad เป็นต้น
ตัวอยูางวิธีที่ ๒ หลังจากที่ Mark ข้อความเป็น
แทบดำาแล้ว ให้ทูานคลิก ๊ เม้าส์ขวามือ จะมีเมน่
ลัดการทำางานขึ้นมา แล้วกด F8 และให้เก็บ
ข้อม่ลในโปรแกรมทีท่ ูานต้องการ
ปู่มพิมพ์ คือ จะใช้ต่อเมื่อท่าน
ต้องการจะพิมพ์เนื้ อความออกมา ท่าน
ต้องการพิมพ์จำานวนกี่หน้า หรือ หน้า
ไหนก็ได้ โดยที่ท่านเป็ นผู้กำาหนดเอง
เมื่อทูานได้กดปู ่มพิมพ์แล้ว จะปรากฏเมน่
ยูอยเพื่อให้ทูานได้กำาหนดในการพิมพ์เอง ตาม
ภาพด้านบน หากทูานต้องการพิมพ์เฉพาะหน้า
ปั จจ่บน
ั ให้ทูานด่วูา หน้าปั จจ่บันของทูานคือเลข
อะไร ให้ด่ด้านลูางหลังคำาวูา หน้า สมมติวูา หน้า
ปั จจ่บนั ของทูานคือ หน้า ๕ ให้ทูานพิมพ์ในชูอง
หลัง form: เป็นเลข 5 และในชูอง to: เป็นเลข 5
เหมือนกัน โปรแกรมก็จะพิมพ์หน้าปั จจ่บันคือ
หน้า 5 ออกมาหน้าเดียว หากต้องการพิมพ์
หลายหน้าคือตัง
้ แตูหน้า ๕ถึงหน้า ๑๐ ก็ให้ใสู
ชูองหลัง form: เป็นเลข 5 และในชูอง to: เป็นเลข
10 โปรแกรมก็จะพิมพ์ตัง
้ แตูหน้า 5 ถึง 10 รวม 5
แผูน ออกมา เป็นต้น

ไอคอนปิ ดคัมภีร์ คือ ป่ ่มที่จะใช้เวลาจะ


ปิ ดเฉพาะคัมภีร์ท่ีเปิ ดไว้ในแต่ละเล่มจน
หมด
การใช้ปู่มอรรถกถา

การใช้ป่่มอรรถกถา มีลักษณะการใช้
งานเหมือนกับพระไตรปิ ฎกที่กล่าวเอาไว้
ข้างต้น ดังนั้นจะกล่าวเพียงราวๆ ไว้เป็ น
แบบเฉยๆ
เลือกคัมภีร์จากรายการอรรถ
กถา
หลังจากทีท ่ ูานเลือกคัมภีร์แล้วจะมี แทบ
สีน้ ำาเงิน อยู่ทีเ่ ลูมคัมภีร์ทีท
่ ูานเลือกไว้ และแทบ
สีเทาดำาทีป ่ ู ่ม ด่สารบัญ จะหายไป และพร้อมที่
จะเปิดด่สารบัญได้ ดังภาพด้านบน และทูาน
สามารถเปิดด่เนื้ อหาได้ ๒ วิธี คือ

๑.๑ เปิดคัมภีร์ในเลูมทีท ่ ูานเลือกไว้แล้วได้ทันที


โดยกดทีป ่ ู ่ม เปิด ดังภาพด้านกูอน
๑.๒ ใช้เม้าส์ดับเบิ้ลคลิก
๊ ทีเ่ ลูมทีท
่ ูาน
ต้องการจะขึ้นเป็นแทบสีน้ ำาเงิน เพื่อเปิด
อรรถกถาด้านกูอนหน้านี้ ดังตัวอยูาง
ต้องการเปิดอรรถกถาพระวินัยปิฎก เลูม
ที่ ๑ แล้วแสดงผลออกมา ดังภาพด้าน
กูอนหน้านี้

๑.๓ เมื่อ
ทูานเลือกเลูมทีท ่ ูานต้องการแล้ว แทบสีน้ ำาเงิน
จะอยูท
่ ีเ่ ลูมทีท
่ ูานเลือกไว้ ทูานสามารถเลือกด่
เนื้ อหาในสารบัญของเลูมนัน ้ กูอนทีจ ่ ะเปิด
หนังสือก็ได้ โดยกดปู ่ม ด่สารบัญ ซึง ่ อยู่ด้าน
ซ้ายมือ ตัวอยูางภาพด้านลูาง หัวเรื่องของ
สารบัญก็จะปรากฏแทนชื่ออรรถกถา ในตัวอยูาง
เป็นสารบัญของ เลูมที่ ๑ อรรถกถาพระวินัยปิฎก
มหาวิภังค์ เนื้ อความในสารบัญก็จะปรากฏมาให้
เลือก เมื่อทูานเลือกสารบัญใดแล้วแทบสีน้ ำาเงิน
จะปรากฎอยู่ตรงเนื้ อความทีท ่ ูานเลือกนัน ้ ให้
ทูานกดปู ่มเปิดหรือดับเบิ้ลคลิก ๊ ที่ แทบนำ้าเงิน
นัน
้ ดังภาพด้านบน

๑.๓.๑ ในกรณีท่ีท่านเปิ ดคัมภีร์โดยไม่


ผ่านสารบัญ หรือต้องการดูสารบัญอีก
ครั้ง ให้ท่านกดป่ ่ม เปิดสารบัญ ขึน ้ มา
ได้อีก ได้ตามต้องการ ดังภาพด้านล่าง

(แสดงสถานะ)
เมื่อกดปู ่ม เปิดสารบัญ แล้ว จะมีหน้าตูาง
สารบัญซ้อนขึ้นมา เพื่อให้เลือกเนื้ อหาในสารบัญ
ใหมู ตามต้องการอีกครัง ้ ดังตัวอยูางด้านลูาง
เลือกหัวเรื่อง คือ
ภิกษ่ทัง
้ หลายขอให้เลือกพระอานนท์ และกดปู ่ม
เปิด หรือ ดับเบิ้ลคลิก
๊ เม้าส์ทีห
่ ัวเรื่องนัน

ภา
พจะปรากฏออกมาตามที่เราเลือกหัว
เรื่องนั้นคือ ภิกษ่ทัง้ หลายขอให้เลือกพระ
อานนท์

สิง
่ ทีน
่ ูาสังเกต่คือ ถ้าเราต้องการทราบวูา ปู ่ม
ไอคอนคือปู ่มอะไร ให้ใช้เม้าส์ไปชี้ทีป
่ ู ่มใดปู ่มหนี่
ง จะมีคำาอธิบายตรงกลางด้านลูางส่ด อาทิเชูน
ในตัวอยูาง เม้าส์ไปชี้ทป ี่ ู ่ม

เปิดสารบัญ จะมีคำาบอก เปิดสารบัญ ตรงกลาง


ด้านลูางส่ด ดังภาพหน้าบน
ในป่ ่มของโปรแกรมอรรถกถา ท่กป่ ่มใน
การทำางาน ไม่ว่าจะเป็ นป่ ม ่ ค้นหา ป่ ่ม
สารบัญ ป่ ่มเทียบพระไตรปิ ฎก ป่ ่มดู
คัมภีร์ท่ีเปิ ดอยุู ป่ ่มพิมพ์ ป่ ม
่ คัดลอก
ข้อความ ป่ ่มปิดคัมภีร์ จะทำางาน
เหมือนกับพระไตรปิ ฎก จะต่างก็เพียงใน
อรรถกถาไม่มีเลข ข้อ มีแต่เลข หน้า
เท่านั้น

***(สิง ่ ำาคัญอย่าลืมใช้ป่่มลัด F1-


่ ทีส
F12 ให้เป็นประโยชน์ทีส
่ ่ดเพื่อการ
รวดเร็วในใช้งานของ
โปรแกรม)***********

โปรแกรมค้นหา
เมื่อค่ณต้องการค้นหา
ข้อความในพระไตรปิ ฎกหรืออรรถกถา
ให้กดป่ ่ม ค้นหา

เมื่อค่ณกด
่ ลัด F8 แล้ว จะ
ป่ ่ม ค้นหา หรือกดป่ ม
มีหน้าต่างโปรแกรมขึ้นมา ให้ค่ณเลือก
ว่า จะค้นพระไตรปิ ฎกหรืออรรถกถา ใน
ตัวอย่างด้านล่าง เลือกที่จะค้นพระ
ไตรปิ ฎก
แต่โดยปกติถ้าไม่ต้องการเลือกค้นจาก
อรรถกถา ช่อง ค้นจาก ก็จะเลือกที่ค้น
ใน พระไตรปิ ฎก โดยอัตโนมัติอยู่แล้ว ไม่
ต้องไปเลือกว่าจะค้นจากคัมภีร์ใด

การค้นหาแบบหลักการใหญ่มีหลาย
วิธีคือ

ร่ปที่ ๑ เลือกพระไตรปิฎก
ร่ปที่ ๒ เลือกอรรถกถา

เมื่อค่ณกดป่ ่มค้นหาแล้ว จะมีหน้าต่าง


โปรแกรมขึน ้ มา ให้ค่ณเลือกว่า จะค้น
พระไตรปิ ฎกหรืออรรถกถา ในตัวอย่าง
เลือกที่จะค้น อรรถกถา เมื่อท่านเลือกที่
จะค้นในอรรถกถาให้ใช้เม้าส์ไปคลิก ๊ ลูก
ศร ช่อง ค้นจาก แล้วเลือก อรรถกถา
ซึ่งจะขึ้นเป็ นแทบสีเทา ช่อง ค้นจาก ก็
จะแสดงผลเป็ น อรรถกถา ทันที
การค้นหาแบบที่ ๑ คือ ค้นหาท่กเลูม
หมายถึงการค้นหาในพระไตรปิ ฎกทั้ง
๔๕ เล่มหรืออรรถกถา ๙๑ เล่ม อย่างใด
อย่างหนึ่ ง โดยหลังจากเราเลือกตาม
ตัวอย่างที่กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ ว่า จะ
ต้องการค้นหาในพระไตรปิ ฎกหรืออรรถ
กถา
ตามตัวอย่างปั จจ่บนั ท่านต้องการค้นหา
ในพระไตรปิ ฎก เพราะช่องค้นจาก คือ
พระไตรปิ ฎก ก็ให้ท่านพิมพ์คำา วลี หรือ
ประโยค ที่ท่านต้องการจะค้น ในช่องคำา
ที่ต้องการค้นหา เมื่อท่านพิมพ์คำา วลี
หรือประโยค ที่ท่านต้องการจะค้นเสร็จ
แล้ว ให้กด ป่ ่มค้นหา หรือว่าจะกดป่ ม

Enter ที่คีย์บอร์ดก็ได้ ผลของการค้นหาก็
จะแสดงผลภายใน ๑ วินาที หากเป็ น
ประโยคจะใช้เวลาประมาณ ๒-๓ วินาที
การค้นหาแบบที่ ๒ ค้นหาเฉพาะภายใน
เล่มใดเล่มหนึ่ ง โดยที่ท่านสามารถเลือก
เล่มที่จะค้นหาได้เอง มี ๒ ลักษณะคือ
ลักษณะที่ ๑ คือ ใช้ในกรณีท่ีไม่ได้เปิ ด
เล่มคัมภีร์ใดเลย เมื่อกดป่ ่ม ค้นหาแล้ว
ตามตัวอย่างที่ ๑ เลือกที่ค้นเฉพาะในเล่ม
ที่ 1 เท่านั้น แต่ในสถานะเดิมเลือกไว้ท่ี
ท่กเล่ม ดังรูปก่อน วิธีทำาคือ เวลาท่านจะ
เลือกเล่มใดเล่มหนึ่ ง ให้ท่านใช้เม้าส์ไปค
ลิก๊ ที่ลูกศรของช่องเล่มที่ จะมีเมนูย่อย
ตั้งแต่บรรทัดแรกคือ ท่กเล่ม บรรทัดต่อ
มาก็คือ เล่มที่ 1 ถึง เล่มที่ 45 หรือถ้าค้น
ในเล่มของอรรถกถา ก็จะเริ่มต้นท่กเล่ม
เหมือนกัน ต่างที่จำานวนเล่มจะมีต้ังแต่
เล่มที่ 1 ถึง เล่มที่ 91 เล่ม ให้ท่านเลือก
ว่าจะค้นเล่มใดเล่มหนึ่ งได้ตามต้องการ
ซึ่งในตัวอย่างก็คือต้องการค้นเฉพาะ
เล่มที่ 1 เมื่อท่านได้เลขเล่มแล้ว ก็ให้
พิมพ์คำาหรือวลีท่ีท่านต้องการค้นหา
ภายในเล่ม 1 นั้น

ลักษณะที่ ๑.๑. สำาหรับเฉพาะเจาะจงเนื้ อ


ความใน เล่มอื่น ซึ่งเป็ นคนละคัมภีร์ ที่ได้
เปิ ดคัมภีร์เล่มใดเล่มหนึ่ งอยู่ในปั จจ่บัน
และต้องการหาคำาหรือประโยคเฉพาะใน
คัมภีร์เล่มอื่นๆ วิธีการใช้เหมือนกัน ดัง
กล่าวไว้แล้วตามตัวอย่าง
ลักษณะที่ ๒ ในกรณีท่ีท่าน เปิ ดพระ
ไตรปิ ฎกเล่มใดเล่มหนึ่ งอยู่แล้ว ทูาน
ต้องการจะค้นหาเนื้ อความในคัมภีร์
ทีเ่ ปิดอยู่นัน
้ ทูานเพียงกดป่ ่ม ค้นหา
คือร่ปกล้อง สำาหรับช่อง เล่มที่ นั้น จะ
เป็ น เล่มที่ ของคัมภีร์ท่ีเปิ ดอยู่ ซึ่งปรากฏ
เป็ นในช่องนั้นอยู่แล้ว ท่านไม่ต้องเสีย
เวลาในการที่จะเลือกในเมนูย่อย เล่มที่
เพื่อที่จะเปลี่ยนเล่มที่คัมภีร์ให้เสียเวลา
เหมือนอย่างลักษณะที่ ๑ ท่านสามารถ
พิมพ์คำาหรือประโยคที่ต้องการค้นหาได้
ทันที หากท่านต้องการค้นหาเนื้ อความ
ภายในเล่มนั้น
ระบบค้นหาแบบธรรมดา

เริม
่ ระบบการ
ค้นหาแบบ
ธรรมดาส่วนค้น
แบบพิศดารจะ
กล่าวในภายหลัง
กา
รค้นแบบธรรมดา คือ การที่ท่านพิมพ์คำา
วลี หรือประโยคที่ท่านต้องการจะหาใน
พระไตรปิ ฎกหรืออรรถกถา เพื่อให้ทราบ
ว่า คำา วลี หรือประโยคนั้น อยู่ในเล่มใด
หน้าใด หรือข้อไหน วิธีทำาง่ายๆ เพียง
ท่านพิมพ์คำา วลี หรือประโยคที่ท่าน
ต้องการเสร็จแล้ว ให้ท่านกดไอคอนคำา
ว่า ค้นหา หรือ กด Enter โปรแกรม
ค้นหาก็จะหาคำา วลี หรือประโยคที่ท่าน
ต้องการปรากฎออกมา ดังตัวอย่างด้าน
บน ค้นหาคำาว่า กรรม เมื่อท่านกดป่ ่ม
ค้นหา หรือกด Enter แล้ว จะได้ตาม
ตัวอย่างด้านล่างคือ
คำาว่า กรรม ในพระไตรปิ ฎก ๔๕ เล่ม มี
จำานวนทั้งสิ้น 5,014 คำา เป็ นต้น

***เพื่อกันการสับสนจึงขอแทรกใน
การอธิบายส่วนต่างๆ หลังจากแสดงผล
ในการค้นหาเสร็จแล้ว ก่อนที่บอกวิธี
ต่างๆ ในการค้นหาแบบพิศดารต่อไป
***

ชูองคำาทีพ
่ บ

สูวนประกอบ
ใหญู ที่ ๑ คือ คำาทีพ
่ บ หมายถึง ชูองทีบ ่ อกคำาที่
โปรแกรมค้นพบวูามีจำานวนคำาทีพ ่ บ มีกีค่ ำา มี
ตำาแหนูงทีพ ่ บคำานัน้ กีต
่ ำาแหนูง ซึง
่ จะเป็นคำาสัน ้
หรือ คำาทีย
่ าวแตูมีความหมายโดยสมบ่รณ์ในตัว
เชูน ธรรม ถือเป็นคำาสัน ้ กฎธรรมดา ถือเป็นคำา
ยาว
และประกอบด้วยโครงยูอยดังนี้ คือ

๑.๑ คำาทีพ
่ บมีคำาใดบ้าง ซึง
่ อยู่ซ้ายมือในสูวน
ของชูอง คำาทีพ
่ บ

๑.๒ จำานวนทีพ ่ บในแตูละคำา ซึง่ อยู่ขวามือ


ในสูวนชูอง คำาทีพ
่ บ ดังตัวอยูาง ซึง
่ จำานวนทีพ่ บ
จะบอกวูา ในแตูละคำาจำานวนทีค ่ ้นพบทัง ้ หมดมีกี่
ตำาแหนูง ตามล่กศรด้านบน

๑.๓ ข้อสร่ปทัง
้ หมด ในตารางวูามี คำาทีพ
่ บ
กีค
่ ำา และมีจำานวนทัง ้ สิ้น กีต
่ ำาแหนูง
ซึง
่ อยู่ด้านบนส่ดซ้ายมือของชูอง คำาทีพ
่ บ

๑.๔ SCOLLBAR สำาหรับเลื่อนหาคำาทีท


่ ูาน
ต้องการ โดยการใช้เม้าส์ลากขึ้นลงเอา

***ชูอง คำาทีพ
่ บ จะแสดงผลทีไ ่ ด้รับตูางกันตรง
ทีว
่ ูา หากคำา วลี หรือประโยคนัน้ ไมูมี
เครื่องหมาย (*) ดอกจัน เป็นคำาทีเ่ ราหาได้โดย
เฉพาะเจาะจง เชูนคำาสัน ้ วูา กรรม, ธรรม หรือวลี
เชูน หลักปฏิจจสม่ปบาทนัน ้ หรือประโยคเชูน
พระพ่ทธเจ้าจะทรงนำามาสัง่ สอนแกูหมู่ประชา
ชูอง คำาทีพ
่ บ นัน
้ จะแสดงผลออกมาเพียงคำาที่
เราพิมพ์เข้าไปในชูองค้นหา ไมูวูาจะเป็นคำาสัน้
วลี หรือประโยค เทูานัน้ และชูอง คำาทีพ่ บ จะ
สร่ปผลออกมาวูา พบ 1 คำาเทูานัน
้ แตูตำาแหนูง
่ บอาจจะมากกวูา 1 ตำาแหนูงก็ได้ ขึ้นอยู่กับ
ทีพ
คำา วลี หรือประโยคนัน้ ๆ วูามีอยู่ในพระไตรปิฎก
หรืออรรถกถากีต ่ ำาแหนูง

ยกตัวอยูางเชูน ธรรม พบ 1 คำา แตูจะตำาแหนูง


่ บถึง 39,277 ตำาแหนูงหรือคำาวูา โอฆธรรม
ทีพ
พบ 1 คำา และตำาแหนูงทีพ
่ บถึง 44 ตำาแหนูง

***แตูหากเราหาคำา วลี หรือประโยคสัน


้ ๆ โดย
อาศัย (*) ดอกจัน เพื่อให้แสดงผลออกมา (ซึง
่ จะ
อธิบายอยูางละเอียดในชูวงวิธีค้นหาแบบพิศ
ดารในชูวงตูอไป) ในชูอง คำาทีพ
่ บ จะแสดงผล
สร่ปคำาออกมาวูา พบคำามากกวูา 1 คำาแนูนอน
และตำาแหนูงก็จะสร่ปเป็นตำาแหนูงรวมทัง
้ หมด
ของท่กๆ คำาทีค
่ ้นพบคำานัน
้ ๆ

ยกตัวอยูางเชูน เราใช้ (*) ดอกจัน อยู่หน้าและ


หลังคำาวูา *ธรรม* ในชูองค้นหาแล้วกด ENTER
หรือ กดปู ่มค้นหา ก็จะได้ข้อสร่ปในชูอง คำาทีพ
่ บ
วูา พบ 694 คำา และพบตำาแหนูงทัง ้ หมด 117,094
ตำาแหนูง ซึง
่ ก็หมายถึงวูา พบคำาตูางๆ ทีผ
่ สมอยู่
กับคำาวูา ธรรม ถึง 693 คำา เชูนคำาวูา กัลยาณ
ธรรม มี 109 ตำาแหนูง, ธรรมขันธ์ มี 16
ตำาแหนูง, อก่ศลธรรมทัง
้ หลาย มี 368 ตำาแหนูง
และคำาอื่นๆ รวม 693 คำา และในแตูละคำาก็จะ
บอกตำาแหนูงของคำานัน้ ๆ และในจำานวนการ
แสดงพบของคำา นัน ้ ก็จะมีคำาหลักของคำานัน

ด้วย ในตัวอยูางคือ คำาวูา ธรรม ก็จะมีคำาวูา
่ บจำานวน 694 ด้วย สร่ป
ธรรม รวมอยู่ในคำาทีพ
คือ มีคำาหลัก 1 คำา รวมคำาอื่นๆทีม
่ ีคำาผสมอยู่

(คำาหลัก 1 คำา + คำาผสม 693 คำา ทัง


้ หมดรวม
694 คำา )

(ตำาแหนูงทีพ
่ บ คำาหลักคือคำาวูา ธรรม มี 39,277
ตำาแหนูง แตูมีคำาผสม 77,817 ตำาแหนูง แตูชูอง
คำาทีพ ้ หมด คือ 117,094
่ บ จะสร่ปยอดไว้ทัง
ตำาแหนูง โดยมาจากตำาแหนูงคำาหลักและคำา
ผสมรวมกัน 77,817+39,277 = 117,094 ตำาแหนูง)
ชูองเลูมทีพ
่ บ
สูวนที่ ๒ ชูอง เลูมทีพ่ บ คือ ชูองทีบ
่ อกเลูม
คัมภีร์วูา คำาทีท
่ ูานต้องการหา อยู่ในคัมภีร์เลูม
ใดบ้าง
สูวนประกอบยูอยของชูอง เลูมทีพ
่ บ คือ

๒.๑ ชูองเลูมที่ จะบอกเลูมคัมภีร์วูา คำาที่


ทูานต้องการหานัน้ อยู่ในเลูมคัมภีร์ใดบ้าง
๒.๒ ชูองจำานวน จะบอกจำานวนของคำาทีท ่ ูาน
ต้องการหาวูา ในเลูมนัน้ ๆ มีคำาทีต
่ ้องการ
ทัง
้ หมด กีต
่ ำาแหนูง

๒.๓ Scollar จะมีข้ึนตูอเมื่อ คำาทีต


่ ้องการหา
มีอยู่ในเลูมคัมภีร์ตูางๆ มากกวูา 3 เลูมขึ้นไป
่ ะเลื่อนด่คัมภีร์เลูมอื่นๆ หรือจะใช้ PAGE
เพื่อทีจ
UP PAGE DOWN ก็ได้

โดยหลังจากทีท
่ ูานหาคำาทีท
่ ูานต้องการแล้ว
***ให้สังเกต่คือ ทีช ่ ูอง คำาทีพ ่ บ เมื่อเลื่อน คำาที่
พบ ท่กครัง ้ แทบสีน้ ำาเงิน ก็ไปตามคำาตูางๆ ที่
ทูานเลือกไปเรื่อยๆ จนทูานพบคำาทีท ่ ูานต้องการ
และท่กครัง ้ ทีท
่ ูานเลือกคำาทีพ ่ บ ตูางๆ อยู่นัน ้ ให้
ทูานสังเกต่ชูอง เลูมทีพ ่ บ จะสังเกต่เห็นวูา
คัมภีร์จะเปลีย ่ นเลูมตามคำาทีท ่ ูานเลื่อนแทบ
นำ้าเงิน ในการค้นหาคำาทีท ่ ูานพบในแตูละครัง ้
สิง่ ทีน
่ ูาสังเกต่อีกอยูางคือ หากคำานัน ้ เป็นคำา
กลางและมีตำาแหนูงอยู่แทบท่กคัมภีร์ ชูอง เลูม
ทีพ ่ บ จะไมูมีการเปลีย ่ นแปลงเลขทีค ่ ัมภีร์ จะ
เปลีย ่ นก็จะเฉพาะจำานวนตำาแหนูงด้านขวามือ
เทูานัน ้ เชูนคำาวูา ธรรม จะมีเลูมทีพ ่ บในคัมภีร์
ตัง
้ แตูเลูมที่ ๑- ๔๕ แตูหากเป็นคำายาวขึ้นเชูนคำา
วูา กฏธรรมดา จะมีเฉพาะเลูมที่ ๒๘ เลูมเดียว
เทูานัน
้ ทีแ่ สดงในชูอง เลูมทีพ
่ บ เป็นต้น

**สิง
่ ทีห
่ น้าสังเกต่ก็คือ ถ้าทูานยังไมูได้ดับเบิ้ลค
๊ ที่ เลูมทีเ่ ลูมใดเลูมหนึ่ง หรือกด Enter ก็จะยัง
ลิก
ไมูมีเนื้ อความหรือตำาแหนูงของคำาในพระ
ไตรปิฎกหรืออรรถกถา ปรากฏขึ้นดังตัวอยูาง
ด้านบน(ตามล่กศร) ชูองแสดงผลจะวูางไมูมีตัว
อักษร ****

แสดงคำาทีพ
่ บ

สูวนที่ ๓ แสดงคำาทีค่ ้นพบ คือ สูวนทีแ่ สดง


ผลตำาแหนูงของคำานัน ้ ๆ จากค้นหา และเป็นสูวน
ทีแ่ สดงเนื้ อหาของคัมภีร์นัน้ ๆ ทัง
้ หมด ใน
ตัวอยูางจะทำาบอกขัน ้ ตอนตัง ้ แตูแรกจนถึง
ปั จจ่บนั ครูาวๆ คือ สมมติวูาทูานต้องการหาคำา
วูา ธรรมกถึก ให้ทูานพิมพ์คำาวูา ธรรมกถึก ลง
ชูองค้นหา เมื่อพิมพ์เสร็จแล้ว ให้กด ENTER
แล้วผลจะออกมาดังตัวอยูางด้านบนจะเห็นวูา
จะพบคำาวูา ธรรมกถึก มีตำาแหนูงในพระ
้ สิ้น 111 ตำาแหนูง และคำาวูา ธรรมก
ไตรปิฎกทัง
ถึก อยู่ในเลูมที่ 2 เป็นเลูมแรก จำานวนทีพ
่ บ
ตำาแหนูงในเลูมที่ 2 นัน้ คือ 37 ตำาแหนูง ใน
ตัวอยูางคือ เมื่อเลือกเลูมทีจ่ ะเปิดแล้ว ในชูอง
่ บ ให้กด ENTER หรือดับเบิ้ลคลิก
เลูมทีพ ๊ เม้าส์
ตรงเลูมทีเ่ ราเลือก หน้าจอตรงสูวนของชูอง
แสดงคำาทีค ่ ้นพบ ก็จะแสดงผลคำาวูา ธรรมกถึก
่ จะเป็นจ่ดแรกในเลูมที่ 2 ซึง
ซึง ่ อยู่หน้า ๒๐๘ ข้อ
๑๙๖ ดังภาพด้านบน
ปูม
่ ยูอ
ขยายหน้าตูางผลจากการค้นหา
หรือ ปูม
่ ซูอนผลการค้นหา

ปู่มยูอ
ขยายหน้าตูางผลจากการค้นหา
คือ ปู ม
่ ทีเ่ อาไว้ยูอหรือขยายชูองผลจากการ
ค้นหา เพื่อให้เห็นข้อความมากบรรทัดขึ้น ปู ่มนี้
จะใช้ตอ ู เมื่อเราเปิดคัมภีร์หลังจากเราค้นหา
เรียบร้อยแล้ว และขยายบรรทัดให้เห็นข้อความ
ได้มากกวูาเดิม
และเมื่อเรากดปู ่ม ปู ม
่ ขยายหน้าตูางผลจาก
การค้นหา แล้ว ดังภาพกูอน
ก็จะได้การแสดงผล ดังภาพบนนี้ คือ ขยายเนื้ อ
ความให้มากบรรทัดขึ้น และอูานได้งูายกวูาภาพ
กูอน และเมื่อเราต้องการจะเปิดหาคำาอื่นในชูอง
คำาทีพ่ บ หรือหาเลูมอื่นในชูอง เลูมทีพ
่ บ อีกครัง้
ก็ให้ กดปู ่มยูอหน้าตูางผลจากการค้นหา คือ
ภาพก็จะแสดงผลออกมาเหมือนเดิม กูอนทีจ ่ ะ
ขยายหน้าตูางผลจากการค้นหา ดังภาพแรก

ปู่มย้อนกลับไปคำาเดิมและปู่มเลือก
คำาตูอไป
ปู่มเลือกคำาตูอไป คือ ปูม ่ เลื่อน
ตำาแหนูงตูอไปของคำานัน ้ ๆ และจะ
ใช้ตูอเมื่อต้องการหาคำาทีไ ่ ด้จากผล
การค้นหา แตูคำาทีค ่ ้นหานัน ้ ยัง
ไมูใชูตำาแหนูงในเนื้ อความทีเ่ รา
ต้องการ ก็ให้กดปู่มนี้ ไปเรื่อยๆ จน
หาเนื้ อความทีเ่ ราต้องการพบ (สิง ่ ที่
นูาสังเกต่คือ ปูม่ นี้ หากไมูสามารถ
ใช้ได้ จะมีสีเทาดำา และจะมีสีใส
่ ะทำางานได้)
แสดงวูาปู่มนี้ พร้อมทีจ

ปู่มย้อนกลับไปคำาเดิม คือ ปู่มที่


จะใช้ตูอเมื่อ หลังจากทีเ่ ราใช้ปู่ม
เลื่อนตำาแหนูงไปเรื่อยๆ ถึงท้ายส่ด
ของเลูมนัน ้ หรือเลื่อนตำาแหนูงเลย
ตำาแหนูงทีต ่ ้องการไป และต้องการ
จะย้อนกลับมาด่ตำาแหนูงนัน ้ อีกครัง

ก็ให้กดปูม ่
ปู่มย้อนกลับไปคำาเดิม เพื่อจะเลื่อน
ตำาแหนูงของคำากลับไปยังตำาแหนูง
เดิม
โดยปกติ ปูม ่ ย้อนกลับไปคำาเดิม จะ
มีสเี ทาดำา นัน่ แสดงวูา ปูม
่ นี้ ยังไมู
ทำางาน ตูอเมื่อค่ณเลื่อนตำาแหนูง
ของคำาไปข้างหน้าเมื่อไร ปู่มย้อน
กลับไปคำาเดิม
จะเริม
่ ทำางานได้ทันที
ชูองบอกตำาแหนูงคำา

ชูอง
บอกตำาแหนูงคำา หมายถึง ชูองทีบ
่ อก
ตำาแหนูงของคำานัน
้ ๆ วูา อยู่ในข้อใด และใน
แตูละข้อมีคำานัน ่ ำาแหนูง (ล่กศรตามแนว
้ อยู่กีต
นอนในตัวอยูาง) ซึง ่ ตำาแหนูงจะมากหรือน้อยขึ้น
อยู่กับข้อในแตูละข้อวูา มีเนื้ อความมากหรือน้อย
หรือคำาๆ นัน้ เป็นคำาทีใ
่ ช้กันอยู่บอ
ู ยๆ หรือไมู
ทูานสามารถจะเลือก เลขข้อ ของคำานัน ้ ๆ ในชูอง
นี้ ได้ โดยใช้เม้าส์ไปคลิก ๊ ทีล
่ ่กศร ชูองบอก
ตำาแหนูงคำา เมื่อคลิก ๊ แล้วจะมีเมน่ให้ทูานเลือก
ข้อทีต ่ ำาแหนูงของคำานัน้ ๆ มีอยู่
การทีจ
่ ะใช้วิธีน้ี เนื่ องจากผ้่ใช้เองทราบวูาคำาที่
ต้องการหานัน ้ อยู่ในข้อใด
หากถามวูา จะแตกตูางอะไรกับการหาเลขข้อ
(ด้านลูางโปรแกรม หลังเลขหน้า)

ตอบ แตกตูางกันคือ ถ้าเราเลือก เลขข้อ ในชูอง


บอกตำาแหนูงคำา เมื่อเราเลือกแล้วข้อใดข้อหนึ่ง
ทีต ่ ้องการแล้ว ตำาแหนูงและสัญลักษณ์ของคำา
นัน
้ จะอยู่บรรทัดแรก โดยเราไมูต้องไปหาคำาๆ
นัน้ ให้เสียเวลาอีก

แตูหากเราเลือกเลขข้อ (ด้านลูางโปรแกรม หลัง


เลขหน้า) แม้วูาเราจะได้ การแสดงผลในเลขข้อ
ทีเ่ ราทราบก็ตาม แตูเนื้ อหาการแสดงผลออกมา
คือ ต้นข้อความของข้อนัน ้ ๆ ไมูใชูตำาแหนูงทีเ่ รา
ต้องการค้นหา ทำาให้เราต้องเสียเวลาในการหา
ตำาแหนูงของคำานัน้ ในข้อนัน ้ อีก

ระบบการค้นหาแบบพิศดาร
กูอนทีจ่ ะกลูาวถึงการค้นหา
แบบพิศดาร ขอทบทวนระบบการ
ค้นหาตัง
้ แตูแรกกูอนคือ
ปู ่มค้นหา โดยเลือกทีเ่ มน่หลัก(พระ
ไตรปิฎก ฉบับธรรมทาน) ด้านบนส่ดแล้วคลิก ๊
เม้าส์หนึ่งครัง
้ เมน่ก็จะปรากฏออกมา มี คัมภีร์
ค้นหา เครื่องมือ แนะนำา ปิดโปรแกรม ให้ไป
เลือกไอคอนชื่อค้นหา ก็จะสามารถเลือกทีจ ่ ะ
ค้นหาคำาหรือประโยคได้ท่กเลูมหรือจะเลือกค้น
แตูละเลูมก็ได้
สูวนการเลือกพระไตรปิฎกและอรรถกถาก็ให้
เปลีย่ นได้เองตามความต้องการ โดยใช้เม้าส์ไป
คลิก
๊ ชูองซ้ายแล้วเลือกตามความต้องการ
หลังจากนัน
้ ให้ทูานพิมพ์คำา วลี หรือประโยค
ทีท
่ ูานต้องการจะหา ลงในชูองคำาทีต ่ ้องการ
ค้นหา หลังจากนัน ้ ก็ให้กดปู ่ม ค้นหา หรือ กด
ENTER ก็จะได้คำาทีต
่ ้องการออกมา

เมื่อทูานต้องการค้นหาอีกก็ให้กดปู ่ม ค้นหา
่ เป็นร่ปกล้อง หรือจะกดปู ่ม F1 ทีค
ซึง ่ ีย์บอร์ด
ก็ได้ ดังทีไ
่ ด้อธิบายไว้ตัง
้ แตูต้นแล้ว

**วิธีกูอนทีจ
่ ะค้นหาคำาหรือ
ประโยคแบบพิศดารสามารถทำาได้ ๒
วิธีคือ

๑.๑ เมื่อท่านเปิ ดคัมภีร์เล่มใดเล่ม


หนึ่ งแล้ว ท่านอาจจะใช้เม้าส์ MARK
เป็ นแทบสีดำา คำา วลีหรือประโยค ที่ท่าน
ต้องการจะค้น แล้วให้ กด F1 ท่านก็
สามารถค้นคำาหรือประโยคที่ท่าน
ต้องการได้ทันที เพราะคำาที่จะค้นนั้นจะ
อยู่ในช่องค้นหาโดยอัตโนมัติไม่ต้องเสีย
เวลาพิมพ์อีก (การทำาแบบนี้ หมายถึง
ต้องการค้นหาคำาหรือประโยคที่อยู่ใน
เล่มอื่น หรือในคัมภีร์อ่ น
ื ๆ เช่นเปิ ดพระ
ไตรปิ ฎกอยู่ ต้องการค้นหาในอรรถกถา
หรือเปิ ดคัมภีร์อรรถกถาแต่ต้องการจะ
ค้นคำานั้นในพระไตรปิ ฎก)

๑.๒ เมื่อท่านเปิ ดคัมภีร์เล่มใดเล่ม


หนึ่ งแล้ว ท่านอาจจะใช้เม้าส์ MARK
เป็ นแทบสีดำา คำา วลีหรือประโยค ที่ท่าน
ต้องการจะค้น แล้วให้คลิก ๊ เม้าส์ขวามือ
จะมีเมนูให้ท่านเลือก ให้ท่านเลือกกดที่
ป่ ่มค้นหา ระบบค้นหาก็จะปรากฏขึ้น
พร้อมกับคำาที่ท่าน MARK ไว้ ท่านก็
สามารถค้นหาคำาได้ทันทีโดยไม่ต้องพิมพ์
คำาที่ท่านต้องการ
เหมือนอย่างข้อ ๑.๑ ข้างต้น ต่างเพียงใช้
๊ ขวามือ หรือกด F1
เมนูโดยใช้เม้าส์คลิก

ดังตัวอย่างเมนูคือ
ให้เลือกช่องนี้ จะมีแทบสีน้ ำาเงิน
ค้นหา
คัดลอกข้อความ
ให้ดูตัวอย่างในหน้าต่อไป พิมพ์
ข้อความทีเ่ ลือกไว้
เลือก
ทัง
้ หม

เมื่อทูาน MARK แทบดำาแล้ว ให้คลิก
๊ ขวามือ
ของเม้าส์ ก็จะมีเมน่ข้ึนมา ให้เลือกช่องค้นหา

เมื่อเราเลือก กดป่ ม
่ ในช่องค้นหาแล้ว คำา
หรือประโยคที่เรา MARK ไว้ ดังตัวอย่าง
คือ พร้อมด้วยภิกษ่สงฆ์ ก็จะอยู่ในช่องคำา
ที่ต้องการค้นหา โดยอัตโนมัติ และพร้อม
ที่จะค้นหาได้ทันที
หมายเหต่ ป่ ่มค้นหามีอยู่ท่กคัมภีร์
ไม่ว่าจะเป็ นมิลินทปั ญหา วิส่ทธิมรรค
ค่ณสามารถใช้ป่่มค้นหาในรูปกล้องเพื่อ
หาคำาในพระไตรปิ ฎกหรืออรรถกถาได้
ทันที

๑. ระบบการค้นหาทัว
่ ไป
๑. ค้นหา หมายถึง ต้องการค้นหาคำา,
วลีหรือประโยคที่ท่านต้องการไม่ว่าจะ
เป็ นคำาเดียวโดดๆ ที่ไม่มีการเว้นวรรค
หรือคำาเดียวที่มีการเว้นวรรคก็ตาม หรือ
คำาหลายคำามีความสัมพันธ์กัน ซึ่งอยู่ใกล้
กันหรืออยู่ห่างกัน ก็จะสามารถหาได้ท่ก
รูปแบบ ดังมีรายละเอียดในการค้นหาได้
หลายวิธีคือ

๑.๑ การค้นหาแบบเป็นคำา, วลีหรือ


ประโยค ซึง่ เป็นคำาเดียวโดดๆ

การค้นหาแบบเป็ นคำา, วลีหรือประโยค


ซึ่งเป็ นคำาเดียวโดดๆ หรือเป็ นประโยคที่
ติดกันในเนื้ อหา เราจะใช้วธิ ีน้ี เพียงเพื่อ
หาคำาเหล่านั้น ว่าอยู่เล่มใด ข้อใด มี
จำานวนเท่าใด ซึ่งเป็ นการค้นแบบ
ธรรมดา เช่น นิ พพาน, อริยสัจ,
ธรรมกาย, กรรม, ธรรม, ผู้ใดเห็น
ธรรม, นครพันธ่มดีราชธานี , ด่กรภิกษ่
ทัง
้ หลาย เป็ นต้น ฯลฯ
โปรแกรมใช้เวลาในการหาคำาแบบนี้
ประมาณ ๑ วินาที

*ในกรณีท่ีเป็ นคำาซึ่งส่วนใหญ่ไม่ค่อยหา
กันหรือไม่ใช้คำาศัพท์ท่ีมีอยู่ในฐานข้อมูล
ซึ่งต้องค้นหาทั้ง ๔๕ เล่ม ต้องใช้เวลาใน
การค้นหาประมาณ 2-3 วินาที แล้วแต่
ความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละ
ท่าน ซึ่งระบบนี้ เป็ นระบบที่เร็วที่ส่ดแล้ว
ในย่คปั จจ่บน

*ในระบบการค้นหา หากคำาหรือประโยค
ไม่มีข้อมูลในฐานข้อมูล ระบบจะค้นหา
ข้อมูลใน ๔๕ เล่ม ให้เองโดยอัตโนมัติ
โดยไม่ต้องถามท่านว่า ต้องการค้นหาอีก
หรือไม่ใน ๔๕ เล่ม
*หลักการ
นี้ จะใช้กับระบบการค้นหาทั้งหมดไม่ว่า
จะค้นหาด้วยวิธีใดก็ตาม *

ตัวอย่างการค้นหาแบบ
ธรรมดา

เริม
่ การค้นหาแบบพิศดาร

๒. การ
ค้นหาแบบหาคำาโดยพิมพ์แบบ *…
คือ พิมพ์แบบ WILDCARD (ดอกจัน)
ทีอ
่ ยูต
่ ิดกับตัวอักษรซึง
่ หมายถึงอักษรหรือคำา
หรือวลี ไมูวูาจะเป็นอักษรใดก็ตามทีอ ่ ยู่ข้างหน้า
ทัง้ หมดของคำาวูา กรรม ให้แสดงผลออกมา
ทัง ่ วิธพิ
้ หมด ซึง ี มพ์คือ *ธรรม จะได้ผล
ค้นหาคือ กรรมเป็นธรรม , กัณหธรรม,
กัลยาณธรรม เป็นต้น ด่ตัวอยูาง

ในตัวอยูาง จะพบคำาทีอ
่ ยู่หน้าคำา
้ หมด 442 คำา และมี
วูา ธรรม ทัง
ตำาแหนูงทีพ ้ สิ้น 103,163
่ บทัง
ตำาแหนูง ในตัวอยูาง เปิดด่คำาวูา
กรรมเป็นธรรม ซึง ่ มีตำาแหนูง
้ หมด 369 ตำาแหนูง ในพระ
ทัง
ไตรปิฎก
ใช้เวลาในการหาคำาทีพ
่ ิมพ์แบบ
*… ประมาณ ๑ วินาที

๒.๑ การ
ค้นหาแบบหาคำาโดยพิมพ์แบบ …*
ซึง
่ หมายถึงอักษรหรือคำา หรือวลี ไมู
วูาจะเป็นอักษรใดก็ตามทีอ่ ยู่ด้าน
หลังทัง
้ หมดของคำาวูา กรรม ให้
ปรากฏออกมาทัง
้ หมด ซึง
่ วิธีพิมพ์วูา
กรรม* เชูน กรรมกรณ์, กรรมวิบาก,
กรรมส่ตร, กรรมภพ, กรรมลักษณะ
เป็นต้น. ด่ตัวอยูางด้านลูาง

ในตัวอยูาง จะพบคำาทีอ
่ ยู่หลังคำาวูา
้ หมด 20 คำา และมี
กรรม ทัง
ตำาแหนูงทีพ ้ สิ้น 6,105 ตำาแหนูง
่ บทัง
ในตัวอยูาง เปิดด่คำาวูา กรรมกรณ์
ซึง ้ หมด 97 ตำาแหนูง
่ มีตำาแหนูงทัง
ในพระไตรปิฎก
ใช้เวลาในการหาคำาทีพ
่ ิมพ์แบบ
…* ประมาณ ๑ วินาที

๒.๒ การค้นหาแบบ *...* (WILDCARD) มีดอกจัน


ทีม
่ ีอยู่หน้าและหลังคำาทีต่ ้องการค้นหา ซึง
่ หมาย
ถึง การค้นหาอักษรหรือคำา หรือวลี ไมูวูาจะเป็น
อักษรใดก็ตาม ทีอ ่ ยู่ข้างหน้าหรือข้างหลังทีอ
่ ยู่
ติดกันของคำานัน
้ ๆ จะปรากฎออกมาทัง
้ หมด.
โดยใช้วิธีพิมพ์ คือ *กรรม* โดยการพิมพ์ติดกัน
ไมูมีเว้นวรรค ซึง
่ หมายถึงอักษร หรือวลีทัง
้ หมด
ไมูวูาจะอยู่ข้างหน้า กรรม หรือข้างหลัง ให้แสดง
ผลจากค้นหาออกมาทัง ้ หมด เชูน

กายกรรม
ฝูายก่ศล, ก่ศลกรรมบท, ญัตติกรรมวาจา
เป็นต้น ฯลฯ.

ดังในตัวอยูาง จะพบคำาทีอ
่ ยู่หน้าหลังคำาวูา
้ หมด 120 คำา และมีตำาแหนูงทีพ
กรรม ทัง ่ บทัง

สิ้น 12,228 ตำาแหนูง ในตัวอยูาง ต้องการเปิดด่
คำาวูา ก่ศลกรรมบถ ในเลูมที่ 11 ซึง
่ มี 4
ตำาแหนูง และมีตำาแหนูงเฉพาะคำานี้ รวมทัง้ หมด
แล้ว 21 ตำาแหนูงในพระไตรปิฎก

่ ิมพ์แบบ (*…*)
ใช้เวลาในการหาคำาทีพ
ประมาณ ๑ วินาที

**แบบที่ ๓ ต้องการค้นหาคำา,
วลี หรือประโยค ทีไ
่ มูติดกัน แตูเป็น
คำา ,

วลี หรือ ประโยค โดยมีการเคาะเว้น


วรรค(space) เป็นตัวคัน
่ และมี
ข้อความตูอเนื่ องตามกันมาในเนื้ อ
ความของพระไตรปิฎกหรืออรรถ
กถานัน
้ โดยคำาหรือวลีนัน้ จะต้อง
ขาดจากประโยคอื่นโดยมี space
(เคาะวรรค)เป็นตัวคัน
่ โดยใช้วิธี
พิมพ์คือ
ด่กรอานนท์ วันนี้ เมื่อกี้น้ี เมื่อเราพิมพ์
ลงในช่องค้นหาแล้วกดค้นหาหรือกด
ENTER ผลก็จะปรากฏออกมาคือ
ก็จักปรินิพพาน ด่กรอานนท์ วันนี้ เมื่อกี้
นี้ ตถาคตมีสติสัมปชัญญะปลงอาย่สังขารแล้ว

นั ่นคือ วลี ๒ วลี นี้ อยู่ในเลูม ๑๐ หน้า ๙๕


ข้อ ๑๐๒ (ให้สังเกตุวลีท้ ังสองให้ดีวูา ในแตู
วลีจะมีเคาะวรรคตั้งแตู 1 เคาะขึ้นไปเพื่อ
แยกวลีน้ ั นออกจากวลีหรือประโยคโดยเด็ด
ขาด)

ในตัวอยูาง วิธีค้นหาแบบนี้ มักไมูคูอยนิ ยม


ใช้กันเพราะทราบข้อม่ลในคำาหรือวลีน้ ั นอยู่
แล้ว แตูการหาด้วยวิธีน้ ี เป็ นเพียงต้องการร้่
วูา คำา วลี หรือประโยคตูอไป หรือกูอนหน้า
นั้ นคืออะไรเทูานั้ น แตูถ้ามัน
่ ใจหรือจำาวลี
นั้ นๆ ได้ ก็สามารถหาด้วยวิธีน้ ี ได้ เพราะจะ
ได้ตรงประเด็นและได้ผลออกมาเลย (แตู
สูวนใหญูมักใช้วิธีตูอไปมากกวูา)
๓.๒ ต้องการค้นหาคำา, วลี หรือประโยค ที่
ิ กัน แตูเป็นคำา ,วลี หรือ ประโยค โดยมี
ไมูตด

การเคาะเว้นวรรค(space) เป็นตัวคัน
่ (… ) และ
มีข้อความตูอเนื่ องตามกันมาในเนื้ อความของ
พระไตรปิฎกหรืออรรถกถานัน ้ โดยต้องจำาคำาได้
บางสูวนจะเป็นคำาทีอ ่ ยู่ด้านหน้าหรือคำาทีอ
่ ยู่ด้าน
หลัง ของคำาทีจ
่ ะหาตูอไปก็ได้ โดยอาศัย
WILDCARD (*) ดอกจัน วิธีพิมพ์หาคำาทีอ
่ ยู่ด้าน

หน้า คือ * ภรรยา (หมายถึงวูา ต้องการหาคำา


วลี หรือประโยค ทีอ
่ ยู่ด้านกูอนคำาวูา ภรรยา ให้
แสดงผลออกมาทัง
้ หมด)

**อยูาลืมวูาหลักทีว
่ ูาคำาทีเ่ ราพิมพ์เป็นหลักเพื่อ
จะหาคำา วลีหรือประโยคนัน ้ จะต้องเป็นคำาทีไ
่ มู
้ จะต้องเว้น 1
ติดกับคำาใดเลย และดอกจันนัน
เคาะด้วย(space) กับคำานัน
้ ๆ เสมอ

ในตัวอยูาง เมื่อค้นหาแล้วจะได้
ผลออกมาคือ พบคำาทีอ ่ ยู่หน้าคำาวูา
ภรรยา ทีอ
่ ยู่คนละประโยคกัน ใน
้ หมด 19 คำา เชูน
พระไตรปิฎก ทัง
บ่ตร ภรรยา,
ธิดา ภรรยา , นาทีด
่ ิน ภรรยา, ชนทั้ง
หลายได้บุตร ภรรยา และอื่นๆ เป็นต้น

วิธีพิมพ์หาคำาทีอ
่ ยู่หลังคำา คือ ภรรยา *
(หมายถึงวูา ต้องการหาคำา วลี หรือประโยค ที่
อยู่ด้านหลัง ตูอจากคำาวูา ภรรยา ให้แสดงผลอ
อกมาทัง
้ หมด)
**อ
ยูาลืมวูาหลักทีว
่ ูาคำาทีเ่ ราพิมพ์เป็นหลักเพื่อจะ
หาคำา วลีหรือประโยคนัน ้ จะต้องเป็นคำาทีไ
่ มูตด

้ จะต้องเว้น 1 เคาะ
กับคำาใดเลย และดอกจัน นัน
ด้วย(space) กับคำานัน
้ ๆ เสมอ

ในตัวอยูาง เมื่อค้นหาแล้วจะได้ผลออก
มาคือ พบคำาอื่นทีอ
่ ยู่หลังคำาวูา ภรรยา ทีอ
่ ยู่
้ หมด 22 คำา
คนละประโยคกัน ในพระไตรปิฎกทัง
้ สิ้น 34 ตำาแหนูง
และมีตำาแหนูงพบทัง

ในตัวอยูาง ต้องการเลือกเปิดด่คำาวูา ภรรยา ๑๐


ในเลูมที่ 1 ซึง
่ มี 2 ตำาแหนูง ในพระไตรปิฎก

่ ิมพ์แบบ (…*)
ใช้เวลาในการหาคำาทีพ
ประมาณ ๑ วินาที
๓.๓ ต้องการค้นหาคำา, วลี หรือ
ประโยค ทีไ่ มูติดกัน แตูเป็นคำา ,วลี
หรือ ประโยค โดยมีการเคาะเว้น
วรรค(space) เป็ นตัวคั่น และมีข้อความ
ต่อเนื่ องตามกันมาในเนื้ อความของพระ
ไตรปิ ฎกหรืออรรถกถานั้น โดยต้องการ
ทราบคำาหรือวลีท่ีอยู่ด้านหน้าและหลัง
ของคำาที่หาด้วย โดยใช้ดอกจัน *
(WILDCARD) วิธีพม
ิ พ์หาคำาคือ

* กรรม * ซึง
่ หมายถึงวูา พิมพ์
ดอกจัน (*) แล้วเคาะวรรคหนึ่งครัง

พิมพ์คำาวูา กรรม (หรือคำาทีเ่ รา
ต้องการ) แล้วเคาะวรรคหนึ่งครัง

และพิมพ์ดอกจันอีก * ซึง ่ การพิมพ์
ค้นหาคำาแบบนี้ หมายถึงวูา คำา วลี
หรือประโยคใดๆ ทีอ ่ ยู่หน้าหรือหลัง
แตูไมูติดกับคำาวูา กรรม ให้แสดง
ผลออกมาทัง ้ หมด เพื่อให้เราเลือก
ค้นหาข้อความทีเ่ ราต้องการ ด่
ตัวอยูาง วูาได้ผลสร่ปจากการค้นหา
ด้วยวิธีน้ี คือ
ผลทีไ่ ด้จากคำาทีต
่ ูอกันแตูอยู่หูางกัน
เว้นวรรคหนึ่งขึ้นไปทีเ่ ป็นประโยค
เชูน
คือ กรรม รูางกายนี้ ยูอมมีสมบัติกับ
วิบต
ั ิเป็นคู่กัน
ผลทีไ่ ด้จากคำาทีต
่ ูอกันแตูอยู่หูางกัน
เว้นวรรคหนึ่งขึ้นไปทีเ่ ป็นวลีสัน
้ ๆ
เชูน
ด่กรป่ณณะ กรรม ๔
หรือได้คำาหรือตัวเลขทีต
่ ูอกัน แตูอยู่
หูางกัน เว้นวรรคหนึ่งขึ้นไปเชูน
๕๐๐ กรรม ๕
วิธน
ี ้ี มักนิ ยมใช้กันมาก เพราะจำาคำาแค่คำา
เดียวก็สามารถหาคำา วลี หรือประโยค ที่
ต่อหน้าหรือต่อท้ายที่อยู่ท่ีอยู่คนละ
ประโยคได้
๓.๔ การค้นหาแบบพิมพ์วลีวูา
*ธรรมดา พวกเธอ* ซึง
่ ก็หมายถึงว่า
คำา, วลี หรือประโยค ที่อยู่ด้านหน้าของ
คำาว่า ธรรมดา ทั้งหมด และคำาที่อยู่หลัง
คำาว่า พวกเธอ ทั้งหมด ให้ค้นหาแสดง
ผลออกมาทั้งหมดในพระไตรปิ ฎก ๔๕
เล่ม
และผลที่ได้จากการค้นหาด้วยวิธีน้ี ได้
ประโยคออกมาก็คือ
สังขารทัง
้ หลายมีความเสื่อมเป็นธรรมดา พวก
เธอจงยังความไมูประมาทให้ถึงพร้อม
และประโยคอื่นๆ ให้เราเลือก โดยมีวลีคำาวูา
ธรรมดา และคำาวูา พวกเธอ เป็นหลัก

การค้นหาคำาแบบนี้ ทูานต้องจำา
คำาท้ายของประโยค และจำาคำาหน้า
ของประโยคให้ได้ เพื่อจะได้เป็น
หลักในการหาข้อม่ลให้ตรงประเด็น
ทีส
่ ด่ (สิง
่ ทีน
่ ูาสังเกต่คือ ถ้าเราจำาคำา
ทีท่ ้ายส่ดและหน้าส่ดของประโยคที่
เราต้องการจะค้นได้มากเทูาไร
จำานวนผลสร่ปก็จะออกมาให้เราได้
ตำาแหนูงของคำาหรือประโยคทีเ่ รา
ต้องการได้งูายขึ้นเทูานัน

แตูหาก
เราจำาคำาบางคำาได้บ้าง ไมูได้บ้างทูานสามารถใช้
ดอกจัน (*) ให้เป็นประโยชน์แทนคำาทีเ่ ราจำาไมู
ได้ แตูมีข้อแม้วูาต้องเรียงกันให้ถ่กต้อง ตามกัน
ในเนื้ อความในพระไตรปิฎกหรืออรรถกถา จึงจะ
ใช้ระบบค้นหาแบบนี้ ได้ แตูโดยสูวนใหญูมักไมู
คูอยใช้การหาระบบแบบนี้ กัน ให้ด่ผลของการ
ค้นตามของตัวอยูางในหน้าตูอไป
ตัวอยูาง การค้นหาโดยการพิมพ์แบบมีดอก
จันแทนคำาตูางๆ วิธีค้นหาคือพิมพ์ดังนี้

ร่ป *นา สัญ* * *เป็น* ผลจากการค้นหาคือ ร่ป


เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเป็นอนัตตาจะ
บอกสัญญลักษณ์ตูางๆ วูา การทีพ
่ ิมพ์แบบนี้
หมายความวูาอยูางไร

คำาวูา ร่ป ถือเป็นคำาเต็ม สูวน *นา หมายถึง คำา


อะไรก็แล้วแตูทอ ี่ ยู่หน้าคำาวูา นา แล้วต้องตาม
ด้วยอักษรวูา สัญ สูวนคำาวูา สัญ* หมายถึง คำา
อะไรก็แล้วแตูทอี่ ยู่หลังคำาวูา สัญ ให้แสดงผลอ
อกมา สูวน(*)หมายถึงคำาทีต
่ ามหลังคำาวูา สัญ
ด้วยคำาอะไรก็ได้ สูวน *เป็น* หมายถึง คำาอะไร
ก็ได้ทีอ
่ ยู่ด้านหน้าและด้านหลังของคำาวูา เป็น
***๔. การค้นหาแบบโดยอยู่ในข้อ
หรือหน้าเดียวกันคือ
การค้นหาคำา วลี หรือประโยค ทีอ ่ ยู่
ในข้อเดียวกัน ซึง
่ ค้นในพระไตรปิฎก
หรืออยู่ในหน้าเดียวกัน ซึง
่ ค้นใน
อรรถกถา
ถ้าเป็นพระไตรปิฎกก็จะสามารถหา
คำา วลี หรือประโยค ในข้อเดียวกัน
ได้
แตูหากเป็นอรรถกถาก็จะสามารถ
หาคำา วลี หรือประโยค ในหน้า
เดียวกันได้

**การค้นหาแบบนี้เป็นแบบพิศดาร
ทีไ
่ ด้ประโยชน์ส้งส่ด เพราะผ้้ใช้
เพียงจำาคำาหรือวลีได้เพียงเล็กน้อย
ในหลายๆคำา ก็สามารถหาตำาแหน่ง
ในเนื้อหาทีเ่ ราต้องการได้ตรง
ประเด็น โดยไม่จำาเป็นทีค ่ ำานัน
้ ๆ อย่้
ติดกัน หรือเรียงกันตามในเนื้อ
ความทีเ่ ราต้องการหา นึกคำาใดได้ก็
พิมพ์คำานัน
้ ขอให้เป็นคำานัน ้ ทีอ
่ ย่้
ใกล้เคียงกับเนื้อความทีเ่ ราต้องการ
ค้นหา**

สร่ปก็คือ ใช้ความจำาบ้างเป็นบาง
สูวน แตูผลการค้นหากว้างขวาง
ครอบคล่ม
บีบวิธีการค้นหาให้งูายสะดวก
รวดเร็วและแสดงผลตำาแหนูงตรง
ประเด็น
วิธีค้นหาแบบนี้ โดยการพิมพ์คำาที่
เราพอจะจำาได้ ไมูวูาจะเป็นคำาหรือ
วลีเหลูานัน ้ ซึง
่ ไมูจำาเป็นต้องอยู่ติด
กัน จะอยู่ตรงไหนก็ได้ในข้อนัน ้ เชูน
ถ้าเราต้องการหาประโยคทีว ่ ูา ผ้่ใด
เห็นเรา ผ้่นัน้ ชื่อวูายูอมเห็นธรรม ให้
พิมพ์คำาทีเ่ รานึ กได้บางคำาทีเ่ กีย ่ วพัน
บ้างเชูน ชื่อวูา ธรรม ผ้่ใด มี ๓ คำา
แล้ว ให้ใช้เม้าส์ไปคลิก ๊ เครื่องหมาย
ทีช
่ ูอง โดยอยู่ในข้อหรือหน้า
เดียวกัน เครื่องหมายถ่ก √จะ
แสดงออกมาในชูอง ซึง ่ หมายถึงการ
ค้นแบบนี้ วูา
คำาวลี ๓ คำานี้ มีอยู่ในข้อเดียวกัน
หรือไมู หากมีอยู่ในข้อเดียวกัน ให้
แสดงผลปรากฏออกมาทัง ้ หมด

(ในตัวอยูางทีย่ กมา แม้วูาเราจะ


หาคำาได้ทัง ้ ๓ คำา แตูผลสร่ปก็ยังมี
เนื้ อหาทีค
่ ูอนข้างกว้าง แตูเรายัง
สามารถทีจ ่ ะทำาให้ข้อม่ลทีเ่ รา
ต้องการให้แคบกวูานี้ ได้ โดย
พยายามหาคำาทีเ่ กีย ่ วข้องในเนื้ อหา
ทีเ่ ราต้องการเพิม่ อีก เชูน เพิม่ คำาวูา
วักกลิ รวมเข้าไปด้วย ก็จะพิมพ์คำา
ในชูองค้นหาคือ ชื่อวูา ธรรม ผ้่ใด
วักกลิ (อยูาลืมวูาคำาหรือวลีทีเ่ รา
พิมพ์ในชูองค้นหา จะต้องมีเว้นวรรค
หนึ่งเคาะเสมอ)

การหาโดยวิธีแบบนี้ จะมีประโยชน์
ทำาให้หาข้อความได้แคบลงและตรง
ประเด็น เพียงจำาคำาเพิม
่ ขึ้นมา ก็จะ
ยิง ้ .
่ แคบลงเทูานัน
นี้ คอ
ื อีก
ตัวอยูางหนึ่งของ วิธีหาคำาแบบหลายคำาที่
สัมพันธ์กันในข้อเดียวกัน ในพระไตรปิฎก เชูน
เราจะหาประโยคทีว ่ ูา
สังขารทัง
้ หลายไมูเทีย
่ งหนอมีความเกิดขึ้นและ
เสื่อมไปเป็นธรรมดา

ก็ให้
พิมพ์คำาวูา สังขาร เสื่อม ธรรมดา ตามตัวอยูาง
ด้านบน
ผลจากการค้นหาก็จะแสดงออกมาหลายเลูม ให้
เลือกตูอไปจนพบ ตัวอยูางด้านบน เมื่อเราเลือก
เปิดเลูมที่ 10 หน้า ๑๒๕ ข้อ ๑๔๗ ก็จะได้
ประโยคทีเ่ ราต้องการคือ
สังขารทัง
้ หลายไมูเทีย
่ งหนอ มีความเกิดขึ้นและ
เสื่อมไปเป็นธรรมดา

ใช้เวลาในการหา ๒-๓ วินาที แล้ว


แตูเครื่องคอมพิวเตอร์แตูละทูาน
อีก
ตัวอยูางด้านบนนี้ เป็นการค้นหาในแบบคำาเดิม
ดังตัวอยูางทีแ
่ ล้ว แตูค้นในคัมภีร์อรรถกถาแทน
วิธีการค้นหาคงเดิม (คำาทีเ่ ราค้นหา นึ กคำาไหน
ได้พิมพ์คำานัน
้ ได้เลย)

ก็จะได้ผลแสดงออกมาเหมือนดังตัวอยูาง
ด้านบน ซึง
่ มีหลายเลูมให้เราเลือกตามต้องการ
่ ในตัวอยูางเลือกอรรถกถา เลูม 11 หน้า ๙๒
ซึง
ได้ผลจากคือ
สังขารทัง
้ หลายมีความเกิดขึ้นและเสื่อม
ไปเป็นธรรม

**(คำาทีเ่ ราเลือก ณ เวลานี้ ทำาให้ตำาแหนูงการ


แสดงผลออกมามีมากหลายเลูม ในคัมภีร์ แตูถ้า
เราต้องการให้ตรงประเด็นจริงๆ เราต้อง
พยายาม หาคำาทีส ่ ามารถนึ กออกได้ โดยสูวน
ใหญูคำานัน ้ มักใช้เฉพาะในกลู่มคำานัน้ เชูนคำาวูา
ปั จฉิ ม ดังนัน
้ เราจึงเปลีย่ นคำาพิมพ์ในชูองค้นหา
ใหมูคือ สังขาร ธรรมดา ปั จฉิ ม ก็จะได้ผลสร่ป
คือ สังขารทัง ้ หลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
พวกเธอจงยังความไมูประมาทให้ถึงพร้อมเถิด ฯ
นี้ เป็นพระปั จฉิ มวาจา (ซึง
่ มีเฉพาะในพระ
้ )
ไตรปิฎก เลูม ๑๐ หน้า ๑๒๔ ข้อ ๑๔๓ เทูานัน

ค่้มือมิลินทปั ญหา
เมื่อเราเริม
่ ทีจ
่ ะเปิดคัมภีร์มิลินทปั ญหา ก็ให้
กดปู ่ม มิลินทปั ญหา ให้สังเกต่ ในสารบัญ จะ
เป็นของมิลินทปั ญหา พร้อมทีจ ่ ะให้ทูานเลือก
เปิดในหัวเรื่องตูางๆ
เมื่อเราเลือกหัวเรื่องในสารบัญใดแล้ว แทบ
สีน้ ำาเงิน จะปรากฎอยู่ทีห
่ ัวเรื่องนัน
้ ให้ทูานกด
ปู ่มเปิด หรือกด ENTER เพื่อเปิดคัมภีร์
เมื่อ
เราเลือกเปิดตัง
้ แตูต้นคัมภีร์ หรือเลือกหัวเรื่อง
สารบัญคือ คำานมัสการพระรัตนตรัย

ผลก็
จะแสดงตามตัวอยูางด้านบน
ในกรณี ทีเ่ ราเลือกเปิดคัมภีร์ตัง
้ แตูตน
้ แล้ว ไมู
อยากอูานไปเรื่อยๆ แตูตอ ้ งการค้นหาหัวเรื่องที่
เราต้องการ เราสามารถเลือกเปิดหัวเรื่องใน
สารบัญได้อีก โดยกดปู ่ม เปิดสารบัญ
ตามล่กศร

เมื่อเรากดปู ่ม เปิดสารบัญ แล้ว จะได้


ภาพดังตัวอยูางด้านบน
หลังจากนัน
้ ให้เราเลือกหัวเรื่องในสารบัญ ตาม
ต้องการ ในตัวอยูางเราเลือกเปิดด่หัวเรื่อง บ่พ
พกรรมของบ่คคลทัง ้ ๒ เมื่อเราเลือกแล้วให้กด
ปู ่ม เปิด หรือกด ENTER หรือดับเบิ้ลคลิก
๊ เม้าส์
หัวเรื่องทีเ่ ราเลือกก็จะปรากฏออกมา ดัง
ตัวอยูางในหน้าตูอไป
การคัดลอกข้อความทำาได้หลายวิธี
ดังนี้

การคัดลอกข้อความ (COPY) ให้ทำาเหมือนอยูาง


ทีเ่ คยอธิบายเกีย
่ วกับวิธีการคัดลอกข้อความมา
แล้วในบทกูอนๆ คือ เมื่อเราพอใจในข้อความใด
แล้ว ให้ทูานเอาเม้าส์ไปคลิก๊ ทีข
่ ้อความทีเ่ รา
ต้องการ แล้วลากแทบดำาตรงข้อความทีเ่ รา
ต้องการจะคัดลอกจะมากหรือน้อยแล้วแตูความ
พอใจ เสร็จแล้วให้กดปู ่ม คัดลอกข้อความ ดัง
ล่กศรในตัวอยูางด้านบน

การคัดลอกข้อความ (COPY) อีกวิธีก็คือ เมื่อเรา


เลือกข้อความโดยการทำาแทบดำาในข้อความที่
เราต้องการเลือกแล้ว ให้ใช้เม้าส์คลิก
๊ ขวามือจะมี
เมน่ให้ทูานเลือกวูาจะทำาอะไรให้ทูานเลือก คัด
ลอกข้อความ เมื่อเลือกแล้วให้กดปู ่ม F8 หรือ
ALT + TAB หรือ ALT +Esc
อยูา
งใดอยูางหนึ่งใน 3 วิธีน้ี แล้วเลือกโปรแกรมที่
เราต้องการจะเก็บข้อม่ลหรือข้อความดังกลูาว
เชูน Microsoft Word, Note pad, word pad, Textpad
หรือโปรแกรมอื่นๆ เป็นต้น
ในกรณี ทีเ่ ราอูานข้อความนัน
้ แล้วพอใจ อยากให้
ข้อความนัน ้ พิมพ์ออกมาก็ให้กดปู ่มพิมพ์
ดัง
ตัวอยูางทีแ
่ ล้ว และตัวอยูางด้านลูาง

เมื่อเรากด
ปู ่มพิมพ์แล้ว จะมีเมน่ให้เราเลือกพิมพ์ข้อความ
วูา จะพิมพ์เฉพาะหน้าเดียวหรือจะเลือกพิมพ์
้ แตูหน้าไหนถึงหน้าไหนก็ได้.
ตัง
ป่่มด้คัมภีร์ทีเ่ ปิดอย่้เพื่อเปิดด้
คัมภีร์พร้อมกัน ๒ คัมภีร์
ขณะทีเ่ ราเปิดด่คัมภีร์มิลินทปั ญหาอยู่ เรา
สามารถจะเปิดคัมภีร์อ่ ืน เชูน อรรถกถาพระ
ไตรปิฎก วิส่ทธิมรรค หรือคัมภีร์อ่ ืนๆ ทีเ่ ปิดอยู่
โดยเลือกปู ่ม ด่คัมภีรท
์ ีเ่ ปิดอยู่
เมื่อเรากดปู ่ม ด่คัมภีร์ทีเ่ ปิดอยู่ แล้ว จะมีหน้า
ตูางโปรแกรมแสดงให้เห็นวูา เวลานี้ มีคัมภีร์เลูม
ใดเปิดอยู่ จะได้ไมูต้องเสียเวลาในการค้นหา
คัมภีร์นัน ้ อีก ในตัวอยูางเราเลือกทีจ ่ ะเปิดด่
คัมภีร์อ่ ืนคือ พระวินัยปิฎก เลูม ๒ เมื่อเราเลือก
แล้ว จะมีแทบสีน้ ำาเงินอยูท ่ ีต
่ ัวเลูมนัน
้ และจะมี
เครื่องหมาย √ อยู่หน้าคัมภีร์ทีเ่ ราเลือก ให้กด
ปู ่ม เปิด หรือดับเบิ้ลคลิก๊ เม้าส์
โปรแกรมก็จะแสดงคัมภีร์ทีเ่ ราเลือกออกมา
คือ พระวินัยปิฎก เลูม ๒

แตูในกรณี ทเี่ ราต้องการจะเปิดคัมภีร์ ทัง้ ๒ เลูม


พร้อมกัน ก็ให้เริม
่ ต้นด้วยกดปู ่มด่คัมภีร์เหมือน
เดิม เมื่อกดแล้วจะได้ภาพดังตัวอยูางด้านบน
ตัวอยูางต้องการจะเปิดคัมภีร์พระวินัยปิฎก เลูม
๒ พร้อมกับเลูมอื่น ก็ให้ใช้เม้าส์ไปคลิก
๊ ด้านหน้า
ของเลูมคัมภีร์ แล้วทำาขัน
้ ตอนในหน้าตูอไป

เมื่อ
เราเลือกเลูมคัมภีร์เลูมแรกทีจ
่ ะเปิดพร้อมกัน
แล้ว ให้เลือกเลูมทีจ ่ ะเปิดพร้อมกันเลูมที่ 2 ใน
ตัวอยูาง เลือกคัมภีรท ์ ีจ
่ ะเปิดพร้อมกันคือ มิลินท
ปั ญญา กับ เลูม ๒ พระวินัยปิฎก
เมื่อเราเลือกคัมภีร์ ๒ เลูม แล้วให้กดปู ่มเปิด
คัมภีร์ทัง
้ สองเลูมทีเ่ ราเลือกก็จะปรากฎออกมา
ดังตัวอยูางด้านบน

(ข้อสังเกต่ การเปิดคัมภีร์ไมูจำาเป็นต้องเปิดเพียง
๓ เลูม ตามตัวอยูาง จะเปิดเป็น ๑๐ เลูมก็ได้
หากเลูมใดไมูได้เปิดอยู่ ก็ยังไมูแสดงผลในชูอง
ด่คัมภีรท์ ีเ่ ปิดอยู่ ทูานสามารถเลือกคัมภีร์ทเี่ ปิด
อยู่ทัง
้ หมด สลับด่ไปมาทีละ ๒ คัมภีร์ได้ อยูท ่ ี่
ทูานวูาจะเลือกเลูมใด)

ป่่มคัมภีร์วิส่ทธิมรรค

โปรแกรมวิสท่ ธิมรรค จะมีลักษณะในการทำางาน


เหมือนกับโปรแกรมมิลินทปั ญหาท่กอยูาง

***(สิง ่ ำาคัญอย่าลืมใช้ป่่มลัด F1-


่ ทีส
F12 ให้เป็นประโยชน์ทีส
่ ่ดเพื่อการ
รวดเร็วในใช้งานของโปรแกรม
)***********
ป่่มคำาภีร์พ่ทธธรรม
โปรแกรมคัมภีร์พ่ทธธรรม จะมีลักษณะในการ
ทำางานเหมือนกับโปรแกรมมิลินทปั ญหาท่ก
อยูาง

***(สิง ่ ำาคัญอย่าลืมใช้ป่่มลัด F1-


่ ทีส
F12 ให้เป็นประโยชน์ทีส
่ ่ดเพื่อการ
รวดเร็วในใช้งานของโปรแกรม
)***********
โปรแกรมสาราน่กรม
เมื่อ
ต้องการเปิดโปรแกรมสาราน่กรมให้กดปู ่ม
สาราน่กรม และเมื่อกดปู ่มเปิดแล้ว จะมีเมน่คำา
ศัพท์ตูางๆ ให้เราเลือกได้ตามต้องการ
เมื่อเราเลือกคำาทีจ ่ ะเปิดแล้ว จะมีแทบสีน้ ำาเงิน
ขึ้นทีค่ ำาทีเ่ ราเลือก แล้วถ้าเราต้องการเห็นความ
หมายของแตูละคำา ให้กดปู ่ม เปิด หรือดับเบิ้ลค
ลิก๊ เม้าส์
ให้ด่ตัวอยูางตูอไป

เมื่อเรากดปู ่มเปิดแล้ว จะมีคำาศัพท์พร้อมความ


หมายของคำานัน ้ แสดงผลปรากฏออกมา ใน
ตัวอยูาง เลือกคำาศัพท์คำาวูา กก่ธานที,แมูน้ ำา
ใน
โปรแกรมสาราน่กรมมีวธ
ิ ีเลือกคำาศัพท์ได้หลาย
วิธีคือ

1. เลือกคำาศัพท์จากชูองด้านขวา(ตามตัวอยูาง)
ซึง
่ จะเรียงตามตัวอักษรจากหมวด ก ถึง อ

ด้วยการเลื่อน SCOLLBAR ตามล่กศร หรือเลื่อน


ด้วยล่กศรขึ้น หรือลง ของคีย์บอร์ด

ในตัวอยูาง เลือกคำาวูา อชิตะ๒(โพธิสัตว์) โอรส


พระเจ้าอชาตศัตร่
วิธเี ลือกแบบที่ ๒ คือใช้เม้าส์ไปคลิก
๊ หน้าคำา
แล้วลากทำาแทบนำ้าเงินของคำาเกูาแล้วลบคำา
ทัง
้ หมด หรือใช้เม้าส์วางไว้ท้ายคำาเกูาแล้วคูอยๆ
ลบคำาเกูาทิ้งไป จนชูองวูางดังตัวอยูาง
ทูานสามารถเลือกคำาเพียงพิมพ์อักษรตัง ้ แตูตัว
แรก โปรแกรมในสาราน่กรมจะเลื่อนคำาตามตัว
อักษรทีท
่ ูานพิมพ์ บางครัง ้ ทูานยังพิมพ์ไมูครบใน
คำาศัพท์นัน
้ คำาศัพท์ทีท
่ ูานต้องการก็ปรากฏออก
มาให้เห็นได้แล้ว ตัวอยูางเชูนคำาวูา อชิตะ๒
(โพธิสัตว์) โอรสพระเจ้าอชาตศัตร่

ตามตัวอยูาง ทูานพิมพ์อักษรเพียง อชิ


โปรแกรมก็เลือกคำาศัพท์ออกมาให้ทูานแล้ว
เมื่อ
ทูานได้เห็นคำาศัพท์ด้านขวาแล้ว ให้ทูานกด
ENTER คำาศัพท์ทีท
่ ูานต้องการก็จะปรากฎพร้อม
ทัง
้ ความหมาย ในตัวอยูาง เมื่อพิมพ์อักษรวูา อชิ
ได้คำาศัพท์แล้ว ให้ทูานกด ENTER คำาศัพทวูา อชิ
ตะ๒(โพธิสัตว์) โอรสพระเจ้าอชาตศัตร่ ก็จะ
ปรากฎออกมาพร้อมความหมาย
ในกรณี ทที่ ูานอูานข้อความใดแล้ว ต้องการจะ
คัดลอกข้อความนัน ้ ออกมา ก็ให้ใช้เม้าส์ไปคลิก

ซ้ายมือค้างไว้หน้าประโยคทีต ่ ้องการจะคัดลอก
แล้วเป็นแทบดำาตามความพอใจวูาจะคัดลอก
ความยาวเทูาไร แล้วกดปู ่มคัดลอกข้อความ (ซึง

ก็เหมือนทีก
่ ลูาวไว้ในบทกูอน)
วิธท
ี ี่
หนึ่งให้กด ปู ่มคัดลอกข้อความ แล้วกด F8
โปรแกรมสาราน่กรมจะย่บลงมา ให้เราวางข้อ
ม่ลลงในโปรแกรมอื่นเชูน Microsoft Word,Textpad
เพื่อทีจ
่ ะเก็บข้อม่ลทีเ่ ราต้องการ
วิธท
ี ีส
่ อง เมื่อทำาแทบดำาสำาหรับข้อม่ลทีเ่ รา
ต้องการแล้ว ให้คลิก ๊ ขวาทีเ่ ม้าส์จะมีเมน่ให้เรา
เลือกวูาต้องการอะไร ถ้าเราต้องการจะเก็บ
ข้อม่ลก็ให้เลือก คัดลอกข้อความ เมื่อกดแล้วให้
ทำาดังขัน้ ตอนในการเก็บข้อม่ลดังกลูาวมาแล้ว
***ในกรณี ทีท
่ ูานต้องการพิมพ์คำานัน้ ออกมา ด่
ให้ทูานเลือกเมน่ พิมพ์ข้อความทีเ่ ลือกไว้ คำาที่
ทูานต้องการ จะพิมพ์ออกมาเฉพาะคำานัน ้

ปู ่มสลับชิดซ้าย-ขวา หมายถึงปู ่มทีใ


่ ช้ในกรณี ที่
ทูานเป็นคนมองถนัดซ้ายหรือถนัดขวา เพื่อ
ความสบายตา เพราะบางคนเคยชินกับคำาแมู
ศัพท์อยู่ทางซ้าย ก็สามารถกดปู ่มนี้ สลับไปมา
ซ้ายหรือขวาได้ เมื่อต้องการสลับไปมาก็ให้กด
ปู ่มนี้ ดังล่กศรในตัวอยูางด้านบน
เมื่อทูานกดปู ่มนี้ แล้วให้สังเกต่วูา คำาแมูศัพท์จะ
สลับจากขวามาอยู่ทางซ้ายมือ ดังตัวอยูางด้าน
บน และเราสามารถใช้ปู่มนี้ สลับไปมาซ้าย-ขวา
ได้ตลอด
ปู ่ม
พิมพ์ ซึง
่ ก็ได้แล้วข้างต้นวูา หากค่ณพอใจในคำา
ศัพท์ใด ก็สามารถพิมพ์ออกมาด่ได้ เฉพาะคำา
้ ๆ ด้วยวิธี 2 วิธี คือ 1 กดปู ่มพิมพ์ดง
นัน ั ใน
ตัวอยูาง 2 ใช้เม้าส์คลิก
๊ ขวามือก็จะมีเมน่ให้ทูาน
เลือกวูาจะทำาอะไร ให้เลือกพิมพ์ข้อความทีเ่ ลือก
ไว้ ด่ตว
ั อยูางหน้ากูอนๆ
ปู ่มปิด สาราน่กรมพระไตรปิฎก-อรรถกถา ปู ม ่ นี้
ใช้สำาหรับหากทูานไมูต้องการใช้โปรแกรม
สาราน่กรมนี้ แล้ว ก็ให้กดปู ่มปิดคัมภีร์น้ี ได้เลย
ปู ่มนี้จะทำาหน้าทีเ่ หมือนกันหมดท่กคัมภีร์
ปู ่ม
ด่คัมภีรท์ ีเ่ ปิดอยู่ ปู ่มนี้ มีความสำาคัญในท่ก
โปรแกรมของท่กคัมภีร์ และทำาหน้าทีเ่ หมือนกัน
หมดท่กคัมภีร์ คือ เชื่อมโยงระหวูางคัมภีร์แตูละ
คัมภีร์ได้วูาทูานต้องการจะเปิดคัมภีร์เลูมใด ก็
ให้กดปู ่มด่คัมภีร์ทเี่ ปิดอยู่ แล้วก็จะมีเมน่ให้ทูาน
เลือกวูา ทูานต้องการจะเปิดคัมภีรเ์ ลูมใด (ขัน

้ )
ตอนทำางานกลูาวมากูอนหน้านี้ หลายครัง

เมื่อกดปู ่มด่คัมภีร์ทเี่ ปิดอยู่แล้ว ให้ทูานเลือกวูา


ทูานต้องการจะด่คัมภีรท์ ีเ่ ปิดอยู่เลูมใด (ขอยำ้าวูา
เลือกด่ได้เฉพาะคัมภีร์ทีเ่ ปิดอยู่เทูานัน
้ หรือด่วูา
มีคัมภีร์เลูมใดเปิดอยู)่ ในตัวอยูางเลือกทีจ
่ ะเปิด
อรรถกถา เลูม ๑
เมื่อกดปู ่มเปิดแล้วอรรถกถาทีเ่ ปิดอยู่แล้ว ก็
แสดงผลออกมาดังตัวอยูาง
ในกรณี ทีเ่ ราต้องการจะเปิดด่คัมภีร์อรรถกถา
และสาราน่กรมพร้อมกัน ก็ให้เลือกโดยการใช้
เม้าส์ไปคลิก ๊ ทีห
่ น้าเลูมคัมภีร์ทเี่ ราต้องการเลือก
ดังในตัวอยูาง เมื่อเลือกแล้วให้กดปู ่มเปิด ดังล่ก
ศรในตัวอยูาง
โปร
แกรมจะแสดงผลออกมาให้ด่คัมภีร์ได้พร้อมกัน
คือ อรรถกถาและสาราน่กรม ทูานสามารถเลื่อน
ด่รายละเอียดได้ โดยการใช้เม้าส์ไปคลิก ๊ ทีค
่ ัมภีร์
ทีเ่ ราต้องการจะเลื่อนด่บรรทัดตูอไป แล้วกด
คีย์บอร์ดทีป่ ู ่มเลื่อนขึ้น เลื่อนลง หรือใช้เม้าส์ไป
ดึง SCOLLBAR ก็ได้

***(สิง ่ ำาคัญอย่าลืมใช้ป่่มลัด F1-


่ ทีส
F12 ให้เป็นประโยชน์ทีส
่ ่ดเพื่อการ
รวดเร็วในใช้งานของโปรแกรม)
***********
บทสวดและพิธีกรรมทาง
ศาสนาพ่ทธ
เป็นโปรแกรมทีท
่ ำาเสริมขึ้นมาเพื่อให้ทูานจะ
ได้ทราบบทสวดตูางๆ ทัง ้ ใน 7 ตำานานและ 12
ตำานาน รวมทัง
้ พิธีกรรมตูางๆ เชูนการบวช การ
ปลงอาบัติ การทอดกฐิน และอื่นๆ อีกมากมาย
เพื่อสะดวกในการศึกษาและพกพาไปมาได้งูาย
การใช้โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมทีไ
่ มูยู่งยาก
เพียงทูานกดไอคอนทีใ ่ น WINDOW ของ DESTOP
ก็จะมีชูองให้ทูานเลือกวูาทูานต้องการด่อะไร
เมื่อทูานเลือกแล้ววูาจะด่ในบทสวดตูางๆ จะมี
แทบนำ้าเงินเป็นสัญญลักษณ์ แล้วก็ให้ดับเบิ้ลค
ลิก
๊ เม้าส์หรือกดปู ่มเปิดตำาราก็จะปรากฎออกมา
ดังในภาพ
หากทูานอูานแล้วต้องการเฉพาะเนื้ อความใน
หน้านัน
้ ทูานสามารถพิมพ์ออกมาด่ได้โดยกด
ปู ่มพิมพ์ด้านบน (ตามล่กศรในตัวอยูาง) แล้วจะ
มีหน้าตูางให้ทูานเลือกวูาทูานต้องการจะพิมพ์
หน้าไหนถึงหน้าไหน เมื่อทูานใสูตัวเลขในหน้า
ของคัมภีร์แล้ว ก็ให้กดปู ่มพิมพ์ เนื้ อความก็จะ
พิมพ์ออกมาตามทีท ่ ูานเลือก
สูวนในกรณี ทีท
่ ูานต้องการจะคัดลอก
ข้อความออกมา เฉพาะบทสวดใดบทสวดหนึ่งก็
ให้ทูานทำาเหมือนกันกับท่กโปรแกรมทีก ่ ลูาวมา
แล้วข้างต้น คือให้ทูานทำาแทบดำาแล้วกดปู ่มคัด
ลอกข้อความ หรือใช้เม้าส์คลิก๊ ขวามือจะมีเมน่
ยูอยให้ทูานเลือก ให้ทูานเลือกในชูองคัดลอก
ข้อความ แล้วไปเก็บไว้ในโปรแกรมทีท ่ ูาน
ต้องการ

You might also like