You are on page 1of 13

AQ กับความสำาเร็จของชีวิต

รศ.มัณฑรา ธรรม
บุศย์ *

หากท่ า นเคยอ่ า นประวั ติ บุ ค คลสำา คั ญ ๆ ของโลกก็ ค งจะพบว่ า


ก่อนที่ทุกคนจะพบกับความสำา เร็จในชีวิต ต่างก็ เคยประสบกับความล้ม
เหลวมาแล้ ว ทั ้ง สิ้ น ดั ง ตั ว อย่ า งเช่ น แมรี่ คู รี่ และอเล็ ก ซานเดอร์
เฟลมมิ่ ง ซึ่ ง ได้ ทำา การทดลองนั บ เป็ นพั น ๆ ครั ้ง จึ ง สามารถค้ น พบ
เรเดียมและเพ็นนิ ซิลิน หรือจากตัวอย่างความล้มเหลวในชีวิตการ
ต่อสู้ของ อับราฮัม ลินคอล์น ที่ต้องตกงาน ธุรกิจล้มเหลว คนรักเสีย
ชี วิ ต เป็ นโรคประสาท พ่ า ยแพ้ ก ารเลื อ กตั ้ง ในการเป็ นผู้ แ ทนรั ฐ ฯ
พ่า ยแพ้ การเลือ กตั ง้ เป็ นประธานสภารั ฐฯ ไม่ไ ด้ รับ การเสนอชื่ อ ให้ ล ง
สมั ค รผู้ แ ทนรั ฐ สภาคองเกรส ไม่ ไ ด้ รั บ การเสนอชื่ อให้ ล งสมั ค รใน
ตำาแหน่ งรองประธานาธิบดี แพ้การเลือกตัง้ เป็ นวุฒิสมาชิก แต่ใน
ที่สุดก็สามารถเอาชนะความล้ มเหลวได้ โดยได้รับการเลื อกตัง้ ให้ เป็ น
ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี แ ห่ ง ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ที่ ค น ทั ้ ง โ ล ก ไ ม่ เ ค ย ลื ม

คำา ถามที่ น่ า สนใจก็ คื อ อะไรคื อ สิ่ ง ที่ ทำา ให้ ค นเราประสบกั บ ความ
สำา เร็จในชี วิ ต ? และทำา ไมเจ้ าของกิ จ การบางคนจึ งทำา ธุ ร กิ จ ในยุ ค IMF
2

จนรำ่ารวยได้ทัง้ ๆ ที่มีอุปสรรคมากมาย ในขณะที่บางคนธุรกิจล่มสลาย


ยอมพ่ ายแพ้ ต่อ ชีวิ ตทั ง้ ๆ ที่มีท รัพย์สิ นและโอกาสเท่า ๆ กัน ถ้า ลอง
ศึกษาถึงภูมิหลังของบุคคลเหล่านี้ จะเห็นว่า ผู้ที่ประสบความสำาเร็จกับผู้
ที่ประสบความล้มเหลวไม่มีสิ่งใดที่แตกต่างกันมากนั ก ไม่ว่าจะเป็ นเรื่อง
ของความรู้ ความสามารถ อายุ และความเฉลียวฉลาด แต่สิ่งหนึ่ งที่
แตกต่างกันได้แก่ การมีหัวใจที่เข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว และความคิดที่
จะต่อส้้กับชีวิต ซึ่งเป็ นคุณลักษณะข้อหนึ่ งของคนที่มีความสามารถ
ในด้ า น AQ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารวิ จั ย ที่ ยื น ยั น ว่ า ความผิ ด พลาดล้ ม
เหลวหลาย ๆ ครัง้ บวกกันเข้าแล้ว ผลที่ได้รับคือความสำา เร็จ (ลาคีน ,
2530) ซึ่ ง ส า ม า ร ถ เ ขี ย น เ ป็ น ส ม ก า ร ไ ด้ ว่ า
ความล้มเหลว + ความล้มเหลว = ความสำาเร็จ

คำา ว่ า AQ ห ม า ย ถึ ง อ ะ ไ ร ?

เมื่ อ ได้ ยิ น คำา ว่ า AQ หลายคนอาจจะงง บางคนอาจคิ ด ว่ า พู ด ผิ ด


เ พ ร า ะ เ ค ย ไ ด้ ยิ น แ ต่ คำา ว่ า IQ (Intelligence Quotient) กั บ EQ
(Emotional Quotient ห รื อ Emotional Intelligence) เ ท่ า นั ้ น
เนื่ องจากคำาว่า AQ หรือ Adversity Quotient เป็ นศัพท์ใหม่ที่เพิ่งจะ
รู้จัก กัน อย่ างแพร่หลายเมื่อ ไม่ นานนี้ เอง คำา ว่า AQ นี้ พัฒนาขึ้น
โดย ดร. พอล สโตลท์ ซ (Dr. Paul Stoltz) ซึ่ ง เป็ นที่ ป รึ ก ษาทาง
ธุรกิจที่มีช่ ือเสียงระดับชาติ ได้อาศัยแนวคิดจากกระแสหลักของศาสตร์ที่
3

ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ จิ ต ประสาทภู มิ คุ้ ม กั น (Psychoneuroimmunology)


ประสาทสรี ร วิ ท ยา (Neurophysiology) และ จิ ต วิ ท ยาการรู้ คิ ด และ
การเข้าใจ (Cognitive Psychology) และยังได้จากรายงานการวิจัย
ที่ ศึ ก ษาจากผู้ ที่ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาที่ เ ขาเป็ นผู้ จั ด เองอี ก จำา นวนหลายร้ อ ย
เรื่ อง รวมทั ้ง จากผลการทดสอบบวกกั บ ข้ อ มู ล ที่ มี ป รากฏอยู่ จ ริ ง

ตามแนวคิ ด ของ ดร.สโตลท์ ซ คำา ว่ า AQ หมายถึ ง ความ


สามารถของบุคคลในการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในยามที่ต้องเผชิญกับ
ความทุกข์ยากหรือความลำา บาก โดยผู้ที่มี AQ สูงจะมีจิตใจเข้มแข็ง
ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคใด ๆ แม้จะพ่ายแพ้หรือล้มไปแล้วก็สามารถลุกขึ้น
มาต่อสู้ใหม่ได้ ส่วนผู้ที่มี AQ ตำ่า เวลาเผชิญกับความผิดหวังหรือ
ความทุกข์ยากก็จะยอมแพ้ บางคนอาจละทิ้งงานไปกลางคัน หรือบาง
ค น อ า จ ท้ อ แ ท้ กั บ ชี วิ ต ถึ ง ขั ้ น ล า อ อ ก จ า ก ง า น ก่ อ น เ ก ษี ย ณ ก็ มี
นอกจากนี้ ดร.สโตลซ์ ยังพบข้อแตกต่างระหว่างคนที่มี AQ สูง
กั บ ค น ที่ มี AQ ตำ่ า ก ล่ า ว คื อ ค น ที่ มี AQ สู ง จ ะ :-
 มีโอกาสได้รับการคัดเลือก (Selected) และได้รับการเลือก
ตั ้ ง (Elected) ใ ห้ เ ป็ น ผู้ นำ า ม า ก ก ว่ า
 เ ป็ น นั ก กี ฬ า ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ สู ง ก ว่ า
 มีอัตราในการละทิ้งงานหรือลาออกจากงานกลางคันน้ อยกว่า
ค น ที่ มี AQ ตำ่ า ถึ ง 3 เ ท่ า
 เ ป็ น ผู้ บ ริ ห า ร ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น สู ง
4

 สามารถเรียนรู้งานได้รวดเร็วกว่า และสามารถประยุกต์สิ่งที่
เ รี ย น รู้ ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร ทำา ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง ชำา น า ญ
 เ ป็ น นั ก แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ สู ง
 เป็ นที่พึงพอใจหรือถูกใจของผู้ปฏิบัติงานที่มี AQ สูงเหมือน
ๆ กั น

ค ว า ม จ ริ ง เ รื่ อ ง ข อ ง AQ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ ง ใ ห ม่ ห า ก ศึ ก ษ า จ า ก
ประวั ติ ศ าสตร์ ข องโลกจะเห็ น ว่ า ได้ มี ก ารกล่ า วถึ ง มหาบุ รุ ษ (Great
man) ที่ มี AQ สู ง ตามแนวคิ ด ของดร.สโตลท์ ซ มาแล้ ว เพี ย งแต่
เป็ นการวิเคราะห์ในเชิงความสามารถ หรือคุณสมบัติพิเศษของการเป็ น
ผู้ นำา (Charismatic leadership) มากกว่ า ตั ว อย่ า งของมหาบุ รุ ษ ใน
ประวั ติ ศ าสตร์ อย่ า งเช่ น พระเจ้ า อเล็ ก ซานเดอร์ ม หาราชของกรี ก
จักรพรรดินโปเลียนของฝรัง่ เศส ซีซาร์แห่งกรุงโรม มุสโสลินีของ
อิ ต า ลี ห รื อ บิ ส ม า ร์ ก ข อ ง เ ย อ ร มั น เ ป็ น ต้ น
ในหนั งสือเรื่อง มหาบุรุษ ของพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ ก็ได้
กล่ า วถึ งคุ ณ สมบั ติ ข องผู้ ที่ จ ะเป็ นมหาบุ รุ ษ ไว้ 40 ประการ เช่ น มี
ความรู้ดี มีการฝึ กฝนตนเอง มีกาลเทศะ ทำาตนให้เป็ นคนที่เชื่อถือได้
ตรงต่ อ เวลา ขยั น ขั น แข็ ง มี ป ฏิ ภ าณไหวพริ บ ดี ฯลฯ ซึ่ ง หาก
วิเคราะห์จากคุณลักษณะทัง้ 40 ข้อนั ้นให้ดีก็จะพบว่า องค์ประกอบที่
ทำา ให้มหาบุรุษทัง้ หลายสามารถก้าวขึ้นไปสู่ความเป็ นผู้นำา ที่ยิ่งใหญ่ของ
โลกได้ประกอบไปด้วย ความสามารถทางด้ านสติปัญญา (IQ) ความ
5

เฉลี ย วฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และที่ ข าดเสี ย มิ ไ ด้ ก็ คื อ ความ


สามารถทางด้าน AQ ซึ่งจะขอยกตัวอย่างคุณลักษณะบางข้อ เช่น
1)การตัง้ เป้ าหมายหรือตัง้ ความปรารถนาอย่ างแรงกล้า ใน
สิ่ ง ที่ ต้ อ งการไว้ ล่ ว งหน้ า (Aim) แล้ ว พยายามมุ่ ง ไปยั ง จุ ด
หมายนั ้นให้ได้ อย่างเช่น อเล็กซานเดอร์มุ่งที่จะเอาชนะ
ทวีปเอเซีย ซีซาร์มุ่งอย่างเดียวที่จะเป็ นที่ 1 ถึงจะอยู่แห่ง
ใดก็ไม่ขอเป็ นที่ 2 มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับซีซาร์ว่า ครัง้ หนึ่ ง
เมื่อซีซาร์เดินทางผ่านภูเขาอัลป์ เพื่อนเดินทางคนหนึ่ งชี้ให้ซี
ซาร์ดูหมู่บ้านเล็ก ๆ ซึ่งไกลจากความเจริญ ผิดกับกรุงโรมมาก
ซีซาร์ได้พูดขึ้นมาว่า “ฉันยินดีจะเป็ นที่ 1 ในหม่่บ้านอันเล็กนี้
ดี ก ว่ า เ ป็ น ที่ 2 ใ น ก รุ ง โ ร ม ”
2)การมี หั ว ใจที่ เ ด็ ด เดี่ ย ว เข้ ม แข็ ง (Strong – minded)
คือไม่หวาดกลัวต่อภยันตราย และไม่คิดว่าตนเกิดมาเคราะห์
ร้ า ย คนที่ มี Strong - minded จะมี ลั ก ษณะอ่ อ นโยนแต่
มิใช่อ่อนแอ ทำา การเด็ดขาด เคารพนบนอบต่อผู้ที่เป็ นใหญ่
กว่า มีเมตตากรุณาต่อผู้น้อย ไม่ฉุนเฉียวหรือโกรธง่าย คน
ประเภทนี้ แม้จะต้องเผชิญกับความทุกข์ยากอย่างแสนสาหัสก็
ไม่ใจเสีย ถึงจะถูกคนอื่นทำาร้าย กลัน
่ แกล้ง ก็ทำา ร้ายได้แต่
ร่างกาย แต่ทำาร้ายหัวใจด้วยไม่ได้ หากจะถูกประทุษร้ายจน
ย่อยยับก็สามารถก่อร่างสร้า งตนให้ ก ลับ ดีข้ ึ นอย่า งรวดเร็ ว ได้
อย่ างเช่ น มุ ส โสลิ นี ซึ่งเกิ ด มาในตระกู ล ที่ ย ากจน บิ ด าไม่ มี
6

เงินจะส่งให้เรียนหนั งสือ ต้องออกจากโรงเรียนไปหางานทำา


โดยไม่เลือกงาน จนในที่สุดหาไม่ได้จริง ๆ ก็ต้องยอมไปเป็ น
ข อ ท า น เ ป็ น ต้ น
3)การมี ค วามเชื่ อมั่ น ในตั ว เอง (Self – confidence) คื อ
เชื่อว่าตนเองจะสามารถกระทำาในสิ่งที่ตัง้ ความมุ่งหวังไว้ได้จน
สำาเร็จ ลักษณะข้อนี้ไม่ใช่คนอวดดี แต่เป็ นลักษณะของคนที่
พึ่งตนเอง ไม่กลัวที่จะทำาแล้วผิดพลาด แต่จะถือเอาความผิด
พลาดนั ้นมาเป็ นบทเรียนเพื่อสอนให้ทำา ในสิ่งที่ ถูก ต่อ ไป ดัง
ตั ว อย่ า งจากน โป เลี ยน ที่ ยึ ด ถื อ สุ ภ าษิ ต ที่ ต นตั ้ ง ขึ้ นอย่ าง
เคร่ งครั ด ว่ า “คนที่ ไ ม่ เคยทำา อะไรผิ ด ก็ คื อ คนที่ ไ ม่ เคยทำา
อ ะ ไ ร เ ล ย ”
4)มีพลังอำา นาจของความคิดและพลังจิตที่แรงกล้า (Will –
power) ข้อนี้ ลักษณะคล้ายคลึงกับการมีหัวใจเข้ มแข็ง แต่
ต่ า งกั น ตรงที่ หั ว ใจเข้ มแข็ งเป็ นเครื่ อ งต้ า นทานต่ อ สู้ กับ ความ
ลำา บาก ส่ ว น Will – power เป็ นเครื่ องนำ า ให้ บ รรลุ ผ ลที่
ต้องการ คนที่จะก้าวขึ้นสู่อำานาจอันใหญ่หลวงได้นั้นจะต้องมี
กระแสแห่งดวงจิตแรงพอที่จะข่มหัวใจของคนอื่นลงได้ อย่าง
เช่น มุ สโสลิ นีซ่ ึงเป็ นคนชั น
้ ตำ่ า ที่ สุ ด แต่ ก็ส ามารถทำา ให้ ค นทั ง้
ป ร ะ เ ท ศ หั น ม า ใ ห้ ค ว า ม เ ค า ร พ ยำา เ ก ร ง ไ ด้

จำา เ ป็ น ห รื อ ไ ม่ ที่ ค น เ ร า ต้ อ ง มี AQ ?
7

หากท่านคิดจะเป็ นผู้บริหารหรือผู้นำา ในอนาคต จำา เป็ นอย่ างยิ่งที่


ท่ า นจะต้ อ งมี AQ เนื่ องจากมี ข้ อ ค้ น พบในงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ ความ
สำาเร็จในการประกอบอาชีพเป็ นจำานวนมากที่พบว่า ความสำาเร็จในชีวิต
(Life success) ของคนเรานั ้ น เกิ ด จากองค์ ป ระกอบที่ สำา คั ญ 3
ป ร ะ ก า ร ไ ด้ แ ก่
(1) ความเฉลียวฉลาด หรือความสามารถในเชิงสติปัญญา (IQ)
(2) ความสามารถในการเข้าสังคม (SQ/ Social quotient หรือ
Social intelligence)
(3) ความเข้ ม แข็ ง ในตนเอง (Self – strength) หรื อ ความ
ท ะ เ ย อ ท ะ ย า น ที่ จ ะ ไ ป สู่ ค ว า ม สำา เ ร็ จ (Ambition)
โดย 33 % ของความสำาเร็จในชีวิต เป็ นผลมาจากความสำาเร็จใน
การเรี ย น ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย IQ (ข้ อ 1) ส่ ว นอี ก 67 % เป็ นผลมาจาก
ความสำาเร็จที่เกิดจากทักษะในการเข้าสังคม และความทะเยอทะยานไป
สู่ ค วามสำา เร็ จ ซึ่ งต้ อ งอาศั ย SQ กั บ AQ (ข้ อ 2 และ ข้ อ 3)
ในทั ศ นะของ ดร.สโตลท์ ซ AQ จั ด ว่ า เป็ นส่ ว นหนึ่ งของความ
เข้ ม แข็ ง ในตนเอง (Self – strength) แต่ ดร.แดเนี ย ล โกลแมน
(Dr. Daneil Goleman) ผู้เขียนหนั งสือเรื่อง Emotional Intelligence
มีความเห็นว่า 67 % ของความสำาเร็จมาจากองค์ประกอบด้าน EQ ซึ่ง
มีความหมายรวมไปถึงความสามารถที่สำา คัญ 2 ด้านที่ได้กล่าวไปแล้ว
ข้ า งต้ น คื อ ความสามารถในการเข้ า สั ง คม (Social skill) กั บ ความ
8

ทะเยอทะยานที่จะไปสู่ความสำา เร็จ (Ambition) ซึ่งเป็ นความสามารถ


ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ กี่ ย ว กั บ ต น เ อ ง (Self – skill) ด้ ว ย

สรุปให้เข้าใจง่ายก็คือ ความสำาเร็จในชีวิตของมนุษย์พัฒนาขึ้นมา
จาก องค์ประกอบที่สำา คัญ 3 ด้าน คือ จาก IQ = 1/3 จากทักษะใน
การเข้าสังคม (Social skill) = 1/3 และจากความทะเยอทะยานที่จะ
ก้ า ว ไ ป สู่ ค ว า ม สำา เ ร็ จ (Ambition) อี ก 1/3

AQ ส า ม า ร ถ พั ฒ น า ไ ด้ ห รื อ ไ ม่ ?

AQ เป็ นสิ่งที่เรียนรู้ได้ ฝึ กฝนได้ และสามารถพัฒนาให้เกิดขึ้น


ได้อย่างแน่ นอน ดังนั น
้ หากท่านเข้าใจถึงความสำาคัญของ AQ ท่าน
ก็ควรจะเริ่มต้นฝึ กฝนตนเองตัง้ แต่วันนี้ เพราะผู้ที่มี AQ จะสามารถ
เ รี ย น รู้ ใ น สิ่ ง ต่ อ ไ ป นี้ :-
1) รู้จักสร้างกรอบความคิดใหม่ ด้วยการเปลี่ยนแปลงตนเอง
จากผู้ที่เคยยอมแพ้หรือเคยต่อสู้กบ
ั ชีวิตในทางที่ไม่ถูกต้อง
ใ ห้ ก ล า ย เ ป็ น ผู้ ที่ ทำา วิ ก ฤ ติ ใ ห้ เ ป็ น โ อ ก า ส
2) สามารถบริ ห ารจั ด การกั บ ชี วิ ต ของตนเองได้ ดี ข้ ึ น เช่ น
ไม่ตำา หนิ ตนเองและผู้อ่ ืน และลดการทำา ร้ายอารมณ์ ของ
ตนเอง (ไ ม่ โ ก ร ธ ง่ า ย ห งุ ด ห งิ ด ง่ า ย )
9

3) เมื่อประสบกับความทุกข์ยากหรือความผิดหวัง ก็สามารถ
รักษาสภาพจิตใจของตนเองให้เข้มแข็งขึ้นได้ภายในเวลา
อั น ร ว ด เ ร็ ว
4) เมื่ อเผชิ ญ ปั ญหาที่ ร้ า ยแรง ก็ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะที่ มั่ น คง
สามารถแก้ ไ ขปั ญหาหรื อ อุ ป สรรคที่ เข้ า มาขั ด ขวางความ
สำา เ ร็ จ ข อ ง ต น ไ ด้
5) ทำา ให้ มีสุ ขภาพที่ แข็งแรงขึ้ น มีค วามสุ ข มากขึ้ น และมี
ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ขึ้ น
6) สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ ืนด้วยความเข้าใจอันดีต่อกัน และ
สามารถติดต่อสื่อสารกับสมาชิกทีมงานหรือกับเพื่อนร่วม
ง า น ใ น อ ง ค์ ก า ร ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ขึ้ น
7) ทำาให้มีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น ไม่เฉื่อยชา มี
ความคิดสร้างสรรค์ และมีความสามารถในการเรียนรู้สิ่ง
ต่ า ง ๆ ไ ด้ ม า ก ขึ้ น

จ ะ พั ฒ น า AQ ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร ?

คริสโตเฟอร์ ไนท์ (Christopher Knight) ได้เสนอแนะวิธีขจัด


อุ ป สรรคที่ ขั ด ขวางความสำา เร็ จ ในชี วิ ต ของคนเรา ซึ่ งสามารถนำ า มา
ประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการทำา งานได้ และเป็ นส่ ว นหนึ่ งของการพั ฒ นา AQ
ดั ง นี้
10

1. เริ่มต้นด้วยการจดรายการอุปสรรคที่เป็ นตัวขัดขวางความ
สำา เร็ จ (Obstacles to success list) อย่ า งน้ อย 101 รายการ
ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น
- ข า ด วิ นั ย ใ น ต น เ อ ง
- นิ สั ย ที่ ช อ บ ส อ ด รู้ ส อ ด เ ห็ น เ รื่ อ ง ข อ ง ค น อื่ น
- ข า ด ค ว า ม ท ะ เ ย อ ท ะ ย า น ใ น ชี วิ ต
- สุ ข ภ า พ ไ ม่ ส ม บู ร ณ์
- ช อ บ พู ด เ ท็ จ ห รื อ พู ด โ อ้ อ ว ด เ กิ น ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง
- ข า ด ค ว า ม ซื่ อ สั ต ย์
ฯ ล ฯ
2. ให้เพื่อนสนิ ท เพื่อนร่วมงาน หรือลูกน้ องในที่ทำา งานช่วย
พิ จ ารณาเพิ่ ม เติ ม ว่ า ยั ง มี ร ายการอื่ นอี ก หรื อ ไม่ ที่ เ ป็ นตั ว อุ ป สรรคขั ด
ขวางความสำา เร็ จ เพราะบางครั ้ง คนเหล่ า นั ้ น อาจจะเขี ย นรายการ
อุ ป ส ร ร ค ที่ เ ร า อ า จ ค า ด ไ ม่ ถึ ง ก็ ไ ด้
3. นำ า รายการที่ จดไว้ ทั ง้ หมดส่ งต่ อ ไปยั งเพื่ อ นร่ ว มงานให้ ม าก
ที่สุดเท่าที่จะมากได้ เพื่อให้ช่วยกันพิจารณาว่า มีรายการใดบ้างที่เป็ น
อุ ป สรรคขั ด ขวางความสำา เร็ จ ในชี วิ ต ของเราอย่ า งแท้ จ ริ ง โดยให้
พิ จ ารณาย้ อ นหลั ง เหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น หากเป็ นไปได้ ค วรระบุ
ตำา แหน่ งงานในช่วงที่ท่านเคยเป็ นและได้ทำา งานร่วมกับคนเหล่านั ้นไว้
ด้ ว ย
11

4. แบ่งกลุ่มรายการอุปสรรคย่อย ๆ ทัง้ 101 รายการ ให้เป็ นก


ลุ่มใหญ่ ๆ เขียนรายการเหล่านั ้นไว้ในกระดาษ (ควรเขียนตัวโต ๆ )
แล้วนำ าไปติดไว้ที่ฝาผนั งของห้องทำางาน พยายามเตือนใจตนเองด้วย
ก า ร อ่ า น ทุ ก วั น จ ะ ไ ด้ ตั ้ ง ใ จ ที่ จ ะ ข จั ด นิ สั ย ไ ม่ ดี เ ห ล่ า นั ้ น
5. พยายามทำา ทุกสิ่งทุกอย่างที่สามารถจะทำา ได้เกี่ยวกับงานให้
สำาเร็จลงอย่างรวดเร็วโดยอัตโนมัติ จะได้มีเวลาว่างมากขึ้นในการขจัด
อุ ป สรรค และสร้ า งสะพานไปสู่ ค วามสำา เร็ จ เช่ น ใช้ E-mail ,
Fax , Voice – mail, Notebook PC’s เ ป็ น ต้ น

ส รุ ป

เนื่ องจาก AQ เป็ นความสามารถของบุ คคลในการตอบสนองต่ อ


เหตุการณ์ในยามที่ต้องเผชิญกับปั ญหาหรืออุปสรรคซึ่งเป็ นตัวขัดขวาง
ทำาให้คนเราไม่สามารถก้าวขึ้นไปสู่ความสำาเร็จตามที่ปรารถนาได้ ดัง
นั ้ น ผู้ ที่ ต้ อ งการประสบความสำา เร็ จ ในชี วิ ต จึ ง ควรเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการฝึ ก
ทักษะเพื่อพัฒนา AQ ในระยะแรก ๆ ของการฝึ กนั ้น ท่านอาจจะ
รู้สึกเบื่อหน่ าย เพราะรู้สึกช้า ไม่เห็น ผลทัน ใจ บางคนอาจมองดูว่ า
เป็ นเรื่องตลกขบขัน และบางคนก็อาจเห็นว่าเสียเวลาเปล่า ไม่รู้จะทำา
ไปเพื่ออะไร เพราะไม่เคยคิดจะเป็ นผู้บริหารหรือผู้นำา หากท่านคิด
เช่ น นี้ ก็ อ ยากให้ กำา ลั ง ใจว่ า AQ ไม่ ใ ช่ เรื่ อ งจำา เป็ นสำา หรั บ ผู้ บ ริ ห าร
หรื อ ผู้ นำา เท่ า นั ้ น แต่ เ ป็ นเรื่ องจำา เป็ นสำา หรั บ ทุ ก คน เนื่ องจากผู้ ที่
12

สามารถพั ฒ นา AQ ได้ สู ง จะมองเห็ น คุ ณ ค่ า ที่ มี อ ยู่ ใ นตนเองมากขึ้ น


และหากท่านเป็ นผู้หนึ่ งที่ยังต้องเติบโตในองค์การต่อไป การพัฒนา
AQ จะช่ ว ยให้ ท่ า นเป็ นที่ รั ก เป็ นที่ ต้ อ งการของเพื่ อนร่ ว มงานและ
อ ง ค์ ก า ร ม า ก ขึ้ น

******************************

เอกสารอ้างอิง

นั น ทนา ธรรมบุ ศ ย์ . การพั ฒ นาตน. (เอกสารคำา สอน) คณะ


ค รุ ศ า ส ต ร์ ส ถ า บั น ร า ช ภั ฏ จั น ท ร เ ก ษ ม , 2542.
ลาคีน, อลัน. คุณจะควบคุมเวลาและชีวิตของคุณได้อย่างไร?.
แปลจาก How to get control of your time and your
life. โดย พิชญ์ มกรพันธ์ุ. กรุงเทพมหานคร : สำา นั กพิมพ์
พ ล อ ย , 2535.
วิ จิ ต รวาทการ , หลวง, พลตรี . มหาบุ รุ ษ . พิ ม พ์ ค รั ้ ง พิ เศ ษ.
ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร : บ ริ ษั ท ส า ร ม ว ล ช น , 2535.
Khera, Shiv. You Can Win. London : Prentice Hall, 1998.

ข้อม้ลจาก Internet
13

http://www.any-book.com/adversi
http://www.geocities.com
http://www.hallbusinesses.com
http://www.top7business.com/arc
http://sq.4mg.com/site_online.htm
http://personal.cityu’edu’hk/~lbmanchu/gdstuff.htm

You might also like