You are on page 1of 34

General information ความคิดเร่ ืองการแบ่งแยกสาขากม.ออกเป็ นกม.

เอกชนและมหาชนมีมาตัง้แต่โรมัน
การแบ่งแยกดังกล่าวนัน ้ เห็นได้ชัดทีประเทศภาคพ้ืนยุโรป
อังกฤษรับอิทธิพลจากกม.โรมันน้อยจึงไม่ยอมรับหลักการแบ่งแยกสาขากม.ออกจาก
กัน
กม.มหาชนอาจเกิดจากกม.ลายลักษณ์อักษร จารีตประเพณี หรือทฤษฎีทางวิชาการ
กม.มหาชนพัฒนามากในฝรัง่เศส
ประเทศระบบCommonLaw ไม่มีการแบ่งแยกสาขาของกม.ออกจากกัน
หลักเกณฑ์ว่ากม.ใดเป็ นกม.มหาชน
- ดูว่าเป็ นกิจการของใคร : รัฐ หรือ ส่วนตัว
- ดูว่ากม.ให้ใครเป็ นประธานแห่งสิทธิ : ถ้าเป็ นกม.เอกชน ผู้ทรงสิทธิจะอยู่ใน
ฐานะเท่าเทียมกัน
- ดูว่ากม.นัน ้ เคร่งครัดหรือไม่ : ถ้าผ่อนปรนได้ก็มักจะเป็ นกม.เอกชน ในขณะท่ี
กม.มหาชนจะมีรูปแบบเคร่งครัด (Rigid) บทบังคับมีลักษณะท่ีหลีกเล่ียงไม่ได้
(Imperative)
A.V. Dicey คัดค้านการตัง้ศาลปกครองในอังกฤษอย่างรุนแรง
ในประเทศไทยแบ่งเป็ นกม.เอกชนและมหาชน ในสมัย รัชกาลท่ี 6
สมัยโรมัน แบ่งกม.ออกเป็ น กม.เอกชน(Jus privatum) กม.มหาชน(Jus publicum)
และ กม.ศาสนา(Jus sacrum)
แนวการแบ่งแยกอยู่ท่ี "กิจการ" เป็ นสำาคัญ
สมัยคลาสสิค กม.มหาชนพัฒนาอย่างรวดเร็ว
กม.ปกครองเกิดขึ้นในยุคนี้
Ulpian สรุปความหมายกม.มหาชนว่า "กม.ท่ีเก่ียวกับรัฐ"
สมัยขุนนางปกครอง มีการจัดทำาประมวลกม.โรมัน (corpus juris civilis) ขึ้นเป็ นครัง้แรกในสมัย
พระเจ้าJustinian
มูลบทนิตศาสตร์(Institutions) เป็ นรากฐานท่ีสำาคัญท่ีสุด และแบ่งกม.ออกเป็ น
สามภาคคือ Persona(ความสัมพันธ์บุคคล) Res(ทรัพย์สินมรดก) Actio (เพ่ง)
กม.มหาชนภาคพ้ืนยุโรป ได้รับอิทธิพลจากประมวลกม.เพ่งของพระเจ้าJustinianเป็ นอย่างมาก
กม.มหาชนมีฐานะสูงกว่ากม.เอกชน
นักกม.ฝรัง่เศสจะเข้าใจเร่ ืองกม.มหาชนดีมาก โดยอาศัย Jus publicumเป็ นรากฐาน
กม.มหาชนในประเทศCommon Law ไม่ยอมรับปรัชญากม.โรมันในเร่ ืองกม.มหาชน โดยถือว่าศาลเป็ นผู้สร้างกม. และยัง
คงได้รับอิทธิพลในเร่ ืองศักดินา(Feudalism)
นอกจากนีก ้ ารจัดการปกครองส่วนกลางและท้องถ่ินค่อนข้างเป็ นระเบียบอยู่แล้ว
ทำาให้โอกาสท่ีรำฐจะข่มเหงประชาชนเป็ นไปได้ยาก อีกทัง้ศาลยังสามารถให้ความ
เป็ นธรรมแก่ราษฎรได้ดีอยู่แล้ว โดยอาศัยหลักนิติธรรม(Rule of law)
ประเภทของกม.มหาชน ท่ีสำาคัญท่ีสุดคือ กม.รัฐธรรมนูญ และ กม.ปกครอง
กม.อ่ ืน เช่น วิธีพิจารณาความปกครอง กม.อาญา วิธีพิจารณาความอาญา
กม.อ่ ืนว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม ว่าด้วยวิธีพิจารณาความเพ่ง เป็ นต้น
General information ปรัชญารากฐานท่ีสำาคัญ ได้แก่ ปรัชญาว่าด้วยรัฐ และ ว่าด้วยอำานาจอธิปไตย
กม.มหาชน มิใช่เร่ ืองทางนิติศาสตร์เท่านัน ้ ยังอาศัย รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และปรัชญา
ปรัชญาทางกม.ธรรมชาติมีส่วนทำาให้กม.มหาชนพัฒนาเป็ นอันมาก
Monstequia เป็ นทฤษฎีท่ีใช้เป็ นรากฐานในการกำาหนดรูปแบบการเมืองของ อเมริกา
และ ฝรัง่เศส
ปรัชญากฏหมายและการเมืองแบ่งออกเป็ น สอง ฝ่ ายใหญ่ ๆคือ
1) ฝ่ ายนิยมกม.ธรรมชาติ เรียกร้องให้จำากัดอำานาจรัฐอันไม่เป็ นธรรม
2) ฝ่ ายนิยมกม.บ้านเมือง รัฐมีอำานาจสูงสุด
Greek Socartis ศาสดาของผู้สอน ไม่ใช่นักกม.แต่เป็ นปรัชญาเมธี
ปรัชญาแบบซักถาม(ป้ อนคำาถามให้ตอบ) Socratic method หรือ Case study
Plato ศาสดาของผู้คิด
อุดมรัฐ(Republic) เป็ นวรรณกรรมชิน ้ สำาคัญ ระบุว่ากม.ไม่ใช่ส่ิงจำาเป็ นในอุดมรัฐ
วรรณกรรมอ่ ืน ได้แก่ รัฐบุรุษ (statesman) และ Laws
ประเทศชาติจะมีผาสุกถ้าปกครองแบบราชาธิปไตย
ทรัพย์สินเป็ นบ่อเกิดของอำานาจ อำานาจเป็ นบ่อเกิดของความขัดแย้ง จึงควรล้มเลิก
กรรมสิทธิใ์นทรัพย์สินโดยสิน ้ เชิง เว้นแต่ชนชัน ้ ประดิษฐ์และใช้แรงงาน
ชายหญิงควรมีหน้าท่ีเท่าเทียมกัน
คล้ายลัทธิคาร์ล มาร์กซ์ จนอาจกล่าวได้ว่า อุดมรัฐเป็ นบ่อเกิดคอมมิวนิสต์แต่มี
ความแตกต่างสำาคัญคือ
- อุดมรัฐมุ่งแก้ไขปั ญหาศีลธรรม มากกว่าเร่ ืองเศรษฐกิจ
- อุดมรัฐมุ่งจัดการปั ญหาเศรษฐกิจในวงแคบ มากกว่าทัง้ประเทศหรือทัง้โลก
Aristotle ศาสดาของผู้เรียน เป็ นบิดารัฐศาสตร์ และมีอิทธิพลต่อการพัฒนากม.มหาชน
ตัง้สำานัก Lyceum
วรรณกรรม เร่ ือง Politics (ถือเป็ นคัมภีร์รัฐศาสตร์)และ Ethics และ Rule of law
กล่าวถึงเร่ ืองรัฐไว้อย่างเป็ นระเบียบท่ีสุด
Roman Cicero งานสำาคัญคือ Republic และ Laws
Saint Augustine of Hippo เรียบเรียงเร่ ือง The city of God โดยแบ่งสังคมออกเป็ น
4 ระดับได้แก่ บ้าน(domus) เมือง(civitas) โลก(orbisterrae) จักรวาล(mundus)
สมัยกลาง John of Salisbury เรียบเรียงเร่ ือง Policraticus โดยราชาต้องเคารพประชาชนและ
ปกครองประชาชนด้วยบัญชาแห่งกม. (ต่างกับ ทรราชย์)
หากผู้นำาไม่ดำารงตนอยู่ในธรรม ประชาชนก็ไม่จำาต้องยอมตนอยู่ใต้อำานาจนัน ้
Saint Thomas Aquinas อธิบายแนวคิดกม.ธรรมชาติอย่างละเอียด และเน้นอิทธิพล
ของศาสนาคริสต์ โดยแบ่งกฎออกเป็ น 4 ประเภทคือ กฎนิรันดร กฎธรรมชาติ
(กฎศักดิส ์ ิทธิ ์ = Divine law) กฎศักดิส ์ ิทธิ ก ์ ฎหมายของมนุษย์จนนำามาประยุกต์เร่. ืองลำาดับชัน ้ ของกม
สมัยฟ้ื นฟูศิลปวิทยา Jean Bodin ตำาราว่าด้วยสาธารณรัฐ และ วิธีทำาความเข้าใจกับประวัติศาสตร์
(Renaissance) Thomas Hobbes แต่งเร่ ืองรัฐฐาธิปัตย์ (Leviathan) โดยเป็ นตำาราปรัชญาการเมือง
และรัฐศาสตร์เล่มแรกของโลกท่ีเขียนเป็ นภาษาอังกฤษ โดยโจมตีอำานาจของ
สันตปาปาอย่างรุนแรง แต่เช่ ือในความเสมอภาคระหว่างบุคคล และสัญญาประชาคม
(Social contact) ขณะเดียวกันก็ปฏิเสธทฤษฎีเทวสิทธิ
ยังยอมรับว่ากม.เป็ นส่ิงสำาคัญในรัฐ แต่รัฏฐาธิปัตย์ควรอยู่เหนือกม. (เผด็จการ?)
สมัยหลังฟ้ื นฟูศิลปวิทยา James Harrington ตีพิมพ์The commonwealth of Oceana
John Locke ตีพิมพ์ Two treaties of government (สองเล่มว่าด้วยการปกครอง)
"มนุษย์มีสิทธิติดตัวตัง้แต่เกิด ถ้ารัฐละเมิดสิทธิ ประชาชนมีสิทธิล้มรัฐบาลได้"
Edmund Burke ตำาราสดุดีสังคมธรรมชาติ (A vindication of natural society)
Jeremy Bentham เป็ นนักปรัชญาทางกม.มหาชน
Ablbert Venn Dicey ตีพิมพ์ Introduction to the study of the law of the
constitution ซ่ ึงถือเป็ นตำารากม.รัฐธรรมนูญท่ีสำาคัญท่ีสุดเล่มหน่ ึงของอังกฤษ
Monstesquieu ตีพิมพ์เร่ ือง เจตนารมย์แห่งกม.(Esprit des Lois) และเป็ นท่ีมา
ของการปกครองแบบประชาธิปไตยในอเมริกา และยังกล่าวไว้ว่า "สังคมใดไม่
ยอมรับการแบ่งแยกอำานาจ สังคมนัน ้ หาได้ช่ือว่ามีรัฐธรรมนูญไม่"
บัญญัติหลักการแบ่งแยกอำานาจ โดยองค์กรต้องเป็ นอิสระ ขึ้นต่อกันให้น้อยท่ีสุด
เพ่ ือให้มีการถ่วงดุลอำานาจ
Jean Jacques Rousseau วรรณกรรมท่ีสำาคัญคือ สัญญาประชาคม Social contract
โดยกล่าวว่า รัฐเกิดจากการท่ีคนหลายคนรวมกันอยู่และสละประโยชน์ส่วนน้อยเพ่ ือ
ประโยชน์ส่วนใหญ่ ประโยชน์ส่วนน้อยท่ีว่าคือ สิทธิเสรีภาพ และ กม.คือเจตจำานง
ของประชาชนในชาติซ่ึงแสดงออกร่วมกัน วรรณกรรมนีม ้ ีผลต่อการปฏิวัติในอเมริกา
Thomas Jefferson เป็ นประธานาธิบดีคนท่ี 3 ของอเมริกา มีความรู้กม.มหาชนดีมาก
John Marshall ผลงานในคดีพิพาษาMarbury V. Madison ซ่ ึงได้วินิจฉัยว่า
"รัฐธรรมนูญเป็ นกม.สูงสุด กม.ธรรมดาห้ามขัดกับรัฐธรรมนูญ"
Karl Marx เรียบเรียงเร่ ือง คำาประกาศป่ าวร้องของคอมมิวนิสต์ (Communist manifesto)
Hans Kelsen งานเขียนเร่ ือง กม.ระหว่างประเทศ
ปรัชญว่าด้วยรัฐ Aristotole เช่ ือว่ารัฐเกิดจากวิวัฒนาการทางการเมืองของมนุษย์(Theory of evolution)
โดยมีดินแดน ประชากร อำานาจอธิปไตย และ รัฐบาลเป็ นองค์ประกอบทางการเมือง
ทฤษฎีสัญญาประชาคมเป็ นผลมาจากความคิดของ Thomas Hobbes, John Locke,
และ Rousseau
Nation มีความเป็ นอันหน่ ึงอันเดียวกันทางวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา มากกว่าคำาว่าState
ตามกม.เอกชนของไทย รัฐไม่ใช่นิติบุคคล แต่ถ้าตามกม.ระหว่างประเทศซ่ ึงเป็ น
กม.มหาชน รัฐจะเป็ นนิติบุคคลได้ (แต่ถ้าเป็ นกม.มหาชนทัว่ไป เช่น รัฐธรรมนูญ
หรือ กม.ปกครอง ประเทศไทยไม่ถือว่ารัฐเป็ นนิติบุคคล)
ประเทศท่ีจะเป็ นนิติรัฐได้ ต้องมีลักษณะดังนี้
- ในประเทศนัน ้ กม.ต้องอยู่เหนือส่ิงใด ๆ
- ของเขตอำานาจรัฐย่อมกำาหนดไว้แน่นอน โดยมีการแบ่งแยกอำานาจ
- ผู้พิพากษามีอิสระในการพิจาณาคดี โดยศาลควบคุมการทำางานของเจ้าพนักงาน
แนวความคิดดังกล่าวข้างต้น ได้วิวัฒนาการต่อมาเป็ น Rule of law
- ฝ่ ายบริหารไม่มีอำานาจตามอำาเภอใจ
- ทุกคนอยู่ใต้กม.และศาลเดียวกัน
- กม.รัฐธรรมนูญเป็ นผลมากจากกม.ระหว่างประเทศ
ปรัชญาว่าด้วยอำานาจอธิปไตย การแบ่งแยกหน้าท่ีทำากันโดยองค์การต่าง ๆ ซ่ ึงไม่จำาเป็ นต้องมีครบ 3 องค์กร
อำานาจอธิปไตยต้องมี
1) Absoluteness
2) Comprehensiveness
3) Permanence
4) Indivisibility
รัฐธรรมนูญไทยไม่เคยยอมรับการแบ่งแยกอำานาจท่ีเคร่งครัดหรือเด็ดขาด
ยกเว้นประเทศท่ียอมรับการแบ่งแยกอำานาจเกือบเด็ดขาดคือรัฐธรรมนูญของประเทศ
ท่ีปกครองในระบบประธานาธิบดี
ประเทศไทยจัดรูปแบบของอำานาจอธิปไตยโดยแบ่งเป็ น 3 องค์กร แต่ให้เก่ียวข้องกัน
ได้ ซ่ ึงเรียกว่าเป็ นระบบรัฐสภา
General information รัฐธรรมนูญ ต่างจาก กม.รัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ เก่ียวพันกับอำานาจ การจัดให้มี และ อำานาจจัดทำารัฐธรรมนูญ
เป็ นกม.ท่ีวางระเบียบหรือกฎเกณฑ์เก่ียวกับรัฐ ว่าด้วยดินแดน ประชาชน รัฐบาล และ
อำานาจอธิปไตย ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร ซ่ ึงมักเป็ นลายลักษณ์อักษร
กม.รัฐธรรมนูญ Constiutution law กม.มหาชนท่ีวางระเบียบเก่ียวกับสถาบันการ
เมืองของรัฐ เป็ นคำาท่ีกว้างกว่ารัฐธรรมนูญ และคลุมถึงกฎเกณฑ์การปกครอง
ท่ีไม่เป็ นลายลักษณ์อักษรด้วย ด้วยเหตุนีก ้ ม.รัฐธรรมนูญจึงอาจไม่เป็ นลายลักษณ์
อักษร (อังกฤษแม้จะไม่มีรัฐธรรมนูญเป็ นลายลักษณ์อักษร แต่ก็มีกม.รัฐธรรมนูญ)
รัฐธรรมนูญเกิดจากอำานาจสำาคัญ 2 ประการคือ อำานาจการจัดให้มี และ อำานาจการจัดทำา
รัฐธรรมนูญไทยเป็ นประเภทท่ีแก้ไขยาก
รัฐในทางวิชาการต้องมี ดินแดน ประชาชน อำานาจอธิปไตย รัฐบาล
ธรรมนูญหรือกม.ของรัฐว่าด้วยรายละเอียดเก่ียวกับดินแดน ประชากร อำานาจอธิปไตย
เป็ นกม.สาขามหาชน ซ่ ึงสำาคัญท่ีสุด ซ่ ึงทำาเป็ นลายลักษณ์อักษร ยกเว้นอังกฤษ
ในประเทศไทย ถือเป็ นประเพณ๊การเมืองว่า ไม่ว่าจะมีรัฐประหารหรือปฏิวัติ การตรา
รัฐธรรมนูญใหม่ถือเป็ นการตกลงร่วมกันระหว่างประมุขรัฐและผู้ก่อการเสมอ
สิงคโปร์มีรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับคือ ของตนเอง และ ของมาเลเซีย
รัฐธรรมนูญฉบับแรกคือ พรบ.ธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยามชัว่คราว 2475
ฉบับ 2489 เป็ นะประชาธิปไตยมาก 2492และ2517เป็ นประชาธิปไตยมากเร่ ืองวิธี
จัดทำาและคุ้มครองเสรีภาพ
รัฐธรรมนูญและกม.รัฐธรรมนูญ ความแตกต่างของรัฐธรรมนูญและกม.รัฐธรรมนูญ อยู่ท่ีรัฐธรรมนูญจะกำาหนด
รายละเอียดมากกว่า และ เป็ นลายลักษณ์อักษร ส่วนกม.รัฐธรรมนูญมีทัง้ส่วนท่ีเป็ น
ลายลักษณ์อักษณและไม่เป็ น
กม.รัฐธรรมนูญและกม.ปกครอง กม.รัฐธรรมนูญวางระเบียบปกครองรัฐในระดับสูงและกว้างกว่ากม.ปกครอง
กม.รัฐธรรมนูญแสดงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับราษฎรส่วนรวม ในขณะท่ีกม.
ปกครองจะแสดงความเก่ียวพันระหว่างราษฎรเป็ นรายบุคคลกับรัฐ
กม.รัฐธรรมนูญสำาคัญกว่ากม.ปกครอง
ประเภทของรัฐธรรมนูญ
ตามรูปแบบของรัฐ เอกาธิปไตย-คณะบุคคล-คณะบุคคลส่วนมาก(Aristototle)
ตามรูบของรัฐ รัฐเด่ียว รัฐรวม
ตามวิธีการบัญญำติ เป็ นและไม่เป็ นลายลักษณ์อักษร
ตามวิธีการแก้ไข แก้ไขยาก แก้ไขง่าย
ตามกำาหนดเวลาการใช้ ชัว่คราวและถาวร
ตามลักษณะรัฐสภา
ตามลักษณะฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายบริหารต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา และ ไม่ต้องรับผิดชอบ(ประธานาธิบดี)
ตามลักษณะฝ่ ายตุลาการ มีศาลปกครองและไม่มี
ตามลักษณะความเป็ นจริงหรือการใช้ ตรงต่อสภาพสังคม(Normative) เกินความจริง(Nominal) ตบตาคน(Semantic)
กม.ประกอบรัฐธรรมนูญ(Organic law) กม.การปกครองประเทศท่ีแยกออกมาบัญญัติไว้ต่างหากจากรัฐธรรมนูญ
ทำาให้การร่างรัฐธรรมนูญรวดเร็วขึ้น
ทำาให้มีข้อความรายละเอียดน้อย จดจำาง่าย
ทำาให้การแก้ไขง่าย
ทำาให้วางรายละเอียดเก่ียวกับกม.การปกครองได้เหมาะสมกับสถานการณ์
การแก้ไขและยกเลิกรัฐธรรมนูญ ของไทยจัดอยู่ในประเภทแก้ไขยาก รวมทัง้ของอเมริกา
ของอังกฤษ อิสราเอล นิวซีแลนด์ แก้ไขง่าย
ผู้มีสิทธิเสนอแก้ไขได้แก่ ประมุข สมาชิกนิติบัญญัติ คณะรมต. ประชาชน
(สมาชิกนิติบัญญัติต้องมีจำานวนพอสมควร ไม่ให้เสนอเป็ นเอกเทศ)
ขัน
้ ตอนแก้ไข ต้องมาจากคณะรมต.หรือสส.ไม่น้อยกว่า1/3 แต่ต้องได้รบความเห็นชอบจากพรรค
การเมืองท่ีสังกัดอยู่
ต้องเสนอเป็ นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพ่ิมเติม (ไม่ใช่ร่าง พรบ.)
วาระสุดท้ายต้องลงคะแนนมากกว่าก่ ึงหน่ ึงของสมาชิกทัง้ 2 สภา
การยกเลิก กม.ท่ีมาทีหลังย่อมยกเลิกกม.ท่ีมีมาก่อนได้(Lex posterior derogat legi priori)
ปฏิวัต(ิ Revolution) พฤติการณ์การล้มล้างระบอบการปกครอง แล้วใช้กำาลังสถาปนาใหม่
เป็ นการเปล่ียนแปลงการปกครองหรือล้มล้างสถาบันประมุขของรัฐ ผู้กระทำามัก
เป็ นประชาชนท่ีรวมตัวกัน หรือคณะบุคคลโดยการสนับสนุนของประชาชน
รัฐประหาร(Coup d' Etat) การใช้กำาลังหรือการกระทำาอันมิชอบเพ่ ือเปล่ียนแปลงรัฐบาล
เป็ นการเปล่ียนแปลงอำานาจการบริหารประเทศ ผู้กระทำามักเป็ นคนในคณะรัฐบาล
หรือทหาร
ผุ้กระทำาสำาเร็จย่อมเป็ นรัฏฐาธิปัตย์ (Sovereign) ในทางทฤษฎีไม่จำาเป็ นต้องมีพรบ.
นิรโทษกรรม แต่ทางปฏิบัติมักกระทำา
แถลงการณ์คณะปฎิวัติ ไม่มีผลทางกม. เช่นประกาศคณะปฏิวัติ
คำาสัง่ของหัวหน้าคณะปฏิวัติ เป็ นการใช้อำานาจในทางบริหารและตุลาการ
โครงสร้างของรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยคำาปรารภ และ ส่วนท่ีเป็ นเน้ือความ
คำาปรารภ ต่างกับข้อความท่ีเขียนไว้ริมกระดาษ (Marginal note / q.u.)
คำาปรารภ(Preamble) บางครัง้ก็ไม่ได้เขียนไว้ชัดเจนเสมอไป จึงอาจไม่จำาเป็ นต้องเขียนไว้ก็ได้
อาจใช้ยืนยันความหมายแท้จริงของกม.แต่ต้องบัญญัติไว้ชัดแจ้งและแน่นอน
ในคอมมิวนิสต์ เห็ฯว่า คำาปรารถือดุจกม.และมีผลทางกม.เช่นรัฐธรรมนูญ
ในอเมริกาและยุโรป เห็นว่ามิใช่กม.และเป็ นคนละส่วนกับบทมาตรา
ในไทย ต้องมีพระราชปรารภเสมอ "โดยท่ีเห็นเป็ นการสมควรมีกม.ว่าด้วย….."
รัฐธรรมนูญฉบับเดียวมีบัญญัติคำาปรารภไว้สัน ้ ๆ คือ พรบ.ธรรมนูญการปกครอง
แผ่นดินสยามชั่วคราว 2475 (27 มิถุนายน)
รัฐธรรมนูญไทยฉบับชัว่คราวส่วนมากใช้ช่ือว่า "ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร"
มักมีข้อความในคำาปรารภสัน ้ กว่ารัฐธรรมนูญฉบับถาวร
รัฐธรรมนูญไทยถือเป็ นธรรมเนียมว่า มักมีคำาปรารภยืดยาว และมักจะมีข้อความนี้
1) แสดงให้ทราบท่ีมาหรืออำานาจจัดให้มีรัฐธรรมนูญ
2) แสดงให้เห็นความจำาเป็ นในการท่ีต้องมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
3) แสดงวัตถุประสงค์ในการบัญญัติรัฐธรรมนูญหรือปณิธานของรัฐธรรมนูญ
4) แสดงถึงอำานาจในการจัดทำารัฐธรรมนูญ
5) แสดงถึงประวัติของชาติ
6) ข้อความประกาศสิทธิและเสรีภาพราษฎร
อน่ ึงการยกร่างคำาปรารภรัฐธรรมนูญ ไม่ควรแย้งกับมาตราในรัฐธรรมนูญ(จึงควรร่าง
หลังจากร่างบทมาตราของรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว) และคำาปรารภควรเป็ นไปตาม
ขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศนัน ้ ๆ เอง และจำาต้องอาศัยนักอักษรศาสตร์
เพ่ ือให้ถ้อยคำาสละสลวย (นักนิติศาสตร์เป็ นผู้กำาหนดเน้ือหาสาระ ในขณะท่ีนัก
อักษรศาสตร์มีหน้าท่ีเขียนถ้อยคำาสำานวน)
ประโยชน์ของคำาปรารภ
1) ช่วยให้รัฐธรรมนูญสละสลวยขึ้น
2) ช่วยในการตีความบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
3) ช่วยให้ทราบประวัติการเมืองของประเทศ
4) ช่วยให้ทราบประวัติการจัดทำารัฐธรรมนูญฉบับนัน ้
5) บทบัญญัติบางเร่ ืองอาจบัญญัติไว้ท่ีอ่ืนไม่ได้ ก็นำามาไว้ในคำาปรารภ
เน้ือความรัฐธรรมนูญ
กฎเกณฑ์การปกครองประเทศ ในทางทฤษฎี กม.รัฐธรรมนูญถือว่าสาระรัฐธรรมนูญข้อนีส้ ำาคัญสุดยอด
(Organization chart) ในประเทศคอมมิวนิสต์ อำานาจทัง้ปวงเป็ นของประชาชนเต่แสดงออกทางพรรค
การกำาหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ หาจำาต้องแสดงโดยชัดเจนไม่
บทบัญญติเก่ียวกับเสรีภาพ ถือเป็ นเร่ ืองสำาคัญท่ีต้องบัญญัติไว้
(Bill of Rights)
กฎเกณฑ์อ่ืน ๆ ในรัฐธรรมนูญ กฎการแก้ไขเพ่ิมเติม (Amendatory article)
(Technical Rules) ความเป็ นกฏหมายสูงสุด (Supremacy) อาจโดยชัดแจ้งหรือปริยายก็ได้
ไม่ปรากฏในรัฐธรรมนูญท่ีไม่เป็ นลายลักษณ์อักษร เช่น อังกฤษ
ความเป็ นกฎหมายสูงสุดทำาให้ แก้ไขหรือยกเลิกได้ยาก และ ส่ิงใดจะแย้งไม่ได้
ซ่ ึงคำาว่า "ส่ิงใด" นีอ
้ าจรวามไปถึงการกระทำาของเจ้าพนักงานด้วย
หน้าท่ีพลเมือง (Civic duties)
แนวนโยบายแห่งรัฐ (State policy) เป็ นแนวทางตามรัฐธรรมนูญซ่ ึงกำาหนดไว้กว้าง ๆ
สำาหรับฝ่ ายนิติบัญญัติในการออกกม.และฝ่ ายบริหารในการกำาหนดนโยบายรัฐบาล
ซ่ ึงเป็ นเร่ ืองใหญ่มีไว้สำาหรับรัฐบาลทุกชุด
บทเฉพาะกาล(Interim provisions) ไว้สำาหรับช่วงเวลาหัวเลีย
้ วหัวต่อในการแก้ไข
สาระสำาคัญของรัฐธรรมนูญ หรือ การเปล่ียนรัฐธรรมนูญ
รูบของรัฐ
รัฐเด่ียว(Unitary state) รัฐเป็ นเอกภาพ ไม่ได้แบ่งแยกออกจากกัน มีการใช้อำานาจอธิปไตยอันเดียว
รัฐรวมสองรัฐ(Union) มีประมุขร่วมกัน หรือ ใช้อำานาจภายนอกร่วมกัน แต่อำานาจภายในแยกจากกัน
1) รัฐรวมท่ีมีประมุขร่วมกัน (Personal union) ปั จจุบันไม่มีแล้ว
2) รัฐรวมท่ีใช้อำานาจภายนอกร่วมกัน (Real union) มีลักษณะยัง่ยืนกว่าประเภทแรก
ปั จจุบันก็ไม่มีแล้ว
รัฐรวมหลายรัฐ (Federation) 1) สมาพันธรัฐ (Confederation) เกิดจากสนธิสัญญาร่วมกันของรัฐอิสระ ไม่มี
ลักษณะเป็ นรัฐขึ้นใหม่ เพราะยังมีอำานาจอธิปไตยทัง้ภายในและภายนอกอย่าง
สมบูรณ์ ปั จจุบันไม่มีแล้ว
2) สหรัฐ (United states) หรือ สหพันธรัฐ (Federal state) มลรัฐยังคงมีอธิปไตย
ท่ีจำากัดภายใต้รัฐธรรมนูญของสหรัฐ
การแบ่งปั นอำานาจระหว่างรัฐบาลกลางและมลรัฐเป็ นระบบคู่ (Dual system)
2.1) อำานาจนิติบัญญัติ ทุกมลรัฐจะมีรัฐสภาของตนเอง มีรัฐธรรมนูญของตนเอง
แต่ห้ามขัดกับรัฐธรรมนูญของรัฐบาลกลาง (Federal constitution) ซ่ึงกม.
ท่ีรัฐบาลกลางออกจะเรียกว่า Federal law
2.2) อำานาจบริหาร ทุกมลรัฐมีเมืองหลวงของตนเอง มีรัฐบาลของตนเอง มีผู้ว่าการ
รัฐ (Governor) รัฐบาลของมลรัฐเรียกว่า State Government
ในขณะเดียวกันรัฐบาลกลางมีเมืองหลวงคือ Washington D.C. ซ่ ึงมิได้มี
ฐานะเป็ นรัฐ
2.3) อำานาจตุลาการ แต่ละรัฐมีศาลของตนเอง State court รัฐบาลกลางก็มี
ศาลของตนเองคือ Federal court แต่ถ้ามีการกล่าวหาว่าทำาผิดกม.ท่ีรัฐสภา
กลาง (Federal congress) ไม่ว่าจะเกิดในรัฐใด ก็ต้องพิจารณาในศาลของ
รัฐบาลกลาง
รัฐตามรัฐธรรมนูญไทย เป็ นรัฐเด่ียว (Unitary state) มีดินแดนเดียวกันทัง้ประเทศ (ความกว้างของอาณาเขต
ไทย ลงวันท่ี 3 ตุลาคม 2509 กำาหนดเป็ นระยะ 12 ไมล์ทะเล (1 Nautical mile =
1.1516 ไมล์ธรรมดา)
เป็ นราชอาณาจักร (Kingdom) ซ่ ึงต่างกับสาธารณรัฐ (republic)อันมีประธานาธิบดี
เป็ นประมุข
ประมุขของรัฐ
ประธานาธิบดี a) ในฐานะท่ีเป็ นประมุขรัฐและประมุขฝ่ ายบริหาร (Head of state and government)
รมต.รับผิดชอบโดยตรงต่อประธานาธิบดีเท่านัน ้ รัฐสภาไม่อาจควบคุมการบริหาร
ได้โดยตรงหรือการตัง้กระทู้การอภิปราย ทำาได้แต่เพียงออกกม.หรือการพิจารณา
อนุมัติงบประมาณแผ่นดินท่ีประธานาธิบดีขอมา เช่น USA, Mexico, Argentina,
Indenesia
b) เป็ นประมุขรัฐเท่านัน้ ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตัง้ ไม่ต้องรับผิดชอบทางการ
การเมือง มีใช้ใน India, Singapore
c) เป็ นประมุขรัฐและร่วมกันบริหารกับนายกรัฐมนตรี
พระมหากษัตริย์ a) Absoulte Monarchy (สมบูรณาญาสิทธิราช์ย)
b) Limited Monarchy (ปรมิตาญาสิทธิราช์ย) กษัตริย์มีอำานาจทุกประการ เว้นแต่
ท่ีต้องจำากัดโดยรัฐธรรมนูญ อำานาจบริหารเป็ นของกษัตริย์ เช่น SaudiArabia
c) Constitutional Monarchy พระมหากษัริย์ไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองจึง
ต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ
General information ระบอบประชาธิปไตยมีวิวัฒนาการจากเอเธนส์ของกรีก และมาเติบโตในอังกฤษ
Demo = People + Kratein = การปกครอง
แกะมีบทบาทสำาคัญในการก่อกำาเนิดระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในอังกฤษ
ความหมายของเสรีนิยมในทางเศรษฐกิจคือ ทุนนิยม
Montesquieu หลักการแบ่งแยกอำานาจ "อำานาจหยุดยัง้อำานาจ" (หนังสือ เจตนารมย์
ของกฎหมาย) มิได้หมายความว่าต้องแบ่งแยกอำานาจโดยเด็ดขาดแต่ป้องกันอำานาจ
มิให้ตกไปอยู่ในองค์กรเพียงองค์กรเดียว
Jean Jacques Rousseau อำานาจอธิปไตยเป็ นของประชาชน (หนังสือ สัญญาประชาคม)
เกณฑ์ขัน
้ ต่ำาของการปกครองประชาธิปไตย 1) ผู้ปกครองได้รับความยินยอมจากผู้ใต้ปกครอง
2) ผู้ใต้ปกครองมีสิทธิเปล่ียนตัวผู้ปกครองได้เป็ นครัง้คราว
3) สิทธิมนุษยชนขัน ้ มูลฐานต้องได้รับการคุ้มครอง
หลักเกณฑ์การเลือกตัง้ การยินยอมของประชาชนแสดงออกทางการเลือกตัง้และเป็ นไปตามหลักเกณฑ์
1-หลักอิสระแห่งการเลือกตัง้
2-หลักการเลือกตัง้ตามกำาหนดเวลา
3-หลักการเลือกตัง้อย่างแท้จริง
4-หลักการออกเสียงโดยทัว่ไป
5-หลักการเลือกตัง้อย่างเสมอภาค
6-หลักการลงคะแนนลับ
ระบบการเลือกตัง้ ก) การเลือกโดยตรงและโดยอ้อม
ข) แบบแบ่งเขตและรวมเขต
ค) ตามเสียงข้างมากและแบบสัดส่วน
ระบอบรัฐสภา อำานาจองค์การฝ่ ายบริหารและนิติบัญญำติเท่าเทียมหรือใกล้เคียงกัน ต่างควบคุมซ่ ึงกัน
และกัน และในขณะเดียวกันก็ต้องประสานกัน
องค์กรฝ่ ายบริหารจะแบ่งออกเป็ น ประมุข และ คณะรัฐมนตรี
หากมีการขัดแย้งกันระหว่างประมุขของรัฐกับคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีมักเป็ นฝ่ ายชนะ
ฝ่ ายบริหารมีอำานาจยุบสภาเม่ ือฝ่ ายสภาลงมติไม่ไว้วางใจ
นายกจะมีอำานาจการเมืองมากกว่าประมุขของรัฐ
ระบอบประธานธิบดี รัฐมนตรีรับผิดชอบต่อประธานาธิบดีแต่ผู้เดียว รมต.ต้องไม่เป็ นสมาชิกรัฐสภา และ
ไม่ต้องร่วมประชุมกับรัฐสภาเพ่ ืออภิปรายหรือตอบกระทู้ถาม (ระบอบนีไ้ม่มีกระทู้)
รัฐสภาไม่มีอำานาจถอดถอนประธานธิบดีด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ และประธานาธิบดี
ก็ไม่มีอำานาจยุบสภา
ฝ่ ายบริหารไม่มีอำานาจเสนอร่างกม.ต่อรัฐสภาโดยตรง ต้องใช้วิธีทางอ้อมเพ่ ือเสนอต่อสภา
ให้เห็นความจำาเป็ นในการมีกม. วิธีทางอ้อมท่ีสำาคัญคือ สุนทรพจน์ของประธานาธิบดีท่ี
กล่าวต่อรัฐสภา (State of union)
ระบอบก่ึงประธานาธิบดี จะคล้ายกับระบอบรัฐสภามากกว่า ฝ่ ายบริหารมี 2 องค์กรคือ ประธานาธิบดี และ คณะ
รัฐมนตรี
คณะรัฐ้มนตรีรับผิดชอบทางการเมืองต่อรัฐสภาโดยการถูกอภิปราย ในขณะเดียวกัน
ฝ่ ายบริหารก็มีอำานาจยุบสภา
ส่ิงท่ีแตกต่างกับระบอบรัฐสภาคือ การเข้าสู่ตำาแหน่งประมุขของรัฐ ท่ีแทนท่ีจะเป็ น
กษัตริย์ หรือ เป็ นประธานาธิบดีท่ีได้รับการเลือกตัง้ทางอ้อม กลับมาจากการเลือกตัง้
โดยตรงของประชาชน ซ่ ึงทำาให้ประธานาธิบดีมีอำานาจสูงกว่าประธานาธิบดีในระบอบ
รัฐสภา ตัวอย่างคือประเทศฝรัง่เศส ซ่ ึงประธานาธิบดีมีอำานาจขอมติประชาชนใน
ปั ญหาการเมืองสำาคัญได้ และอำานาจการลงนามยุบสภาก็ไม่จำาต้องมีคณะรัฐมนตรี
ลงนามกำากับ ประเทศอ่ ืนท่ีใช้ระบบนีค ้ ือ Austria, Finland, Portugal, Ireland,
Iceland
ระบอบเผด็จการ มีสองนัย คือ แบบชัว่คราวเพ่ ือปกปั กษ์รักษาระบอบการปกครองเดิมของสังคม และ
แบบท่ีอำานาจการปกครองมิได้มาจากการเลือกตัง้ของประชาชน ทำาให้ประชาชน
ไม่สามารถถอดถอนรัฐบาลได้ รวมทัง้ไม่สามารถวิพากย์วิจารณ์รัฐบาล
ระบอบเผด็จการของประเทศท่ีมีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเกิดขึ้นเน่ ืองจากวิกฤติการณ์
ทางสังคม หรือ ความชอบธรรมแห่งอำานาจปกครอง
ผู้ใช้อำานาจปกครองแบบเผด็จการ แบบปฏิวัติ พยายามสร้างความชอบธรรมใหม่เพ่ ือทดแทนของเดิม
แบบปฏิรูป หรือ อนุรักษ์นิยม จะไม่มีความต้องการท่ีจะนำาความชอบธรรมแห่งอำานาจ
แบบใหม่ทัง้หมดมาทดแทนความชอบธรรมแห่งอำานาจเดิมท่ีมีอยู่ มุ่งเปล่ียนแปลง
ทัศนคติของประชาชน มักใช้วิธีการ2อย่างควบคู่กันคือ ลงโทษ และ โฆษณาชวนเช่ ือ
เผด็จการทุนนิยมโดยพรรการเมืองพรรคเด่ียว หรือเรียกว่า ฟาสซิสม์ เฃ่น ฮิตเลอร์ หรือ มุสโชลินี
- เป็ นการปกครองของประเทศอุตสาหกรรม
- พรรคการเมืองพรรคเด่ียวมีโครงสร้างพรรคอย่างดี และมีบทบาทสูง
พรรคการเมืองเป็ นฐานสำาคัญในการสนับสนุน มิใช่ทหาร (ทหารมักจะมีข้อขัดแย้ง
กับผู้ปกครอง)
- มีการโฆษณาชวนเช่ ือในรูปแบบทันสมัย
จะมีการตัง้กองกำาลังส่วนตัวในการควบคุมกองทัพ ซ่ ึงมิได้ประจำาการถาวร แต่มีความ
พร้อมในการปฏิบัติงาน
มีการจัดตัง้สมาคมอาชีพเพ่ ือมิให้มีการแข่งขันกันในการผลิต การนัดหยุดงานเป็ นส่ิง
ต้องห้าม ยกเลิกการเป็ นสมาชิกรัฐสภาโดยอาศัยพรรคการเมืองและรัฐสภา แต่ใช้
วิธีการตัง้ตัวแทนของกลุ่มผู้ประกอบการ (ยกเลิกสภาการเมืองและตัง้สภาเศรษฐกิจ)
เผด็จการทหาร ทหารเห็นความสับสนทางการเมืองเป็ นภัยต่อชาติ จึงไม่นิยมให้มีสหภาพและไม่นิยม
พรรคการเมืองฝ่ ายซ้าย
เผด็จการสังคมนิยม ถืออุดมการณ์มาร์กซิสก์เป็ นสำาคัญ แต่มีการแปลและนำาไปปฎิบัติต่างกัน
ถือว่าการประกอบการของเอกชนไม่สำาคัญ
ประเทศสังคมนิยม ยึดถือโครงสร้างในการผลิตเป็ นพ้ืนฐานสำาคัญทางสังคม โดยถือว่า
เคร่ ืองมือการผลิตเป็ นของสังคมส่วนรวม นอกจากนีย ้ ังยึดถืออุดมการณ์ว่าเป็ นส่ิง
ท่ีมีบทบาทสำาคัญย่ิง เพราะอุดมการณ์เป็ นความนึกคิดท่ีมีเหตุผลในทางวิทยาศาสตร์
และเป็ นจุดเร่ิมต้นของโครงสร้างการผลิต
โครงสร้างส่วนล่างคือ วิธีการผลิต ระบบท่ีกำาหนดถึงกรรมสิทธิของเคร่ ืองมือการผลิต
ทุกประเทศปกครองด้วยอำานาจเผด็จการแบบปฏิวัติ
ทฤษฎีมาร์กซิสม์ ลอกเลียนทฤษฎีปฏิวัติของ จาโคแบงส์
พรรคคอมมิวนิสต์เป็ นพรรการเมืองแบบพรคคเด่ียว ห้ามมิให้มีการติดต่อระหว่างหน่วย
รองท่ีอยู่ในระดับเดียวกัน และประกอบด้วยนักปฏิวัติมืออาชีพเป็ นหลัก การติดต่อ
กันจะเป็ นในแนวด่ิง(ประชาธิปไตยรวมศูนย์)
อำานาจแท้จริงอยู่ท่ีผู้นำาพรรค
ลักษณะสำาคัญของรัฐธรรมนูญของประเทศสังคมนิยม คือ "การเลือกตัง้แบบหยัง่เสียง"
ผู้มีสิทธิเลือกตัง้ไม่สามารถเลือกผู้สมัคร ทำาได้แต่เพียงให้การรับรองหรือไม่รับรอง
กล่าวคือ จะไม่มีการแข่งขันกันในทางการเมืองในขณะท่ีมีการเลือกตัง้
ระบอบประชาธิปไตย อำานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ อาศัยหลักการแบ่งแยก
อำานาจ และหลักการท่ีว่าด้วย"ความถูกต้องตามกฎหมาย"
General information นอกจากทำากม.แล้วยังควบคุมฝ่ ายบริหาร และให้ความเห็นชอบ
ระบบรัฐสภาของอังกฤษเป็ นแม่บทของทัว่โลก เกิดในคริสต์ศตวรรษท่ี 13
ในกรีกสมัยเอเธนส์ กม.คือข้อตกลงของราษฎรทุกคน
ในโรมสมัยราชาธิปไตย ถือว่าอำานาจสูงสุดเป็ นของราษฎร แต่แบ่งแยกอำานาจส่วน
หน่ ึงให้กษัตริย์ในการบริหารแผ่นดิน โดย Comicesเป็ นผู้เลือกกษัตริย์ และท่ี
ประชุมราษฎรมีหน้าท่ีจัดทำากม.
JohnLock การตัดสินคดีเป็ นส่วนหน่ ึงของอำานาจนิติบัญญัติ
Montesquieu อำานาจนิติบัญญัติ บริหารและ ตุลาการ ความเห็นนีถ ้ ูกอเมริกานำาไปใช้
เป็ นหลักในการร่างรัฐธรรมนูญ
Feudalism เป็ นลัทธิปกครองของอังกฤษท่ีมีรูปแบบใกล้เคียงกับสุโขทัยและอยุธยา
โดยมีเจ้าครองนครเรียกว่า Vassal
Magnum Cocillium เป็ นสภาท่ีปรึกษาการออกกม.ของพระมหากษัตริย์
Magna Carta เพ่ิมอำานาจให้สภาแมกนัม ่ ในด้านภาษี ประกันอิสรภาพ เสรีภาพ
King Edward I มีการเลือกตัง้ผู้แทนเป็ นครัง้แรก
ร. 5 ตราพรบ.ปกครองท้องท่ีรศ. 116 เลิกทาสเม่ ือ31มีนาคม 2448 ตราพรบ.จัดการ
สุขาภิบาลท่าฉลอม 2448 พรบ.สุขาภิบาลหัวเมือง2450
รง 6 สร้างดุสิตธานี มีตัวแทนบริหารคือ เชษฎบุรุษ ตราการศึกษาภาคบังคับ 2464
โดยให้เด็กอายุ 7-14 ปี เข้าเรียนจนจบประถมศึกษา
การประชุมสภาผู้แทนครัง้แรกเม่ ือ 28 มิ.ย. 2475
สมาชิกสภามาจากการเลือกตัง้โดยตรงจากประชาชน มาจากการเลือกตัง้โดยอ้อม
มาจากการสืบตระกูล และมาจากการแต่งตัง้
สมัยปะชุมสภา : รอบปี ท่ีกำานหดเป็ นระยะเวลาท่ีสมาขิกดำาเนินการทางรัฐสภา
สมัยสามัญ (กำาหนดไว้แน่นอน) และ สมัยวิสามัญ(ตามความจำาเป็ นพิเ้ศษ)
รูปแบบของรัฐสภา สภาเด่ียว (Unicameral) และ สภาคู่ (Bicameral)
ประเทศไทยใช้ทัง้สองระบบปะปนกันไป แต่ยังไม่เคยใช้ระบบสภาเดียวท่ีสมาชิกสภา
มาจากการเลือกตัง้ทัง้หมด
ประเทศสหพันธรัฐ (Federal state) ต้องเป็ นแบบสองสภาเท่านัน ้
Unicameral นิยมในรัฐเด่ียวและประเทศเล็ก เช่น Albania, Bulgaria, Chezko,
Hungary, Poland, Romania, Norway สมาชิกสภาได้อำานาจจากประชาชนโดย
ตรง
Bicameral วิวัฒนาการในอังกฤษเป็ นครัง้แรก เหตุผลท่ีใช้ได้แก่
1) Federal state มีโครงสร้างรัฐ 2 ระดับคือ ระดับชาติและระดับมลรัฐ ได้แก่ USA
Australia, Brazil, Switzerland
2) Unitary state เพ่อเสริมกลไกของรัฐสภาในการปฏิบัติหน้าท่ีให้รอบคอบ และ
สร้างสมดุลให้เกิดระหว่างนิติบัญญัติและบริหาร

ระบบการแบ่งแยกอำานาจ Presidential and Parliamentary method


Presidential ฝ่ ายบริหารไม่สามารถยุบสภา และสภาก็ไม่สามารถบีบให้ฝ่ายบริหาร
ออกจากตำาแหน่งยบเว้นกรณีทรยศต่อประเทศชาติ
Parliamentary ฝ่ ายนิติบัญญัติและบริหารก้าวก่ายกัน เช่น England, Canada,
Australia, Thailand
องค์กรในรัฐสภา Standing committee ต้องเป็ นสมาชิกสภาทัง้หมด
Special committee เม่ ือเร่ ืองไม่อยู่ในขอบข่ายของคณะกรรมการสามัญชุดใด หรือ
เป็ นเร่ ืองคาบเก่ียว เป็ นกรรมการชัว่คราว สลายตัวเม่ ือเสร็จงาน
ประกอบด้วย กรรมธิการท่ีรัฐสภาตัง้ และ ฝ่ ายบริหารตัง้ (ควรจะน้อยกว่าท่ีสภาตัง้
ซ่ ึงอาจไม่ใช่บุคคลท่ีเป็ นสมาชิกรัฐสภา)
(ระบบประธานาธิบดี ฝ่ ายบริหารไม่สามารถเข้าร่วมประชุมรัฐสภา ยกเว้นมาชีแ ้ จง)
Joint committee มาจกาสองสภาในอัตราส่วนเท่ากัน เป็ นกรรมการเฉพาะกิจ
Committee of the whole house เกิดเม่ ือร่างกม. และรับหลักการในวาระแรก แต่
จำาเป็ นรีบด่วน และกม.ไม่ซับซ้อน รัฐสภาจึงมีติให้พิจารณารวดเดียว 3 วาระ
Subcommittee
ตำาแหน่งในรัฐสภา ประธานรัฐสภาSpeaker of the parliament มักจะเป็ นประธานวุฒิสภา ยกเว้น 2517
ท่ีให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็ นประธานรัฐสภา
ความเป็ นกลางไม่ได้มีบัญญัติไว้แต่เป็ นจารีตประเพณี
รองประธานรัฐสภา Deputy speaker
ผู้นำาฝ่ายค้าน Leader of the opposition มรว.เสนีย์ ปราโมช เป็ นคนแรก
ผุ้ควบคุมการลงคะแนนเสียงในสภา Whips ประยุกต์มาจากอังกฤษ
เลขาธิการรัฐสภา Secretary-General, Clerk of the parliament, Greffier,
Director-General โดยประธานรัฐสภาเป็ นผู้สนองพระบรมราชโองการแต่งตัง้
ข้าราชการรัฐสภาเป็ นอิสระจากฝ่ ายบริหาร ตามพรบ.ระเบียบขรก.ฝ่ ายรัฐสภา 2518
แต่งบประมาณการคลังยังคงอยู่ในการควบคุมของฝ่ ายบริหาร
อำานาจหน้าที่ของรัฐสภา ท่ีสำาคัญท่ีสุดคือการออกกฎหมาย
เสนอรร่างพรบ. โดยคณะรัฐมนตรี หรือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ต้องมีคำารับรองของนายก)
ในกรณีท่ีสงสัยว่าพรบ.นัน ้ ต้องมีคำารับรองของนายกหรือไม่ ให้ประธานสภาผู้แทน
ราษฎรมีอำานาจวินิจฉัย
การพิจาณาโดยสภาผู้แทนราษฎร 3 วาระ รับหรือไม่รับหลักการ พิจารณาเรียงมาตรา และ ลงมติเห็นหรือไม่เห็นชอบ
(วาระท่ี 3 ไม่มีการอภิปราย ถ้าเห็นชอบต้องเสนอ วุฒิสภาต่อไป)
ถ้าวุฒิสภาไม่เห็นชอบ ให้สภาผู้แทนพิจารณาได้ใหม่ก็ต่อเม่ ือพ้น 180 วัน ถ้าสมาชิก
สภาผู้แทนลงมติเห็นชอบมากกว่าก่ ึงหน่ ึงของสมาชิกสภาผู้แทน ก็ให้ถือว่าพรบ.นัน ้
ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา สามารถนำาขึ้นทูลเกล้าได้
ถ้าวุฒิสภาให้แก้ไขเพ่ิมเติม ก็ให้ตัง้สมาชิกจาก 2 สภาเท่า ๆ กัน มาพิจารณาร่วมกัน
แล้วเสนอต่อสภาทัง้สอง
การพิจารณาอนุมัติพระราชกำาหนด มี 2 ประเภทคือ พรก.ทัว่ไป และ พรก.ภาษีอากรหรือเงินตรา
ในกรณีเร่งด่วน หรือ เรียกประชุมสภาทันท่วงทีไม่ได้เช่น สภาถูกยุบ
ต้องประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา
พรก.เก่ียวกับภาษีอากรต้องเสนอรัฐสภาภายใน 3 วันนับแต่วันถัดจากวันประกาศใช้ใน
ราชกิจจานุเบกษา ถ้ารัฐสภาไม่อนุมัติ ให้ตกไปแต่ไม่กระทบการท่ีทำาไปก่อนหน้า
หากเป็ นพรก.ทัว่ไป ให้นำาเสนอรัฐสภาในการประชุมรัฐสภาคราวต่อไปโดยไม่ชักช้า
การควบคุมฝ่ ายบริหาร การตัง้กระทู้ถาม รัฐมนตรีไม่ตอบได้ถ้าเป็ นว่ายังไม่ควรเปิ ดเผย มี 2 ประเภท คือ
ให้ตอบในท่ีประชุมสภา และ ให้ตอบในราชกิจจานุเบกษา
กระทู้ถามธรรมดาและกระทู้ด่วน
การตัง้กระทู้ในเสนอล่วงหน้าต่อประธานสภา และระบุว่าจะให้ตอบท่ีใด
เง่ ือนไขการตัง้กระทู้ คือ ต้องไม่เสียดสี ประชด ใส่ร้าย เคลือบคลุม ต้องไม่ซ้ำากับ
ท่ีเคยถามตอบไปแล้วหรือชีแ ้ จงว่าไม่ตอบ ห้ามมิให้ผู้ตัง้กระทู้คนเดียวถามเกิน
กว่าหน่ ึงกระทู้เว้นแต่ว่าไม่มีผู้อ่ืนถาม
บรรจุในระเบียบวาระการประชุมภายใน 15 วันนับแต่วันท่ีประธานสภาส่งกระทู้ไป
ยังรัฐมนตรีแล้ว
การประชุมครัง้หน่ ึง ถามเกินกว่า 5 กระทู้ไม่ได้ ยกเว้นเร่งด่วน เม่ ือรมต.ตอบแล้ว
ให้ผู้ตัง้กระทู้ถามได้อีก สาม ครัง้ เว้นแต่ยังไม่หมดประเด็นและประธานอนุญาติ
การเสนอญัตติเปิดอภิปรายทั่วไป สส.ไม่ต่ำากว่า 1/5 ย่ ืนเสนอต่อประธานรัฐสภา
การลงมติห้ามทำาภายในวันเดียวกันกับวันอภิปรายแต่ต้องภายใน 3 วัน
คะแนนเสียงต้องมากกว่าก่ ึงหน่ ึง จึงจะถือว่าได้รับความไว้วางใจ
อำานาจอ่ ืนในการเห็นชอบ เห็นชอบการตัง้ผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์
เห็นชอบการสืบสันตติวงศ์
เห็นชอบการทำาสัญญาท่ีเปล่ียนอาณาเขตหรืออธิปไตย
เห็นชอบการประกาศสงคราม
การเลือกตัง้ ประเทศท่ีลงโทษถ้าไม่เลือกตัง้คือ Argentina, Australia, Austria, Belgium,
Brazil, France, Italy, Littenstein, Spain, Switzerland, Sahi, Singapore,
Nauru
ประเทศไทยต้องมีอายุไม่ต่ำากว่า 20 ปี จึงจะเลือกตัง้ได้
ถ้าจะสมัครรับเลือกตัง้ ต้องอายุไม่ต่ำากว่า 25 ปี และมีสัญชาติไทยโดยการเกิด
การกำาหนดเขตเลือกตัง้ ควรจะแบ่งผู้มีสิทธิออกเสียงเท่า ๆ กัน คำานึงพ้ืนท่ีโดยธรรมชาติให้มากท่ีสุด และ
ควรจะทบทวนเขตเลือกตัง้อยู่เสมอ
การแบ่งเขต (One man One vote) 1 เขตต่อ 1 คน
การรวมเขต (One man Several vote) เลือกผุ้แทนตามจำานวนผู้แทนท่ีจะมีได้ในเขตนัน ้ (ประเทศไทย)
วิธีการเลือกตัง้ Direct election and Indirect election
ระบบการเลือกตัง้-คะแนนเสียงข้างมาก Major electoral system-The first past the post ผู้ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดเป็ น
ผู้ได้รับการเลือกตัง้ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือการเลือกตัง้แบบเสียงข้างมาก
รอบเดียว และ แบบสองรอบ (One and Two ballots) แบบรอบเดียวใช้ในอังกฤษ
และประเทศในเครือจักรภพ แบบนีไ้ม่คำานึงถึงอัตราส่วนคะแนนเสียงท่ีผู้ได้รับเลือกตัง้
ได้รับจากลงคะแนนเสียง ในขณะทีแบบสองรอบจะต้องได้คะแนนเกินก่ ึงหน่ึง
-มีตัวแทนตามสัดส่วน Proportional representation electoral system ในประเทศยุโรปตะวันตกจะใช้
ระบบแบบมีตัวแทนตามสัดส่วนคะแนนเสียงนี ร้วมทัง้Isarel, Turkey
การเลือกตัง้ในประเทศไทย มีทัง้ทางตรงและทางอ้อม และใช้เกณฑ์คะแนนเสียงข้างมากในการตัดสิน
เลือกตัง้ครัง้แรกเม่ ือ 15 พย. 2476
พรรคการเมือง เป็ นกลุ่มบุคคลท่ีมีความคิดเห็น ผลประโยชน์ทางการเมือง และ เศรษฐกิจท่ีคล้ายกัน
และต้องการนำาความคิดเห็นทางการเมืองเศรษฐกิจนัน ้ ไปเป็ นหลักการบริหารประเทศ
มีลักษณะร่วมคือ ต้องได้รับความสนับสนุนจากประชาชน (Grass root support)
นายทะเบียนท่ีรับจดพรรคการเมือง คือ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
หน้าท่ีบทบาท ปลูกฝั งความรู้สึกและสำานึกทางการเมืองแก่ประชาชน
คัดเลือกตัวบุคคลท่ีเหมาะสมเพ่ ือลงสมัครรับเลือกตัง้
ประสานประโยชน์ของกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มอิทธิพล
การนำานโยบายท่ีแถลงไว้มาใช้บริหารประเทศ
ระบบพรรคการเมือง
Single party system ในประเทศสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ เผด็จการ มีความสัมพันธ์ในแนวด่ิงกับประชาชน
(Top down relations or Leader to people)
อีกแบบคือ ระบบพรรคการเมืองเด่นพรรคเดียว (One dominant party) เช่นพรรค
คองเกรสในอินเดีย หรือ LDPของญ่ ึปุ่น
Two party system ในอเมริกา และ อังกฤษ อาจมีมากกว่า 2 พรรค แต่ไม่เด่นหรือไม่มีบทบาทการเมือง
Mini party sytem มีจำานวนตัง้แต่ 3 พรรคขึน ้ ไป ได้รับความนิยมพอ ๆ กัน ทำาให้ออกมาในรูปแบบของ
รัฐบาลผสม (Coalition government) มักเกิดในประเทศท่ีใช้ระบบรัฐสภาแบบอังกฤษ
ซ่ ึงมีการแบ่งอำานาจอธิปไตยไม่เด็ดขาด ในขณะท่ีแบบประธานาธิบดีมักไม่เกิด
ปั ญหาแบบนีเ้พราะทัง้ฝ่ ายนิติบัญญัติและบริหารต่างได้รับการเลือกตัง้โดยตรง
จากประชาชน
เหตุผลสำาคัญที่ทำาให้พรรการเมืองไทยล้มลุก ประชาชนมีความเข้าใจพรรคการเมืองน้อย
General information หน้าท่ีของรัฐสภาคือการให้คำาแนะนำาและยินยอมในการตรา พรบ.
Malaysia: สุลต่าง 9 คนผลัดกันเป็ นกษัตริย์คนละ 5 ปี
President:ประมุขอย่างเดียว เช่น เยอรมัน อำานาจบริหารอยู่ท่ีนายก(Chancellor)
France: ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตัง้โดยตรง อยู่ในตำาแหน่ง 7 ปี
ระบบประธานาธิบดีของอเมริกา: ประธานาธิบดีเป็ นหัวหน้าบริหาร องค์กรนิติบัญญัติ
ไม่มีอำานาจลงมติไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรีได้ แต่ยังถ่วงดุลกันได้โดยให้ Senateมี
อำานาจท่ีจะแนะนำาและให้ความยินยอมแต่งตัง้ข้าราชการ
ส่วนการImpeachment จะให้senateลงมติเสียงข้างมากและมีประธานศาลสูงสุด
เป็ นประธาน
ในประเทศอังกฤษ Lord Chancellor เป็ นตำาแหน่งท่ีทำาหน้าท่ีในทัง้ 3 องค์กรอธิปไตย
คือเป็ น ผู้พิพากษาศาลสูง เป็ นสมาชิกในคณะรัฐมนตรี และ เป็ นสมาชิกสภาขุนนาง
ในประเทศไทย มีประธานองคมนตรี และองคมนตรีอีกไม่เกิน 14 คน
ผู้รับสมองพระบรมราชโองการเป็ นผู้รับผิดชอบแทนพระมหากษัตริย์
ในการออกกม.ขององค์กรบริหาร องค์กรบริหารต้องคำานึงถึงนโยบายท่ีได้แถลงไว้ และ
ต้องแน่ใจว่าสามารถคุมเสียงข้างมากในสภาได้ด้วย
ผู้ใช้อำานาจบริหารตามกม.รัฐธรรมนูญ ประมุข(กษัตริย์/ประธานาธิบดี) หัวหน้าฝ่ ายบริหาร(นายก/ประธานาธิบดี) คณะรัฐมนตรี
อำานาจหน้าที่การบริหารขององค์กรบริหาร เพ่ ือให้การปฎิบัติหน้าท่ีสำาเร็จ องค์การบริหารจึงมีอำานาจในการออกกฎหมายด้วย
ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 53 กล่าวว่า แนวนโยบายแห่งรัฐไม่ก่อให้เกิดสิทธิในการฟ้ องร้อง
ต่อรัฐ เพ่ ือเป็ นการเปิ ดโอกาสให้องค์กรบริหารไดมีโอกาสตัดสินใจอย่างเด็มท่ี
อำานาจประกาศและเลิกใช้กฏอัยการศึก ตามพรบ.อัยการศึก 2475
บรรดาข้อความในพรบ.หรือกม.ใด ๆ ท่ีขัดกับอัยการศึก ต้องระงับไป
อำานาจในการประกาศสงคราม ก่อนประกาศสงคราม องค์กรบริหารต้องได้รับความเห็นชอบจากองค์กรนิติบัญญัติ
พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซ่ึงอำานาจประกาศสงครามเม่ ือได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
และรัฐสภาต้องเห็นชอบไม่น้อยกว่าสองในสามของสมาชิกทัง้สองสภา
อำานาจในการทำาสนธิสัญญา อเมริกาให้อำานาจองค์กรบริหารในการทำาสนธิสัญญา แต่มีผลบังคับเม่ ือSenateเห็นชอบ
พระมหากษัตริย์มีอำานาจทำาหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และหนังสือสัญญา
สัญญาใดท่ีมีบทเปล่ียนอาณาเขตไทยหรืออธิปไตยต้องออกเป็ นพรบ.
(องค์กรบริหารทำาหนังสือสัญญากับนานาประเทศได้ทันที ยกเว้นการเปล่ียนแปลง
อาณาเขตท่ีต้องได้ความเห็นชอบจากรัฐสภา โดยการออกเป็ นพรบ. เหตุนีบ ้ างครัง้
องค์กรบริหารจึงเล่ียงโดยการไปทำา สัญญาขององค์กรบริหาร แทนการทำาสนธิสัญญา)
อำานาจในการตัง้ข้าราชการ พระมหากษัตริย์แต่งตัง้ข้าราชการทหารและพลเรือนตำาแหน่ง ปลัดกระทรวง อธิบดี
หรือเทียบเท่าให้ดำารงตำาแหน่งหรือพ้นจากตำาแหน่ง
ระบบประธานาธิบดีของอเมริกา ต้องได้ความเห็นชอบของSenate
อำานาจหน้าที่นิติบัญญัติขององค์กรบริหาร พระราชกำาหนดเป็ นกม.พิเศษท่ีออกโดยองค์กรบริหารและอยู่ลำาดับชัน ้ เดียวกันกับพรบ.
พระราชกำาหนดออกในกรณี รีบด่วนเพ่ ือความปลอดภัยความมัน ่ คง และป้ องกันภัยสาธารณะ
รวมทัง้การออกกม.ภาษีอากรเงินตราท่ีต้องพิจารณาโดยด่วนและลับเพ่ ือประโยชน์แผ่นดิน
การให้อำานาจออกพรก. ก็เพ่ ือให้โอกาสองค์กรบริหารแก้ไขปั ญหาอย่างรีบด่วนได้

พระราชกฤษฎีกาเป็ นกม.ท่ีฝ่ายบริหารออกโดยอำานาจของรัฐธรรมนูญ และพรบ. หรือ พรก.


พระมหากษัตริย์มีอำานาจยับยัง้กม.ท่ีองค์กรนิติบัญญัติตราขึ้น โดยการไม่ทรงลงประ
ปรมาภะไธยหรือพระราชทานร่างพรบ.คืนภายใน 90 วัน แต่รัฐสภามีอำานาจพิจารณาใหม่
และต้องลงคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2/3 จากนัน ้ จึงทูลเกล้าใหม่ หากไม่ทรงลงพระ
ปรมาภิไธยภายใน 30 วัน ก็ให้นายกนำาไปประกาศใช้ได้เลย
อำานาจหน้าที่ตุลาการขององค์กรบริหาร ในระบอบประธานาธิบดี องค์กรบริหารมีอำานาจแต่งตัง้ถอดถอนผู้พิพากษาโดยSenateยินยอม
อำานาจนีม ้ ีไว้เพ่ ือวินิจฉัยคดีเล็ก ๆ น้อย ๆ เพ่ ือช่วยแบ่งเบาภาระขององค์กรตุลาการ และเพ่ ือ
เป็ นเคร่ ืองมือในการบริหารหน้าท่ี แต่ไม่ถือว่าเป็ นอำานาจเด็ดขาด
อำานาจหน้าที่ในยามฉุกเฉิน มีทัง้ในและนอกประเทศ เช่น กฎอัยการศึก พระราชกำาหนด
General information ใช้อำานาจในพระปรมาภิไธย (กษัตริย์มอบอำานาจให้ทำาแทน) (ต่างจากองค์การอ่ ืน)
กรมวังในสมัยกรุงศรีอยุธยาทำาหน้าท่ีว่าความ
พระบรมไตรโลกนาถตัง้ 2 กรมคือ ศาลหัวเมืองฝ่ ายเหนือขึ้นกับมหาดไทย และศาลหัว
เมืองฝ่ ายใต้ขึ้นกับกลาโหม
กม.ตราสามดวงในสมัยรัตนโกสินทร์มี 3 ฉบับ เก็บไว้ท่ีห้องเคร่ ือง หอหลวง ศาลหลวง
ศาลสูงรับเฉพาะอุทธรณ์ท่ีกล่าวโทษลูกขุนว่าพิจารณาคดีไม่เป็ นธรรม หากแพ้ก็ยัง
สามารถทูลเกล้ากล่าวโทษได้อีกเรียกว่า "ฎีแก"
อังกฤษเป็ นชาติแรกท่ีขอจัดตัง้ศาลกงสุลอังกฤษเพ่ ือพิจารณาคดีคนในบังคับอังกฤษ
ร. 5 จัดตัง้กระทรวงยุติธรรมเม่ ือ 25 มีนาคม 2434 (ร.ศ. 110)
หลังสงครามโลกครัง้ท่ี 1 อเมริการเป็ นชาติแรกท่ีเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
ศาลยุติธรรมเป็ นศาลท่ีมีอำานาจพิจาณาคดีตามกม.เอกชน คือ คดีเพ่ง คดีท่ีพลเรือน
ทำาผิดอาญา หรือ กระทำาผิดร่วมกับบุคคลท่ีอยู่ในอำานาจศาลทหาร
การฟ้ องคดีว่าผู้พิพากษาไม่เป็ นธรรม ต้องฟ้ องร้องเป็ นคดีใหม่ ห้ามมิให้กล่าวโทษผู้
พิพากษารวมไปในอุทธรณ์หรือฎีกา มิฉะนัน ้ จะเป็ นการละเมิดอำานาจศาล
ระบบศาล
ศาลชัน
้ ต้น ศาลชัน ้ ต้นตจว. พิจารณาคดีทัง้เพ่งและอาญา
บางจว.มีศาลคดีเด็กและเยาวชนท่ี สงขลา โคราช เชียงใหม่ อุบล
ศาลในกทม.: ศาลเพ่ง อาญา เพ่งธนบุรี อาญาธนบุรี มีนบุรี แขวงพระนครใต้
แขวงพระนครเหนือ แขวงธนบุรี คดีเด็กและเยาวชนกลาง ศาลภาษี
ศาลแรงงานกลาง
หมายเหตุ:มีนบุรี พิจารณาคดีเขต มีนบุรี ลาดกระบัง หนองจอก
ศาลอุทธรณ์ มีท่ีกทม.ท่ีเดียว
ศาลฎีกา มีคดีบางประเภทให้ย่ืนฟ้ องต่อศาลฎีกาได้เลย
ศาลพิเศษ จัดตัง้โดยพระราชบัญญัติ
ศาลคดีเด็กและเยาวชน อายุไม่ถึง 18 ปี บริบูรณ์ (อายุน้อยกว่า 7 ปี ไม่ลงโทษอาญา)
ตัดสินคดีอาญาของเด็ก
อายุ 18ถึง20ปี ต้องฟ้ องท่ีศาลจังหวัดก่อน แล้วศาลจึงจะดูสภาพร่างกายและจิตใจเด็ก
ก่อนว่ามีสภาพเป็ นเด็กเยาวชนหรือไม่ ถ้าใช่ก็จะโอนคดี
คดีเพ่ง ศาลมีอำานาจเฉพาะบางเร่ ือง
จุดมุ่งหมายก็เพ่ ือ หาสาเหตุท่ีทำาผิดแล้วให้โอกาสกลับตัว
ศาลแรงงาน พรบ. 2522 สังกัดกท.ยุติธรรม
สะดวก รวดเร็ว ประหยัด เป็ นธรรม ประนีประนอม กลับไปทำางานร่วมกัน
ต่างจากศาลยุติธรรมชัน ้ ต้นคือ คำาพิพากษาจะอุทธรณ์ได้เฉพาะข้อกฎหมายและให้
อุทธรณ์ไปยังศาลฎีกาเลย ศาลฎีกาจะถือข้อเท็จจริงตามท่ีศาลแรงงานชีไ้ว้
เว้นแต่ศาลฎีกาเห็นว่าข้อเท็จจริงนัน ้ ยังไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ก็จะสัง่
ให้ศาลแรงงานฟั งข้อเท็จจริงเพ่ิมอีกได้
นอกจากนีย ้ ังไม่มีอำานาจพิพากษาคดีอาญาบางประเภท
ผู้พิพากษามาจากขรก.ตุลาการตามกม.ขรก.ฝ่ ายตุลาการ ซ่ ึงมีความรู้ในปั ญหาแรงงาน
และให้มีผู้พิพากษาสมทบ ซ่ ึงมาจากฝ่ ายนายจ้างและลูกจ้าง และอาจขอให้มีผู้ทรง
คุณวุฒิมาร่วมให้ความเห็นด้วย
การฟ้ องคดีทำาด้วยวาจาโดยแถลงต่อหน้าศาล มีคนไกล่เกล่ียดำาเนิการเป็ นการลับเฉพาะ
ต่อหน้าคู่ความเท่านัน ้ ก็ได้ ศาลพิจารณาคดีติดต่อกันโดยไม่ต้องเล่ ือน เว้นมีเหตุจำาเป็ น
และเล่ ือนครัง้หน่ ึงได้ไม่เกิน 7 วัน เม่ ือสืบพยานเสร็จให้พิพากษาภายใน 3 วัน
มี 3 ประเภท : ศาลแรงงานกลาง ศาลแรงงานภาค ศาลแรงงานจังหวัด
ศาลทหาร พรบ. ศาลทหาร 2498 มี 2 ประเภท
1) ศาลทหารในเวลาปกติ พิพากษาผู้กระทำาผิดต่อกม.ทหารหรือกม.อาญาในกรณีท่ีผู้
ต้องหากระทำาผิดเป็ นบุคคลท่ีอยู่ในอำานาจศาลทหารขณะกระทำาผิด
มีอำานาจพิจารณาคดีอาญาทัว่ไปและคดีท่ีเก่ียวกับกม.ทหาร
บุคคลภายใต้อำานาจศาลทหารได้แก่ นายทหารสัญญาบัตรประจำาการ นายทหาร
สัญญาบัตรนอกประจำาการท่ีทำาผิดคำาลัง่ข้อบังคับประมวลกม.อาญาทหาร
นายทหารประทวน พลทหารประจำาการ นักเรียนทหาร ทหารกองเกินท่ีเข้าประจำา
การ พลเรือนสังกัดราชการทหารเม่ ือทำาผิดในหน้าท่ีราชการทหารหรือทำาผิดใน
เขตอำานาจทหาร บุคคลต้องขังหรือในควบคุมของทหารโดยชอบด้วยกม. และ
เชลยศึก
ถ้ากระทำาผิดร่วมกับบุคคลท่ีไม่อยู่ในอำานาจศาลทหารเช่นพลเรือน หรือคดีเด็ก จะถือ
ว่าไม่อยู่ในอำานาจศาลทหาร รวมทัง้คดีท่ีศาลพลเรือนประทับรับฟ้ องไปแล้วด้วย
ศาลชัน ้ ต้นมี 4 แบบคือ ศาลจว.ทหาร ศาลมณฑลทหาร ศาลทหารกรุงเทพ และ
ศาลประจำาหน่วยทหาร
2) ศาลทหารเวลาไม่ปกติ กรณีนีศ ้ าลทหารปกติก็ยังทำาหน้าท่ีได้ตามเดิม แต่ผู้มี
อำานาจประกาศกฎอัยการศึก จะสามารถประกาศให้คดีอาญาบางประเภทเป็ นคดี
ในอำานาจศาลทหารได้ นอกจากนีค ้ ดีท่ีเกิดขึ้นขณะประกาศกฎอัยการศึกท่ีมีเหตุ
พิเศษเก่ียวกับความมัน ่ คง ไม่ว่าจะมีระบุไว้ใน พรบ.อัยการศึก2457หรือไม่ ผบ.สส.
มีอำานาจสัง่ให้ศาลทหารมาดูแลได้
เวลาไม่ปกติยังอาจตัง้ ศาลอาญาศึก ได้ในหน่วยทหาร ซ่ ึงสามารถตัดสินคดีอาญา
ท่ีเกิดขึ้นในเขตอำานาจ โดยไม่จำากัดตัวบุคคล
อน่ ึง คำาพิพากษาของศาลทหารในเวลาไม่ปกติ ห้ามอุทธรณ์หรือฎีกา
ในระหว่างท่ีมีการประกาศกฎอัยการศึก ศาลพลเรือนยังทำาหน้าท่ีได้ต่อไป
จะเห็นว่าศาลทหารจะเป็ นอิสระ แยกจากศาลพลเรือนโดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุม
ของกท.ยุติธรรมเลย
ในกรณีท่ีมีปัญหาเร่ ืองอำานาจศาลทหารหรือศาลพลเรือน ให้คุลาการรัฐธรรมนูญ
เป็ นผู้วินิจฉัย (กล่าวคือ วินิจฉ้ยเฉพาะเร่ ืองเก่ียวกับอำานาจหน้าท่ี)
ศาลปกครอง แม่บทคือศาลปกครองฝรัง่เศส
อังกฤษ ไม่มีศาลปกครอง แต่จะมีคณะตุลาการฝ่ ายปกครอง ทำาหน้าท่ีแทน
อเมริกา ไม่มีศาลปกครอง อำานาจอยู่ท่ีศษลยุติธรรมปกติ และ คณะตุลาการฝ่ ายปกครอง

การสรรหาแต่งตัง้ผู้พิพากษา ในทางปฏิบัติแล้วไม่มีการเลือกตัง้อย่างแท้จริง
ฝรัง่เศส:ได้จากการแต่งตัง้ พนักงานศาล Le magistrat ซ่ ึงได้รับเลือกมาเป็ นLeJuge
หากไม่มีคุณสมบัติพอก็จะไปเป็ นทนายความเรียกว่า อโวกา
พรบ.ระเบียบขรก.ตุลาการ 2521 ธรรมศาสตร์บัณฑิต หรือ นิติศาสตร์บัณฑิต หรือ ปริญญาตรี/ประกาศนียบัตรกม.
จากต่างประเทศซ่ ึงกต.เทียบไม่ต่ำากว่าปริญญาตรี และสอบได้เนติบัณฑิต มี
สัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต่ำากว่า 25 ปี
ประกาศผลสอบตามลำาดับคะแนน
ถ้าได้ปริญญาหรือประกาศนียบัตรทางกม.สูงกว่าปริญญาตรี ถ้ากต.เห็นว่ามีคุณสมบัติ
ครบถ้วย จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องสอบคัดเลือก แต่ต้องทดสอบความรู้ทางกม.
ถ้าผ่านเกณฑ์ด้งกล่าวข้างต้น การบรรจุเป็ นผู้ช่วยผู้พิพากษาจะกระทำาโดยรมต.ยุติธรรม
เม่ ือตำาแหน่งว่าง ผู้ได้คะแนนสูงจะได้รับบรรจุก่อน หากคะแนนเท่ากันจะจับสลาก
ส่วนกรณีผู้ได้รับการยกเว้นไม่ต้องทำาการสอบคัดเลือก จะใช้เกณฑ์บรรจุเช่นเดิม แต่
ถ้าเป็ นผู้ช่วยผุ้พิพากษามา2ปี แต่ผลการอบรมยังไม่เป็ นท่ีพอใจของกระทรวง รมต.
มีอำานาจสัง่ให้ออกจากราชการได้
การสรรหาตุลาการศาลทหาร
ตุลาการพระธรรมนูญ นายทหารสัญญาบัตรท่ีได้รับการตัง้เป็ น ตุลาการพระธรรมนูญประจำาศาลทหารกรุงเทพ
และศาลมณฑทหารบก ซ่ ึงมียศตามข้อบังคับตุลาการพระธรรมนูญ 2498 คือ
ศาลชัน
้ ต้น : ร้อยตรี เรือตรี เรืออากาศตรีขึ้นไป
ศาลทหารกลาง : พันตรี นาวาตรี นาวาอากาศตรี ขึ้นไป
ศาลทหารสูงสุด : พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ขึ้นไป
และต้องได้ปริญญาตรีกม.ในประเทศ สัญชาติไทยโดยการเกิด อายุ 18 ปี
ผ่านการศึกษาวิชาทหาร จะได้รับการบรรจุโดยรมต.กลาโหม หรืออาจรับโอนนาย
ทหารมาได้
ก่อนเข้ารับหน้าท่ี ต้องอบรมหลักสูตรนายทหารเหล่าพระธรรมนูญจากโรงเรียนทหาร
พระธรรมนูญ
ตุลาการศาลทหาร นายทหารสัญญาบัตรประจำาการ มียศ ร้อยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี ขึ้นไป อาจแต่งตัง้
นายทหารนอกประจำาการมาเป็ นได้
ศาสชัน ้ ต้น : คือศาลจังหวัดทหาร ศาลมณฑลทหาร ศาลทหารกรุงเทพ และ ศาล
ประจำาหน่วยทหาร มีตุลาการ 3 นายเป็ นองค์คณะ คือ ตุลาการศาลทหาร 2 และ ต
ตุลาการพระธรรมนูญ 1 (ยศชัน ้ ตรี) และตุลาการพระธรรมมูญต้องมียศสูงกว่า
จำาเลยท่ียศสูงสุด(ยศขณะฟ้ อง)
ผุ้มีอำานาจอาจตัง้ ตุลาการสำารองได้
ตุลาการท่ีมียศสูงเป็ นประธานในคดีนัน ้
การแต่งตัง้มี 2 แบบ คือ
เฉพาะคดี: ถ้าเป็ นคดีสำาคัญ ควรเสนอขอตลาการพระธรรมนูญไปนัง่ร่วม
ประจำา: หมุนเวียนกัน ควรเปล่ียนทุกปี
ศาลทหารกลาง : มีตุลาการ 5 นายเป็ นองค์คณะ (นายพลตรี 1-2 พันตรี 1-2 ตุลาการ
พระธรรมนูญ 2ชัน ้ พันตรี)
ศาลทหารสูงสุด : ตุลาการ 5 นาย (นายพล 2 ตุลาการพระธรรมนูญชัน ้ พันเอกท่ีได้
รับเงินเดือนชัน ้ พันเอกพิเศษ)
การแต่งตัง้ในเวลาไม่ปกติ ผุ้มีอำานาจตัง้ ผู้พิพากษาพลเรือนเป็ นตุลาการศาลทหาร
ความเป็ นอิสระของผู้พิพากษา มีข้อแม้ว่าจะบรรจุได้ในอัตราส่วนของจำานวนผู้ท่ีสอบคัดเลือกได้ไม่เกิน 1/4
พรบ.ระเบียบข้าราชการตุลาการ 2471 กำาหนดหลักชัดเจนท่ีสุดให้ผู้พิพากษมีอิสระ
พรบ. 2477แยกงานของศาลออกเป็ น2ฝ่ านคือ งานธุรการ งานตุลาการ ให้รมต.
ยุติธรรมดูแลเฉพาะงานธุรการ
กต.มี 12 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการ 3 ประเภทคือ
1) โดยตำาแหน่ง 4 ท่าน คือ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์
รองประธานศาลฎีกา ซ่ ึงมีอาวุโสสูงสุด ปลัดกท.ยุติธรรม
2) ผู้ทรงคุณวุฒิประเภทขรก.ตุลาการ 4 คน โดยผู้พิพากษาตัง้แต่ชัน ้ 2 เลือกขรก.
ตุลาการตัง้แต่ชัน ้ 7 มาดำารงตำาแหน่ง
3) ผู้ทรงคุณวุฒิประเภาขรก.บำานาญ 4 คน โดยผู้พิพากษาตัง้แต่ชัน ้ 2 เลือกขรก.
บำานาญ ทัง้นีต ้ ้องไม่เป็ นขรก.การเมือง สส. กรรมการพรรคการเมือง ทนายความ
กต.มีประธานศาลฎีกาเป็ นประธาน จนกว่าจะพ้นตำาแหน่ง
กรรมการทัง้ 8 นายอยู่ในตำาแหน่งคราวละ2ปี มีหน้าท่ีให้ความเห็นชอบการดำารงตำาแหน่ง
ยกเว้นตำาแหน่งผุ้ช่วยผู้พิพากษา มีหน้าท่ี แต่งตัง้ เล่ ือนตำาแหน่ง โอน พิจาณาโทษ
ปลัดกระทรวงแม้จะเป็ นขรก.ธุรการแต่มักจะโอนมาจากขรก.ตุลาการชัน ้ ผู้ใหญ่เสมอ
ขรก.ตุลาการต้องไม่ทำาอาชีพท่ีกระเทือนถึงการปฏิบัติหน้าท่ี ต้องไม่เป็ นกรรมการผู้
จัดการหรือท่ีปรึกษาทางกม. ดำารงตำาแหน่งในงานคล้ายกันนัน ้ ในหจก. ต้องไม่เป็ น
กรรมการรัฐวิสาหกิจ หรือกิจการรัฐ เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจาก กต.
รมต.กลาโหมรับผิดชอบเฉพาะงานธุรการของศาลทหารเท่านัน ้
การแต่งตัง้ตุลาการทหารให้เป็ นไปตามอำานาจของรมต.กลาโหมและผู้บังคับบัญชา
หน่วยทหารท่ีศาลนัน ้ ตัง้อยู่
General information เป็ นแนวคิดทางการเมืองของตะวันตกเพ่ ือจำากัดอำานาจรัฐ อันมาจากแนวคิดในเร่ ือง
กฎหมายธรรมชาติ คำาสอน หลักศาสนา กม และคำาประกาศรับรองสิทธิเสรีภาพ
ยังเป็ นสิทธิเรียกร้องต่อรัฐอีกด้วย
มีสองนัย สิทธิทางกม.(Positive right, ปพพ.) และสิทธิทางศีลธรรม (Moral right)
เสรีภาพ(Freedom) สถานภาพท่ีไม่ตกอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของใคร มีอำานาจท่ี
จะตัดสินใจด้วยตนเอง มีอิสระท่ีจะกระทำาการหรือไม่กระทำาการตามท่ีกม.บัญญัติไว้
ตามแนวคิดเร่ ือง "สิทธิธรรมชาติ" และ "สิทธิในการจำากัดอำานาจรัฐ"
แนวคิดเร่ ืองกม.ธรรมชาติ กม.ธรรมชาติเกิดตามธรรมชาติ คนไม่ได้สร้างขึ้น ใช้บังคับได้ทุกเวลาและไม่จำากัดสถานท่ี
มุ่งหมายให้เป็ นหลักสำาคัญในการจำากัดอำานาจของผู้มีอำานาจปกครอง
แนวคิดนีเ้กิดขึ้นตัง้แต่สมัยกรีก ถ้ามีการแย้งกัน กฎหมายพระเจ้าเหนือกฎหมายบ้านเมือง
Cicero กฎหมายธรรมชาติเป็ นธรรมนูญของโลก คือเหตุผลท่ีถูกต้องสอดคล้องกับธรรมชาติ
โกรติอุส หนังสือเร่ ือง สงครามและสันติภาพ De jure belei pacis เป็ นรากฐานของกม.ธรรมชาติ
มีแหล่งท่ีมาโดยเฉพาะของตัวเอง ไม่ต้องอาศัยอำานาจพระเจ้า มีท่ีมาจากธรรมชาติคน
ไม่มีการเปล่ียนแปลง เป็ นสากลใช้บังคับได้กับทุกชาติทุกภาษา ทุกยุคทุกสมัย
มนุษย์เป็ นสัตว์ใคร่สังคมจึงก่อตัง้สังคมมนุษย์และข้อตกลง "สัญญาประชาคม"
โทมัส ฮอบส์ หนังสือเร่ ือง Lecithan พ้ืนฐานของคนจะเห็นแก่ตัว ทำาให้สภาวะธรรมชาติยุ่งเหยิง
แม้จะมีอิสระเสรีภาพ แต่จะเป็ นประโยชน์เฉพาะคนท่ีแข็งแรง มนุษย์จึงมอบอำานาจ
ท่ีตนมีอยู่ให้ "องค์อธิบัตย์" จึงทำาให้องค์อธิปัตย์มีอำานาจไม่จำากัด
จอห์น ล็อค หนังสือเร่ ือง The second treaties of government
สภาวะธรรมชาติเป็ นสภาวะแห่งสันติสุข มนุษย์มีเจตนาดีต่อกัน ช่วยเหลือกัน
การล่วงละเมิดสภาวะธรรมชาติ เช่นสิทธิในชีวิต ไม่มีการลงโทษ หากมีก็จะเป็ น
การลงโทษท่ีเป็ น ความยุติธรรมส่วนตัว (Le Justice privee)
มนุษย์จึงละทิง้สภาวะธรรมชาติ เพ่ ือ ให้มีองค์กรลงโทษ และ คุ้มครองป้ องกันสิทธิ
รัฐจึงเกิดจากคนส่วนหน่ ึงท่ีละทิง้ สภาวะธรรมชาติ และมาทำา สัญญาประชาคม
ต่างจากฮอบส์ องค์อธิปัตย์ไม่ได้มีอำานาจไร้ขอบเขต (เด็ดขาด) แต่มีอำานาจเพียงเพ่ ือ
ช่วยเหลือคุ้มครองคนอ่อนแอ
ณอง ณาคส์ รุสโซ มองโลกในแง่ดีกว่าล็อค และตรงข้ามกับฮอบส์
สังคมท่ีมีระเบียบในทางการเมือง เป็ นผลจากวิวัฒนาการสังคมมนุษย์ เพ่ ือช่วยให้มี
เสรีภาพท่ีเคยมีอยู่ดัง้เดิม
การท่ีมนุษย์ร่วมกันทำาสัญญาประชาคม มนุษย์ย่อมต้องสละสิทธิทุกประการท่ีตนมี
เพ่ ือให้ก่อตัง้องค์อธิปัตย์ แต่การสละสิทธินีไ้ม่ได้ทำาให้สูญเสียเสรีภาพแต่อย่างใด
รุสโซกล่าวว่า "ไม่จำาเป็ นเสมอไปท่ีเสียงต้องเป็ นเอกฉันท์ แต่จำาเป็ นท่ีจะต้องนับเสียง
ทุกเสียง หากไม่นับทุกเสียงจะทำาให้ลักษณะร่วมของเจตนาย่อมเสียไป"
ดังนัน ้ มนุษย์จะมีเสรีภาพก็ต่อเม่ ือสังคมมีการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยตรง
คำาสอนและศาสนา พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาแรกท่ีส่งเสริมสิทธิมนุษยชน โดยสอนให้เลิกทาส
กม.และคำาประกาศรับรองสิทธิเสรีภาพ ในอังกฤษ "The great charter" "Magna Carta" บุคคลจะถูกจับกุม กักขัง เนรเทศ
และประกาศว่าเป็ นoutlaw หรือถูกลงโทษใด ๆ หาได้ไม่ เว้นแต่จะได้รับการพิจารณา
อันเท่ียงธรรมจากบุคคลในชัน ้ เดียวกับเขาและตามกม.บ้านเมือง
ในอเมริกา "The declaration of independence" โดย Thomas Jefferson

แนวคิดในปัจจุบัน แนวคิดแบบปั จเจกนิยม (L'individualisme) รัฐไม่มีอำานาจเพิกถอนสิทธิเสรีภาพบุคคล


คุณค่าของมนุษย์อยู่ท่ีความเป็ นมนุษย์
สังคมนิยมมมาร์กซิสม์ ไม่เห็นด้วยว่าโลกนีม ้ ีกม.ธรรมชาติ โดยยืนบนหลักการท่ีว่ามนุษย์และสังคมมนุษย์
เป็ นภาพสะท้อนและผลิตผลของประวัติศาสตร์
สิทธิเสรีภาพตามคำาประกาศสิทธิเป็ นเร่ ืองโกหกของ "ชนชัน ้ เจ้าสมบัติ" เป็ นเพียงสิทธิ
ในทางทฤษฎีเท่านัน ้
ฟาสซิสม์และนาซี ความสำาคัญย่ิงใหญ่ของเผ่าพันธุ์มนุษย์นัน ้ แตกต่างกัน
มนุษย์จะมีค่าเม่ ือ มอบตัวเองให้กับสังคมมนุษย์ท่ีมีเผ่าพันธุ์เดียวกัน การเป็ นสมาชิก
พรรคจึงมีคุณค่า
บุคคลไม่มีสิทธิโต้แย้งอำานาจรัฐ มีเพียงสิทธิท่ีรัฐยินยอมเท่านัน้
ชาติย่ิงใหญ่ไม่จำาเป้ นต้องให้ความเคารพต่อความเป็ นมนุษย์ขงอชนชาติต่ำาต้อยกว่า
การเปลี่ยแปลงที่สำาคัญของแนวคิดแบบ
ที่ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชน สิทธิเรียกร้องต่อรัฐ สิทธิในทรัพย์สินไม่เป็ นเด็ดขาด สิทธิเสรีภาพของบุคคลในครอบครัว
สิทธิในความปลอดภัยเป็ นง่ ือนไขท่ีสำาคัญท่ีสุด
งานอุตสาหกรรมไม่เกิน 48 hr/wk พาณิชยกรรมไม่เกิน 54 hr/wk
งานขนส่งไม่เกิน 8 hr/day งานอันตราย ไม่เกิน 42 hr/wk
ลูกจ้างมีวันหยุด ไม่น้อยกว่า 1 day/wk ลูกจ้างทำางานนอกเวลาให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง
เป็ นสองเท่าของเวลาการทำางานปกติ
ลูกจ้างประจำาได้ค่าจ้างตลอดเวลาท่ีป่วย ไม่เกิน 30 วัน
สิทธิลาคลอดเพ่ีมขึ้นไม่น้อยกว่า 60 วัน แต่ถ้าทำางานเพ่ิมไม่น้อยกว่า 180 วัน มิสิทธิ
ได้ค่าจ้างตามอัตราเดิม
ประมวงกฎหมานแรงงาน2499 เป็ นฉบับแรกท่ีว่าด้วยการจัดตัง้สหภาพแรงงาน
สหภาพแรงงานมีได้ด้วยเหตุผล 2 ประการ
1) แสวงหา คุ้มครองประโยชน์เก่ียวกับสภาพการจ้าง
2) ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี
สหภาพแรงงานตัง้ได้เพียง 2 ประเภท
1) ผู้จัดตัง้และสมาชิกเป็ นลูกจ้างของนายจ้างคนเดียวกัน
2) ผู้จัดตัง้และสมาชิกเป็ นลูกจ้างท่ีทำากิจการประเภทเดียวกัน
ข้อจำากัดการใช้อำานาจนิติบัญญัติ ถูกจำากัดโดย การประกาศใช้กฎหมาย ผลย้อนหลัง และความเคลือบคลุม
กลไกที่ใช้ควบคุมอำานาจขององค์กร กม. รัฐธรรมนูญ สิทฺธิเสรีภาพประชาชน ความเสมอภาคกันในทางกม.
General Information หัวใจประชาธิปไตย คือการจัดตัง้องค์กรท่ีคานอำานาจกันได้เอง
Legislation = การกระทำาขององค์กรนิติบัญญัต(ิ Legislative organ) การออกกม.
โดยองค์กรท่ีมีขอบอำานาจ(Competent authority) วิธีแห่งการออกกม.
ประเทศท่ีถือรัฐสภาสูงสุด(Parliamentary supremacy) เช่นอังกฤษ กม.รัฐสภามีข้อ
จำากัดตามหลักกม.ระหว่างประเทศซ่ ึงถือว่าสูงกว่า
ขอบเขตการใช้อำานาจนิติบัญญัติ
การประกาศการใช้กม. Thomas Aquinas เห็นว่าการประกาศเป็ นเง่ ือนไขสำาคัญ
พรบ. ต้องประกาศในราชกิจจา แต่พระราชกำาหนด พระราชกฤษฎีกา ไม่จำาเป็ น
ผลย้อนหลังแห่งกม. กม.ต้องไม่บังคับใช้ย้อนหลัง (Rule against retroactivity)
กม.อาญาเป็ นลักษณะการปราม(Deterrant measure) การได้รู้กม.จึงสำาคัญ
ความเคลือบคลุมของบทบัญญำติแห่งกม. กม.ต้องมิให้พนักงานใช้ดุลพินิตโดยมิชอบ หรือเลือกปฎิบัติเพราะถ้อยคำาท่ีไม่แน่นอน
กม.เป็ นโมฆะเม่ ือเคลือบคลุม (Void for vagueness doctrine) มีใช้ในอเมริกา
วิธีควบคุมมิให้กม.ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
โดยนิติบัญญัติ การตรากม. - วาระแรก พิจารณาหลักการ วาระสอง พิจารณารายละเอียด
วาระสาม ออกเสียงลงมติ
การบังคับให้มีการปรึกษา โดยส่งไปให้บางองค์กรพิจารณาให้ความเห็นเสียก่อน ทัง้
ตามวิธีการในรัฐธรรมนูญ(Compulsary) หรือสมัครใจ (Voluntary)
คณะกรรมการกฤษฎีการับร่าง พรบ. มาพิจารณาตามคำาขอโดยไม่มีการบังคับ
การควบคุมโดยการยับยัง้การออกกม. ถ้านายกเห็นว่าพรบ.มีข้อความขัดแย้งกับรำฐ
ธรรมนูญ ก็ให้ส่งความเห็นไปให้คณะตุลาการรัฐธรรมนูญพิจารณา
การควบคุมโดยการตีความตามกม.ของรัฐสภา
โดยฝ่ ายตุลาการ เป็ นการควบคุมโดยองค์กรทางภายนอก (External control)
ป้ องกันระบบทรราชโดยรัฐสภา (Tyranny by assembly)
โดยองค์การพิเศษ เรียกว่าระบบ รวมศูนย์อำานาจการทบทวนทางกม. (Centralized judicial review)
ให้องค์กรพิจารณาปั ญหากม.ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
ประเทศไทยจัดตัง้ตุลาการรัฐธรรมนูญครัง้แรกตามรัฐธรรมนูญ 2489 เร่ ืองท่ีส่งมา
โดยสมาชิก แม้จะถอนช่ ือออกไป ก็ชอบท่ีจะพิจารณาต่อไป
ตุลาการรัฐธรรมนูญให้มีการแต่งตัง้ใหม่เม่ ือมีการเลือกตัง้ทัว่ไปใหม่ จึงสิน
้ ไป
ตามอายุของสภาผู้แทนราษฎร
ระบบพิจารณากฎหมายที่ขัดรัฐธรรมนูญ ผลของการวินิจฉัยไม่แน่นอน เป็ นไปตามความแนวคิดของแต่ละประเทศ
ระบบกระจายอำานาจการทบทวนทางกม. ให้ศาลธรรมดาเป็ นผู้พิจารณาวินิจฉัย การดำาเนินจะทำาอย่างคดีทัว่ไปคือต้องมีผู้เสียหาย
หลักการ: ศาลไม่ควรด่วนวินิจฉัยว่ากม.ใดขัดต่อรัฐธรรมนูญ เพราะ กม.ได้ผ่านการกลัน ่
กรองโดยรัฐสภามาก่อนแล้ว ถ้าพิจารณาได้ 2 มุม ให้ตีความว่าไม่ขัด
ระบบนีถ ้ ือว่า ศาลไม่ได้เหนือไปกว่ารัฐบาล มิได้มีหน้าท่ีในการสร้างกม. (Legislation)
ศาลเป็ นเพียงผู้ใฃ้และแสดงความเป็ นอยู่ของกม. (Declaration) คำาพิพากษาจึงมีผล
แต่ระหว่างคู่ความเท่านัน ้ (Inter Partes)
ระบบรวมศูนย์อำานาจการทบทวนทางกม. ตุลาการรัฐธรรมนูญมีอำานาจมาก สามารถกลับความเห็นของรัฐสภาในการพิจารณา
ว่ากม.ใดขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่
รัฐธรรมนูญไทย ถือเอาความเห็นของคณะตุลาการเป็ นเด็ดขาด และให้มีการประกาศ
ลงในราชกิจจานุเบกษาด้วย
การมอบอำานาจให้มีการออกกม.ลำาดับรอง เพ่ ือแก้ไขสถานการณ์ท่ีกระทบสิทธิประโยชน์ของประเทศและเหมาะสมกับข้อเท็จจริง
(Subdelegation) วิธีการจะกำาหนดไว้ในกม.แม่บท
จะมอบให้แก่องค์กรท่ีผู้มอบอำานาจสามารถควบคุมได้ เพราะต้องร่วมรับผิดชอบด้วย
ทัง้รับผิดชอบทางการเมือง และ ทางกม.
การจัดให้มีวิธีการควบคุมเฉพาะสำาหรับ
การออกกฎหมายลำาดับรอง ในอังกฤษได้ให้รัฐสภาเป็ นผู้ควบคุมโดยวิธีการเฉพาะเรียกว่า การวางไว้ต่อรัฐสภา
(Laying before parliament) มี 3 ประเภท
การวางปกติ (Simple laying) วางไว้โดยไม่ระบุวิธีการ เพ่ ือประโยชน์ในการให้
รัฐสภาได้ทราบ
การวางเพ่ ือพิจารณาว่าจะยกเลิกหรือไม่ (Negaitve resolution) ต้องวางไว้ต่อสภา
ทัง้สอง ถ้าเห็นว่าไม่ถูกต้องก็จะถูกยกเลิก แต่ไม่กระทบการใดท่ีทำาไป
การวางเพ่ ือได้รบความเห็นชอบ (Affirmative resolution) ส่งร่างกม.ลำาดับรองไปก่อน
ถ้าสภาไม่เห็นด้วยก็ไม่สามารถประกาศใช้ได้ วิธีนีล
้ ่าช้าไม่นิยมทำากัน
กม.ลำาดับรองต้องถูกต้องตามกม.การปกครอง ไม่นอกเหนืออำานาจหน้าท่ี ถูกขัน้ ตอนอันเป็ นสาระสำาคัญ ต้องสุจริตมีเหตุผลอันควร
General information ประเทศไทยเร่ิมการศีกษากฎหมายปกครองมากว่า 50 ปี แล้ว แต่พัฒนาน้อยมากเพราะนัก
กฎหมายให้ความสนใจกม.ปกครองน้อย ประกอบกับยังไม่มีการตัง้ศาลปกครอง
The separation of powers เป็ นหลักการท่ีได้รับการยอมรับมากท่ีสุด
Montesquieu in เจตนารมย์แห่งกฎหมาย (L Esprit des Lois)
อำานาจหน้าท่ีของฝ่ ายบริหารมี 2 อย่าง คือ ในฐานะรัฐบาล และ ฐานะปกครอง
ข้าราชการประจำาฝ่ ายปกครอง เป็ นเคร่ ืองมือของฝ่ ายบริหาร
อำานาจหน้าท่ีของฝ่ ายปกครอง ได้แก่ Public service
อำานาจหน้าท่ีของฝ่ ายบริหาร ในฐานะเป็ นรัฐบาล(Government) และ ฐานะปกครอง(Administration)

กฎหมายปกครอง
1) ประเทศท่ีใช้ระบบโรมัน France, German, Italy แยกออกเป็ น กม.เอกชน และ กม.มหาชน
กม.ลายลักษณ์อักษรมีความสำาคัญมาก
2) ประเทศท่ีใช้ AngloSaxon ถือหลัก Common law ไม่มีการแยกออกเป็ นเอกชนและมหาชน
ไม่ได้แยกหลักกม.ปกครองออกจากหลักกม.ธรรมดา
ฝ่ ายปกครองอยู่ใต้ระบบกม.ธรรมดา
ยึดหลัก กม.ธรรมดาและเท่ียงธรรม (Equity)
ลักษณะสำาคัญของกฎหมายปกครอง เป็ นสาขากม.มหาชน วางหลักจัดระเบียบฝ่ ายปกครอง สัมพันธ์กันระหว่าง
ฝ่ ายปกครองด้วยกันเอง หรือ กับเอกชน
(ในทางทฤษฎี ไทยมีกม.3อย่าง กม.เอกชน (เพ่ง) กม.มหาชน (อาญา) กม.มหาชนเพ่ง
บ่อเกิดของกฎหมายปกครอง กฎหมายลายลักษณ์อักษร *** เป็ นท่ีมาท่ีสำาคัญ
จารีตประเพณี กม.เพ่งจะมีท่ีมาจากจารีตประเพณีเป็ นส่วนใหญ่
คำาพิพากษา ประเทศท่ีไม่มีกฎหมายปกครอง ศาลจะใช้หลักกม.เอกชน ซ่ ึง
คำาพิพากษาจะไม่ถือเป็ นท่ีมาของกม.ปกครอง
ทฤษฎีกฎหมาย เป็ นท่ีมาทางอ้อม
หลักกฎหมายทั่วไป ในกรณีท่ีไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้โดยเฉพาะ
การกระทำาในทางปกครอง กิจกรรมท่ีฝ่ายปกครองดำาเนินไปเพ่ ือประโยขน์ของประชาชน เช่นการกระทำาฝ่ าย
เดียว (คำาสัง่) การกระทำาหลายฝ่ าย(การทำาสัญญา)
การกระทำาแก่บุคคลทัว่ไป ได้แก่ 1)คำาสัง่ฝ่ ายนิติบัญญัติ 2)ค่าสัง่ฝ่ ายตุลาการ 3)คำาสัง่ฝ่ ายบริหาร
พระราชกฤษฎีกา โดยกษัตริย์แต่ต้องไม่ขัดต่อกม. ศักดิต์่ำากว่าพรบ.
พระราชกำาหนด โดยอำานาจฝ่ ายบริหาร ในสถานการณ์ฉุกเฉิน ไม่ปกติ ความลับ
การบังคับเท่าพรบ. แต่ต้องเสนอภายหลัง ถ้ารัฐสภาไม่อนุมัติ(สส.ไม่อนุมัติ
น้อยกว่าก่ ึงหน่ ึง)ก็จะตกไป แต่การตกไปจะไม่กระเทือนกิจการท่ีได้ทำาไป
ผลของการอนุมัติหรือไม่อนุมัติให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และ
การไม่อนุมัติให้มีผลในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ประกาศพระบรมราชโองการ กษัตริย์ออกตามคำาแนะนำาของผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
กฎกระทรวง เม่ ือประกาศในราชกิจจา ก็บังคับใช้ได้ ไม่มีโทษจำาคุกผู้ฝ่าฝื น
กฎกระทรวงเป็ นกม.หลักการบริหารราชการแผ่นินและมีการใช้มากท่ีสุด
ประกาศกระทรวง กระทำาได้ง่ายกว่า สะดวกกว่า เป็ นท่ีนิยม เพราะไม่จำาเป็ นต้องเสนอ
ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาอย่างกฎกระทรวง
ข้อบังคับกระทรวง
การกระทำาเฉพาะบุคคล
การควบคุมฝ่ายปกครองในประเทศไทย
การร้องทุกข์ อุทธรณ์ กรรมการควรจะรับราชการหรือเคยรับราชการไม่ต่ำากว่าอธิบดีมาไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือ
เคยเป็ นอาจารย์สอนกม.รัฐธรรมนูญ กม.ปกครอง ประสบการณ์บริหารราชการมา
ไม่น้อยกว่า 10 ปี คณะกรรมการมีหน้าท่ีเสนอความเห็นต่อนายก
ผู้ร้องทุกข์ต้องได้รับความเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียง เน่ ืองจากจนท.รัฐ
การอุทธรณ์เป็ นการควบคุมโดยฝ่ ายปกครองด้วยกันเอง
การควบคุมโดยฝ่ ายนิติบัญญัติ ทางอ้อม ได้แก่ การตัง้กระทู้ถาม การพิจารณาสอบสวนของกรรมธิการ (สามัญ:ต้อง
เป็ นสส.หรือสว. มีอายุตลอดอายุสภา วิสามัญ:เป็ นสส.สว.หรือไม่
ก็ได้ สิน
้ สภาพเม่ ือเสร็จเร่ ือง) การเปิ ดอภิปรายไม่ไว้วางใจ (สส.
ไม่น้อยกว่า 1/5)
ทางตรง นิติบัญญัติตัง้หน่วยงานขึ้นตรงมาควบคุมฝ่ ายปกครองประเทศ เช่น
อมบุดมาน (Ombudsman) ของสวีเดน ส่วนประเทศไทยมีหน่วยงาน
ท่ีคล้ายกันคือ ปปป.(พรบ. 2518) ซ่งึ อยู่ในการดูแลของรัฐสภา
ปปป. ประธานส่งเร่ ืองให้ผู้บังคับบัญชาภายใน 7 วันนับแต่สอบเสร็จ
ขณะเดียวกันก็ต้องรายงานนายก และ พนักงานสอบสวน (อาญา)
ผู้บังคับบัญชาต้องดำาเนินการภายใน 15 วัน
ประธานอยู่ในตำาแหน่ง 2 ปี ติดกันไม่เกิน 2 วาระ
เลขาและรองเลขา ดำารงตำาแหน่งติดต่อกันไม่เกิน 4 ปี
การฟ้ องฝ่ ายปกครองต่อศาลยุติธรรม ผู้มีอำานาจฟ้ องคือ อัยการ และ ผู้เสียหาย (ต้องเสียหายโดยตรงหรือโดยนิตินัย)
เอกชนสามารถฟ้ องข้าราชการหรือหน่วยราชการให้รับผิดชอบทางเพ่งต่อศาลยุติธรรม
ได้ทุกประเภท รวมทัง้คดีปกครอง
การฟ้ องฝ่ ายปกครองต่อศาลปกครอง
ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน เป็ นข้อตกลงร่วมของทางราชการในการแบ่งหน่วยงาน แบ่งหน้าท่ี และแนวทางปฏิบัติ
กรุงสุโขทัย แบ่งออก 2 ส่วน คือ เขตราชธานี และ เขตเมืองพระยานคร
กรุงศรีอยุธยา ได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดู
พระบรมไตรโลกนาถขยายเขตราธานีและหัวเมืองชัน ้ ในให้กว้างออก แยกข้าราชการ
เป็ นฝ่ ายทหาร และ พลเรือน
ราชการแผ่นดินส่วนกลางแยกเป็ น เวียง วัง คลัง นา
กรุงรัตนโกสินทร์ ร.5 แบ่งเป็ น ส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถ่ิน
ประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 218 29 กันยายน 2515

ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง สำานักนายก-มีฐานะเป็ นกระทรวง มีส่วนราชการท่ีมีฐานะเป็ นกรม 2 ส่วน


(การยุบหรือจัดตัง้ต้องตราเป็ น พรบ.) 1) มีหัวหน้างานท่ีขึ้นตรงต่อนายก : สน.เลขาธิการนายก สน.เลขาธิการคณะรมต.
สน.งบประมาณ สน.สภาความมัน ่ คง สน.คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ
2) มีหัวหน้างานขึ้นตรงต่อปลัดสำานักนายก : สน. ปลัดนายก สน.กรรมการกพ.
สน. กรรมการกฤษฎีกา สน.กรรมการการศึกษา สน.ปปป. สน.สถิติ
สน.การส่งเสริมการลงทุน สน.ส่งเสริมประสานงานเยาวชน กรมประชาสัมพันธ์
กรมวิเทศสหการ กรมประมวลข่าวกลาง
กระทรวง-แบ่งเป็ นสน.เลขานุการรมต. สน.ปลัดกระทรวง กรมหรือส่วนราชการอ่ ืน
ทบวง-สภาพปริมาณงานไม่เหมาะท่ีจะตัง้เป็ นกระทรวง
กรม-การจัดตัง้ไม่จำาเป็ นต้องขึ้นกับลักษณะปริมาณงาน ใช้เหตุผลเฉพาะกรณีได้
แบ่งงานเป็ น สน.เลขานุการ กอง แผนก
การแบ่งส่วนราชการภายในกรม เป็ นอำานาจรัฐบาลโดยตราพระราชกฤษฎีกา
หน่วยงานอิสระที่มีฐานะเท่ากรม-ขึ้นต่อนายก หรือ รมต.กระทรวง
สน.พระราชวัง มีเลขาบังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
สน.ราชเลขาธิการ มีราชเลขาธิการ บังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
สน.สตง. มีเลขาบังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ราชบัณฑิตยสถาน มีนายกราชบัณฑิตเป็ นหัวหน้าแต่ไม่มีอำานาจบังคับบัญชาใน
การบริหารงานบุคคล เพราะเป็ นบุคคลภายนอก ขึ้นต่อรมต.ศึกษาธิการ

ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค เป็ นระบบผ่อนคลายอำานาจ (Deconcentralelzation) แต่กิจการเก่ียวกับงบประมาณ


ยังอยู่ในอำานาจของส่วนกลาง ทำาให้ส่วนกลางสามารถควบคุมได้
จังหวัด-การยุบหรือจัดตัง้ต้องตราเป็ น พรบ.
แบ่งเป็ น สน.งานจว.
ส่วนราชการท่ีเป็ นสาขาส่วนกลาง เช่นตัวแทนกระทรวง หรือกรม
เช่น สนง.ศีกษาธิการจังหวัด สำานักงานขนส่งจังหวัด
ส่วนราชการท่ีเป็ นการบริหารราชการส่วนกลาง มีอำานาจหน้าท่ีและ
ความรับผิดชอบของการบริหารราชการส่วนกลาง แต่มีท่ีตัง้ในจว.
เช่น นิคมสร้างตนเอง โครงการชลประทานจังหวัด
อำาเภอ-การยุบหรือจัดตัง้ต้องตราเป็ น พระราชกฤษฎีกา
มีฐานะเป็ นนิติบุคคลเช่นเดียวกับจังหวัด
การจัดตัง้ขึ้นกับความหนาแน่นประชากร และ ความเจริญของท้องท่ี
แบ่งเป็ น สนง.อำาเภอ และ ส่วนราชการท่ีกระทรวง ทบวง กรมตัง้ขึ้น
กิ่งอำาเภอ-การยุบหรือจัดตัง้เป็ นอำานาจของรมต.มหาดไทย โดยเสนอต่อคณะรมต.และ
ออกประกาศกระทรวงมหาดไทย
ตำาบล-ประกอบด้วย หมู่บ้านประมาณ 20 หมู่บ้านรวมกัน
ตัง้โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย มีกำานันรับผิดชอบ โดยได้เงินเดือนท่ีมิใช่
เงินงบประมาณ ได้รับเลือกจากผู้ใหญ่บ้าน การจัดการเลือกตัง้กำานันทำา
โดยนายอำาเภอ ไม่มีกำาหนดเวลาตำาแหน่ง สิน ้ สุดลงเม่ ือ อายุ 60 ลาออก
ยุบตำาบล ออกจากผู้ใหญ่บ้าน ผู้ว่าราชการจว.สัง่ให้ออก ถูกปลดออกหรือ
ไล่ออกจากตำาแหน่ง
มีคณะกรรมการตำาบลประกอบด้วยกำานันท้องท่ีเป็ นประธาน
หมู่บ้าน-ประมาณ 200ครัวเรือนเป็ น 1 หมู่บ้าน บ้านไม่ต่ำากว่า 5 ซ่ ึงมีท่ีตัง้ห่างไกลกันโดย
ไม่ต้องคำานึงถึงจำานวนคน
ผุ้ใหญ่บ้านซ่ ึงผู้ว่าแต่งตัง้ มีหน้าท่ีปกครองโดยได้เงินเดือนท่ีมิใช่เงินงบประมาณ
มีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านซ่ ึงผุ้ว่าแต่งตัง้อีกหมู่บ้านละ 2 คน
การเลือกตัง้ผู้ใหญ่บ้านทำาโดยนายอำาเภอ

ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน อบจ.-เป็ นนิติบุคคล มีขรก.ส่วนจังหวัดรับผิดชอบได้รับเงินเดือนจากงบประมาณจังหวัด


อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของผู้ว่าจังหวัด
แบ่งเป็ น 3 ส่วน สน.เลขานุการจว. สน.ท่ีอบจ.จัดตัง้ สภาจว.(ไม่เป็ นนิติบุคคล)
การเลือกตัง้สมาชิกสภาจว. เลือกได้18คนต่อประชากร200,000 ถ้าประชาการ
ไม่เกิน 500,000คน เลือกได้24 คน อยู่ในตำาแหน่ง5ปี ถ้าสมาชิกสภาจว.ว่าง
ลง ให้เลือกใหม่ภายใน90วัน ยกเว้นว่างลงก่อนถึงกำาหนดออกตามวาระไม่เกิน
180 วัน จะไม่เลือกใหม่ก็ได้
สมาชิกสภาจว.มีสิทฺธิตัง้กระทู้ถามผู้ว่าในส่วนท่ีเก่ียวกับงานของจว. แต่ผู้ว่ามี
สิทธิท่ีจะไม่ตอบกระทู้ถ้ามีเหตุผลสมควร
รมต.มหาดไทยมีอำานาจสัง่ยุบสภาจว.โดยต้องแสดงเหตุผลไว้ในคำาสัง่ และให้
เลือกใหม่ภายใน 90 วัน
ผู้ว่ามีสิทธิเพิกถอนมติสภาจังหวัดได้ภายใน 60 วันนับแต่วันท่ีมีมติ โดยแจ้งไป
ยังประธานสภาจว. สภาจว.ต้องปฎิบัติตาม
เทศบาล-เป็ นนิติบุคคลตามพรบ.เทศบาล 2496 การจัดตัง้ต้องทำาเป็ นพระราชกฤษฎีกา
มี 3 แบบคือ เทศบาลตำาบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร
เทศบาลเมืองมีศาลากลางตัง้อยู่มีประชาชนตัง้แต่ 10,000 คน3,000คน/ตร.กม.
องค์ประกอบมี สภาเทศบาล คณะเทศมนตรี พนง.เทศบาล
ผู้ว่จว.มีหน้าท่ีควบคุมเทศบาล
สุขาภิบาล-พรบ.สุขาภิบาล2495
การจัดตัง้ทำาตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
ถ้าเจริญดี จาก สุขากภิบาล เป็ นเทศบาล ทำาได้โดยตราะพระราชกฤษฎีกา
นายอำาเภอท้องท่ีเป็ นประธานคณะกรรมการสุขาภิบาล แต่ผู้ว่าเป็ นผู้ควบคุม
สภาตำาบล-ประกาศคณะปฏิวัต2 ิ 515
ทางนิตินัย ไม่เป็ นนิติบุคคล แต่สามารถทำานิติกรรมผูกพันโดยอาศัยระเบียบ
เฉพาะเร่ ือง
นายอำาเภอควบคุม คำาอุทธรณ์ชีข้าดเป็ นของผู้ว่า
รายได้มาจากภาษีบำารุงท้องท่ีนอกเขตเทศบาลและสุขาภิบาล ค่าธรรมเนียม
กทม.-พรบ.2518 แบ่งพ้ืนท่ีออกเป็ นเขต และ แขวง
มีส่วนราชการ 5 ส่วนคือ สน.เลขานุการผู้ว่ากทม. สน.เลขานากรสภากทม.
สน.ปลัดกทม. สน.หรือส่วนราชการอ่ ืนท่ีเทียบเท่าสำานัก เขต
สมาชิกสภากทม.1 คน ต่อราษฎร 100,000 คน เศษของแสนถ้ามากกว่า 50,000
ถือเป็ นหน่ีงแสนคน
รายได้มาจากสาธารณูปโภค ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม
ความสัมพันธ์กับส่วนกลางเป็ นไปตามข้อตกลงท่ีทำาระหว่างกัน
รมต.มหาดไทยมีอำานาจควบคุมการปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร รวมทัง้
การยับยัง้ในกรณีท่ีเห็นว่ามิชอบด้วยกฎหมาย
เมืองพัทยา-เขตสุขาภิบาลนาเกลือ อ.บางละมุง ตามพรบ.2521 มีฐานะเป็ นนิติบุคคล
ปลัดเมืองพัทยา ได้จากการคัดเลือกบุคลลท่ีมิได้เป็ นสมาชิกสภาเมืองพัทยาโดย
สภาเมืองพัทยา (นายกสภาเป็ นผู้เสนอช่ ือให้สภาเมืองพิจารณา)
ราชการส่วนกลางจะเข้าไปแทรกแซงเฉพาะการควบคุมดูแลการตราข้อบัญญัติ
ว่าด้วยการจัดเก็บรายได้และรายจ่ายตามท่ีกฎหมายกำาหนดเท่านัน ้
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง-พรบ.2518
ทางนิตินัยไม่ถือเป็ นนิติบุคคล แต่พฤตินัยคณะกรรมการกลางมีอำานาจทำานิติกรรม
แต่จะต้องรับผิดชอบหนีผ ้ ูกพันเป็ นรายบุคคล จะให้คณะกรรมการกลางรับผิด
ชอบแทนไม่ได้(คณะกรรมการกลางมีผู้ใหญ่บ้านเป็ นประธาน แต่ถ้ามีหลาย)
หมู่บ้านรวมกัน ก็ให้กำานันเป็ นประธานแทน)
การควบคุมหมู่บ้านอาสา จะผ่านทางนายอำาเภอ --> ผู้ว่าราชาการจังหวัด
รายได้มาจากการจัดสรรของกท.มหาดไทยและอบจ.
ปัญหาของระเบียบราชการแผ่นดิน การทำางานก้าวก่ายกัน ส่วนราชการมีบทบาทมาก นโยบายไม่ได้รับการตอบสนอง
ปั ญหาทางปฏิบัติระหว่างการบริหารส่วนกลางและภูมิภาค ราชการท้องถ่ินถูกคุมใกล้ชิด

ผู้มีอำานาจในการบริหารราชการ
นายกรัฐมนตรี แต่งตัง้ข้าราชการตัง้แต่อธิบดี ต้องได้รับอนุมัติจากครม.ก่อน
แต่งตัง้ผู้ทรงคุณวุฒิเป็ นท่ีปรึกษา หรือ กรรมการ กำาหนดเบีย ้ ประชุม ค่าตอบแทน
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี รองฝ่ ายการเมือง เป็ นขรก.การเมือง รองฝ่ ายบริหาร เป็ นขรก.พลเรือนสามัญ
รมต. สัง่บรรจุขรก.พลเรือนให้ดำารงตำาแหน่งระดับ 10 และ 11 เม่ ือได้รับอนุมัติจากครม.
ส่วนการแต่งตัง้เป็ นอำานาจของนายกรัฐมนตรีท่ีจะนำาความกราบบังคมทูล
สัง่บรรจุและแต่งตัง้ ขรก.ให้ดำารงตำาแหน่งระดับ 9 หรือ รองอธิบดีหรือเทียบเท่า
ปลัดกระทรวง ไม่มอำ
ี านาจ บรรจุหรือแต่งตัง้ข้าราชการ
มีอำานาจเพียงให้ความเห็นชอบในการบรรจุและแต่งตัง้ขรก.พลเรือนสามัญระดับ 7, 8
อธิบดี มีอำานาจบรรจุและแต่งตัง้ระดับ 7,8 โดยความเห็นชอบของปลัดกระทรวง
มีอำานาจบรรจุและแต่งตัง้ตัง้แต่ระดับ 6 ลงมา
มีอำานาจโดยตรงท่ีจะติดต่อกระทรวง ทบวง กรม อ่ ืน ๆ โดยไม่ต้องเสนอผ่านปลัดกท.
ผู้ว่าราชการจังหวัด มีคณะกรรมการจังหวัดเป็ นท่ีปรึกษา ประกอบด้วยผู้ว่าเป็ นประธานโดยตำาแหน่ง
มีอำานาจสัง่ลงโทษทางวินัยแต่ข้าราชการของการบริหารส่วนภูมิภาคตัง้แต่ระดับ 4 ลงมา

การปฏิบัติหน้าที่ราชการ การทำาหน้าท่ีแทน มีความหมายเหมือนกับ การปฏิบัติราชการแทน แต่ใช้เฉพาะการ


บริหารราชการส่วนภูมิภาค
มอบอำานาจ ใช้เฉพาะกรณีมอบให้ปฏิบัติราชการแทน
การรักษาราชการแทน กรณีท่ีมีตำาแหน่งว่างและยังไม่มีผู้ดำารงตำาแหน่ง หรือ ผู้ดำารงตำาแหน่งมีอยู่แต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้เช่นเจ็บฝ่ วย หรือ เดินทางไปต่างประเทศ
วัตถุประสงค์เพ่ ือให้มีผู้รับผิดชอบอยู่ตลอด และให้การบริการต่อเน่ ืองได้ อีกทัง้เป็ นการฝึ ก
บุคลากรระดับรองให้เตรียมตัวรับตำาแหน่ง
ถ้านายกไม่อยู่ ให้รองนายกรักษาราชการ ถ้ามีรองหลายคนให้คณะรมต.เลือก
ถ้ารมต.ไม่อยู่และมีรมช.หลายคน ครม.จะเป็ นผู้พิจารณาว่า จะให้ใครรักษาราชการแทน
ถ้าปลัดกระทรวงไม่อยู่และไม่มีรองปลัด รมต.จะเป็ นผู้เลือก อธิบดี มารักษาราชการแทนปลัด
ถ้าไม่มีรองปลัดหรือไม่อยู่ ปลัดกระทรวงจะให้ผู้อำานวยการกอง มารักาษราชการแทนรองปลัด
ถ้าไม่มีรองอธิบดีหรือไม่อยู่ ปลัดกระทรวงจะให้หัวหน้ากอง มารักษาราชการแทนรองอธิบดี
นายอำาเภอสามารถแต่งตัง้ข้าราชการอ่ ืนให้รักษาราชการแทนตนเองได้ แต่ห้ามผู้นัน ้
ไปแต่งตัง้ผู้อ่ืนมารักษาราชการแทนอีก
การปฏิบัติราชการแทน เป็ นกรณีทีมีผู้ดำารงตำาแหน่งอยู่แล้ว และมอบอำานาจให้คนอ่ ืนเพ่ ือแบ่งเบาภาระ
โดยหลักการต้องมอบอำานาจตามระเบียบราชการท่ีระบุไว้แล้ว และผู้รับมอบอำานาจห้ามมอบ
อำานาจให้คนอ่ ืน เว้นแต่ระเบียบราชการระบุเป็ นข้อยกเว้นไว้
รมต.มีคำาสัง่เป็ นอักษรมอบอำานาจให้รมช.
แต่ถ้ารมต.จะมอบอำานาจให้ปลัด หรือ อธิบดี หรือ ผู้ว่า ปฏิบัติแทน ต้องมีคำาสัง่ซ่ ึงอนุมัติ
โดยรมต.และประกาศในราชกิจจานุเบกษา
อธิบดีถ้าจะมอบอำานาจให้ผู้ว่าราชการจัวหวัด ต้องขออนุมัติ ครม. และมีคำาสัง่เป็ น
ลายลักษณ์อักษรและนำาไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ระบบการปฏิบัติราชการแทน ทำาได้เพียงมอบอำานาจลงไปถึงระดับอธิบดีเท่านัน ้ ต่ำากว่า
นี ห
้ ้ามมิให้มีการมอบอำานาจ
บริการสาธารณะ กิจการท่ีอยู่ในอำานวยการของรัฐ เพ่ ือสนองความต้องการของประชาชน
สนองความต้องการ (Safe + Comfort) นอกเหนือปั จจัยส่ี
ประชาชนอาจไม่ต้องเสียค่าตอบแทนโดยตรง
ต้องใช้เงินทุนสูง รัฐจึงต้องควบคุมแม้ว่าจะให้เอกชนทำาก็ตาม
หน้าที่สำาคัญของรัฐบาล 1)ฐานะรัฐบาล 2)ฐานะผ่ายปกครอง
การจัดทำาบริการมี 2 รูปแบบ 1)(ฝ่ ายปกครองทำาเอง) 1.1)ราชการ 1. 2)รัฐวิสาหกิจ และ 2)เอกชน

ลักษณะสำาคัญของบริการสาธารณะ อยู่ในอำานวยการ หรือ ควบคุมของฝ่ ายปกครอง


สนองSocial benefit
แก้ไขเปล่ียนแปลงโดยบทกฏหมาย
ต้องดำาเนินอยู่เป็ นนิจและสม่ำาเสมอ
(ผู้ใดละทิง้ โดยร่วมกันตัง้แต่ 5 คน โดยจำาคุกไม่เกิน 5 ปี /10,000บาท
ต้องจัดให้เอกชนมีสิทธิได้ประโยชน์โดยเท่าเทียมกัน

แนวความคิดการจัดทำาบริการสาธารณะ
- รัฐไม่ควรทำาบริการท่ีเกียวข้องกับเศรษฐกิจ Adam Smith
- รัฐควรทำาบริการท่ีเกียวข้องกับเศรษฐกิจ Communist - รัฐครอบงำาทรัพย์สิน จำากัดเสรี ขยายกิจการของรัฐให้มาก
สังคมนิยม - รัฐให้เอกชนจัดทำาแต่รัฐควบคุม รัฐทำาเฉพาะอย่าง

บริการสาธารณะราชการ 1)ส่วนกลาง 2)ส่วนภูมิภาค 3)ส่วนท้องถ่ิน


ไม่ใช่สัญญาจ้างแรงงาน
ฝ่ ายปกครองบังคับฝ่ ายเดียวได้ ไม่ต้องมีเจตนารร่วม อำานาจเหนือเอกชน
ฝ่ ายปกครองมีอำานาจเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ มีอำานาจออกกฎกระทรวง
ทรัพย์สินท่ีเป้ นของรัฐมีกฎหมายควบคุม เปล่ียนมือเองไม่ได้
ในรูปแบบราชการ ประชาชนไม่ต้องเสียค่าตอบแทนโดยตรง ยกเว้นบางอย่าง
การยุบต้องใช้ตามกม.จัดตัง้ (พรบ. พระราชกฎษฎีกา ประกาศกระทรวงมหาดไทย)
เงินทุนท่ีใช้ -งบประมาณ -เงินกู้
การควบคุมทำาโดย บังคับบัญชา รัฐสภา สภาพัฒน์ สนง.งบประมาณ กท.คลัง สตง.

รัฐวิสาหกิจ(Public enterprise) กระทรวง ทบวง กรม มีทุนเกินร้อยละ50


องค์กรของรัฐตามกฎหมาย รัฐเป็ นเจ้าของ
ไม่รวม ถึงกิจการท่ีมีจุดประสงค์เพ่ ือการสงเคราะห์หรือส่งเสริมกิจการท่ีไม่ใช่ธุรกิจ
ต้องสังกัดกระทรวงใดกระทรวงหน่ ึง มีอำานาจตามกฎหมายจัดตัง้
การยุบต้องใช้ตามกม.จัดตัง้ (พรบ. พระราชกฎษฎีกา ประกาศกระทรวงมหาดไทย)
เงินทุนท่ีใช้ -งบลงทุนจาก 3 แหล่ง คือ
1) งบประมาณแผ่นดิน: เงินเพ่ิมทุน เงินกู้ เงินอุดหนุน (รัฐให้เปล่า ห้ามจ่ายbonus)
2) เงินกู้
3) รายได้ของรัฐวิสาหกิจ
งบลงทุน คือ รายการประมาณท่ีจะจ่ายเพ่ ือก่อให้เกิดทรัพย์สินประจำาทุกชนิด รวมทัง้
การทดแทนทรัพย์เดิมซ่ ึงมีสาระสำาคัญเพ่ ือปรับปรุงงาน หรือ รายจ่ายอัน
เห็นได้ชัดว่าจะได้ประโยชน์ตอบแทนมากกว่า 1 ปี หรือ รายจ่ายเพ่ ือซ้ือ
กิจการหรือหุ้นของหน่วยงานอ่ ืน
การควบคุมทำาโดย กรรมการรัฐวิสาหกิจ กระทวงเจ้าสังกัด กท.คลัง สอบบัญชีภายใน

การจัดตัง้รัฐวิสาหกิจ พรบ.หรือ ประกาศคณะปฏิวัติ - การ หรือ องค์การ


พระราชกฎษฎีกา
ประมวลกฎหมายเพ่งพาณิชย์
มติคณะรัฐมนตรี
บริการสาธารณะเอกชน ผูกขาด หรือ การให้สัมปทาน เพ่ ือสนองความสะดวกสบาย
ผู้รับสัมปทานไม่มีฐานะเป็ นเจ้าพนักงาน หรือ ข้าราชการ
ฝ่ ายปกครองยังควบคุมได้โดยกำาหนดเง่ ือนไขไว้
ทรัพย์สินไม่ได้รับการคุ้มครอง
ไม่มีอำานาจพิเศษ (เพราะไม่ได้อำานาจตามกฎหมายมหาชน)
ไม่ใช่กิจการท่ีเก่ียวกับความปลอดภัยในชีวิต
เป็ นสัญญาในทางปกครอง (แตกต่างจากสัญญาธรรมดา)
+ ข้อกำาหนดกฎหมายมหาชน ต้องแก้โดยทางกฎหมาย
+ ข้อกำาหนดกฎหมายเอกชน แก้โดยได้รับความยินยอมของผุ้รับสัมปทาน
ผู้รับสัมปทานต้องทำากิจการเอง ผู้เข้ารับมรดกต้องได้ความยินยอมจากฝ่ ายปกครอง
การสิน ้ สุด - หมดอายุสัมปทาน -เพิกถอน -ซ้ือคืน(ฝ่ ายปกครองสงวนสิทธิแ์ม้
ไม่มีระบุในสัญญา)
การควบคุมทำาโดย จพนง.ตรวจตรา ทำารายงานแสดงกิจการงบดุล เพิกถอน
องค์การ = ข้าราชการ การจัดการ การเงิน ข้าราชการ = จนท.รัฐ บริการประชาชนโดยไม่หวังผล นอกจากรับเงินเดือนและมีสวัสดิการ

ข้าราชการพลเรือน 2518 สามัญ ในพระองค์(2519) รัฐพาณิชย์(ไปรษณีย์ คมนาคม) ประจำาต่างประเทศพิเศษ


ข้าราชการตำารวจ รวมทัง้ท่ีไม่มียศ
ข้าราชการฝ่ ายรัฐสภา 1)รัฐสภาสามัญ 2)ฝ่ ายการเมือง
ข้าราชการพลเรือนมหาวิทยาลัย 1)สอนวิจัย เช่น รศ. 2)บริการวิชาการ-บรรณารักษ์ แพทย์ 3)บริหาร ธุรการ
ข้าราชการส่วนจังหวัด 1)สามัญ 2)ครูส่วนจังหวัด
ข้าราชการกรุงเทพมหานคร 1)สามัญ 2)ครูกรุงเทพมหานคร(สอนประจำา หรือ เป็ นผู้บริหาร)
ข้าราชการครู 1)ผู้สอน 2)บริหาร-ผู้อำานวยการ ครูใหญ่ 3)ให้การศึกษาไม่สังกัดรร.-สารวัตรนักเรียน
ศึกษานิเทศก์ ศึกษาธิการอำาเภอ
พนักงานเทศบาล - สุขาภิบาล 1)สามัญ 2)ครูเทศบาล
ข้าราชการตุลาการ 1)ขรก.ตุลาการ เช่นผู้พิพากษา 2)ดาโต๊ะยุติธรรม 3)ขรก.ธุรการ เช่นปลัด เสมียนศาล

ความสัมพันธ์รัฐ และ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 1)ตำาแหน่งหน้าท่ี 2)เศรษฐกิจ 3)การเมือง(ตำาแหน่งเป็ นรางวัล การเมือง คุมนโยบาย)


บำาเหน็จ=เงินเดือนสุดท้าย X ปี
บำานาญ=บำาเหน็จ/50(ข้าราชการพลเรือน ตำารวจ>25ปี ) /55(ข้าราชการอ่ ืน >25ปี )
การสรรหาจนท.รัฐ มี 3 วิธีคือ การสอบ (สอบแข่งขันสำาหรับระดับต่ำา และ สอบคัดเลือกสำาหรับระดับสูง),
การคัดเลือกในกรณีพเิ ศษตามท่ีก.พ.กำาหนด, และ การให้ทุนการศึกษา
ตอ.=ศึกษาดี เร่ิมอายุน้อย อบรมเน้นอาชีวะและวิชาการคู่กัน สรรหาแต่ระดับต่ำา
ตต.=โยกย้ายขรก-เอกชนได้ สงวนอาชีพบางอย่างเป็ นของรัฐ(ต่างประเทศ ศีกษา)
ก่อนรับราชการต้องอบรมวิชาการ สอบใช้วิธีปฏิบัติทดสอบความชำานาญเฉพาะ
รับทุกชัน้ ทุกวัยถ้าคุณสมบัติตรงตามความต้องการ
การพัฒนาเจ้าหน้าท่ีรัฐ 1)ฝึ กอบรมก่อนเข้าปฏิบัติหน้าท่ี 2)ฝึ กอบรมระหว่างปฏิบัติหน้าท่ี
แหล่งสรรหาบุคคลเข้ารับราชการ มหาลัยและรร.สามัญ รร.เฉพาะบุคลากร ทุนรัฐบาลทุนเล่าเรียนหลวง
วิธีสรรหา สอบ (แข่งขัน + คัดเลือก-ปรับระดับและบรรจุ) คัดเลือก ให้ทุนโดยมีข้อผูกมัด
ผู้มีอำานาจบรรจุแต่งตัง้ข้าราชการ รมต.เสนอครม.C10-11 ตัง้C9 อธิบดีตัง้C7-8
อธิบดี/ผู้ท่ีอธิบดีมอบหมาย<=C6 ผู้ว่า <=C4
หลักเกณฑ์การแต่งตัง้ กรณีจำาเป็ น ส่วนราชการขออนุมัติกพ.บรรจุแต่งตัง้ข้าราชการท่ีมีคุณสมบัติไม่ตรงได้
โอนกรมเดียวกัน-ดำารงตำาแหน่งในระดับเดียวกัน(ถ้าตำาแหน่งต่ำากว่า-ต้องขอ กพ.ก่อน)
โอนC9ในกระทรวงหรือต่างกระทรวง-ขออนุมัติคณะรัฐมนตรีก่อน
โอนข้าราชการอ่ ืนมาเป็ นข้าราชการพลเรือน-ขออนุมัติ กพ.ก่อน โดนกพ.จะเป็ นผู้
กำาหนดตำาแหน่งและขัน ้ เงินเดือนให้โดยไม่สูงกว่าคนท่ีอยู่เดิมในระดับเดียวกัน
แบบของการฝึกอบรม 1)บรรยาย 2)สัมมนา(ถ้าคุมไม่ได้จะกลายเป็ นการโต้วาที) 3)ผสม(ดีท่ีสุด)

วินัยข้าราชการ แสดงออกโดยการควบคุมตนเอง ยอมรับปฎิบัติตามผู้บังคับบัญชาเป็ นระเบียบแบบแผน


1)เสริมสร้าง 2)ลงโทษ(ยุติธรรม เป็ นธรรม ฉับพลัน)
เคร่ ืองราชอิสริยาภรณ์ รับราชการติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี นับจนถึง ก่อน วันเฉลิมในปี ท่ีจะขอ 60 วัน
ห้ามขอในระยะปี ติดกัน
1-จัตวา-เหรียญ 2-ตรี-บม.บช. 3,4-โท-จม. จช. 5,6-เอก-ตม. ตช. 7,8-พิเศษ-ทม. ทช.
สายสะพาย-เงินเดือน 12,535(ระดับ9) รองอธิบดี ประพฤติเรียบร้อย ดีเป็ นประจักษ์
ทช.3ปี ขอปม. ปม.3ปี ขอปช. ปช.3ปี ขอมวม. มวม.5ปี ขอมปช.
ความผิดวินัยร้ายแรง AntiDemocracy ทุจริตโดยปฎิบัติ/ละเว้นโดยมิชอบ เพ่ ือประโยชน์ตนเองหรือผู้อ่ืน
ละทิง้หน้าท่ีราชการติดต่อในคราวเดียวกันเกิน 15 วัน โดยไม่มีเหตุอันควร
โทษทางวินัย 1)ภาคทัณฑ์ 2)ตัดเงินเดือน 3)ลดขัน ้ เงินเดือน 4)ให้ออก 5)ปลดออก 6)ไล่ออก
ต้องรายงานกพ.ทราบ ถ้าไม่ทำาตามกพ.จะเสนอต่อนายกโดยตรงเพ่ ือมีคำาสัง่

สวัสดิการข้าราชการ มี ก.พ.รับผิดชอบอยู่
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
1) การจัดเงินเดือนให้สอดคล้องกับค่าครองชีพ
2) การให้ความช่วยเหลืออ่ ืน ๆ เช่น ค่าเล่าเรียน บ้านพัก ค่ารักษา เงินเพ่ิม
ปัญหาของการบรรจุและแต่งตัง้ การไม่เข้าใจสาระสำาคัญแห่งกม.เก่ียวกับการบรรจุแต่งตัง้
วัตถุประสงค์ ดุลยภาพระหว่างการบริหารงานรัฐ กับสิทธิและประโยชน์ประชาชน
รัฐธรรมนูฐราชอาณาจักรไทย 2521 รมต.ไม่ตอบกระทู้ได้ ถ้าคณะรัฐมนตรีเห็นว่าไม่ควรเปิ ดเผย เพ่ ือประโยชน์แห่งแผ่นดิน
สส.ไม่น้อยกว่า 1/5 ขอเปิ ดอภิปรายไม่ไว้วางใจ
วิธีการควบคุม 1)โดยทางกฎหมาย 2)โดยทางองค์กร
ควบคุมทางกฎหมาย
พรบ. ปปป. เร่ ืองมีมูล --> ประธานปปป.ส่งเร่ ืองให้ผู้บังคับบัญชาสอบสวนวินัยภายใน 7 วัน นับแต่
วันท่ีสอบสวนเสร็จ --> ประธานปปป.รายงานนายกทราบ
ถ้าผิดอาญาด้วย ให้แจ้งพนักงานสอบสวนภายใน 7 วัน
ผู้บังคับบัญชาต้องดำาเนินการภายใน 15 วันนับแต่วันท่ีได้รับเร่ ือง
กฎกพ.ฉบับท่ี 10 (2518) สัง่ออกจากราชการ ต้องอุทธรณ์ต่อกพ.ใน 30 วัน(ผู้ถูกสัง่ย่ ืนเอง/ผ่านผูบ ้ ังคับบัญชา)
ถ้าย่ ืนผ่านผู้บังคับบัญชาต้องมีข้อความปรากฎชัดในหนังสืออุทธรณืว่าให้เสนอ กพ.
กฎอ่ ืน ๆ ท่ีใช้ควบคุม ประมวลกฎหมายอาญา มติคณะรัฐมนตรี
ควบคุมทางองค์กร 1)ให้คำาปรึกษาและพิจารณาคดีปกครอง
ฝรัง่เศส (กองเซย เดตาต์) อิตาลี กรีก ลักซัมเบอร์ก ตุรกี เลบานอน เบลเยียม อียิปต์
ข้อดีคือ รู้และเข้าใจข้อเท็จจริงในทางปกครอง เป็ นท่ีเคารพเช่ ือถือ
ข้อเสียคือ ไม่มีองค์กรใดท่ีเป็ นได้ทัง้ผู้พิพากษาและคู่ความและฝ่ ายปกครอง
2)ให้คำาปรึกษาอย่างเดียว(ชิลี โรมาเนีย)
ให้หลักประกันสิทธิเสรีแก่ประชาชนน้อยสุด
องค์กรบริหารงานบุคคลในประเทศไทย 12 องค์กร
กพ. (2518) นายกหรือรองนายกเป็ นประธาน
กรรมการข้าราชการทหาร (กขท) (2521) กรรมการไม่เกิน 11 คน ปลัดกห.เป็ นประธาน
ควบคุม ข้าราชการทหาร ทหารกองประจำาการ นักเรียนสังกัดกระทรวงกลาโหม
กต. (2521) ประธานศาลฎีกาเป็ นประธาน
กอ. (2521) รมต.มหาดไทยเป็ นประธาน คุมอัยการ(ไม่รวมข้าราชการธุรกิจสังกัดกรมอัยการ - กพ.)
กม. นายกเป็ นประธาน รมต.ทบวงเป็ นรองประธาน
กจ. กก. กท. รมต.มหาดไทยเป็ นประธาน
กส. ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็ นประธาน
กค. รมต. รมช. ศึกษาธิการเป็ นประธาน
ขัน
้ ตอนการลงโทษ ผิดไม่ร้ายแรง - ผู้บังคับบัญชาสัง่ลงโทษและเสนอปลัด ปลัดสัง่เปล่ียนบทลงโทษได้
โดยไม่ต้องย้อนกลับไปให้ผู้บังคับบัญชาออกคำาสัง่แก้ไข
สามารถอุทธรณ์ผู้บังคับบัญชาเหนือตน
ผิดร้ายแรง / ปลัดสัง่ให้ออก - นำาเข้าสู่ อกพ. เพ่ ือวินิจฉัยชีข้าด
อุทธรณ์ต่อ กพ.
ทัง้ 2 กรณีต้องรายงานต่อกพ. ถ้ากพ.ไม่เห็นด้วย กพ.จะรายงานนายกเพ่ ือเพ่ิมโทษได้
การควบคุมการใช้อำานาจของจนท.ในราชการ
- โดยฝ่ ายนิติบัญญัติ 1)งบประมาณ 2)คุมการออกกฎหมาย 3)ตัง้กระทู้
- โดยฝ่ ายบริหาร 1)โดยคณะรมต. 2)ตามลำาดับชัน
้ การบังคับบัญชา 3)โดยจนท.รัฐท่ีรับผิดชอบทางวินัย
2.1)ตรวจงาน 2.2)รายงาน
- โดยฝ่ ายตุลาการ 1)โดยศาล 2)โดยการดำาเนินการทางวินัย (ส่งเสริมให้มีวินัย หรือ ปราบปรามลงโทษ)

ประเทศไทยมีพรรคการเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายเม่ ือ 2524

สรุปขัน
้ ตอนการควบคุม 1) โดยองค์กรภายใน เช่น อุทธรณ์ ร้องทุกข์
2) โดยองค์กรภายนอก เช่น ทางการเมือง ทางองค์กรพิเศษ ทางศาล
General information วิวัฒนาการของศาลปกครองจะสอดคล้องกับระบบการปกครองประเทศ
จนท.ท่ีรับผิดชอบต้องมีความรู้การบริหารและการปกครอง
เป็ นองค์การของฝ่ายบริหารท่ีได้จัดตัง้ขึ้นเป็ นพิเศษ แยกจากศาลยุติธรรม
คดีท่ีเอกชนไม่ได้ความเป็ นธรรมจากรัฐ เจ้าพนง.ไม่ได้ความเป็ นธรรมจากผู้บังคับบัญชา
วิวัฒนาการของศาลปกครองในต่างประเทศเป็ นผลจากเหตุการณ์ประวัต ้ ิศาสตร์
และการเปล่ียนแปลงทางการเมือง
สมัยก่อนประชาชนไม่ขัดแย้งกับกษัตริย์ จึงไม่รู้จักการป้ องกันในทางปกครอง
ศาลปกครองประเทศออสเตรีย ได้บัญญัติประมวลกฎหมายหลักปฏิบัติในทางปกครองไว้
เช่นเดียวกับประเทศยูโกสลาเวีย
ประเทศแม่แบบศาลปกครองคือฝรัง่เศส ซ่ ึงมีสถาบันผลิดผู้พิพากษาศาลปกครองโดยเฉพาะ
นอกจากนีย ้ ังมี ศาลชึ้ขาดข้อขัดแย้ง (LeTribunal des Conflit) วินิจฉัยเร่ ืองอำานาจศาล
ผุ้พิพากษาศาลปกครองไม่อาจโยกย้ายกันกับศาลยุติธรรมได้
กองเซย เดตาต์ เป็ นศาลปกครองสูงสุดท่ีเป็ นอิสระอย่างแท้จริง มีศาลสูงสุดในสายงานของ
ตนเอง แยกเด็ดขาดจากศาลยุติธรรม (สังกัด สำานักนายกรัฐมนตรีของฝรัง่เศส)
อังกฤษไม่มีศาลปกครองเหมือนฝรัง่เศสและเยอรมัน การพิจารณาตกแก่ศาลยุติธรรม
หลักเกณฑ์ท่ีศาลปกครองได้ใช้เพิกถอนการกระทำาของฝ่ ายปกครองไม่อาจนำามาบันทึก
เป็ นบทบัญญัติแห่งกม.ตายตัวได้
ต่างประเทศไม่นิยมแต่งตัง้ผู้พิพากษาสมทบ นิยมใช้ผู้พิพากษาศาลปกครองอาชีพ
บ่อเกิดของศาลปกครอง หลักการรักษาดุลอำานาจการใช้อำานาจอธิปไตย
ความจำาเป็ นในการาจัดตัง้ศาลปกครอง ความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับหน่วยงานรัฐมีลักษณะพิเศษแตกต่างกันออกไป
ควรจะได้รับการพิจารณาจากผู้พิพากษาท่ีมีความรู้และมีประสบการณ์การบริหาร
Rule of Law บุคคลย่อมเสมอภาคและอยู่ใต้กม.เท่าเทียมกัน ไม่มีผู้ใดถูกลงโทษเว้นแต่จะผิดกม.

กม.ที่เกี่ยวกับศาลปกครอง พรบ.ขรก.พลเรือน2518 พรบ.ผังเมือง2518 พรบ.บริหารกทม.2518


พรบ.ปฏิรูปท่ีดินเพ่ ือเกษตรกรรม2518 พรบ.บริหารเมืองพัทยา2521

การจัดระบบศาล ถือเอาลักษณะแห่งคดีเป็ นหลักในการกำาหนดอำานาจศาล(ยอมรับระบบอำานาจพิจารณาความ)


1)ศาลเด่ียว-ศาลทัง้หลายเป็ นศาลยุติธรรม ดำาเนินการภายใต้กม.เดียว ไม่มีแบ่งประเภทกม.
ศาลยุติธรรมสูงสุดมีเพียงศาลเดียว
ศาลใช้หลักกม.ธรรดามาปรับใช้ในทุกคดี
คำาพิพากษาของศาลยุติธรรมสูงสุดอาจถือเป็ นบรรทัดฐานในคดีอ่ืน
ผู้พิพากษามีความรู้ทัว่ไป ไม่ต้องการความรู/้ ประสบการณ์เฉพาะอย่าง
อังกฤษ และอเมริกา ใช้หลักว่า รัฐจะเป็ นจำาเลยในศาลของรัฐเองไม่ได้
2)ศาลคู่ เกิดจากหลักแห่งการแบ่งแยกอำานาจ
-ศาลยุติธรรม และ ศาลพิเศษท่ีเป็ นข้อยกเว้นแห่งกระบวนการยุติธรรม
-ศาลยุติธรรมสูงสุด และ ศาลปกครองสูงสุด
-ดำาเนินการภายใต้กม.ท่ีแตกต่างกัน
-แนวคำาพิพากษาอาจจะต่างกันในสาระสำาคัญ
-ผู้พิพากษาในศาลพิเศษต้องมีความรู/้ ประสบการณ์พิเศษ
ประเทศท่ีมีศาลคู่จะมีกม. 2 ประเภทคือ มหาฃน และ เอกชน
เป็ นหน้าท่ีของศาลท่ีจะเลือกดำาเนินการภายใต้กม.ประเภทใดจึงจะเหมาะสม
เช่น ฝรัง่เศส(แม่แบบ) เยอรมัน อิตาลี
โครงสร้างของศาลปกครอง 1)แยกเป็ นอิสระจากศาลยุติธรรม เช่นฝรัง่เศสซ่ ึงสังกัดสำานักนายกรัฐมนตรี เรียกว่า
กองเซย เดตาต์ ซ่ ึงสามารถวางหลักกม.ขึ้นไว้ในคำาพิพากษา
2)สังกัดศาลยุติธรรม เช่น อังกฤษ อเมริกา (AngloSaxon)
3)ศาลพิเศษอิสระ เป็ นแบบผสม องค์การสังกัดยุติธรรมและมีอำานาจศษลร่วมอยู่ในกระบวน
การยุติธรรมอัน ้ เดียวกันกับศาลยุติธรรม เช่น เยอรมัน ซ่ ึงแยกศาลออกเป็ น 2 ศาล
คือ ฝ่ ายกม.เอกชน และ ฝ่ ายกม.มหาชน ผู้พิพากษาเป็ นผู้พิพากษาอาชีพในสาขาวิชา
เฉพาะอย่าง (ไม่ใช่ผู้มีความรู้ทัง้กม.และบริหารในตนเอง)
ประเทศอ่ ืนท่ีใช้ระบบนี เ ้ ช่นอิตาลีเบลเย่ียม

จนท.ในศาลปกครอง 1)ฝ่ ายธุรการ แบ่งเป็ นระดับผู้บริหาร และ ผู้ปฏิบัติ


รับผิดชอบงานสารบรรณ การประสานงาน รักษาสำานวนคดี งบประมาณ นโยบาย
2)ฝ่ ายคดีปกครอง
-พนักงานคดีปกครอง: ปริญญาตรีกม. รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ควรมีประสบการณ์
หน้าท่ีร่างคำาพิพากษา สรุปการพิจารณาเสนอองค์คณะ เข้าร่าวมอภิปราย
-อัยการประจำาศาลปกครอง: สามารถร่วมพิจารณาคดี แต่ห้ามอยู่ขณะประชุมพิพากษาคดี
-ผู้พิพากษาศาลปกครอง: ควรมีความรู้อย่างดีในกม. รับรู้สภาพเป็ นจริงในการปฎิบัติงาน
ฝ่ ายปกครอง นำาหลักกม.มาใช้อย่างเหมาะสม วางหลักกม.โดยคำานึงถึงปั ญหาในอนาคต
ศาลปกครองชัน
้ ต้น มีผู้พิพากษา2 ประเภท 1)ผู้พิพากษรับราชการประจำา โปรดเกล้าแต่งตัง้ด้วยความเห็นชอบของกต.จากบุคคลเหล่านี้
-ข้าราชการตุลาการ เงินเดือนไม่ต่ำากว่าชัน
้ 6 ประสบการณ์กม.2ปี
-พนักงานคดีปกครองชัน ้ 3
2)ผู้พิพากษาผู้ทรงคุณวุฒิ โปรดเกล้าแต่งตัง้ โดยคณะกรรมคัดเลือด ด้วยความเห็นชอบ
ของกต.อายุระหว่าง 45-65ปี รับ/เคยรับราชการไม่ต่ำากว่าผู้พิพากษาศาลฏีกาหรือเทียบเท่า
ไม่ต่ำากว่าอธิบดีหรือเทียบเท่า หรือมียศไม่ต่ำาว่า พลโท พลเรือโท พลอากาศโท พล.ต.ท.

กระบวนการพิจารณาคดี วิธีพิจารณาคดีมักกระทำาโดยทางลับ จากพยานเอกสารเป็ นหลัก ศาลเป็ นผู้ซักพยานบุคคลเอง


ต่างกับกระบวนการพิจารณาในระบบกล่าวหา คือ ไม่ซักพยาน ไม่ถามค้าน ไม่ถามติง
กระบวนการพิจารณาคดีในไทยมีแนวโน้มเป็ นระบบไต่สวน
เป็ นระบบไต่สวน ไม่มีทนายช่วยในการสู้คดี การพิจารณาไม่ซับซ้อน รวดเร็ว ประหยัด
สืบข้อเท้จจริงแห่งคดี พยานหลักฐานในศาลไม่ถือเป็ นของคู่กรณ๊ฝ่ายใดฝ่ ายหน่ ึง
คุ่กรณีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดำาเนินคดี (รัฐเป็ นผู้จ่าย)
คู่กรณีอาจตัง้ทนายร่วมฟั งการพิจารณาคดีได้ แต่ไม่มีหน้าท่ีซักถามพยาน แม้แต่พูดใน
ห้องพิจารณาคดีก็ทำาไม่ได้ ให้ใช้วิธีส่งคำาถามให้ประธานคณะผู้พิพากษาถามแทน หรือ
เม่ ือประธานคณะอนุญาติให้ซักถามจึงจะถามได้
ถ้าไม่มีบทกม.ท่ีจะยกมาปรับใช้แก่คดีได้ อาจนำาหลักกม.ทัว่ไปมาปรับใช้ได้
คำาพิพากษาไม่มีผลบังคับย้อนหลัง
คำาพิพากษาเป็ นการกระทำาโดยพระปรมาภิไธย จึงมีผลบังคับเช่นเดียวกับของศาลยุติธรรม
อาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เช่ียวชาญมาให้ความเห็นประกอบการพิจารณา
กรณีท่ีมีข้อเท็จจริงท่ีฟังใหม่แล้วมีผลให้เปล่ียนแปลงคำาพิพากษา ศาลก็มีอำานาจทำาได้
การย่ ืนอุทธรณ์ของคู่กรณีไม่เป็ นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคำาพิพากษา
เม่ ือมีเหตุผลสมควร ศาลปกครองหรือศาลฎีกามีอำานาจสัง่งดหรือทุเลาการบังคับคดีไว้ก่อน
แม้ว่าคู่ความจะไม่ร้องขอ
คุณสมบัติผู้พิพากษาศาลปกครอง มีความรู้ความเข้าใจดีย่ิงในกม.ปกครอง รู้สภาพความเป็ นจริงในการปฏิบัติงานฝ่ ายปกครอง
และ รู้จักนำาหลักกม.มาใช้อย่างเหมาะสม โดยคำานึงถึงปั ญหาในอนาคต
ผลเสียของศาลปกครอง ผลดีของศาลปกครอง
ทำาลายขวัญกำาลังใจจนท. คุ้มครองสิทธิและประโยชน์ของหน่วยงานรัฐและประชาชน
รัฐเสียค่าใช้จ่ายสูง ควบคุมการทำางานของฝ่ ายปกครอง
คดีคัง่ค้าง ประหยัด คู่ความไม่เสียค่าใช้จ่ายในการดำาเนินคดี
หลักประกันความมัน ่ คงแห่งอาชีพ
ดุลอำานาจของรัฐบาลและฝ่ ายนิติบัญญัติ
ลดความขัดแย้งระหว่าง รัฐ กับ ประชาชน
องค์ประกอบสำาคัญของรัฐ
เหตุท่ีกม.มหาชนต่างจากกม.อ่ ืน

ลักษณะเฉพาะของกม.มหาชน

อำานาจผูกพัน

หลักนิติรัฐ
หลักนิติรัฐสัมพันธ์กับกม.มหาชน
เหตุทีต้องมีกม.หมาชน

การปฏิรูปที่สำาคัญของประเทศไทย

ความแตกต่างกม.มหาชนและเอกชน

อำานาจของผู้บังคับบัญชา

ระบบการพิจาณาคดี ******
ระบบกล่าวหา
ระบบไต่สวน

ศาลรัฐธรรมนูญ

สส.

วุฒิสมาชิก

รัฐบาล
ประชากร + ดินแดน + อำานาจการเมือง
เป็ นกม.ท่ีใช้กับบุคคลสองกลุ่มท่ีมีสภานภาพทางกม.ไม่เท่าเทียมกัน เม่ ือมีเหตุ
ท่ีเกิดกรณีพิพาทกัน จึงต้องมีกม.พิเศษท่ีจะให้ความยุติธรรม
1) ใช้กับนิติบุคคล หรือ บุคคลธรรมดาตามกม.มหาชน เช่น กระทรวง กรม อบจ.
2) เป็ นกม.เพ่ ือสาธารณะประโยชน์ ในการให้อำานาจแก่จนท.รัฐเพ่ ือส่วนรวม
3) เป็ นกม.ท่ีไม่เสมอภาค ทำาให้จนท.รัฐมีอำานาจมาก
อำานาจท่ีกม.ให้องค์กรปกครอง โดยบังคับวิธีปฎิบัติไว้ล่วงหน้าให้ทำาตามถ้า
มีข้อเท็จจริงอย่างใดเกิดขึ้น
ประชาชนจะไม่ถูกละเมิดโดยจาการการใช้อำานาจของจนท.รัฐโดยอยุติธรรม
กม.มหาชนพัฒนามาจากการปกครองระบอบประชาธิปไตยท่ียึดหลักนิติรัฐ
เพ่ ือแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐหรือจนท.รัฐกับประชาชนเพ่ ือให้เกิด
ความเป็ นธรรม และไม่ให้จนท.รัฐใช้อำานาจเกิดขอบเขต
1) สมัยพระบรมไตรโลกนาถ
2) สมัยรัชกาลท่ี 5
3) เปล่ียนแปลงการปกครอง 2475
4) รัฐธรรมนูญ 2540 จัดตัง้ศาลปกครองขึ้นมา ทำาให้ประเทศไทยเป็ นระบบศาลคุ่
a)ความแตกต่างด้านองค์กรหรือตัวบุคคลท่ีเข้าไปมีนิติสัมพันธ์
b)ด้านเน้ือหาและความมุ่งหมาย : กม.มหาชน จะเน้นเร่ ืองสาธารณะไม่ได้มุ่งหมาย
เร่ ืองกำาไร
c)ด้านรูปแบบของนิติสัมพันธ์ : กม.มหาชนจะเป็ นการบังคับ คำาสัง่ให้ทำา ในขณะท่ี
กม.เอกชนตัง้อยู่บนพ้ืนฐานความเป็ นอิสระในการแสดงเจตนาเสมอภาค เสรีภาพ
d)ด้านนิติวิธี : กม.มหาชนจะสร้างกม.ขึน ้ มาเอง
e)ด้านิติปรัชญา :
f) ด้านเขตอำานาจศาล : ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ กัย ศาลยุติธรรม
ออกคำาสัง่ คุมกิจการ ลงโทษทางวินัย ให้บำาเหน็จความดีความชอบ

คู่กรณีมีหน้าท่ีนำาสืบพยาน มีการถามค้าน ถามติง


การพิจาณาคดี ตกแก่ศาลฝ่ ายเดียวในการสืบข้อเท็จจริง พยานหลักฐานท่ีนำามา
จะถือเป็ นพยานของศ่าลเอง ศาลเป็ นผู้พิสูจน์พยานเอง ไม่มีการถามค้านหรือ
ถามติง
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตัง้ตามคำาแนะนำาของวุฒิสภา
: ผู้พิพากษาศาลฎีกา โดยการลงคะแนนลับ จำานวน 5 คน
: ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด โดยการเลือกโดยท่ีประชุมใหญ่ศาลปกครองสูงสุด
จำานวน 2คน
: ผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ 5 คน
: ผุ้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์ 3 คน

สัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต่ำากว่า 25 ปี บริบูรณ์ในวันเลือกตัง้ เป็ นสมาชิก


พรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (ปริญญาตรีกิติมศักดิ ์
ถือว่าขาดคุณสมบัต)ิ
มีทัง้หมด 500 คน (100 จากบัญชีรายช่ ือ 400จากการแบ่งเขตเลือกตัง้)
จำานวน 200 คน
สัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต่ำากว่า 40 ปี บริบูรณ์ในวันเลือกตัง้ ปริญญาตรี
หรือเทียบเท่า วาระคราวละ 6 ปี
นายก 1 คน + คณะรมต.ไม่เกิน 35 คน
รมต.ต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต่ำาว่า 35 ปี บริบูรณ์ ปริญญาตรี

You might also like