You are on page 1of 111

สรุปย่อ

กฎหมาย
มหาชน
( 41201 )
Public
Law
2

จัดทำำโดย
ชมรมนักศึกษำ มสธ. จ. รำชบุร ี

สารบัญ

เรื่อง หน้า

หน่วยท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายมหาชน
3
หน่วยท่ี 2 ปรัชญารากฐานในกฎหมายมหาชน
7
หน่วยท่ี 3 ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ
12
หน่วยท่ี 4 ระบอบการปกครอง
19
หน่วยท่ี 5 องค์กรนิติบัญญัติ
24
หน่วยท่ี 6 องค์กรบริหาร
36
หน่วยท่ี 7 องค์กรตุลาการ
40
หน่วยท่ี 8 สิทธิเสรีภาพของประชาชน
45
หน่วยท่ี 9 การควบคุมการใช้อำานาจนิติบัญญัติ
51
หน่วยท่ี 10 หลักทั่วไปแห่งกฎหมายปกครอง
57
หน่วยท่ี 11 ระเบียบบิหารราชการแผ่นดิน
63
หน่วยท่ี 12 บริการสาธารณะ
68
หน่วยท่ี 13 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
76
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
3

หน่วยท่ี 14 การควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
88
หน่วยท่ี 15 ศาลปกครอง
96

41201 กฎหมายมหาชน
Public Law

หน่วยท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายมหาชน

1. ความคิดเร่ ืองการแบ่งแยกสาขาของกฎหมายออกเป็ น กฎหมาย


เอกชนและกฎหมายมหาชนมีมาตัง้แต่สมัยโรมัน
2. ความคิดเร่ ืองการแบ่งแยกสาขาของกฎหมายออกเป็ นกฎหมาย
เอกชน และกฎหมายมหาชน เห็นได้ชัดในประเทศภาคพ้ืนทวีป
ยุโรป
3. ประเทศอั ง กฤษได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากกฎหมายโรมั น น้ อ ย และ
ประกอบกับ เหตุ อ่ ืน ๆ อีก หลายเหตุ จึ งไม่ ย อมรั บ หลัก การแบ่ ง
แยกสาขาของกฎหมายออกเป็ นกฎหมายเอกชน และกฎหมาย
มหาชนเด็ดขาดจากกัน
4. กฎหมายมหาชนเป็ นกฎหมายท่ีกำาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
หรือหน่วยงานของรัฐกับราษฎร ในฐานะท่ีรัฐเป็ นฝ่ ายปกครอง
ราษฎร
5. กฎหมายมหาชนแบ่ งออกได้ห ลายประเภทตามความเห็ น ของ
นักกฎหมายซ่ ึงอาจแตกต่างกันได้
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
4

6. กฎหมายมหาชนอาจเกิดจากกฎหมายลายลักษณ์อักษร จารีต
ประเพณี หรือทฤษฎีทางวิชาการด้านต่างๆก็ได้

1.1 กำาเนิดแนวความคิดและพัฒนาการของกฎหมายมหาชน
1. ความคิดเร่ ืองการแบ่งแยกสาขาของกฎหมายออกเป็ นกฎหมาย
เอกชน และกฎหมายมหาชนมีมาตัง้แต่สมัยโรมัน
2. กฎหมายมหาชนพัฒนามากในประเทศฝรัง่เศส
3. ในประเทศท่ีใช้ระบบคอมมอนลอว์ ไม่มีการแบ่งแยกสาขาของ
กฎหมายออกเป็ นกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชนเด็ดขาด
จากกัน
4. กฎหมายมหาชนในประเทศไทยยังไม่พัฒนาเท่าท่ีควร

1.1.1กำาเนิดแนวความคิดกฎหมายมหาชน
ความคิ ด ในการแบ่ ง สาขาของกฎหมายออกเป็ น กฎหมาย
เอกชนและกฎหมายมหาชน มีมาตัง้แต่สมัยใด
ความคิ ด ในการแบ่ ง สาขาของกฎหมายออกเป็ นกฎหมาย
เอกชนและกฎหมายมหาชน มีมาตัง้แต่สมัยโรมัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง
สมัยอารยะธรรมโรมันโบราณ เม่ ือประมาณ 500 ปี ก่อน ค.ศ. แต่
ไม่ สู้ จ ะมี ค วามสำา คั ญ นั ก จนกระทั ง่ เม่ ือ อั ล เปี ยน (Ulpian) ได้
อธิบายว่า กฎหมายมหาชนคืออะไร และมีการจัดทำากฎหมายปกครอง
ขึ้นในยุคคลาสสิก จึงได้มีบทบาทสำา คัญขึ้น และเส่ ือมลงอีกครัง้เม่ ือ
สิน้ สมัยของพระเจ้าจักรพรรดิจัสติเนียน

1.1.2พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศภาคพ้ืน
ยุโรป
กฎหมายมหาชนรุ่งเรืองมากในประเทศใด เพราะเหตุใด
กฎหมายมหาชนรุ่งเรืองมากในประเทศฝรัง่เศส เพราะอิทธิพล
ของกฎหมายโรมัน อิทธิพลของปรัชญากฎหมายธรรมชาติ และการ
ปฏิวัติฝรัง่เศสเม่ ือ ค.ศ. 1789 ซ่ ึงเป็ นเหตุให้มีการจัดตัง้สภาแห่งรัฐ
ขึ้นทำาหน้าท่ีเป็ นศาลปกครองสูงสุดในเวลาต่อมา

1.1.3พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศท่ใี ช้ระบบ
คอมมอนลอว์
นั ก กฎหมายคนสำา คั ญ ของอั ง กฤษซ่ ึง มี ส่ ว นทำา ให้ ก ฎหมาย
มหาชนในประเทศนัน ้ พัฒนาช้ากว่าท่ีควรคือใคร
นั ก กฎหมายผู้ นั น
้ คื อ ไดซี ย์ (A.V.Diccy) ซ่ ึง โจมตี ก ารแบ่ ง
สาขาของกฎหมายในฝรัง่เศส และคัดค้านการจัดตัง้ศาลปกครองใน
อังกฤษอย่างรุนแรง
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
5

1.1.4พัฒนาการของกฎหมายมหาชนในประเทศไทย
เหตุ ใ ดกฎหมายมหาชนในประเทศไทยจึ ง พั ฒ นาช้ า กว่ า ใน
ประเทศอ่ ืน
การพัฒนาช้ากว่าในประเทศอ่ ืนเน่ ืองจาก
1. เราเพ่ิงรู้ จัก กฎหมายสาขานี เ้ ม่ ือ ประมาณ 50-60 ปี มานี้
เอง
2. อิทธิพลของกฎหมายอังกฤษ ทำา ให้เราไม่เห็นความจำา เป็ น
ในการแบ่งแยกสาขากฎหมายอย่างในประเทศภาคพ้ืนทวีป
3. เราเพ่ิงมีกฎหมายท่ีพอจะจัดเป็ นกฎหมายมหาชนได้เม่ ือหลัง
เปล่ียนแปลงการปกครองนีเ้อง
4. อิ ทธิ พ ล ทา งก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ห รื อก า ร ป ฏิ วั ติ
รัฐประหาร ทำาให้พัฒนาการของกฎหมายมหาชนชะงักลง
5. อิทธิพลของหลักการแบ่งแยกอำา นาจ ซ่ ึงเรายังเข้าใจไม่ตรง
กัน
6. การจัดการศึกษาวิชากฎหมายในประเทศไทย ไม่เอ้ืออำานวย
ต่อการพัฒนาการของกฎหมายมหาชน

1.2 ความหมายประเภท และบ่อเกิดของกฎหมายมหาชน


1. กฎหมายมหาชนเป็ นกฎหมายท่ีกำาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
หรือหน่วยงานของรัฐกับราษฎร ในฐานะท่ีรัฐเป็ นฝ่ ายปกครอง
ราษฎร
2. กฎหมายมหาชนแบ่ งออกได้ห ลายประเภทตามความเห็ น ของ
นักกฎหมายซ่ ึงอาจแตกต่างกันได้
3. กฎหมายมหาชนเกิ ด จากกฎหมายลายลั ก ษณ์ อั ก ษร จารี ต
ประเพณี และทฤษฎีทางวิชาการด้านต่างๆ

1.2.1ความหมายของกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชนคืออะไร
กฎหมายมหาชนคือ กฎหมายท่ีกำา หนดความสัมพันธ์ระหว่าง
รั ฐ หรื อ หน่ ว ยงานของรั ฐ กั บ ราษฎรในฐานะท่ีรั ฐ เป็ น ฝ่ ายปกครอง
ราษฎร

1.2.2ประเภทของกฎหมายมหาชน
กฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาความแพ่ ง เป็ นกฎหมายเอกชน หรื อ
กฎหมายมหาชน
เป็ นท่ีถกเถียงกันมาตลอดว่า กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เป็ นกฎหมายเอกชนหรือกฎหมายมหาชน แต่ ถ้า พิจารณาในแง่ท่ีว่ า
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
6

ตามกฎหมายนีใ้ห้อำา นาจรัฐเหนือราษฎรในทุกทาง และมีบทบัญญัติ


เก่ียวกับพยานอยู่ด้วย จึงถือว่าเป็ นกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชนโดยแท้หรือแบบท่ีถือกันมาแต่เดิมได้แก่
(1)รัฐธรรมนูญและกฎหมายอ่ ืนในลักษณะเดียวกัน เช่นพระ
ราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน
(2)กฎหมายประกอบรั ฐ ธรรมนู ญ เช่ น กฎหมายเลื อ กตั ง้
สมา ชิ ก สภ า ผู้ แ ทนร าษ ฎร ก ฎห ม า ย พร ร ค ก า ร เมื อ ง
กฎหมายเก่ียวกับการออกเสีย งแสดงประชามติ กฎหมาย
เก่ียวกับวิธีพิจารณาของตุลาการรัฐธรรมนูญ
(3)กฎหมายปกครอง ได้แก่กฎหมายท่ีวางหลักการจัดระเบียบ
การปกครองโดยตรง กฎหมายท่ก ี ำา หนดรายละเอียดเก่ีย ว
กับการบริหารงาน เช่นกฎหมายภาษีอากร กฎหมายเก่ียว
กับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม กฎหมายแรงงาน
(4)กฎหมายการคลัง เช่นกฎหมายงบประมาณ กฎหมายเงิน
ตรา
กฎหมายมหาชนท่ีจัดเพ่ิมใหม่เม่ ือไม่นานมานีไ้ด้แก่
(1)กฎหมายอาญา ซ่ ึงรวมประมวลกฎหมายอาญา ประมวล
กฎหมายอาญาทหาร
(2)กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รวมถึงวิธีพิจารณาความ
ในศาลคดีเด็กและเยาวชน
(3)กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ซ่ ึงรวมกฎหมายล้มละลาย
(4)กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม
(5)กฎหมายเศรษฐกิจ

1.2.3บ่อเกิดของกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชนมีท่ีมา หรือบ่อเกิดจากแหล่งใดบ้าง
กฎหมายมหาชนมีท่ีมาจาก
(1)กฎหมายลายลักษณ์อักษร
(2)กฎหมายท่ีมิได้บัญญัติขึ้นเป็ นลายลักษณ์อักษร
นอกจากนีย้ ังมีบ่อเกิดจากทฤษฎีการเมือง การปกครอง และ
การคลังอีกด้วย

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 1
1. กฎหมายแพ่ง จัดเป็ นกฎหมายเอกชน
2. กฎหมายรัฐธรรมนูญ จัดเป็ นกฎหมายมหาชน
3. กฎหมายมหาชนมีมาตัง ้ แต่สมัยอารยธรรม โรมันโบราณ
4. กฎหมายมหาชนอาจเกิ ด จาก (ก) ตั ว บทกฎหมาย (ข) จารี ต
ประเพณี (ค) คำาพิพากษาศาล (ง) ทฤษฎีต่างๆ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
7

5. ผู้ ท่ีอ ธิบ ายความหมายของกฎหมายมหาชนไว้ อ ย่ า งชั ด เจนคน


แรกคือ อัลเปี ยน (Alpian)
6. กลุ่ ม ท่ีศึ ก ษากฎหมายโรมั น และค้ น พบว่ า ในสมั ย ก่ อ นก็ มี การ
แบ่งสาขาของกฎหมายออกเป็ นกฎหมายมหาชนแล้วคือ กลุ่ม
กลอสซาเดอร์ (Glossator)
7. กฎหมายมหาชนพัฒนาไปมากใน ประเทศภาคพ้ืนทวีป
8. ผู้ ตั ง้ ก อ ง เ ซ ย เ ด ต า ท์ (Conseil d’Etat) ขึ้ น ใ น ป ร ะ เ ท ศ
ฝรัง่เศสคือ นโปเลียน (Napolian)
9. ห น่ ว ย ง า น ท ่ีมี ส่ ว น ใ น ก า ร พั ฒ น า ก ฎ ห ม า ย ม ห า ช น ใ น
ประเทศไทยมีหลายหน่วยงาน แต่ท่ีนับว่าสำา คัญท่ีสุดในท่ีนีค ้ ือ
สำานักคณะกรรมการกฤษฎีกา
10. กฎหมายมหาชน รุ่งเรืองมากในประเทศ ฝรัง ่ เศส
11. นักกฎหมายผู้ท่ีทำาให้กฎหมายมหาชนพัฒนาได้ช้า คือ ไดซีย์
12. ในประเทศไทยเรารู้จักกฎหมายมหาชนมาตัง ้ แต่ สมัยรัชกาลท่ี
6
13. นั ก กฎหมายบางคนถื อ ว่ า กฎหมายระหว่ า งประเทศเป็ น
กฎหมายมหาชน
14. บุ ค คลสำา คั ญ ท่ีทำา ให้ ก ฎหมายเอกชนพั ฒ นาไปมากคื อ พระเจ้ า
จักรพรรดิจัสติเนียน
15. ปรัชญากฎหมายท่ีทำา ให้กฎหมายมหาชนพัฒนาไปเป็ นอันมาก
คือ ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ
16. กฎหมายไทยจั ด อยู่ ใ นระบบกฎหมาย โรมาโน -เยอร์ ม านิ ค
(Romano-Germanic)
หน่วยท่ี 2 ปรัชญารากฐานในกฎหมายมหาชน

1. ปรั ช ญากฎหมายและการเมื อ งมี ส่ ว นในการทำา ให้ ก ฎหมาย


มหาชนพัฒนาไปมาก
2. ปรัชญารากฐานสำา คัญในทางกฎหมายมหาชน ได้แก่ปรัชญาว่า
ด้วยรัฐ และปรัชญาว่าด้วยอำานาจอธิปไตย
3. การแบ่งแยกอำานาจหมายถึง การมอบอำานาจอธิปไตยให้องค์กร
ต่างๆ แยกกันทำาหน้าท่ีตามความจำาเป็ น

2.1 นักปรัชญาสำาคัญบางคนท่ีมีอิทธิพลต่อกฎหมายมหาชน
1. กฎหมายมหาชนไม่เพียงแต่เป็ นเร่ ืองในทางนิติศาสตร์เท่านัน

แต่ต้องอาศัยหลักวิชารัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ตลอดจน
ปรัชญาด้วย
2. ปรัชญากฎหมายธรรมชาติมีส่วนทำา ให้กฎหมายมหาชนพัฒนา
ไปเป็ นอันมาก
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
8

3. นั ก ปรั ช ญาสมั ย ก่ อ นไม่ สู้ พ อใจสภาพสั ง คมในสมั ย ตนจึ ง มั ก


เสนอให้แก้ไขสภาพสังคมเสียใหม่ หรือมิฉะนัน ้ ก็สมมติสังคม
ใหม่ในอุดมคติของตนขึ้น

2.1.1บทบาทของนักปรัชญาในการพัฒนากฎหมายมหาชน
นักปรัชญามีบทบาทในการพัฒนากฎหมายมหาชนอย่างไร
กฎหมายมหาชนไม่ ไ ด้ เ กิ ด จากตั ว บทกฎหมายใดโดยเฉพาะ
หากแต่ พั ฒ นาไปตามความคิ ด นั ก ปรั ช ญากฎหมายในแต่ ล ะสมั ย
ปรัชญาของใครมีผู้เห็นด้วยก็เอาไปใช้เป็ นรากฐานในการจัดทำา ตัวบท
กฎหมายมหาชน เช่น ทฤษฎีการแบ่งแยกอำา นาจของมองเตสกิเออ
ทฤษฎีการจัดรูปแบบองค์กรวินิจฉัยว่ากฎหมายขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่
ของเคลเซ่น เป็ นต้น

2.1.2นักปรัชญาสมัยกรีก
นักปรัชญาในสมัยกรีก
(1)โสกราติส ปรัชญาเมธีชาวกรีกผู้ย่ิงใหญ่ มีชีวิตอยู่ประมาณ
469 ถึง 399 ปี ก่อน ค.ศ.
(2)เปลโต้ มีชีวิตอยู่ระหว่าง 427 ถึง 327 ปี ก่อน ค.ศ.
(3)อริ ส โตเติ ล มี ชี วิ ต อยู่ เ ม่ ือ 384 ถึ ง 322 ปี ก่ อ น ค.ศ.
เป็ นบิดาแห่งรัฐศาสตร์

2.1.3นักปรัชญาสมัยโรมัน
สมัยท่ีโรมันรุ่งเรืองขึ้นแทนท่ีกรีก
(1)ซิเซโร่ (106 ปี ก่อน ค.ศ.)
(2)นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป (354)

2.1.4นักปรัชญาสมัยกลาง
สมัยกลางเร่ิมตัง้แต่ ค.ศ. 476
(1)จอห์นแห่งซอสเบอรี (1120)
(2)นักบุญโธมัส อไควนัส (1230)

2.1.5นักปรัชญาสมัยฟ้ืนฟูศิลปวิทยา
นั ก ปรั ช ญาสำา คั ญ สมั ย ฟ้ืน ฟู ศิ ล ปะวิ ท ยา (ปี ค.ศ. เกิ ด ใน
วงเล็บต่อท้าย)
(1)ฌอง โบแดง (1529)
(2)โธมัส ฮอบส์ (1588)

2.1.6นักปรัชญาหลังสมัยฟ้ืนฟูศิลปะวิทยา
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
9

นักปรัชญาท่ีสำาคัญสมัยหลังฟ้ืนฟูศิลปะวิทยา
(1)เจมส์ แฮริงตัน ชาวอังกฤษ ปี 1611 -1677
(2)จอห์น ล้อค ชาวอังกฤษ ปี 1632-1704
(3)เอ็ดมัน เบอร์ค ปี 1729-1797
(4)เจเรมี แบนเธม ชาวอังกฤษ ปี 1748-1832
(5)อัลเบิร์ต เวนน์ ไดซีย์ ชาวอังกฤษ ปี 1835-1922
(6)มองเตสกิเออ ชาวฝรัง่เศส 1689-1755
(7)ฌอง ฌาคส์ รุสโซ่ ชาวสวิส ปี 1712-1778
(8)โธมัส เจฟเฟอร์สัน ชาวเวอร์จิเนีย ปี 1743-1826
(9)จอห์น มาร์แชล เกิดในอเมริกา ปี 1755-1835
(10)คาร์ล มาร์ก เป็ นชาวยิวเกิดในเยอรมัน ปี 1818-1883
(11)ฮันส์ เคลเส้น ชาวเช็ก ปี 1881-19**

2.2 ปรัชญาว่าด้วยรัฐ
1. ทฤษฎีอธิบายกำาเนิดของรัฐมีหลายทฤษฎี แต่ท่ีนับว่านิยมอ้าง
กันมากท่ีสุด คือทฤษฎีวิวัฒนาการของอริสโตเติล ซ่ ึงเช่ ือว่ารัฐ
เกิดจากวิวฒั นาการทางการเมืองของมนุษย์
2. ดิ น แดน ประชากร อำา นาจอธิ ป ไตย และรั ฐ บาล เป็ นองค์
ประกอบทางการเมืองของรัฐ
3. รัฐท่ียกย่องหรือนับถือกฎหมายเป็ นหลักของบ้านเมืองเรียกว่า
นิติรัฐ
4. หลักนิติธรรม เป็ นหลักสำาคัญของนิติรัฐ ซ่ ึงทำาให้เกิดความเป็ น
ระเบียบเรียบร้อยและความเป็ นธรรมในสังคม

2.2.1วิวัฒนาการแนวคิดเร่ ืองกำาเนิดของรัฐ
อริสโตเติลอธิบายเร่ ืองกำาเนิดของรัฐว่าอย่างไร
อริสโตเติลเรียกว่า Polis อันหมายถึงระเบียบองค์ การขัน ้ สู ง
ของประชาคมและอธิ บายว่า รัฐเกิด จากวิวั ฒนาการในทางการเมื อง
ของมนุษย์ โดยเร่ิมจากการอยู่เป็ นกลุ่มเล็กๆ แล้วขยายตัวใหญ่ขึ้นจน
เป็ นสั ง คมเผ่ า พั น ธุ์ และในท่ีสุ ด ก็ ก ลายเป็ นนครหลายนคร เป็ น
จักรวรรดิ รัฐจึงเกิดจากมนุษย์นัน ่ เอง

2.2.2องค์ประกอบของรัฐ
รัฐเป็ นนิติบุคคลหรือไม่
ในแง่ ก ฎหมายเอกชน รั ฐ จะเป็ นนิ ติ บุ ค คลหรื อ ไม่ ขึ้ น อยู่ กั บ
กฎหมายเอกชนของแต่ละรัฐเอง ข้อนีอ ้ ธิบายได้ว่ารัฐไม่ใช่นิติบุคคล
ตามกฎหมายเอกชนของไทยและประเทศใดๆ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


10

ในแง่ก ฎหมายระหว่างประเทศ ซ่ ึงเป็ น กฎหมายมหาชนตาม


ความหมายและการจั ด ประเภทแนวหน่ ึง รั ฐ เป็ น นิ ติ บุ ค คล แต่ ใ นแง่
กฎหมายมหาชนทั ว่ ไป เช่ น กฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ และกฎหมาย
ปกครอง รัฐจะเป็ นนิ ติบุคคลหรือไม่ ขึ้นอยู่กับกฎหมายมหาชนของ
แต่ละรัฐ ข้อนีอ
้ ธิบายได้ว่ารัฐไม่ใช่นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนของ
ไทยและประเทศใดๆ

2.2.3นิติรัฐ
อธิบายแนวคิดเร่ ืองนิติรัฐ
นิติรัฐ หมายถึงรัฐท่ียอมอยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย หลักนี้
ให้ความคุ้มครองของประชาชน ว่าการดำาเนินงานใดๆ ก็ตามของรัฐจะ
ต้องเป็ นไปตามกฎหมายมิใช่อำาเภอใจของผู้ปกครองประเทศ

2.3 ปรัชญาว่าด้วยอำานาจอธิปไตย
1. ในปั จจุ บั น ถื อ ว่ า อำา นาจอธิ ป ไตยเป็ นของชาติ ห รื อ เป็ นของ
ประชาชน
2. อำา นาจอธิปไตยมีลักษณะเด็ด ขาด ครอบคลุม ทัว่ ไป ถาวรและ
แบ่งแยกกันเป็ นเจ้าของไม่ได้
3. เดิมถือว่าการแบ่งแยกอำา นาจ คือการแบ่งแยกออกเป็ นอำา นาจ
นิ ติ บั ญ ญั ติ อำา นาจบริ ห าร และอำา นาจตุ ล าการ ปั จจุ บั น ถื อ ว่ า
เป็ นการแบ่งแยกหน้าท่ีกันทำาโดยองค์กรต่างๆ ซ่ ึงไม่จำาเป็ นต้อง
มี 3 องค์กรเสมอไป

2.3.1ความหมายและเจ้าของอำานาจอธิปไตย
อำานาจอธิปไตยเป็ นของใคร
มีทฤษฎีท่ีอธิบายถึงความเป็ นเจ้าของอำา นาจอธิปไตยอยู่หลาย
ทฤษฎีคือ
(1)อำานาจอธิปไตยเป็ นของพระผู้เป็ นเจ้า
(2)อำานาจอธิปไตยเป็ นของพระสันตะปาปา
(3)อำานาจอธิปไตยเป็ นของพระมหากษัตริย์
(4)อำานาจอธิปไตยเป็ นของชาติ
(5)อำานาจอธิปไตยเป็ นของประชาชน
ในปั จจุบันถือตามทฤษฎีท่ี 4 และ 5 ซ่ ึงสอดคล้องกับระบอบ
การปกครองแบบประชาธิปไตยย่ิงกว่าทฤษฎีอ่ืน

2.3.2ลักษณะของอำานาจอธิปไตย
อำานาจอธิปไตยเก่ียวพันกับรัฐอย่างไร

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


11

อำา นาจอธิปไตยเป็ นองค์ประกอบประการหน่ ึงของรั ฐ ถ้าไม่มี


อยู่ในสังคมใด สังคมนัน้ ก็ไม่เรียกว่ารัฐ อำานาจอธิปไตยนัน
้ ไม่อาจถูก
แบ่งแยกกันออกเป็ นหลายเจ้าของได้ ถ้าแบ่งกันเป็ นเจ้าของรัฐเดิมก็
สูญสลายหรือต้องแยกออกเป็ นสองรัฐ เช่น เกาหลีต้องแบ่งออกเป็ น
เกาหลีเหนือและใต้ เป็ นต้น

2.3.3การแบ่งแยกอำานาจ
ทฤษฎี การแบ่งแยกอำา นาจ หรือการแบ่งแยกหน้ า ท่ีเป็ น แนว
ความคิดท่ีต้องการสนับสนุนหรือโต้แย้งหลักการใด
ทฤษฎีนีต ้ ้องการสนับสนุนหลักการท่ีว่า สมาชิกในสังคมควร
แบ่งงานหรือแบ่งหน้าท่ีกันทำา เพ่ ือจะได้มีหลักประกันว่าจะไม่ถูกรังแก
โดยอำานาจเผด็จการของผู้ใด กล่าวอีกนัยหน่ ึง ทฤษฎีนีต ้ ้องการโต้แย้ง
หลักการรวมอำานาจหรือการตัง้ตนเป็ นเผด็จการนัน ่ เอง

2.3.4รูปแบบของการใช้อำานาจอธิปไตย
ประเทศไทยจัดรูปแบบของการใช้อำานาจอธิปไตยอย่างไร
ประเทศไทยจัดรูปแบบของการใช้อำานาจอธิปไตยโดยแบ่งแยก
องค์ ก รซ่ ึง ทำา หน้ า ท่ีต่ า งๆ ออกจากกั น เป็ น 3 องค์ ก รคื อ องค์ ก ร
นิติบัญญัติ องค์กรบริหาร และองค์กรตุลาการ แต่ให้เก่ียวข้องกันได้
ดังท่ีเรียกว่าระบบรัฐสภา ซ่ ึงมีใช้อยู่ในอังกฤษ ญ่ป ี ่ ุน เป็ นต้น

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 2
1. นักกฎหมายท่ีได้รับการยกย่องมากในทางกฎหมายมหาชนคือ
มองเตสกิเออ (Montesquieu)
2. บิดาแห่งรัฐศาสตร์คือ อริสโตเติล
3. คำาท่ีใช้เรียกความเป็ นอันหน่ ึงอันเดียวกันในทางวัฒนธรรม
และมีความผูกพันกับในทางสายเลือด ภาษา ศาสนา
วัฒนธรรม เรียกว่า ชาติ
4. ความคิดว่าประเทศควรเป็ นนิติรัฐมีมาตัง ้ แต่สมัย กรีก
5. ปั จจุบันนี ผ ้ ู้ ชาติ
เป็ นและ
เจ้าของอำานาจอธิปไตยคือ
ประชาชน
6. องค์กรผู้ใช้อำานาจนิติบัญญัติของไทย คือ รัฐสภา
7. รัฐธรรมนูญไทยถือว่า ศาลทหารเป็ นองค์กรผู้ใช้อำานาจ ตุลาการ
8. ระบบรัฐบาลไทยใกล้เคียงกับระบบรัฐบาลของประเทศ อังกฤษ
9. บุคคลสำาคัญท่ีอธิบายเร่ ืองการแบ่งแยกอำานาจ คือ มองเตสกิ
เออ (Montesquieu)
10. ปรัชญากฎหมายท่ีมีส่วนทำาให้กฎหมายมหาชนพัฒนาไปมากคือ
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
12

11. นักปรัชญาคนสำาคัญในสมัยฟ้ืนฟูศิลปะวิทยา คือ โบแดง ฮอบส์


(Bodin Hobs)
12. องค์ประกอบสำาคัญของรัฐคือ อำานาจอธิปไตย
13. รัฐท่ีเคารพในหลักนิติธรรม เรียกว่า นิติรัฐ
14. บุคคลสำาคัญท่ีอธิบายว่าอำานาจอธิปไตยเป็ นของชาติหรือ
ประชาชนคือ รัสโซ (Rousseau)
15. วรรณกรรมเร่ ืองสำาคัญท่ีเก่ียวข้องกับเร่ ืองอำานาจอธิปไตยเป็ น
ของประชาชน คือ สัญญาประชาคม
16. บุคคลสำาคัญท่ีอธิบายเร่ ืองการแบ่งแยกอำานาจ คือ มองเตสกิ
เออ
17.ระบบรัฐบาลของไทยต่างกับระบบรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา
มากท่ีสุด
18. ศาลทหารใช้อำานาจอธิปไตยอำานาจ ตุลาการ
19. คณะรัฐมนตรี เป็ นองค์กรท่ีใช้อำานาจบริหาร

----------------------------

หน่วยท่ี 3 ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ

1. รัฐธรรมนูญมีความหมายต่างกับ กฎหมายรัฐธรรมนูญ
2. ประเทศจำาเป็ นต้องมีรัฐธรรมนูญ ด้วยเหตุผลทางนิติศาสตร์และ
ทางการเมือง
3. รัฐธรรมนูญเก่ียวพันกับอำานาจสำาคัญสองอำานาจ คือ อำานาจการ
จัดให้มีและอำานาจการจัดทำารัฐธรรมนูญ
4. รัฐธรรมนูญไทยจัดอยู่ในประเภทแก้ไขยาก
5. การแก้ไขต่างกับการยกเลิกรัฐธรรมนูญ
6. รั ฐ ธรรมนู ญ ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรมี โ ครงร่ า งคล้ า ยๆกั น คื อ มี คำา
ปรารภ และเน้ือความท่ีว่าด้ว ยกฎเกณฑ์การปกครองประเทศ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


13

สิ ท ธิ เ สรี ภ าพ การแก้ ไ ข ความเป็ นกฎหมายสู ง สุ ด หน้ า ท่ี


พลเมือง และแนวนโยบายแห่งรัฐ
7. ประเทศไทยเป็ นรัฐเด่ียว
8. การมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุขก็เป็ นประชาธิปไตยได้

ประวัตริ ัฐธรรมนูญ
1. รัฐธรรมนูญกับกฎหมายรัฐธรรมนูญมีความหมายแตกต่างกัน
2. “รัฐธรรมนูญ” เป็ นกฎหมายท่ีกำาหนดระเบียบหรือกฎเกณฑ์ใน
การปกครองประเทศ
3. รัฐธรรมนูญแบ่งออกได้เป็ นหลายประเภทสุดแต่จะถือเอาเกณฑ์
ใดเป็ นแนวแบ่งแยก

ความหมายของรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญต่างกับกฎหมายรัฐธรรมนูญออย่างไร
รัฐธรรมนูญคือ กฎหมายท่ีวางระเบียบหรือกฎเกณฑ์ท่ีเก่ียวกับ
รั ฐ กล่าวคือ ว่าด้ วยดิ นแดน ประชากร อำา นาจอธิปไตย และรั ฐบาล
ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรต่างๆ ท่ก ี ำาหนดขึ้นเพ่ ือทำาหน้าท่ี
แบ่ งแยกกั น ออกไป โดยปกติ แล้ ว รั ฐธรรมนู ญต้ อ งตราขึ้ น เป็ น ลาย
ลักษณ์อักษร ส่วนกฎหมายรัฐธรรมนูญคือ กฎหมายท่ีว่าด้วยสถาบัน
การเมื อ งต่ า งๆ ในรั ฐ ซ่ ึง รวมทั ง้รั ฐ ธรรมนู ญกฎมลเฑี ย รบาล จารี ต
ประเพณี ทางการเมือ งและกฎหมายอ่ ืน ๆ ด้ว ย ด้ว ยเหตุ นี ก ้ ฎหมาย
รั ฐ ธรรมนู ญ อาจไม่ เ ป็ นลาย ลั ก ษ ณ์ อั กษรก็ ไ ด้ เช่ น กฎหมาย
รัฐธรรมนูญของอั งกฤษ หรือแม้แต่จารีตประเพณีทางการเมือ งของ
ไทย เป็ นต้น

ประวัติแนวคิดในการจัดทำารัฐธรรมนูญ
สั ง คมใดท่ีไ ม่ มี ก ารแบ่ ง แยกอำา นาจสั ง คมนั น
้ หาได้ ช่ ือ ว่ า มี
รัฐธรรมนูญไม่ หมายความว่าอย่างไร
ข้ อ ความดั ง กล่ า วมาจาก ข้ อ 16 ของปฏิ ญ ญาว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ
มนุ ษ ย์ แ ละราษฎรของฝรั ง่ เศส ซ่ ึง เป็ นการให้ ค วามหมายของ
รั ฐธรรมนู ญไว้ ว่า จะเป็ น ธรรมนู ญ ได้ ต้ อ งยอมรั บ หลั ก การแบ่ ง แยก
อำานาจตามทฤษฎีของมองเตสกิเออ ความเช่ ือท่ีแพร่หลายอยู่ในสมัย
ท่ีสามของประวัติแนวความคิดดังในการจัดทำารัฐธรรมนูญ แต่ปัจจุบัน
ความเช่ ือนีผ
้ ่อนคลายลงมากแล้ว

ประเภทของรัฐธรรมนูญ
ท่ีกล่าวว่า “รัฐธรรมนูญแบ่งออกตามวิธีการแก้ไขได้สองแบบ
คือ แบบแก้ไขง่ายและแบบแก้ไขยาก” เข้าใจว่าอย่างไร
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
14

เป็ น การแบ่ ง แยกโดยถื อ วิ ธี ก ารแก้ ไ ขเป็ น เกณฑ์ ซ่ ึง อาจแบ่ ง


ออกเป็ นอย่างอ่ ืนได้อีกหากจะถือเกณฑ์อ่ืนท่ีว่าแก้ไขง่าย หมายความ
ว่ากฎเกณฑ์ในการแก้ไขค่อนข้างสะดวกเอ้ือต่อการแก้ไขใกล้เคียงกับ
การแก้ ไ ขกฎหมายธรรมดา ส่ ว นท่ีว่ า แก้ ไ ขยาก หมายความว่ า กฎ
เกณฑ์ในการแก้ไขค่อนข้างเคร่งครัด ยุ่งยาก ใช้เวลานาน ต้องอาศัย
มติข้างมาก นับว่ายากแก่การแก้ไขกฎหมายธรรมดา

การจัดทำารัฐธรรมนูญ
1. ผู้จัดให้มีรัฐธรรมนูญขึ้นมักเป็ นผู้มีอำานาจทางการเมือง หรืออยู่
ในฐานะรัฎฐาธิปัตย์
2. การจัดทำา รัฐธรรมนูญอาจทำา โดยบุคคลคนเดียว หรือหลายคน
หรือจัดทำาโดยสภาในช่ ือต่างๆกันก็ได้
3. การจัดทำา รัฐธรรมนูญท่ีสอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตยควร
ให้ประชาชน มีส่วนร่วมอย่างใดอย่างหน่ ึงด้วย
4. รั ฐ ธรรมนู ญ ท่ีดี ไ ม่ ค วรมี ข้อ ความยาวและมี ห ลายมาตราเกิ น ไป
นัก รายละเอียดต่างๆ จึงมักไปกำาหนดไว้ในกฎหมายอ่ ืนซ่ ึงเรียก
ว่า “กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ”
5. รั ฐ ธรรมนู ญ ไทยมี ทั ง้ สิ น ้ 20 ฉบั บ แต่ ถ้ า นั บ เฉพาะฉบั บ ท่ี
สำาคัญจะมีเพียง 13 ฉบับ

อำานาจการจัดให้มีรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญเกิดจากอำา นาจสำา คัญสองประการคือ อำา นาจการ
จัดให้มีและอำานาจการจัดทำารัฐธรรมนูญ หมายความว่าอย่างไร
หมายความว่ารัฐธรรมนูญจะต้ องเกิดจากความคิดและการจัด
ทำา ของผู้ อ ยู่ ใ นฐานะต่ า งกั น อย่ า งไรก็ ต ามในบางครั ง้ ผู้ คิ ด ให้ มี
รัฐธรรมนูญขึ้นกับผู้จัดทำา อาจเป็ นคนเดียวกันได้ เช่น ผู้เป็ นหัวหน้า
ในการปฏิวัติท่ียกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใช้ด้วย แม้กฎหมายอ่ ืน เช่น พระ
ราชบั ญญั ติย า พระราชบั ญญั ติโ รงรั บจำา นำา ก็ ถือ ว่ า เกิ ด จากความคิ ด
และการจัดทำาของผู้มีอำานาจต่างกัน

อำานาจการจัดทำารัฐธรรมนูญ
การจัดทำา รัฐธรรมนูญโดยคนเพียงคนเดียว และโดยคนหลาย
คน อย่างไรจะดีกว่ากัน
การจัดทำาเพียงคนๆเดียวจะทำาได้เร็วแต่ไม่รอบครอบรัดกุม การ
จัดทำาโดยคนหลายคนจะดีกว่าและมักทำาความพอใจให้แก่คนทัว่ไปได้
ดี ก ว่ า การจั ด ทำา โดยคนเพี ย งคนเดี ย ว เร่ ือ งเช่ น นี จ้ึ ง ขึ้ น อยู่ กั บ
สถานการณ์ และลักษณะของรัฐธรรมนูญ เช่น ถ้าเป็ นฉบับชัว่คราว

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


15

อาจทำา โดยคนเพี ย งคนเดี ยว แต่ถ้า เป็ นฉบับถาวรควรจัดทำา โดยสภา


นิติบัญญัติหรือสภาร่างรัฐธรรมนูญ

การจัดทำารัฐธรรมนูญ
ประชาชนจะมีส่วนร่วมในการจัดทำารัฐธรรมนูญได้อย่างไรบ้าง
อาจได้รับการเลือกตัง้หรือแต่ตัง้ เข้าไปมีส่วนร่วมในการยกร่าง
หรือพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ นอกจากนีป ้ ระชาชนอาจมีส่วนร่วมโดย
การแสดงความคิดเห็นติชม หรือออกเสียงแสดงประชามติกไ็ ด้

กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
การแยกบางเร่ ืองมาบัญญัติไว้ในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
แทนท่ีจะบัญญัติลงไว้ในรัฐธรรมนูญ มีประโยชน์อย่างไร
มีประโยชน์ดังนี้
(1)ทำาให้การร่างรัฐธรรมนูญซ่ ึงเป็ นหลักใหญ่สำาเร็จได้รวดเร็ว
(2)ทำาให้รัฐธรรมนูญมีข้อความน้อยจดจำาได้ง่าย
(3)ทำา ให้การแก้ไขกฎเกณฑ์รายละเอียดในกฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญเป็ นไปได้ง่าย เพราะกฎหมายประเภทนีแ ้ ก้ไขได้
ง่ายกว่ารัฐธรรมนูญ
(4)ทำา ให้ ว างรายละเอี ย ดเก่ีย วกั บ กฎเกณฑ์ ก ารปกครองได้
เหมาะสมกับสถานการณ์บา้ นเมืองเป็ นคราวๆ ไป

รัฐธรรมนูญไทย
รัฐธรรมนูญไทยฉบับใดท่ีได้ช่ือว่าเป็ นประชาธิปไตยท่ีสุด
โดยทั ว่ ไปแล้ ว ถื อ ว่ า รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ พ.ศ. 2489 เป็ น
ประชาธิ ปไตยมากในเร่ ือ งของการให้ ป ระชาชนเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มกั บ
ทางการเมือง ส่วนรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2492 และ พ.ศ. 2517
เป็ นประชาธิปไตยมากในเร่ ืองการจัดทำาและการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
ของพลเมือง

การแก้ไขและการยกเลิกรัฐธรรมนูญ
1. รัฐธรรมนูญมีทัง้ประเภทท่ีแก้ไขยากและแก้ไขง่าย รัฐธรรมนูญ
ไทยจัดอยู่ในประเภทแก้ไขยาก
2. การยกเลิ ก รั ฐธรรมนู ญ อาจทำา ตามวิ ถีท างรั ฐ ธรรมนู ญหรื อ ทำา
นอกวิถีทางรัฐธรรมนูญก็ได้
3. การยกเลิ ก รั ฐ ธรรมนู ญ โดยผลจากการปฏิ วั ติ ห รื อ รั ฐ ประหาร
เป็ นการยกเลิกรัฐธรรมนูญนอกวิถีทางรัฐธรรมนูญ
4. การปฏิวัติกับการรัฐประหารมีความหมายในทางทฤษฎีแตกต่าง
กัน
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
16

การแก้ไขรัฐธรรมนูญ
จะกำาหนดข้อห้ามการแก้ไขไว้ในรัฐธรรมนูญได้หรือไม่
จะห้ า มการแก้ ไ ขรั ฐ ธรรมนู ญ โดยเด็ ด ขาดคงทำา ไม่ ไ ด้ และจะ
เป็ นการยัว่ยุให้ผู้ป ระสงค์จ ะขอแก้ ไขรัฐธรรมนูญเปล่ีย นเป็ นยกเลิ ก
รั ฐ ธรรมนู ญ แทน แต่ อ าจกำา หนดข้ อ ห้ า มการแก้ ไ ขรั ฐ ธรรมนู ญ บาง
มาตรา หรือบางหลักการในรัฐธรรมนูญได้ดังท่ีปรากฏในรัฐธรรมนูญ
บางประเทศ เช่น ตุรกี เยอรมันตะวันตก

การยกเลิกรัฐธรรมนูญ
การปฏิวัติกับการรัฐประหารมีความหมายในทางทฤษฎีต่างกัน
อย่างไร
การปฏิวัติหมายถึงการเปล่ียนแปลงทางการเมืองโดยยึดอำานาจ
การปกครองอย่ า งฉั บ พลั น ทั น ใด มี ก ารใช้ กำา ลั ง บั ง คั บ และจั ด ตั ง้
ระบอบการปกครองหรื อ ระบบการเมื อ งขึ้ น ใหม่ โดยทั ว่ ไปแล้ ว การ
ปฏิวัติจะอาศัยกำา ลังจากทุกฝ่ ายร่วมกัน ส่วนการรัฐประหาร (Coup
d’ Etat) หมายถึ ง การเปล่ีย นแปลงรั ฐ บาลโดยการยึ ด อำา นาจการ
ปกครองอย่างฉับพลันทันใด มีการใช้กำา ลังบังคับ แต่มิได้ตัง้ระบอบ
การปกครองหรือระบบการเมืองขึ้นใหม่ คงมีแต่การจัดตัง้รัฐบาลใหม่
เท่านัน

โครงร่างของรัฐธรรมนูญ
1. โดยทัว่ไปรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรประกอบด้วยส่วนท่ีเป็ น
คำาปรารภ และส่วนท่ีเป็ นเน้ือความของรัฐธรรมนูญ
2. ส่ ว นท่ีเ ป็ นเน้ือ ความของรั ฐ ธรรมนู ญ ได้ แ ก่ กฎเกณฑ์ การ
ปกครองประเทศ สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชน กฎเกณฑ์ ก าร
แก้ ไ ขรั ฐ ธรรมนู ญ ความเป็ นกฎหมายสู ง สุ ด หน้ า ท่ีพ ลเมื อ ง
แนวนโยบายแห่งรัฐ และอาจมีบทเฉพาะกาลด้วยก็ได้

คำาปรารภของรัฐธรรมนูญ
การร่างรัฐธรรมนูญโดยไม่มีคำาปรารภได้หรือไม่
ได้ รั ฐ ธรรมนู ญ บางประเทศก็ ไ ม่ มี คำา ปรารภ แต่ คำา ปรารภมี
ประโยชน์ดังนีค้ ือ
(1)ช่วยให้รัฐธรรมนูญสละสลวยขึ้น
(2)ช่วยในการตีความบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
(3)ช่วยให้ทราบประวัติการเมืองของประเทศนัน ้
(4)ช่วยให้ทราบประวัติการจัดทำารัฐธรรมนูญฉบับนัน ้

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


17

(5)บทบั ญ ญั ติ บ างเร่ ือ งอาจบั ญ ญั ติ ไ ว้ ท ่ีอ่ ืน ไม่ ไ ด้ ก็ อ าจนำา มา


บัญญัติไว้ในคำาปรารภ
ด้ ว ยเหตุ นี ร้ั ฐ ธรรมนู ญ ของประเทศทั ง้ หลายจึ ง นิ ย มร่ า งคำา
ปรารภไว้ในรัฐธรรมนูญ

เน้ือความของรัฐธรรมนูญ
นอกจากกฎเกณฑ์การปกครองประเทศแล้ว รัฐธรรมนูญมักมี
เน้ือความว่าด้วยเร่ ืองอะไร
นอกจากกฎเกณฑ์ การปกครองประเทศแล้ว รัฐธรรมนูญอาจ
กำาหนดบทบัญญัติเก่ียวกับสิทธิเสรีภาพของประชาชน กฎเกณฑ์การ
แก้ไขเพ่ิมเติมความเป็ นกฎหมายสูงสุด หน้าท่ีพลเมือง แนวนโยบาย
แห่งรัฐและอาจมีบทเฉพาะกาลด้วยก็ได้ (ถ้าจำาเป็ น)

รูปของรัฐและรูปแบบของประมุขของรัฐ
1. รูปแบบของรัฐมีทัง้ท่ีเป็ นรัฐเด่ียวและรัฐรวม
2. รูปแบบของรัฐมีส่วนสัมพันธ์กับบทบัญญัติอ่ืนๆ ในรัฐธรรมนูญ
ซ่ ึงต้องร่างให้สอดคล้องกัน
3. ประเทศไทยเป็ นรัฐเด่ียว
4. รูปแบบประมุขของรัฐท่ีมีทัง้ประธานาธิบดีและพระมหากษัตริย์
5. การมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุขก็เป็ นประชาธิปไตยได้

รูปแบบของรัฐ
ท่ีว่ารัฐธรรมนูญ การแบ่งปั นอำา นาจระหว่างรัฐบาลกลาง และ
รัฐบาลมลรัฐเป็ นระบบคู่ หมายความว่าอย่างไร
หมายความว่ า การใช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ อำา นาจบริ ห าร และ
อำานาจตุลาการในรัฐบาลกลาง กับรัฐบาลมลรัฐจะใช้คู่กันไป คือต่างก็
มีอำานาจในขอบเขตของตน เช่น รัฐสภามลรัฐก็ออกกฎหมายใช้เองใน
มลรัฐ รัฐสภาของรัฐบาลกลางก็ออกกฎหมายใช้ในรัฐบาลกลาง และ
ครอบคลุมทัว่ไปทัง้ประเทศ เป็ นต้น

รูปแบบของรัฐตามรัฐธรรมนูญไทย
ราชอาณาจั ก รไทยเป็ นอั น หน่ ึง อั น เดี ย วกั น หมายความว่ า
อย่างไร
คำา ว่า ราชอาณาจักร หมายถึง ดินแดนท่ีเป็ นของประเทศไทย
ทัง้หมด ไม่ว่าพ้ืนดิน พ้ืนน้ำา หรือพ้ืนอากาศ
คำา ว่ า เป็ น อั น หน่ ึง อั น เดี ย วกั น หมายถึ ง รู ป ของรั ฐ ซ่ ึง เป็ น รั ฐ
เด่ียวมีการใช้อำานาจอธิปไตยเป็ นอันหน่ ึงอันเดียวกันทัง้ประเทศ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


18

รูปแบบของประมุขของรัฐ
เราจัดให้มีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุข กับจัดให้มีระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยผสม ผสาน เข้ากันได้อย่างไร
การมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุขกับการมีระบอบการปกครอง
แบบประชาธิปไตย สามารถจัดเข้ากันได้โดย
(1)กำาหนดให้มีการสืบราชสมบัติต้องอาศัยความเห็นชอบของ
รัฐบาล
(2)กำา ห น ด ใ ห้ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ พ ร ะ ร า ช อำา น า จ ภ า ย ใ ต้
รัฐธรรมนูญ
(3)กำาหนดให้พระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมือง
โดยมี ผู้ ล งนามรั บ สนองพระบรมราชโองการในพระราช
หัตถเลขา ประกาศพระบรมราชโองการ หรือกฎหมายต่างๆ

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 3
1. กฎหมายท่ีกำาหนดกฎเกณฑ์ในการปกครองประเทศและการใช้
อำานาจอธิปไตยเรียกว่า รัฐธรรมนูญ
2. กฎมณเฑียรบาล จัดเป็ นกฎหมายรัฐธรรมนูญ
3. รัฐธรรมนูญอาจแบ่งออกได้หลายประเภทเช่น (ก) รัฐธรรมนูญ
ท่ีแก้ไขง่ายกับรัฐธรรมนูญท่ีแก้ไขยาก (ข) รัฐธรรมนูญของรัฐ
เด่ียวและรัฐธรรมนูญของรัฐรวม (ค) รัฐธรรมนูญชัว่คราวกับ
รัฐธรรมนูญถาวร
4. รัฐธรรมนูญไทยมีทัง ้ สิน
้ 13 ฉบับ
5. รัฐธรรมนูญชัว ่ คราวมักมีช่ือเรียกว่า ธรรมนูญการปกครองราช
อาณาจักร
6. ผู้มีอำานาจแก้ไขรัฐธรรมนูญไทยฉบับปั จจุบัน ได้แก่ (ก) คณะ
รัฐมนตรี (ข) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ค) ประมุขของรัฐ
7. คำานำาของรัฐธรรมนูญ เรียกว่า คำาปรารภ
8. ราชอาณาจักรไทยเป็ นรัฐเด่ียวเพราะ ใช้อำานาจอธิปไตยเป็ นอัน
หน่ ึงอันเดียวกันทัง้ประเทศ
9. การสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริยไ์ ทยเป็ นไปตาม
รัฐธรรมนูญและกฎมณเฑียรบาล
10. รัฐธรรมนูญ และธรรมนูญการปกครองต่างกัน คือ รัฐธรรมนูญ
เป็ นฉบับถาวร ธรรมนูญการปกครองเป็ นฉบับชัว่คราว
11. รัฐธรรมนูญไทยท่ีร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญคือ ฉบับ พ.ศ.
2492
12. กฎหมายเก่ียวกับกฎเกณฑ์การปกครองประเทศท่ีแยกออกมา
บัญญัติไว้ต่างหากจากรัฐธรรมนูญเรียกว่า กฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
19

13. การแก้ไขกฎมณเฑียรบาลต้องทำาอย่างเดียวกับการแก้ไข
รัฐธรรมนูญ
14. ตัวอย่างประเทศท่ีเป็ นรัฐเด่ียว เช่น ลาว ญ่ีปุ่น และไทย
15. ตัวอย่างประเทศท่ีเป็ นรัฐรวม เช่น สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย
แคนาดา
16. ประเทศท่ีมีกษัตริย์เป็ นประมุขเรียกว่า ราชอาณาจักร

-------------------------

หน่วยท่ี 4 ระบอบการปกครอง

1. ระบบอบการปกครองแบบประชาธิ ปไตย มี วิวัฒ นาการมาจาก


การปกครองแบบประชาธิปไตยโดยตรงในนครรัฐเอเธนส์ ของ
ประเทศกรีกโบราณ ซ่ ึงในระยะต่อมาระบอบการปกครองนีไ้ด้
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
20

สลายตั ว ในนครรั ฐ เอเธนส์ และมาเจริ ญ เติ บ โตในประเทศ


อั ง กฤษ จนกระทั ง่ กลายเป็ นประเทศแม่ บ ทแห่ ง ระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยในปั จจุบัน
2. ระบอบการปกครองแบบเผด็จการเป็ นระบอบการปกครองท่ีจัด
ตั ง้ ขึ้ น เพ่ ือ รั ก ษาสถานการณ์ ของวิ ก ฤตการณ์ ท างสั ง คมหรื อ
วิกฤตการณ์ท่ีเก่ียวกับความชอบธรรมแห่งอำานาจปกครอง โดย
ใช้วิธีบังคับให้ประชาชนยอมรับความชอบธรรมแห่งอำา นาจการ
ปกครองของรัฐบาลด้วยวิธีการต่า งๆ และอำา นาจปกครองของ
รั ฐบาลก็ มิ ไ ด้ มี พ้ืน ฐานมาจากการเลื อ กตั ง้ ของประชาชน เป็ น
เหตุให้ประชาชนไม่สามารถถอดถอนรัฐบาลท่ีตนตัง้ขึ้นมาได้

ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
1. ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยมีวิวัฒนาการมาจากการ
ปกครองแบบประชาธิ ป ไตยโดยตรงในนครรั ฐ เอเธนส์ ข อง
ประเทศกรีกโบราณ ซ่ ึงในระยะต่อมาระบอบการปกครองนีไ้ด้
สลายตั ว ในนครรั ฐ เอเธนส์ และมาเจริ ญ เติ บ โตในประเทศ
อังกฤษ จนกระทัง่กลายมาเป็ นประเทศแม่บทแห่งระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยในปั จจุบัน
2. ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ เป็ นระบอบการปกครองท่ีจัด
ตั ง้ ขึ้ น เพ่ ือ รั ก ษาสถานการณ์ ข องวิ ก ฤตการณ์ ท างสั ง คมหรื อ
วิกฤตการณ์ท่ีเก่ียวกับความชอบธรรมแห่งอำานาจปกครอง โดย
ใช้วิธีการบังคับให้ประชาชนยอมรับความชอบธรรมแห่งอำา นาจ
การปกครองของรั ฐบาลด้ว ยวิ ธีการต่า งๆ และอำา นาจปกครอง
รั ฐบาลก็ มิ ไ ด้ มี พ้ืน ฐานมาจากการเลื อ กตั ง้ ของประชาชน เป็ น
เหตุให้ประชาชนไม่สามารถถอดถอนรัฐบาลท่ีตนตัง้ขึ้นมาได้

วิวัฒนาการของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
อธิบายวิวฒ ั นาการของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบการปกครองแบบประชาธิ ป ไตยมี วิ วั ฒ นาการมาจาก
ระบอบการปกครองโดยตรงของนครรัฐแห่งประเทศกรีกโบราณท่ีมีช่ือ
ว่า “นครรัฐเอเธนส์” ระบอบการปกครองนี เ้จริญรุ่งเรือ งมากในยุ ค
นัน้ ต่อมาระบอบการปกครองนีไ้ด้สลายตัวไปจากประเทศกรีก และ
มาเจริ ญ เติ บ โตในประเทศอั ง กฤษ อั น เป็ นผลสื บ เน่ ือ งมาจากพวก
ขุนนางเจ้าของท่ีดินได้เข้าไปมีบทบาทในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
อย่ า งรวดเร็ ว จนทำา ให้ ก ลายเป็ นพวกเดี ย วกั น กั บ พวกชนชั น
้ กลาง
ชนชั น้ กลางนี ไ้ ด้ จั ด ระบบการปกครองโดยการเข้ า ร่ ว มบริ ห ารชุ ม ชน
ด้วยตนเองและถือว่าอำานาจอันชอบธรรมแห่งการปกครองต้องมาจาก
ปวงชน
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
21

ความหมายของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
อธิบายความหมายของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบการปกครองแบบประชาธิ ป ไตยหมายถึ ง ระบอบการ
ปกครองท่ีอำา นาจอธิ ป ไตยเป็ น ของปวงชนประชาชนมี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพ
โดยอาศัยหลักการของการแบ่งอำา นาจ และหลักการท่ีว่าด้วย “ความ
ถูกต้องแห่งกฎหมาย”

องค์ประกอบของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
อธิบายองค์ประกอบของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
องค์ประกอบของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ได้แก่
การเลื อ กตั ง้ หลั ก การแบ่ ง แยกอำา นาจและหลั ก การว่ า ด้ ว ยความถู ก
ต้องแห่งกฎหมาย

รูปแบบของรัฐบาลในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
อธิบายรูปแบบของรัฐบาลในระบอบการปกครองแบบรัฐสภา
ระบอบการปกครองแบบรั ฐ สภา คื อ ระบอบการปกครองท่ี
อำานาจขององค์กรฝ่ ายบริหารและ องค์กรฝ่ ายนิติบัญญัติทัดเทียมกัน
หรือใกล้เคียงกัน องค์กรทัง้สองต่างควบคุมซ่ ึงกันและกันและมีการ
ประสานงานในการดำาเนินการต่อกัน ระบอบการปกครองแบบรัฐสภา
นี อ ้ งค์กรฝ่ ายบริหารจะแบ่งเป็ นสององค
กษัตริย์ท่ีสืบสันติวงศ์ต่อทอดกันมา หรือประธา นาธิบดีซ่ึงมาจากการ
เลือ กตั ง้ และคณะรั ฐมนตรี ซ่ ึงมี ห น้า ท่ีรั บ ผิ ด ชอบในการบริห ารงาน
ของรัฐ

ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ
1. ระบอบการปกครองแบบเผด็ จ การมี ค วามหมายเป็ นสองนั ย
ประการแรกเป็ นระบอบการปกครองชั ว่คราวท่ีมีวั ต ถุ ประสงค์
ชั ว่ คราวเพ่ ือ ปกปั กษ์ รั ก ษาระบอบการปกครองเดิ ม ของสั ง คม
และประการท่ีสองเป็ นระบอบการปกครองท่ีอำานาจปกครองของ
รัฐบาลมิได้มีท่ีมาจากการเลือกตัง้ของประชาชน
2. ระบอบการปกครองแบบเผด็ จ การของประเทศ ท่ีมี ร ะบอบ
เศรษฐกิจแบบทุนนิยมเกิดขึ้นเน่ ืองจากวิกฤตการณ์ทางสังคม
หรือวิกฤตการณ์ท่ีเก่ียวกับความชอบธรรมแห่งอำานาจปกครอง
3. ระบอบการปกครองแบบเผด็ จ การของประเทศ ท่ีมี ร ะบบ
เศรษฐกิจ แบบสังคมนิ ย มเกิ ด จากการนำา ระบบเศรษฐกิ จ แบบ
สั ง คมนิ ย มไปใช้ ใ นประเทศท่ีมี โ ครงสร้ า งทางเศรษฐกิ จ แบบ
ทุนนิยม
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
22

ความหมายของระบอบการปกครองแบบเผด็จการ
อธิบายความหมายของระบอบการปกครองแบบเผด็จการ
ระบอบการปกครองแบบเผด็จการมีความหมายสองนัย ความ
ห ม า ย ป ร ะ ก า ร แ ร ก ห ม า ย ถึ ง ร ะ บ อ บ ก า ร ป ก ค ร อ ง ชั ว่ ค ร า ว ท ่ีมี
วั ต ถุ ประสงค์ ท่ีจ ะปกปั กษ์ รั กษาระบอบการปกครองเดิ ม ท่ีเผชิ ญกั บ
วิกฤติการณ์ร้ายแรงในสังคมอันอาจเป็ นอันตรายต่อสถาบันการเมือง
และการปกครองท่ีมีอยู่ในขณะนัน ้
ความหมายประการท่ีส อง หมายถึ ง ระบอบการปกครองท่ี
อำา นาจปกครองของรัฐบาลมิได้มีท่ีมาจากการเลื อกตัง้ของประชาชน
อันเป็ นการเลือกตัง้ทัว่ไปท่ี บริสุทธิย์ุติธรรม ระบอบการปกครองแบบ
นี ป ้ ระชาชนไม่ มีโ อกาสถอด
โอกาสให้ผู้ท่ีมีความคิดเห็นในทางการเมืองได้เสนอความคิดเห็นหรือ
วิพากษ์วิจารณ์การบริหารประเทศของรัฐบาล

ระบอบการปกครองแบบเผด็ จ การของประเทศท่ีมี ร ะบบ


เศรษฐกิจแบบทุนนิยม
ระบบการปกครองแบบเผด็จการจะเกิดขึ้นได้อย่างไร
ระบบการปกครองแบบเผด็จการเกิดขึ้นเม่ ือสังคมของประเทศ
เกิดวิกฤติก ารณ์ ร้า งแรง ซ่ ึงอาจเป็ นวิกฤติก ารณ์ ทางสั งคมท่ีเกิด ขึ้ น
เป็ นปกติวิสัยและมีความร้ายแรงมากน้อยต่างกัน ในบางครัง้ความร้าย
แรงแห่ งวิก ฤติ ก ารณ์ ท างสั งคมอาจถึ งขั น ้ ท่ีจ ะต้ อ งเปล่ีย นโครงสร้า ง
ของสั งคม หรื อ อาจเป็ น วิ ก ฤติ ก ารณ์ ท่ีเก่ีย วกั บ ความชอบธรรมแห่ ง
อำา นาจปกครองท่ีขึ้ น อยู่ กั บ ความเห็ น พ้ อ งต้ อ งกั น ของประชาชนใน
ประเทศ

ยกตัวอย่างวิธีการท่ีทำาให้ประชาชนยอมรับอำานาจปกครองแบบ
เผด็จการ
วิธีการท่ีทำา ให้ประชาชนยอมรับอำา นาจปกครองแบบเผด็จการ
วิธีหน่ ึงคือ การปราบปราม ผู้ซ่ึงโต้แย้ง คัดค้านระบบการปกครองแบบ
เผด็จการ โดยการจับกุมคุมขัง การส่งตัวไปกักกันในค่าย การทรมาน
และการประหารชี วิ ต สำา หรั บ กลไกท่ีใ ช้ ใ นการปราบปราม ได้ แ ก่
กฎหมาย ตำารวจและศาล ซ่ ึงจะทำาให้สังคมมีความสงบเรียบร้อยไม่ว่า
ในระบบการปกครองแบบใด แต่กลไกท่ีจะใช้ในการปราบปรามท่ีจะให้
ได้ ผ ลเด็ ด ขาด คื อ ตำา รวจลั บ ซ่ ึง มี อำา นาจจั บ กุ ม คุ ม ขั ง และทรมาน
ตลอดจนกระทัง่ประหารชีวิตประชาชนท่ีสงสัยว่าเป็ นปรปั กษ์ต่อระบบ
เผด็จการโดยไม่มีกระบวนการพิจารณา เช่น คดีตามปกติ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


23

ระบอบการปกครองแบบเผด็ จ การของประเทศท่ีมี ร ะบอบ


เศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
อธิ บ ายพ้ืน ฐานในทางสั ง คมนิ ย มและในทางเศรษฐกิ จ ของ
ประเทศสังคมนิยม
ประเทศสังคมนิยมนัน ้ ยึดถือโครงสร้างในการผลิตเป็ นพ้ืนฐาน
สำา คั ญ ทางสั ง คม โดยถื อ ว่ า เคร่ ือ งมื อ ในการผลิ ต เป็ น ของส่ ว นรวม
หมายถึ งอาจเป็ น ของรั ฐ เป็ น ขององค์ ก รส่ ว นท้ อ งถ่ิน หรื อ เป็ น ของ
สหกรณ์นอกจากนีย ้ ังยึดถืออุดมการณ์เป็ นส่ิงท่ีมีบทบาทสำาคัญย่ิงใน
ระบบสังคมนิยม เพราะอุดมการณ์เป็ นความนึกคิดท่ีมีเหตุผลในทาง
วิทยาศาสตร์ และเป็ นจุดเร่ิมต้นของโครงสร้างในการผลิต อย่างไรก็ดี
ประเทศสังคมนิยมยอมรับอิทธิพลของอุดมการณ์อย่างอ่ ืนด้วย เช่น
อุ ด มการณ์ แ บบธรรมเนี ย มประเพณี แ ละอุ ด มการณ์ ท างการเมื อ ง
เป็ นต้น

อธิบายลักษณะของการใช้อำานาจเผด็จการแบบปฏิวัติ
การใช้อำานาจเผด็จการแบบปฏิวัติมีลักษณะเฉพาะสองประการ
คือ
(1) เป็ นการใช้ อำา นาจเผด็ จ การแบบชั ว่ คราวท่ีค ณะ
ปฏิ วั ติ จ ะทำา หน้ า ท่ีเ สมื อ นหน่ ึง ผู้ พิ ทั ก ษ์ ห รื อ ผู้
อนุบาลอนุบาลระบบการปกครองท่ีจัดตัง้ขึ้น
(2) เป็ นเผด็จการท่ีมุ่ งหมายกล่อมเกลา เปล่ียนแปลง
ทัศนคติของประชาชนเพ่ ือให้ประชาชนสามารถใช้
เสรีภาพและการดำา รงชีวิตอยู่ โดยไม่ต้องใช้อำา นาจ
เผด็ จ การ เผด็ จ การปฏิ วั ติ จ ะใช้ วิ ธี ก ารสองอย่ า ง
ค ว บ คู่ กั น ไ ป คื อ ก า ร ล ง โ ท ษ แ ล ะ ก า ร
โฆษณาชวนเช่ ือ

รัฐธรรมนูญของประเทศเผด็จการสังคมนิยม
ลักษณะสำาคัญของรัฐธรรมนูญของประเทศเผด็จการ
สังคมนิยม
ลั ก ษ ณ ะ สำา คั ญ ข อ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ ผ ด็ จ ก า ร
สังคมนิยมลักษณะหน่ ึงก็คือการเลือกตัง้ แบบหยัง่เสียง รัฐกำาหนดให้
มี ก ารเลื อ กตั ง้ ทุ ก ระดั บ ตั ง้ แต่ ผู้ ใ ช้ อำา นาจปกครองท้ อ งถ่ิน สมาชิ ก
รัฐสภาและประธานาธิบดี แทนท่ีผู้มีสิทธิเลือกตัง้จะมีสิทธิเลือกตัง้ผู้
สมัครหน่ ึงในบรรดาผู้สมัครเลือกตัง้หลายคน แต่กลับมีสิทธิเพียงการ
ให้การรับรองหรือไม่รับรองเห็นชอบผู้สมัครรับเลือกตัง้คนเดียว ดัง
นัน้ สิทธิเสรีภาพของประชาชนในทางการเมืองจึงมีข้อจำา กัด กล่าวได้
ว่าไม่มีการแข่งขันกันในทางการเมืองขณะท่ีมีการเลือกตัง้
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
24

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 4
1. ระบอบการปกครองแบบประชาธิ ป ไตยมี บ่ อ เกิ ด มาจากระบอบ
การปกครองในประเทศ กรีกโบราณ
2. ภายหลังศตวรรษท่ี 14 ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
เจริญรุ่งเรืองในประเทศอังกฤษ
3. ระบอบการปกครองท่ีป ระชาชนมี สิ ท ธิ เสรี ภ าพ โดยอาศั ย หลั ก
การของ การแบ่ ง แยกอำา นาจเป็ นระบอบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย
4. หลั ก การว่ า ด้ ว ยความถู ก ต้ อ งแห่ ง กฎหมาย เป็ น องค์ ป ระกอบ
ของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
5. ถ้ารัฐบาลนี เ้ป็ นองค์กรหน่ ึงขององค์กรฝ่ ายบริหารมีเอกสิทธิท่ี
ประชาชนไม่ อ าจถอดถอนออกจากตำา แหน่ ง ได้ ลั ก ษณะของ
องค์กรเช่นนี้ ไม่ใช่ลักษณะขององค์กรของระบอบรัฐสภา
6. ระบอบการปกครองท่ีไม่เปิ ดโอกาสให้ประชาชนเสนอความคิด
เห็น หรือวิพากษ์วิจารณ์การบริหารประเทศของรัฐบาล เป็ นรูป
แบบของรัฐบาลระบบเผด็จการ
7. จะทำา ให้ ป ระชาชนยอมรั บ อำา นาจเผด็ จ การได้ ด้ ว ยวิ ธี การให้
อำา นาจเด็ดขาดแก่ตำา รวจลับในการจับกุมคุมขังและการทรมาน
ตลอดจนการประหารชีวิต
8. ประเทศท่ีมี ร ะบอบการปกครองแบบเผด็ จการท่ีมี ร ะบ บ
เศรษฐกิ จ แบบสั ง คมนิ ย มมิ ไ ด้ ถื อ เป็ นพ้ืน ฐานสำา คั ญ แห่ ง
โครงสร้างในการผลิตนัน ้ เคร่ ืองมือการผลิตเป็ นของเอกชน
9. กลไกของการใช้ อำา นาจเผด็ จ การแบบปฏิ วั ติ ไ ด้ แ ก่ การปราบ
ปรามลงโทษและการโฆษณาชวนเช่ ือ
10. ลักษณะสำา คัญของรัฐ ธรรมนูญของประเทศเผด็จการท่ีมีร ะบบ
เศรษฐกิ จ แบบสั ง คมนิ ย ม การรวมอำา นาจการปกครองไว้ ท ่ี
ศูนย์กลาง
11. ระบอบการปกครองแบบฟาสซิสต์อาศัยหลักการในการบริหาร
ประเทศ หลักการแห่งการปกครองของประเทศอุตสาหกรรม
12. การตั ง้ สมาคมอาชี พ มิ ใ ช่ อ งค์ ป ระกอบของการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย
13. ความเท่าเทียมกันแห่งอำา นาจขององค์กรฝ่ ายบริหารและอำา นาจ
ขององค์กรฝ่ ายนิติบัญญัติเป็ นลักษณะสำา คัญของ ระบอบการ
ปกครองแบบรัฐสภา
14. รูปแบบรัฐบาลในระบบประธานาธิบดีมีลักษณะสำา คัญประการ
หน่ ึงได้แก่ประชาชนมีสิทธิถอดถอนรัฐบาลได้

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


25

15. การให้อำา นาจเด็ดขาดแก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐบางกลุ่มในการจับกุม


คุ ม ขั งลงโทษ ทรมานตลอดจนประหารชี วิ ต เหมาะสมสำา หรั บ
รัฐบาล รูปแบบรัฐบาลในระบบก่ ึงประธานาธิบดี
16. ลักษณะสำา คัญของรัฐ ธรรมนูญของประเทศเผด็จการท่ีมีร ะบบ
เศรษฐกิจแบบสังคมนิยมได้แก่ การเลือกตัง้แบบหยัง่เสียง

----------------------------

หน่วยท่ี 5 องค์กรนิติบัญญัติ

1. องค์ ก รนิ ติ บั ญ ญั ติ เ กิ ด ขึ้ น เพ่ ือ เป็ นเคร่ ือ งดุ ล อำา นาจของผู้ ใ ช้


อำานาจปกครองรัฐแต่เดิม ซ่ ึงมีอำานาจสิทธิข์าดแต่ผู้เดียว
2. องค์ ก รนิ ติบั ญญั ติมี รู ป แบบ องค์ ป ระกอบ และองค์ กรภายใน
แตกต่างกันไปตามระบบการปกครองของแต่ละประเทศ
3. อำานาจหน้าท่ีขององค์กรนิติบัญญัตินอกจากจัดทำากฎหมายแล้ว
ยั ง มี อำา นาจหน้ า ท่ีใ นการควบคุ ม ฝ่ ายบริ ห ารและให้ ค วามเห็ น
ชอบในเร่ ืองต่างๆ ตามท่ีกฎหมายกำาหนด
4. การเลือกตัง้เป็ นวิธีการท่ีประชาชนแสดงออกซ่ ึงการใช้อำานาจ
อธิปไตยผ่านผู้แทนราษฎร
5. พรรคการเมืองเป็ นสถาบันทางการเมืองท่ีเป็ นส่ ือกลางแนวคิด
ทางการเมื อ งของประชาชน และเป็ นช่ อ งทางให้ ป ระชาชนมี
โอกาสร่วมในการปกครองประเทศ

แนวความคิดเก่ียวกับองค์กรนิติบัญญัติ
1. อำา นาจอธิปไตยเป็ นอำา นาจสูงสุดในการปกครองประเทศ แบ่ง
แยกออกเป็ นสาขาสำาคัญๆ ได้สามอำานาจคือ อำานาจนิติบัญญัติ
อำานาจบริหาร และอำานาจตุลาการ
2. รัฐสภาซ่ ึงเป็ นผู้ใช้อำานาจนิติบัญญัติของประเทศอังกฤษเกิดขึ้น
ในคริ ส ต์ ศ ตวรรษท่ี 13 โดยวิ วั ฒ นาการทางประวั ติ ศ าสตร์
ระบบรัฐสภาของอังกฤษถือเป็ นแม่บทของรัฐสภาประเทศต่างๆ
ทัว่โลก
3. ก่ อ นมี ก ารเปล่ีย นแปลงการปกครองในประเทศไทย เม่ ือ
พุ ท ธศั ก ราช 2475 ได้ มี ค วามพยายามท่ีจ ะปู พ ้ืน ฐานการ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
26

ปกครองในระบอบประชาธิปไตย และเม่ ือได้เปล่ียนแปลงการ


ปกครองแล้ว ก็ได้นำาระบบรัฐสภาของอังกฤษมาประยุกต์ใช้

หลักการแบ่งแยกอำานาจอธิปไตย
ลัทธิประชาธิปไตยแตกต่างไปจากลัทธิเทพาธิปไตยไตยอย่างไร
ลัทธิทัง้สองเกิดขึ้นเพ่ ือความพยายามท่ีจะอธิบายและอ้างสิทธิเร่ ืองใด
แนวความคิ ด เก่ีย วกั บ อำา นาจอธิ ป ไตยนั น
้ ในอดี ต ได้ มี แ นว
ความคิดเก่ียวกับผู้ เป็ นเจ้า ของอำา นาจอธิ ป ไตยในยุ ค สมั ย ท่ีพระมหา
กษัตริย์มีอำา นาจในการปกครองรัฐก็ได้ เกิด จากลั ทธิ เทพาธิป ไตยขึ้น
ต่อมาเม่ ือผู้ใช้อำา นาจปกครองรัฐกดข่ีข่มเหงและรีดนาทาเร้นผู้คนใน
ปกครอง เพ่ ือท่ีจะลิดรอนอำา นาจของผู้ปกครองแผ่นดินก็ได้เกิดลัทธิ
ประชาธิปไตยขึ้นมา

หลักในการแบ่งแยกอำา นาจอธิปไตยของนักทฤษฎีคนใดท่ีได้
รับการยอมรับมากท่ีสุด และได้แบ่งแยกสาขาของอำานาจอธิปไตยออก
เป็ นสาขาอย่างไร
พิ จารณาเร่ ือ งการแบ่งแยกอำา นาจอธิ ป ไตยของมองเตสกิ เออ
แล้ ว การใช้ อำา นาจสู งสุ ด ในการปกครองประเทศต่ า งๆมี อ งค์ ก รผู้ ใ ช้
สาขาของอำานาจอธิปไตยคือ รัฐสภาคณะรัฐมนตรีและศาล

วิวัฒนาการขององค์กรนิติบัญญัติในระบอบประชาธิปไตย
ระบอบการปกครองแบบรั ฐ สภาเกิ ด ขึ้ น โดยวิ วั ฒ นาการการ
ปกครองในประเทศอังกฤษและเป็ นการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ท่ีประเทศต่างๆ ได้ถือแบบอย่างในการจัดรูปแบบการปกครองของตน
การปกครองระบอบรัฐสภาของอังกฤษมีความเป็ นมาอย่างไร
วิ วั ฒ นาการการปกครองของอั ง กฤษซ่ ึง ค่ อ ยๆเปล่ีย นแปลง
ลั ก ษณะการปกครองที ล ะขั น ้ ตอน การต่ อ สู้ ร ะหว่ า งขุ น นางและ
ประชาชนกับกษัตริย์ผู้ใช้อำานาจเด็ดขาดในการปกครองประเทศ ต่อมา
เม่ ือกษัตริย์ถูกลิดรอนอำานาจลงแล้วบรรดาขุนนางและพระราชาคณะ
ซ่ ึงรวมกั น เป็ น สภาขุ น นางก็ ถูก ลิ ด รอน อำา นาจโดยท่ีส ภาสามั ญ ซ่ ึง
ประกอบด้วยสมาชิกท่ีได้รับการเลือกตัง้เข้ามาเป็ นผู้ใช้อำานาจสำาคัญๆ
แทนทัง้สิน ้

ความเป็ นมาขององค์กรนิติบัญญัตใิ นระบอบประชาธิปไตย


ของไทย
แนวทางในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันเป็ นความเป็ น
มาขององค์ ก รนิ นิ บั ญ ญั ติ ห รื อ สภานั น
้ เร่ิม ต้ น จากพระมหากษั ต ริ ย์
ขุนนาง หรือประชาชนมีการปูพ้ืนฐานและเตรียมการอย่างไร
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
27

ความคิดและเคล่ ือนไหวเก่ียวกับประชาธิปไตย ในระหว่างท่ีมี


การปกครองแบบสมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชนั น ้ พระมหากษั ต ริ ย์ ห ลาย
พระองค์ มี พ ระราชดำา ริ ท ่ีจ ะเปล่ีย นแปลงรู ป แบบการปกครองมา
เป็ นการปกครองแบบประชาธิ ป ไตยท่ีมี พ ระมหากษั ต ริ ย์ อ ยู่ ใ ต้
รั ฐธรรมนู ญได้ มีพระราชวิริ ยะอุ ตสาหะท่ีจ ะปู พ้ืน ฐานการศึ ก ษาและ
ทดลองรูปแบบการปกครองในหมู่บุคคลใกล้ชด ิ พระองค์

เม่ ือได้เปล่ียนแปลงการปกครอง และมีองค์กรนิติบัญญัติตาม


ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยแล้ว องค์กรนิติบัญญัติของไทย
มีการพัฒนาการและมีปัญหาอย่างไร
รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ล ะ อ ง ค์ ก ร นิ ติ บั ญ ญั ติ ข อ ง ไ ท ย ห ลั ง ก า ร
เ ป ล ่ีย น แ ป ล ง ก า ร ป ก ค ร อ ง แ ล้ ว จ ะ พ บ ว่ า ไ ด้ มี ก า ร ป ร ะ ก า ศ ใ ช้
รัฐธรรมนูญหลายฉบับ มีการปฏิวัติรัฐประหารหลายรอบ การเลือกตัง้
สมาชิ ก ขององค์ ก รนิ ติบั ญญั ติขาดความต่ อ เน่ ือ งมาตลอดระยะเวลา
50 ปี

ลักษณะของรัฐสภา
1. รูปแบบของรัฐสภาอาจจำาแนกได้สองรูปแบบ คือ สภาเด่ียวและ
สภาคู่ ขึ้ น อยู่ กั บ โครงสร้ า งและพ้ืน ฐานทางการปกครองของ
แต่ละประเทศ
2. รัฐสภาของแต่ละประเทศประกอบด้วยสมาชิกหลายประเภท ซ่ ึง
มีท่ีมาแตกต่างกันไปตามเหตุผลทางการปกครอง
3. ในการปฏิบัติหน้าท่ีของรัฐสภาจำา เป็ นต้องจัดองค์กรภายในเพ่ ือ
เป็ นกลไกในการดำา เนินงาน ของรัฐสภา ตามอำา นาจหน้าท่ีให้มี
ประสิทธิภาพ

รูปแบบของรัฐสภา
รูปแบบของรัฐสภานัน ้ นอกจากพิจารณาจำาแนกออกโดย
พิจารณาถึง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรนิติบัญญัติ และองค์กร
บริหารโดยจำาแนกเป็ นรัฐสภาในรูปแบบการปกครองในระบอบ
ประธานาธิบดี และรัฐสภาในรูปแบบการปกครองระบอบรัฐสภาแล้ว
การจำาแนกรูปแบบของรัฐสภายังพิจารณาได้จากจำานวนสภาท่ี
ประกอบกันขึ้นรัฐสภา ซ่ ึงจะได้รูปแบบของรัฐสภาแบบสภาเด่ียว และ
สภาคู่ ซ่ ึงแต่ละประเทศมีสภาเด่ียวและสภาคู่มีเหตุผลความจำาเป้ นอ
ย่างไร
เหตุผลความจำา เป็ นในการมีรูปแบบของสภาเดียวหรือของรัฐ
เด่ียวและรัฐรวมมีเหตุผลแตกต่างกัน และแม้แต่ในรัฐเด่ียวการมีสอง
สภาเหมื อ นกั น ก็ ยั ง มี เ หตุ ผ ลความจำา เป็ นแตกต่ า งกั น โดยเฉพาะ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
28

ประเทศอั ง กฤษซ่ ึง มี เ หตุ ผ ลทางประวั ติ ศ าสตร์ ก ารปกครอง ส่ ว น


ประเทศท่ีเป็ นรัฐเด่ียวอ่ ืนๆ มีเหตุผลแตกต่างกันออกไป

องค์ประกอบของรัฐสภา
องค์ ป ระกอบท่ีสำา คั ญของรั ฐสภาคื อ มวลสมาชิ ก รั ฐสภาซ่ ึงมี
ท่ีมาแตกต่างกันหลายทาง อธิบายท่ีมาของสมาชิกรัฐสภาซ่ ึงแตกต่าง
กัน
สมาชิกรัฐสภามิได้มีท่ีมาจากการเลือกตัง้โดยตรงจากประชาชน
เท่ า นั น
้ การมี ส มาชิ ก รั ฐ สภาจากวิ ธี ก ารนอกเหนื อ จากการเลื อ กตั ง้
โดยตรงจากประชาชน มิ ไ ด้ ห มายความว่ า การปกครองจะไม่ เ ป็ น
ประชาธิ ป ไตยหรื อ เป็ นประชาธิ ป ไตยแบบไม่ เ ต็ ม เม็ ด เต็ ม หน่ ว ย
ตัวอย่างของสมาชิกรัฐสภาในต่างประเทศ ต่างก็มีท่ีมาแตกต่างกัน

องค์ประกอบภายในของรัฐสภา
รัฐสภาประกอบด้วย สมาชิกมากการดำาเนินงานของรัฐจึงต้องมี
แบบฉบับ ในการจั ด องค์ กรภายในท่ีดี เพ่ ือ ให้ การดำา เนิ น การเป็ นไป
อย่างเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพ อธิบายองค์กรภายในของรัฐสภา
ประเภทต่างๆ
องค์กรภายในของรัฐสภามีลักษณะของการแบ่งงานกันทำาตาม
ความถนัดและความสนใจในแต่ละสาขาได้แก่ คณะกรรมาธิการของ
สภาประเภทต่ า งๆ และตำา แหน่ ง สำา คั ญ ๆภายในรั ฐ สภา ตลอดถึ ง
หน่วยงานประจำาของรัฐสภา

อำานาจหน้าท่ีของรัฐสภา
1. กฎหมายเป็ นข้อกำาหนดในการจัดระเบียบสังคม ซ่ ึงประกาศใช้
บั ง คั บ ด้ ว ยความเห็ น ชอบของคนในแต่ ล ะสั ง คม รั ฐ สภาเป็ น
สถาบั น ทางการปกครองท่ีถือ ว่ า เป็ น ตั ว แทนของประชาชนใน
สังคม การจัดทำากฎหมายมีกระบวนการและขัน ้ ตอน ท่ีอำา นวย
ให้กฎหมายท่ีประกาศใช้เป็ นกฎหมายท่ีมีความเป็ นธรรมและให้
ความเสมอภาคแก่ประชาชนโดยทัว่ไป
2. รัฐสภาในฐานะท่ีเป็ นสถาบันตัวแทนของปวงชน ทำา หน้าท่ีใน
การสอดส่องดูแลผลประโยชน์ของส่วนรวมโดยการควบคุมการ
บริหารกิจการบ้านเมือ งด้วย นอกจากการจัด ทำา กฎหมาย การ
ควบคุ ม ฝ่ ายบริ ห ารนั น ้ มี ม าตรการหลายอย่ า งท่ีกำา หนดไว้ ใ น
กฎหมายรัฐธรรมนูญ และประเพณีปฏิบัติ
3. นอกจากการจั ด ทำา กฎหมายและควบคุ ม ฝ่ ายบริ ห ารแล้ ว
กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายอ่ ืนๆ ยังกำา หนดให้รัฐสภามี
อำา นาจหน้าท่ีอ่ืนๆ อีกคืออำา นาจหน้าท่ีในการให้ความเห็นชอบ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
29

กับเร่ ือ งสำา คัญๆ ของประเทศชาติ อำา นาจหน้า ท่ีใ นการตีค วาม


รัฐธรรมนูญ ตลอดถึงอำา นาจหน้าท่ีท่ีมีลักษณะของการบริหาร
และการตุลาการบางอย่างอีกด้วย

อำานาจหน้าท่ีในการจัดทำากฎหมาย
องค์ กรนิ ติบั ญญั ติมีอำา นาจหน้าท่ีในการจั ด ทำา กฎหมายได้ แก่
พระราชบัญญัติซ่ึงมีกระบวนการจัดทำาคล้ายคลึงกันทัว่โลก ให้อธิบาย
ขัน
้ ตอนต่างๆ ในการจัดทำากฎหมายของไทยในกรณีท่ีกฎหมายได้รับ
การพิจารณาให้ความเห็นชอบโดยไม่มีอุปสรรคใดๆ

ในแผนภูมิ ซ่ึงแสดงกระบวนการจัดทำากฎหมายของรัฐสภาใน
กรณีไม่มีปัญหา

. . .

1

3 2
2 . . .
. . . (
3
(

. . .

….
1

( )

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


30

พระราชกำาหนดเป็ นกฎหมายท่ีฝ่ายบริหารเป็ นผู้มีอำานาจหน้าท่ี


ในการตราขึ้นบังคับใช้ แต่ต้องให้องค์กรนิติบัญญัติพิจารณาอนุมัติใน
โอกาสแรกท่ีทำา ได้ ให้อธิบายถึงบทบาทขององค์กรนิติบัญญัติในการ
พิจารณาอนุมัติพระราชกำาหนด
อำานาจหน้าท่ีในการจัดทำากฎหมายของรัฐสภา คือการพิจารณา
อนุมัติพระราชกำาหนด พระราชกำาหนดคือกฎหมายท่ีพระมหากษัตริย์
ทรงตราตามคำา แนะนำา ของรั ฐมนตรี พระราชกำา หนด มี 2 ประเภท
คื อ พระราชกำา หนดทั ว่ ๆไป และพระราชกำา หนดเก่ีย วกับ ภาษี อากร
หรือเงินตรา
พระราชกำาหนดทัว่ไปมีเหตุผลและความจำาเป็ นในการออกพระ
ราชกำาหนดคือ
(1) ในกรณี ฉุ ก เฉิ น มี ค วามจำา เป็ นรี บ ด่ ว นในอั น จะ
รั ก ษาความปลอดภั ย ของประเทศ หรื อ เพ่ ือ ความ
ป ล อด ภั ย ส า ธ า ร ณ ะ ห รื อ ค ว า ม มั น่ คงในทาง
เ ศ ร ษ ฐกิ จ ขอ ง ป ร ะ เ ท ศ ห รื อ ปั ด ป้ อ ง ภั ย พิ บั ติ
สาธารณะ และ
(2) จะเรียกประชุมสภาให้ทันท่วงทีไม่ได้ หรือในกรณี
เช่นว่านัน
้ เกิดในระหว่างสภาผู้แทน ราษฎรถูกยุบ
พระราชกำาหนดท่ีเก่ียวกับภาษีอากร หรือเงินตรา มีเหตุผลและ
ความจำาเป็ นในการออกพระราชกำาหนดคือ
(1)ในระหว่างสมัยประชุม
(2)มีความจำา เป็ นต้องมีกฎหมายเก่ียวด้วยภาษีอากรหรือเงิน
ตราซ่ ึงจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วน และลับเพ่ ือรักษา
ประโยชน์ของแผ่นดิน
การใช้บังคับเป็ นกฎหมาย เม่ ือได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แล้วก็บังคับใช้เป็ นกฎหมาย
การอนุมัติ เม่ ือคณะรัฐมนตรีประกาศใช้พระราชกำา หนดแล้ว
ต้องเสนอมาเพ่ ือให้รัฐสภาอนุมัติโดย
(1)พระราชกำา หนดทั ว่ ไปต้ อ งนำา เสนอรั ฐ สภาในการประชุ ม
รัฐสภาคราวต่อไปโดยไม่ชักช้า
(2)พระราชกำา หนดเก่ีย วกั บ ภาษี อ ากรหรื อ เงิ น ตรา ต้ อ งนำา
เสนอรัฐสภาภายใน 3 วัน นับจากวันถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
ในกรณี รั ฐสภาอนุ มั ติพ ระราชกำา หนดนั น ้ ก็ มี ผ ลเป็ น พระราช
บัญญัติต่อไป ถ้ารัฐสภาไม่อนุมัติพระราชกำา หนดนัน ้ ก็เป็ นอันตกไป
แต่ ทั ง้ นี ไ้ ม่ ก ระทบกระทั ง่ กิ จ การท่ีไ ด้ เ ป็ นไปในระหว่ า งใช้ พ ระราช
กำาหนด การอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชกำาหนดให้ประกาศในราชกิจ
จานุเบกษา
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
31

อำานาจหน้าท่ีในการควบคุมฝ่ ายบริหาร
อำา นาจหน้าท่ีในการควบคุ ม ฝ่ ายบริห ารประการหน่ ึงของฝ่ าย
นิติบั ญญั ติคือ การตั ง้กระทู้ ถามรั ฐมนตรีผ ลกระทบของการควบคุ ม
ฝ่ ายบริหารโดยวิธีการตัง้กระทู้ถามนี จ้ะมีผลต่อการบริหารงานอย่างไร
บ้าง

แสดงกระบวนการตัง้กระทู้ถามของสมาชิกสภา

สมาชิกตั้งกระทู้
ถาม

ประธานสภาพิจารณาวินิจฉัยว่าเป็นกระทู้
ถามหรือไม่

แจ้งผู้ตั้งกระทู้ทราบ
ภายใน 13 วัน
นับแต่วันที่ได้รับกระทู้

แจ้งกระทรวงที่เกี่ยวข้องเตรียม
ตอบ

ตอบในที่ประชุม ตอบในราชกิจจา
รัฐสภา นุเบกษา

การเสนอญัตติเปิ ดอภิปรายทัว่ไปเพ่ ือลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี


เป็ นรายบุคคลหรือทัง้คณะ มีขัน
้ ต้อนปฏิบัติอย่างไร
การเสนอญัตติขอเปิ ดอภิปรายทัว่ไปไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรี
เป็ นรายบุคคลหรือทัง้คณะ ดังนี้

. .
1 5

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


32

. . . . . .

อำานาจหน้าท่ีในการให้ความเห็นชอบ และอำานาจหน้าท่ีอ่ืน
ตามท่ีกฎหมายกำาหนด
องค์ กรนิ ติบั ญญั ติท่ีมีอำา นาจหหน้ าท่ีใ นการให้ ความเห็น ชอบ
เร่ ือ งสำา คั ญ ๆ หลายประการ ให้ อ ธิ บ ายถึ ง เร่ ือ งต่ า งๆท่ีอ งค์ ก ร
นิติบัญญัติต้องให้ความเห็นชอบ
สภามี อำา นาจหน้าท่ีใ นการให้ ความเห็น ชอบเร่ ือ งสำา คั ญๆของ
ประเทศเก่ีย วกับ สถาบั นประมุ ขของประเทศ การทำา สนธิ สั ญญากั บ
ประเทศอ่ ืน ๆ การประกาศสงครามและการให้ค วามเห็ นชอบในการ
แต่งตัง้คณะกรรมการชุดต่างๆ ตามท่ีกฎหมายกำาหนด

การเลือกตัง้
1. อำา นาจอธิ ป ไตยเป็ นของปวงชนแต่ ก ารท่ีร าษฎรทุ ก คนจะใช้
อำานาจนัน ้ ย่อมเป็ นไปไม่ได้ ราษฎรจึงเลือกตัง้ผู้แทนราษฎร ทำา
หน้าท่ีหรือใช้อำานาจนัน ้ แทนตน
2. การเลือกตัง้มีหลายระบบและมีวิธีการท่ีแตกต่างกันไปตามความ
เหมาะสมของพ้ืนฐานทางการปกครองและโครงสร้างของสังคม
3. ตั ง้ แต่ ป ระเทศไทยได้ มี ก ารเปล่ีย นแปลงการปกครองเม่ ือ ปี
2475 มาจนถึงปั จจุบัน มีการเลือกตัง้หลายครัง้ทัง้การเลือกตัง้
ทั ว่ ไ ป แ ล ะ ก า ร เ ลื อ ก ตั ง้ ซ่ อ ม ก า ร เ ลื อ ก ตั ง้ ท ่ีมี ม า แ ล้ ว ใ น
ประเทศไทยนั น ้ เคยใช้ ร ะบบและวิ ธีก ารเลื อ กตั ง้หลายรู ป แบบ
เพ่ ือให้เหมาะสมกับยุคสมัยและภาวะของสังคมในขณะนี้
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
33

แนวความคิดเก่ียวกับการเลือกตัง้
กล่าวกันว่าการเลือกตัง้เป็ นองค์ประกอบท่ีสำา คัญท่ีสุดของการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย นัน ้ หมายความว่าอย่างไร
การท่ีป ระชาชนซ่ ึง เป็ นเจ้ า ของอำา นาจอธิ ป ไตยของชาติ นั น ้
จำาเป็ นจะต้องมอบหมายให้ตัวแทนของตนมาใช้อำา นาจแทนการเลือก
ตั ง้ ได้ มี วิ วั ฒ นาการทางความคิ ด มาตั ง้ แต่ ป ระเทศอั ง กฤษ ได้ มี ก าร
เลือกตัง้ผู้แทนของชาติในปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 13 การท่ีประชาชน
เลื อ กผู้ แ ทนเข้ า ไปบริ ห ารประเทศถื อ ว่ า ประชาชนใช้ สิ ท ธิ ใ นอำา นาจ
อธิ ป ไตย ถ้ า ผู้ ใ ช้ อำา นาจอธิ ป ไตยมิ ใ ช่ บุ ค คลท่ีป ระชาชนเลื อ กตั ง้ ก็ จ ะ
ถือว่าเป็ นประชาธิปไตยไม่ได้

มีเหตุผลใดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซ่ ึงได้รับการเลือกตัง้จาก
ประชาชนในเขตเลือกตัง้ซ่ ึงเป็ นส่วนหน่ ึงของประเทศเท่านัน
้ จึงได้รับ
การยอมรับว่าเป็ นผู้แทนของประชาชนทัง้ประเทศ
มีเหตุผลหลายประการท่ีจะต้องถือว่าสมาชิกสภาผู้แทนท่ีได้รับ
เลือกตัง้ จากประชาชนในเขตพ้ืน ท่ีเล็ กๆ ของประเทศไทยท่ีเรี ยกว่ า
เขตเลือกตัง้นัน
้ เป็ นตัวแทนของปวงชนทัว่ประเทศ การถือว่าสมาชิก
สภาผู้แทนราษฎรเป็ นผู้แทนปวงชน สามารถขจัดปั ญหาต่างๆ ในการ
ปฏิบัติงานของรัฐสภาและสมาชิกแต่ละคนได้อย่างไร

ระบบการเลือกตัง้
ระบบการเลือกตัง้มีอยู่หลายระบบและมีวิธีการท่ีแตกต่างกันไป
ในแต่ละประเทศ อธิบายถึงวิธีการและระบบของการเลือกตัง้ท่ีใช้กัน
อยู่ในประเทศต่างๆ
วิธีเลือกตัง้แบ่งออกเป็ นสองวิธีการใหญ่ๆ คือ การเลือกตัง้โดย
ทางตรงและการเลือกตัง้โดยทางอ้อม และระบบของการเลือกตัง้ก็แบ่ง
เป็ น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ การเลือกตัง้ระบบคะแนนเสียงข้างมากและ
ระบบการเลือกตัง้แบบมีตัวแทนตามสัดส่วนของคะแนนเสียง

การเลือกตัง้ในประเทศไทย
การเลือกตัง้ในประเทศไทยหลายครัง้ท่ีผ่านมาเป็ นการเลือกตัง้
ด้วยวิธีการใด ใช้ระบบการเลือกตัง้แบบใด และกำา หนดเขตเลื อกตัง้
อย่างไร
การเลือกตัง้ท่ีมีมาในประเทศไทยหลายครัง้ ได้ใช้วิธีการเลือก
ตัง้ทัง้วิธีโดยตรงและวิธีการเลือกตัง้ทางอ้อม ใช้ระบบการเลือกตัง้แบบ
คะแนนเสียงข้างมากเป็ นการการตัดสิน สำาหรับเร่ ืองกำาหนดเขตเลือก
ตัง้นัน้ กระทำาในรูป ทัง้รวมเขต และวิธีการผสม
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
34

พรรคการเมือง
1. พรรคการเมืองเป็ นสถาบันทางการเมืองท่ีมีความสำาคัญต่อแนว
ความคิดทางการเมืองของประชากร และเป็ นส่ ือกลางท่ีมีระบบ
ให้ ป ระชาชนมี โ อกาสเข้ า ร่ ว มทางการเมื อ ง หรื อ การปกครอง
ประเทศ
2. ระบบการเมื อ งในประเทศต่ า งๆ มี ห ลายระบบแตกต่ า งกั น ไป
ตามแนวความคิดทางการเมืองของประชากรสำา นึก และความรู้
ทางการเมื อ งของประชาชนตลอดถึ ง พ้ืน ฐานทางสั ง คมและ
โครงสร้างทางการเมืองของประเทศนัน ้ ๆ
3. บทบาทของพรรคการเมืองท่ีสมาชิกของพรรคมีท่ีนัง่ในรัฐสภา
ย่อมแตกต่างกันไปสุดแต่ว่าจะเป็ นพรรคการเมืองท่ีสนับสนุน
รัฐบาล หรือเป็ นพรรคการเมืองฝ่ ายค้าน
4. เม่ ือมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแล้ว ได้มีการดำาเนินการ
ทางการเมืองในลักษณะของพรรคการเมืองขึ้นในประเทศไทย
โดยได้มีพรรคการเมืองต่างๆ เกิดขึ้นจำานวนมาก หลายพรรคได้
ยุบเลิกไปแล้ว บางพรรคเกิดขึ้นใหม่ๆ มีสมาชิกรัฐสภาโยกย้าย
สังกัดพรรคแยกตัวจากพรรคเดิมเพ่ ือ ตัง้พรรคใหม่อยู่เสมอมา
เป็ นเหตุให้พิจารณาได้ว่าระบบพรรคการเมืองในประเทศไทยยัง
ไม่เจริญงอกงาม

แนวความคิดเก่ียวกับพรรคการเมือง
พรรคการเมืองเป็ นสถาบันทางการเมืองท่ีมีความสำาคัญ ในการ
ปกครองประเทศในระบอบการปกครองต่างๆ เพราะเป็ นสถาบันท่ีเป็ น
ส่ ือ กลางทางความคิ ด ทางการเมื อ ง ระหว่ า งผู้ บ ริ ห ารประเทศและ
ประชาชน อธิบายเร่ ืองนี้
หน้าท่ีและบทบาทของพรรคการเมืองมีอยู่หลายประการในอัน
ท่ีจะเช่ ือมโยงความคิดเห็นของราษฎรไปสู่ผบ ู้ ริหารประเทศ นอกจากนี้
ลั ก ษณะกำา เนิ ด ของพรรคการเมื อ งยั ง มี ลั ก ษณะแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง
รากฐานของนโยบายพรรคการเมื อ ง ท่ีตั ง้ อยู่ บ นแนวความคิ ด และ
ความต้องการของประชาชน

ระบบพรรคการเมือง
ระบบพรรคการเมืองมีหลายระบบ อธิบายระบบพรรคการเมือง
ต่างๆ พร้อมทัง้ให้แสดงข้อดีข้อเสียของแต่ละระบบด้วย
ระบบพรรคการเมืองยังมีหลายระบบแต่ละระบบ มีความเหมาะ
สมกั บรู ป ลั กษณ์ ก ารปกครองในแบบต่ า งๆ และแต่ ล ะระบบยั ง มี จุ ด

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


35

อ่ อ นในตั ว เองอี ก ด้ ว ยถ้ าหากนำา ไปใช้ ใ นรู ป ลั กษณะหรื อ บรรยากาศ


ทางการเมืองท่ีไม่เหมาะสมกับระบบ

บทบาทของพรรคการเมืองในรัฐสภา
บทบาทของพรรคการเมื อ งนอกจากจะพิ จ ารณาในแง่ ข อง
บทบาทท่ีมีต่อสังคมแล้วพรรคการเมืองยังมีบทบาทในรัฐสภาอีกด้วย
อธิบายถึงบทบาทของพรรคการเมืองในรัฐสภา
บทบาทท่ีสำาคัญของพรรคการเมืองในรัฐสภานัน ้ มี 2 ประการ
คื อ บทบาทของพรรคการเมื อ งในฐานะท่ีเป็ น พรรคฝ่ ายรั ฐบาลหรื อ
ฝ่ ายเสียงข้างมาก และพรรคการเมืองฝ่ ายค้านหรือฝ่ ายเสียงข้างน้อย
รัฐธรรมนูญของประเทศต่างๆ ยอมรับบทบาททัง้สองประการนีข้อง
พรรคการเมืองในรัฐสภา

พรรคการเมืองในประเทศไทย
การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยในประเทศไทยมี ร ะบบ
พรรคการเมืองระบบใด และมีปัญหาอย่างไร
พรรคการเมืองท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทยเป็ นพรรคการเมืองท่ีมี
ลักษณะกำาเนิดในรัฐสภา และมีจำานวนหลายพรรคตลอดระยะเวลาท่ี
มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยพรรคการเมืองขาดความต่อเน่ ือง
ทำา ให้ประชาชนมีความเข้าใจระบบการเมืองน้อย และพรรคการเมือง
ขาดรากฐานท่ีมัน
่ คง

แบบประเมินหน่วยท่ี 5
1. นักทฤษฎีทางการเมืองซ่ ึงแบ่งอำานาจอธิปไตยออกเป็ น 3 สาขา
ได้แก่ อำา นาจนิติบัญญัติ อำา นาจบริหาร และอำา นาจตุลาการคือ
มองเตสกิเออ (Montesquieu)
2. การปกครองแบบรัฐสภาเกิดขึ้นครัง ้ แรกในประเทศ อังกฤษ
3. การเปล่ีย นแปลงการปกครองเม่ ือ ปี พุ ท ธศั ก ราช 2475
ประเทศไทยได้นำา แบบการปกครองระบอบรัฐสภามาใช้ ระบบ
รั ฐสภาท่ีนำา มาใช้ นั น
้ มี ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ งกับ ระบบรั ฐสภาของ
ประเทศ อังกฤษ
4. ร ะ บ บ ส อ ง ส ภ า (Bicamoral System) มั ก เ กิ ด ขึ้ น ใ น
ประเทศท่ี มี ก ารปกครองแบบรั ฐ เด่ีย วและประเทศท่ีมี ก าร
ปกครองแบบสหพันธรัฐทัง้สองแบบ
5. รั ฐสภาประกอบด้ ว ย มวลสมาชิก ของรั ฐสภาซ่ ึง มี ท่ีม าแตกต่ า ง
กันประกอบกันเป็ นรัฐสภา

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


36

6. องค์กรภายในของรัฐสภาได้แก่ คณะกรรมาธิการชุดต่างๆ และ


หน่วยงานประจำา ในรั ฐสภา ตลอดถึ งตำา แหน่ งสำา คั ญต่ างๆ ใน
รัฐสภา
7. รั ฐ สภามี อำา นาจหน้ า ท่ีใ นการจั ด ทำา กฎหมายอั น ได้ แ ก่ การตรา
พระราชบั ญญั ติ การพิ จ ารณาอนุ มั ติ พ ระราชกำา หนด และการ
แก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ
8. รัฐสภามีอำานาจหน้าท่ีในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน
โดย วิ ธี ก ารท่ีส มาชิ ก ตั ง้ กระทู้ ถ ามและการเสนอญั ต ติ ข อเปิ ด
อภิปรายทั ว่ไปไม่ไว้ วางใจคณะรั ฐมนตรี เป็ นรายบุ คคลหรื อ ทั ง้
คณะ
9. นอกจากอำานาจหน้าท่ีในการจัดทำากฎหมายและการควบคุมการ
ปฏิบัติงานของฝ่ ายบริหารแล้ว รัฐสภาแบบอังกฤษยังมีอำา นาจ
หน้าท่ีในการ พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อสนธิสัญญาท่ีทำากับ
ประเทศอ่ ืน
10. โดยหลักสากล การเลือกตัง ้ แบบแบ่งเขตคือ การแบ่งเขตเลือก
ตัง้เป็ นเขตย่อยๆทัว่ประเทศแต่ละเขตมีผู้แทนได้เพียงคนเดียว
11. บทบาทหน้าท่ีท่ีสำาคัญอย่างหน่ ึงของพรรคการเมืองคือ บทบาท
ในการปลูกฝั งความรู้และสำานึกทางการเมืองแก่ประชาชน
12. บทบาทของพรรคการเมื อ งในรั ฐ สภาได้ แ ก่ การทำา หน้ า ท่ีเ ป็ น
พรรคการเมืองฝ่ ายสนับสนุนรัฐบาลและพรรคการเมืองฝ่ ายค้าน

---------------------------

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


37

หน่วยท่ี 6 องค์กรบริหาร

1. อำานาจอธิปไตยแบ่งออกเป็ นอำานาจย่อยๆ องค์กรบริหารเป็ นอง


กรหน่ ึงซ่ ึงใช้อำานาจอธิปไตย
2. บุคคลผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าท่ีขององค์กรบริหาร ของ
แต่ละประเทศมีลักษณะแตกต่างกันไปตามความเหมาะสมของ
แต่ละประเทศ
3. ความรั บผิด ชอบของบุค คลท่ีใ ช้อำา นาจขององค์ กรบริห าร เป็ น
เคร่ ือ งประกั น ว่ า ผู้ ใ ช้ อำา นาจบริ ห ารจะใช้ อำา นาจอย่ า งถู ก ต้ อ ง
เหมาะสม
4. องค์กรบริหารเป็ นองค์กรท่ีมีอำา นาจหน้าท่ีอย่างกว้างขวาง โดย
รวมถึงอำานาจอธิปไตยอ่ ืนๆ ซ่ ึงมีองค์กรอ่ ืนๆ เป็ นผู้ใช้อยู่แล้ว

ผู้ใช้อำานาจบริหาร
1. รั ฐต้ อ งมี ประมุ ขของรัฐ ซ่ ึงอาจจะมีรูป แบบแตกต่ า งกั น ไปตาม
ประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศ
2. หัวหน้าองค์กรบริหาร ของแต่ละประเทศย่อมแตกต่างกัน ตาม
ท่ีมาของหัวหน้าองค์กรบริหาร
3. ในการปฏิบัติหน้าท่ีขององค์กรบริหารจะมีบุคคลหลายๆฝ่ ายร่วม
กั น ในการวางแผนกำา หนดนโยบายและรั บ ผิ ด ชอบ ซ่ ึง อาจจะ
เป็ นการรับผิดชอบร่วมกันหรือ ความรับผิดชอบส่วนตัว

ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับผู้ใช้อำานาจบริหาร
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
38

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 มาตรา


3 บัญญัติว่า “อำานาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์
ผู้เป็ นประมุขใช้อำานาจนัน ้ ในทาง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตาม
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี” จ้ากบทบัญญั ตินี จ้ะเห็ นได้ ว่าองค์ กร
ต่างๆ ท่ีเป็ นผู้ใช้อำานาจอธิปไตยในนามของพระมหากษัตริย์คือ
(1)รัฐสภา
(2)คณะรัฐมนตรี
(3)ศาล

ผู้ใช้อำานาจบริหาร
ตามทฤษฎีกฎหมายรัฐธรรมนูญใครเป็ นผู้ใช้อำานาจบริหาร
ตามทฤษฎีก ฎหมายรั ฐธรรมนู ญอาจแบ่ งประเภทผู้ ใ ช้ อำา นาจ
บริหารได้ดังนีค ้ ือ
(1)ประมุ ข ของรั ฐ ซ่ ึง อาจเป็ นได้ ทั ง้ พระมหากษั ต ริ ย์ แ ละ
ประธานาธิบดี
(2)หั ว ห น้ า ฝ่ า ย บ ริ ห า ร อ า จ เ ป็ น น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ห รื อ
ประธานาธิบดี
(3)คณะรัฐมนตรี
(4)รัฐมนตรี

อธิบายความรับผิดชอบของรัฐมนตรี
ความรั บ ผิ ด ชอบของรั ฐ มนตรี ในการบริ ห ารราชการมี อ ยู่ 2
ประเภทคือ
(1)ความรับผิดชอบร่วมกัน ซ่ ึงเป็ นความรับผิดชอบในฐานะท่ี
เป็ นส่วนหน่ ึงของคณะ รัฐมนตรี
(2)ความรับผิดชอบส่วนตัว เป็ นความรับผิดชอบในฐานะเป็ น
ผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการในกระทรวง ทบวง กรม
ซ่ ึงรัฐมนตรีผู้นัน
้ รับผิดชอบ

อำานาจหน้าท่ีขององค์กรบริหาร
1. อำา น า จ ห ลั ก ข อ ง อ ง ค์ ก ร บ ริ ห า ร คื อ บ ริ ห า ร ป ร ะ เ ท ศ ใ ห้ มี
ประสิทธิภาพมากท่ีสุด
2. เพ่ ือ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีข ององค์ ก รบริ ห ารประสบผลสำา เร็ จ
องค์กรบริหารจึงมีอำานาจในการออกกฎหมายด้วย
3. ในการปฏิบัติหน้าท่ีขององค์กรบริหารมีความเก่ียวข้องกับชีวิต
ประจำา วั น ของประชาชนอย่ า งมากและบางครั ง้ อาจเกิ ด กรณี
พิพาทกับประชาชน

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


39

4. องค์ ก รบริ ห ารอาจใช้ อำา นาจซ่ ึง องค์ ก รอ่ ืน มี ห น้ า ท่ีโ ดยตรงได้


ภายในขอบเขตท่ีจำากัด
5. ในภาวะฉุ ก เฉิ น องค์ ก รบริ ห ารเป็ นองค์ ก รเดี ย วท่ีส ามารถจะ
ระงับภาวะนัน ้ ได้โดยเร็วท่ีสุด จึงต้ อ งมี อำา นาจพิ เศษซ่ ึงองค์ก ร
บริหารสามารถใช้ได้ในภาวะฉุกเฉิน

อำานาจหน้าท่ีในการบริหารประเทศขององค์กรบริหาร
อำานาจในการออกกฎหมายขององค์กรบริการ
ในการปกครองแบบรั ฐ สภานั น ้ องค์ ก รบริ ห ารมี อำา นาจออก
กฎหมายเพ่ ือให้การบริหารประเทศดำา เนินไปตามนโยบายท่ีองค์การ
บริ ห ารได้ แ ถลงต่ อ องค์ ก รนิ ติ บั ญ ญั ติ ข ณะเม่ ือ เข้ า ปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ซ่ ึง
ได้แก่พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา และพระราชกำาหนดท่ีองค์กร
บริหารกราบบังคมทูลให้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ในกรณีเร่งด่วนท่ี
ไม่อาจเปิ ดสมัยประชุมได้
การออกกฎหมายขององค์ ก รบริ ห ารนั น ้ องค์ ก รบริ ห ารต้ อ ง
คำา นึ ง ถึ ง นโยบายท่ีไ ด้ แ ถลงไว้ ด้ ว ย นอกจากนี ย ้ ั ง ต้ อ งแน่ ใ จว่ า จะ
สามารถคุมเสียงข้างมากในองค์กรนิติบัญญัติได้ด้วย มิฉะนัน ้ อาจถูก
องค์กรนิติบัญญัติคัดค้านไม่เห็นด้วยกับร่างกฎหมายท่ีเสนอเข้าสู่การ
พิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร

อำานาจหน้าท่ีในด้านนิติบัญญัติขององค์กรบริหาร
อำานาจขององค์กรบริหารในด้านนิติบัญญัติ
อำา นาจขององค์กรบริหารในด้านนิติบัญญัติ โดยปกติจะต้องมี
กฎหมายขององค์กรบริหารให้อำานาจองค์กรบริหารท่ีจะออกกฎหมาย
เร่ ือ งใดเร่ ือ งหน่ ึงไว้ เพ่ ือ ความสะดวกในการบริ ห ารประเทศ ดั ง นั น

กฎหมายท่ีอ อกโดยองค์ ก รบริ ห ารประเภทนี จ้ึ ง มี ฐ านะต่ำา กว่ า
กฎหมายขององค์กรนิติบัญญัติ อย่างไรก็ตามในกรณีฉุกเฉินหรือใน
กรณีพิเศษ องค์กรบริหารก็มีอำานาจท่ีจะออกกฎหมายท่ีมีฐานะเท่ากับ
กฎหมายขององค์กรนิติบัญญัติได้ ถ้าเป็ นไปตามเง่ ือนไขท่ีกำา หนดไว้
โดยกฎหมายรัฐธรรมนูญ

อำานาจหน้าท่ีในด้านตุลาการขององค์กรบริหาร
การใช้อำานาจตุลาการขององค์กรบริหาร
อำา นาจขององค์กรบริหารในด้านตุลาการเป็ นอำา นาจท่ีอ งค์ กร
บริหารมีไว้ เพ่ ือเป็ นเคร่ ือง มือช่วยองค์กรบริหารในการปฏิบัติหน้าท่ีท่ี
เก่ียวกับการวินิจฉัยกรณีพิพาทเล็กๆ น้อยๆ ระหว่างหน่วยงานของรัฐ
หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐกับเอกชน ซ่ ึงจะแบ่งเบาภาระขององค์กรตุลาการ
โดยปกติ แ ล้ ว การใช้ อำา นาจในด้ า นตุ ล าการขององค์ ก รบริ ห ารจะไม่
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
40

ถือว่าสิน
้ สุดเด็ดขาด หากเอกชนไม่พอ ใจในผลของการใช้อำา นาจดัง
กล่าวก็มีสิทธิท่ีจะนำาข้อพิพาทไปให้องค์กรตุลาการเป็ นผู้วินิจฉัยได้

อำานาจหน้าท่ีในยามฉุกเฉินขององค์กรบริหาร
อำานาจขององค์กรบริหารในสภาวะไม่ปกติ
อำา นาจขององค์กรบริหารในสภาวะไม่ปกติอาจเกิดได้ 2 กรณี
คือ
(1)สภาวะไม่ปกติเน่ ืองจากเหตุการณ์ภายนอกประเทศ
(2)สภาวะไม่ ป กติ เ น่ ือ งมาจากเหตุ ก ารณ์ ภ ายในประเทศ
อำา นาจขององค์ ก รบริ ห ารในสภาวะไม่ ป กติ เ น่ ือ งจาก
เหตุ ก ารณ์ ภ ายนอกคลุ ม ถึ ง การทำา สนธิ สั ญ ญา ประกาศ
สงครามและประกาศกฎอัยการศึก ซ่ ึงเป็ นอำา นาจหลักของ
องค์กรบริหารท่ีจะนำามาใช้ในสภาวะไม่ปกติ อันเน่ ืองมาจาก
เหตุการณ์ภายในประเทศ

แบบประเมินหน่วยท่ี 6
1. ใ น ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ บ ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี ผู้ ดำา ร ง ตำา แ ห น่ ง
ประธานาธิบดีอาจจะเป็ น ประมุขของประเทศและหัวหน้าฝ่ าย
บริหารในขณะเดียวกัน
2. ในการปกครองระบอบรั ฐ สภา ผู้ ดำา รงตำา แหน่ ง ในองค์ ก าร
บริหารจะต้องรับผิดชอบต่อ องค์การนิติบัญญัติ (รัฐสภา)
3. คณะรั ฐ มนตรี มี ห น้ า ท่ี ช่ ว ยเหลื อ ให้ คำา แนะนำา แก่ หั ว หน้ า ฝ่ าย
บริหารในการบริหารประเทศ
4. บุคคลในคณะรัฐมนตรีมีความรับผิดชอบในการบริหารราชการ
สองประเภท
5. เม่ ือ องค์ ก รนิ ติบั ญ ญั ติ มี ม ติ ไ ม่ ไ ว้ ว างใจรั ฐ มนตรี ค นใดคนหน่ ึง
รัฐมนตรีนัน ้ ควรจะต้องลาออกจากการเป็ นรัฐมนตรี
6. ในประเทศไทยองค์กรบริหารมีอำานาจ ตราพระราชกำาหนด
7. ในการปกครองระบบประธานาธิ บ ดี ประธานาธิ บ ดี มี อำา นาจ
ยับยัง้ร่างกฎหมายท่ีองค์กรนิติบัญญัติตราขึ้น
8. ในการใช้ อำา นาจบริ หารขององค์ ก รบริ ห ารในเร่ ือ งสำา คั ญ ๆบาง
เร่ ือง เช่นการประกาศสงครามจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
รัฐสภา (องค์กรนิติบัญญัติ)
9. ในยามฉุกเฉินองค์กรบริหารมีอำานาจ ประกาศใช้กฎอัยการศึก
10. การประกาศใช้กฎอัยการศึกมีผลสำาคัญถือเป็ นการ เพ่ิมอำานาจ
ให้แก่เจ้าหน้าท่ีฝ่ายทหารและในขณะเดียวกันก็ลดอำา นาจของ
เจ้าหน้าท่ีฝ่ายพลเรือน

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


41

11. โดยทัว่ไปองค์กรบริหารใช้อำานาจในทางตุลาการ ในการดำาเนิน


การบริหารประเทศเป็ นประจำา
12. ในการประกาศใช้กฎอัยการศึกองค์กรบริหารสามารถประกาศ
ใช้ (ก) เม่ ือมีภาวะฉุกเฉิน (ข) ให้มีผลบังคับใช้ทัง้ประเทศ (ค)
ให้มีผลบังคับใช้เฉพาะในพ้ืนท่ีใดพ้ืนท่ีหน่ ึง

-----------------------

หน่วยท่ี 7 องค์กรตุลาการ

1. องค์กรตุลาการ เป็ นองค์กรซ่ ึงทำาหน้าท่ีในการพิจารณาพิพากษา


อรรถคดี และเป็ นการใช้อำานาจหน้าท่ีหน่ ึงของอำานาจอธิปไตย
2. ในด้านการแบ่งแยกหน้าท่ี องค์กรตุลากรมีความสำา คัญเท่ากับ
องค์กรท่ีใช้อำานาจนิติบัญญัติและองค์กรท่ีใช้อำานาจบริหาร
3. องค์กรตุลาการมีท่ีมาจากการปกครองของประเทศในระบบพระ
มหากษัตริย์และได้เปล่ียนแปลงมาเป็ นลำา ดับโดยสอดคล้องกับ
ระบบการปกครองของประเทศ
4. โครงสร้างขององค์กรตุลาการประกอบด้วยศาลยุติธรรมและศาล
พิเศษท่ีมีอำา นาจในการพิจารณาพิพากษาคดีตามท่ีกฎหมายว่า
ด้วยศาลนัน ้ ได้กำาหนดไว้
5. การสรรหาและแต่งตัง้ผู้พิพากษาและตุลาการ มีคณะกรรมการ
ทำาหน้าท่ีรับผิดชอบในด้านการบริหารงานบุคคล
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
42

6. ผู้พิพากษาและตุลาการมีอำานาจพิจารณาพิพากษาคดีเป็ นอิสระ
ปราศจากการแทรกแซงของอำา นาจใดๆ ในอั น ท่ีจ ะทำา ให้ เ สี ย
ความเป็ นธรรม

7.1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับองค์กรตุลาการ
1. องค์ ก รตุ ล าการเป็ น องค์ ก รซ่ ึง ใช้ อำา นาจหน้ า ท่ีใ นทางตุ ล าการ
หรืออำานาจหน้าท่ีในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่างๆ ซ่ ึงถ้า
จะมองในด้ า นของการแบ่ ง แยกอำา นาจอธิ ป ไตยแล้ ว องค์ ก ร
ตุ ล าการมี ค วามสำา คั ญ เท่ า องค์ ก รท่ีใ ช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ แ ละ
องค์กรท่ีใช้อำานาจบริหาร
2. องค์ ก รตุ ล าการได้ วิ วั ฒ นาการมาโดยสอดคล้ อ งกั บ ระบบ
ปกครองของประเทศ นั บ ตั ง้ แต่ ร ะบบพระมหากษั ต ริ ย์ จ นถึ ง
ระบบประชาธิปไตย
3. ในการปกครองระบบกษัตริย์นัน ้ พระมหากษัตริย์เป็ นองค์อธิปั
ตย์ อำานาจทุกอย่างขึ้นอยู่กับพระมหากษัตริย์ทัง้สิน ้

7.1.1ความหมายขององค์กรตุลาการ
การพิ จ ารณาพิ พากษาอรรถคดี เป็ น อำา นาจของศาลท่ีจ ะต้ อ ง
ดำาเนินการตามกฎหมายและในพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์
ศาลคือองค์กรท่ีใช้อำานาจตุลาการท่ีเป็ นหน่ ึงในสามของอำานาจ
อธิปไตย ซ่ ึงพระมหา กษัตริ ย์ท รงมอบหมายให้ดำา เนิ นการแทน ดัง
นัน ้ ศาลจึงมีอำา นาจพิจารณาพิ พากษาอรรถคดีทั ง้แพ่ ง และคดีอ าญา
และคดี แ รงงานการดำา เนิ น การกระบวนการพิ จ ารณาก่ อ นท่ีจ ะมี คำา
พิ พ ากษาหรื อ เม่ ือ มี คำา พิ พ ากษาแล้ ว ต้ อ งเป็ นไปตามขั น
้ ตอนท่ี
กฎหมายกำา หนด การดำา เนินกระบวนการพิจารณาอรรถคดีดังกล่าว
นัน้ จึงเป็ นการปฏิบัติในพระปรมาภิไธยขององค์พระมหากษัตริย์

7.1.2วิวัฒนาการขององค์กรตุลาการ
อธิ บ ายความเป็ นมาขององค์ ก รตุ ล าการ และการใช้ อำา นาจ
ตุลาการ
การใช้ อำา นาจตุ ล าการของไทย ปรากฏหลั ก ฐานในสมั ย กรุ ง
สุโขทัยเป็ นราชธานี คือ ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช ซ่ ึงได้
วางหลักปฏิบัติผู้ท่ีทำาหน้าท่ีพิจารณาและการไต่สวนทวนพยาน
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น มีกรมวัง กรมคลัง และ กรมนา
เป็ น ผู้ รั บ ชำา ระคดี ต่ อ มามี ศ าลในหั ว เมื อ งฝ่ ายเหนื อ และศาลในหั ว
เมืองฝ่ ายใต้รวมตลอดถึงศาลในกรมต่างๆ ท่ีทำาหน้าท่ีชำาระคดี
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการจัดตัง้ศาลโปลิส และ
ศาลอ่ ืนๆ อีกเป็ นจำา นวนมาก การดำา เนินการผ่านหลายขัน ้ ตอนคือมี
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
43

ทั ง้กรมรั บฟ้ อง ลูกขุ น ณ ศาลหลวง ตระลาการประจำา กรมฯ และผู้


ปรับบทกฎหมาย ไม่มีการอุทธรณ์ฎีกา ใช้ระบบจารีตนครบาลในการ
สอบสวน ต่างประเทศได้ขอใช้สิทธิสภาพนอกอาณาเขต จนถึงสมัย
สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ ป รั บ ปรุ ง ระบบการศาล ตั ง้
กระทรวงยุติธรรมขึ้น ให้ศาลทุกศาลขึ้นกับกระทรวงยุติธรรม และได้
จัดตัง้โรงเรียนสอนกฎหมายขึ้น หลังจากนัน ้ ก็ได้วิวัฒนาการมาจนถึง
ปั จจุบันนี้

7.2 โครงสร้างขององค์กรตุลาการ
1. ศาลยุติธรรมหมายถึงศาลท่ีมีอำา นาจพิจารณาพิ พากษาคดี ตาม
กฎหมายเอกชนคื อ คดี แ พ่ ง หรื อ คดี ท ่ีพ ลเรื อ นกระทำา ผิ ด ทาง
อาญาหรือกระทำาผิดร่วมกับบุคคลท่ีอยู่ในอำานาจของศาลทหาร
2. ศาลยุติธรรมแบ่งออกเป็ น 3 ชัน ้ คือ ศาลชัน ้ ต้น ศาลอุทธรณ์
และศาลฎีกา
3. ศาลพิเศษ หมายถึงศาลท่ีตัง้ขึ้นเพ่ ือพิจารณาพิพากษาการกระ
ทำา ผิ ด ทางอาญาของบุ ค คลบางประเภท เช่ น เด็ ก และเยาวชน
ทหาร หรือศาลท่ีจัดตัง้ขึ้นเพ่ ือพิจารณาพิพากษาคดีเฉพาะเร่ ือง
เช่น คดีแรงงาน และคดีปกครอง

7.2.1ศาลยุติธรรม
อธิบายความหมายของศาลยุติธรรม และศาลยุติธรรมแบ่งเป็ น
ก่ีชัน
้ อะไรบ้าง
ศาลยุ ติ ธ รรม เป็ นศาลท่ีมี อำา นาจพิ จ ารณาพิ พ ากษาคดี ต าม
กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา หรือคดีท่ีพลเรือนกระทำา ผิดอาญาร่วม
กับบุคคลท่ีอยู่ในอำานาจศาลทหาร
ศาลยุติธรรมแบ่งออกเป็ น 3 ชัน ้ คือ ศาลชัน
้ ต้น ศาลอุทธรณ์
และศาลฎีกา ศาลชัน ้ ต้นแบ่งออกเป็ นหลายประเภท ศาลอุทธรณ์ศาล
เดียว และศาลฎีกาศาลเดียว

7.2.2ศาลพิเศษ
ศาลพิ เ ศษจั ด ตั ง้ โดยอาศั ย กฎหมายใด ขณะนี ม ้ ี อ ยู่ ก ่ีศ าล มี
อำานาจอย่างไร
ศาลพิเศษจัดตัง้โดยอาศัยพระราชบัญญัติจัดตัง้
ศาลพิเศษขณะนีม ้ ีอยู่ 3 ศาลคือ
(1)ศาลคดีเด็กและเยาวชน จัดตัง้โดยพระราชบัญญัติจัดตัง้ศาล
คดีเด็กและเยาวชนตัง้ขึ้นเพ่ ือพิจารณาพิพากษาคดีเก่ียวกับ
เด็กและเยาวชนซ่ ึงมีอายุไม่ถึง 18 ปี บริบูรณ์

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


44

(2)ศาลแรงงาน จัดตัง้ตามพระราชบัญญัติจัดตัง้ศาลแรงงาน มี
อำา นาจพิจารณาพิพากษาคดีแรงงานท่ีเก่ียวกับการจ้างงาน
หรื อ ข้ อ พิ พ าทตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครอง และ
กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์
(3)ศาลทหาร จั ด ตั ง้ โดยพระราชบั ญ ญั ติ ธ รรมนู ญ ศาลทหาร
แบ่งออกเป็ นศาลทหารในเวลาปกติ กับศาลทหารในเวลาไม่
ปกติ
ศาลทหารในเวลาปกติมีสามชัน ้ คือศาลทหารชัน ้ ต้น ศาลทหาร
ชั น
้ กลาง และศาลทหารสู งสุ ด ส่ ว นศาลทหารในเวลาไม่ ป กติ มี ศาล
ทหารเด่ียว โจทก์และจำาเลยไม่มีสิทธิอุทธรณ์หรือฎีกาคำาพิพากษาได้

7.3 ผู้พิพากษาและตุลาการ
1. การสรรหาและการแต่งตัง้ผู้พิพากษาและตุลาการดำาเนินการ
โดยใช้วิธีผสมกล่าวคือเร่ิมต้นด้วยการคัดเลือกและแต่งตัง้ให้
ดำารงตำาแหน่งในภายหลัง
2. การสรรหาผู้ พิ พ ากษาในบางประเทศได้ จั ด ตั ง้ โรงเรี ย น
สำา หรั บ ผู้ พิ พ ากษาโดยเฉพาะ เช่ น ในประเทศฝรั ง่ เศส
สำา หรั บ ประเทศไทย ผู้ พิ พ ากษาศาลยุ ติ ธ รรมคั ด เลื อ กจาก
บุ ค คลซ่ ึง สำา เร็ จ การศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี ท างกฎหมาย และ
สอบไล่ ไ ด้ ตามหลั ก สู ตรของสำา นั ก อบรมศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี
ทางกฎหมาย และสอบไล่ได้ตามหลักสูตรของสำา นักอบรม
ศึ ก ษากฎหมายแห่ ง เนติ บั ณ ฑิ ต สภา สำา หรั บ ตุ ล าการศาล
ทหาร มีหลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาโดยเฉพาะ
3. ผู้พิพากษาศาลยุติธรรม และตุลาการศาลทหาร มี อิส ระใน
การพิจารณาพิพากษาคดีทัง้ปวง ความเป็ นอิสระนีไ้ด้มีการ
รับรองโดยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

7.3.1การสรรหาและการแต่งตัง้ผู้พิพากษาและตุลาการ
การสรรหาบุคคลเข้าดำารงตำาแหน่งผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมมี
หลักเกณฑ์อย่างไร
การสรรหาผู้ ดำา รงตำา แหน่ ง ผู้ พิ พากษาในศาลยุ ติ ธ รรมมี ห ลั ก
เกณฑ์ ดั งนี ค
้ ื อ ต้ อ งเป็ น ผู้ สำา เร็ จ ปริ ญญาตรี ท างกฎหมาย สอบไล่ ไ ด้
เนติบัณฑิต มีสัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต่ำา กว่า 25 ปี บริบูรณ์
และต้องผ่านการสอบคัดเลือ กตามท่ีค ณะกรรมการตุ ลาการกำา หนด
หรือเม่ ือคณะกรรมการตุลาการพิจารณาเห็นว่าเป็ นผู้มีคุณสมบัติครบ
ถ้ ว นตามท่ีร ะบุ ไ ว้ ใ นพระราชบั ญญั ติ ข้าราชการฝ่ ายตุ ล าการ ก็ ใ ห้ คั ด
เลื อ กเป็ นผู้ พิ พ ากษาได้ ซ่ ึง ทั ง้ สองกรณี ต้ อ งผ่ า นการอบรมจาก
กระทรวงยุติธรรมไม่น้อยกว่า 1 ปี
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
45

การสรรหาบุคคลเข้าดำารงตำาแหน่งตุลาการในศาลทหารมีหลัก
เกณฑ์อย่างไร
การคั ด เลื อ กตุ ล าการศาลทหารแบ่ ง ออกเป็ น ตุ ล าการพระ
ธรรมนูญ และตุลาการศาลทหาร
ตุลาการพระธรรมนู ญคัด เลื อกจากผู้ส อบไล่ ได้ชั น ้ ปริ ญญาตรี
ทางกฎหมาย มี สั ญ ชาติ ไ ทยโดยการเกิ ด มี อ ายุ 18 ปี บริ บู ร ณ์ และ
ผ่านการสอบแข่งขันตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกรมพระธรรมนู ญ
กระทรวงกลาโหมกำาหนด และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมีคำา
สัง่แต่งตัง้เป็ นนายทหารสัญญาบัตรยศว่าท่ีร้อยตรี ว่าท่ีเรือตรี ว่าท่ีเรือ
อากาศตรี
การคัดเลือกตุลาการศาลทหาร ได้แก่นายทหารชัน ้ สัญญาบัตร
ประจำาการ มียศทหารชัน ้ ร้อยตรี เรือตรี และเรืออากาศตรีขึ้นไป และ
อาจแต่ ง ตั ง้นายทหารนอกประจำา การเป็ น ตุ ล าการได้ เม่ ือ ผู้ มี อำา นาจ
เห็นสมควร

7.3.2ความเป็ นอิสระของผู้พิพากษาและตุลาการ
เหตุใดจึงต้องให้ผู้พิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณา
คดี พิจารณาได้จากหลักฐานใด
เพราะเกิดจากการพิจารณาพิ พากษาคดี มีลักษณะเป็ น งานท่ี
ก่อ ให้ เกิด ความเป็ น ธรรมแก่ คู่ ค วาม ซ่ ึงอาจให้ คุ ณและโทษแก่ ผู้ นั น

การปฏิบัติหน้าท่ีของผู้พิพากษาและตุลาการจึงไม่ควรอยู่ภายใต้อิทธิ
พลใดๆ และปราศจากการแทรกแซงจากอำานาจภายนอกทัง้สิน ้
พิจารณาได้จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยตัง้แต่มาตรา
169-176 พระราช บั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บข้ า ราชการฝ่ ายตุ ล าการ พ.ศ.
2521 และพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. 2477 (ฉบับแก้ไข)

แบบประเมินหน่วยท่ี 7
1. องค์กรตุลาการของไทยเป็ นองค์กรซ่ ึงทำา หน้าท่ี พิจารณาพิพาก
คดีต่างๆ
2. การแต่ ง ตั ง้ และถอดถอนตุ ล าการศาลทหารเป็ นอำา นาจของ
กระทรวงกลาโหม
3. ศาลพลเรือน หรือศาลยุติธรรมแบ่งออกเป็ น 3 ชัน ้ ตามลำาดับคือ
ศาลชัน้ ต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
4. องค์ ก รท่ีจัด ขึ้ น เพ่ ือ คุ้ ม ครองความเป็ น อิ ส ระของผู้ พิ พากษาคื อ
คณะกรรมการตุลาการ
5. ศาลทหารแบ่งออกเป็ นสองประเภทคือ ศาลทหารในเวลาใช้กฎ
อัยการศึกและศาลทหารในเวลาปกติ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
46

6. ศาลพิพากษาจัดตัง้ขึ้นเพ่ ือพิจารณาเก่ียวกับ คดีเฉพาะเร่ ืองเช่น


คดีแรงงาน
7. คดี อ าญาท่ีเ ก่ีย วกั บ กรมแรงงาน ไม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นอำา นาจของศาล
แรงงาน
8. พลเรือนท่ีกระทำา ผิดอาญาร่วมกับทหาร ไม่ได้อยู่ในอำา นาจศาล
ทหาร
9. การจัดตัง้ ศาลพิเศษจัดตัง้โดย พระราชบัญญัติ
10. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ัวได้ปรับปรุงระบบศาลท่ี
สำาคัญคือ จัดตัง้กระทรวงยุติธรรมขึ้น

-----------------------------

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


47

หน่วยท่ี 8 สิทธิเสรีภาพของประชาชน

1. สิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็ นแนวความคิดทางการเมืองของ
ชาวตะวันตกเพ่ ือกำาจัดอำานาจของรัฐ ซ่ ึงมีท่ีมาจากแนวความคิด
ในเร่ ือ งกฎหมายธรรมชาติ คำา สอนและหลั ก ศาสนา และ
กฎหมาย และคำา ประกาศท่ีรองรั บสิ ทธิ เสรี ภาพของประชาชน
ของประเทศต่างๆ
2. สิทธิ เสรีภาพของประชาชนนอกจากจะเป็ นสิทธิท่ีจำา กัดอำา นาจ
ของรั ฐ แล้ ว ยั ง เป็ นสิ ท ธิ ต่ อ รั ฐ อี ก ด้ ว ย ทั ง้ นี เ้ น่ ือ งจากได้ รั บ
อิทธิพลจากแนวความคิดของลัทธิเศรษฐกิจและหลักศาสนา

แนวความคิดท่ีว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชน
1. คำา ว่ า “ สิ ท ธิ ” มี ค วามหมายเป็ น สองนั ย นั ย แรกเป็ น สิ ท ธิ ท าง
กฎหมายและนัยท่ีสองเป็ นสิทธิทางศีลธรรม
2. ความหมายดัง้เดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็ นสิทธิแห่ง
การจำากัดอำานาจของรัฐ
3. แนวความคิดในเร่ ือง “กฎหมายธรรมชาติ” เป็ นแนวความคิดท่ี
เช่ ือกันว่านอกเหนือจากกฎหมายท่ีรัฐบัญญัติขึ้นใช้บังคับแล้วยัง
มี ก ฎหมายอี ก ประเภทหน่ ึง ท่ีเ กิ ด ขึ้ น เองตามธรรมชาติ โ ดย
มนุษย์มิได้สร้างขึ้น แต่เป็ นกฎหมายท่ีใช้บังคับได้โดยไม่จำา กัด
เวลาและสถานท่ี
4. คำา สอนและหลั ก ศาสนามี ห ลั ก การท่ีส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น
เสรีภาพของมนุษย์ในเร่ ืองความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ความ
สำานึกในศักดิศ ์ รีของมนุษย์ และการจำากัดอำานาจของรัฐ
5. กฎหมายและคำา ประกาศท่ีรั บ รองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชน
ของประเทศต่างๆ มีสาระ สำาคัญท่ีเก่ียวกับการคุ้มครองสิทธิใน
ร่ า งกายชี วิ ต และทรั พย์ สิ น ตลอดจนสิ ท ธิ เสรี ภาพในทางการ
เมื อ งท่ีมุ่ ง เน้ น ถึ ง อำา นาจของรั ฐ บาลท่ีต้ อ งมาจากปวงชนและ
ความเสมอภาคเท่าเทียมกัน

บทนำา
ความหมายของ สิทธิกฎหมาย และสิทธิทางศีลธรรม
สิทธิทางกฎหมายได้แก่อำานาจหรือประโยชน์ท่ีกฎหมายรับรอง
และคุ้มครอง เช่ นประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิ ชย์ รับรองสิท ธิ ใน
ทรัพย์สินของบุคคลไว้ หากมีบุคคลอ่ ืน มาเอาทรัพย์นัน
้ ไปเสียจากการ
ครอบครองเจ้าของกรรมสิทธิเ์จ้าของทรัพย์สินนัน ้ มีสิทธิฟ้องศาลเพ่ ือ
ให้คุ้มครองสิทธิของตน

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


48

ส่วนสิทธิทางศีลธรรม เป็ นสิทธิท่ีเกิดขึ้นจากความรู้สึกนึกคิด


ของคนทัว่ไป วิถีทางท่ีถูกต้องและเป็ นธรรมในกรณีใดควรเป็ นอย่าง
นั น ้ อย่างนี แ ้ ต่วิ ถีทางท่ีถูกต้ อ งแล
ไม่มีกฎหมายรับรองคุ้มครอง หรือบังคับให้เป็ นไปตามสิทธิดังกล่าว
นัน้

ความหมายดัง้เดิมของแนวความคิดท่ีว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชน
ความหมายดัง้เดิมของแนวความคิดท่ีว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชน
แนวความคิดท่ีว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชนมีกำา เนิดหรือ
ท่ีม าจากแนวความคิ ด ในเร่ ือ งสิ ท ธิ ธ รรมชาติ ท ่ีเ ป็ นแนวความคิ ด
ทางการเมืองหรือปรัชญาทางการเมืองของชาวตะวันตก สาระสำา คัญ
โดยย่ อ ของแนวความคิ ด ในเร่ ือ ง “ สิ ท ธิ ธ รรมชาติ ” มี ว่ า มนุ ษ ย์ ทั ง้
หลายเกิ ด มาเท่ า เที ย มกั น มนุ ษ ย์ มี สิ ท ธิ บ างประการท่ีติ ด ตั ว มาแต่
กำา เนิด สิทธิดังกล่าวได้แก่ สิทธิในชีวิต เสรีภาพในร่างกาย สิทธิใน
ทรัพย์สิน และความเสมอภาค
อย่างไรก็ตาม มีผู้เห็นว่าความมุ่งหมายท่ีแท้จริงของนักปรัชญา
หรื อ นั ก คิ ด ทางการเมื อ งซ่ ึง เสนอแนวความคิ ด ในเร่ ือ ง “ สิ ท ธิ
ธรรมชาติ” ก็เพ่ ือจำากัดอำา นาจของรัฐ หรือ “ผู้มีอำา นาจปกครอง” ดัง
นัน้ ความหมายดัง้เดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชนก็คือสิทธิในการ
จำากัดอำานาจรัฐนัน ่ เอง
สิทธิในการจำากัดอำานาจรัฐนีแ ้ ต่เดิมได้แก่สิทธิในชีวิต เสรีภาพ
ในร่างกาย สิทธิในทรัพย์สินและความเสมอภาค ต่อมาได้ขยายความ
ครอบคลุมไปถึงสิทธิอ่ืนๆ เช่น สิทธิท่ีจะได้รับการคุมครองป้ องกันใน
อั น ท่ีจ ะไม่ ใ ห้ ถู ก จั บ กุ ม คุ ม ขั ง โดยอำา เภอใจ และสิ ท ธิ ท ่ีจ ะไม่ ถู ก ล่ ว ง
ละเมิดในเคหสถานเป็ นต้น

แนวความคิดในเร่ ือง “กฎหมายธรรมชาติ”


อธิบายแนวคิดในเร่ ือง กฎหมายธรรมชาติ
แนวคิ ด ในเร่ ือ งกฎหมายธรรมชาติ เ ป็ นแนวคิ ด ท่ีเ ช่ ือ ว่ า นอก
เหนือจากกฎหมายท่ีรัฐบัญญัติแล้ว ยังมีกฎหมายอีกประเภทหน่ ึงท่ี
เกิดขึ้นตามธรรมชาติโดยท่ีมนุษย์ไม่ได้เป็ นผู้สร้างขึ้น เป็ นกฎหมายท่ี
ใช้บังคับได้โดยไม่จำากัดเวลาและสถานท่ี

คำาสอนและหลักศาสนา
คำา สอนและหลั ก ศาสนาเป็ น ท่ีม าของเสรี ภ าพของประชาชน
ตามความหมายดัง้เดิมอย่างไร
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
49

คำา สอนและหลั ก ศาสนามี ห ลั ก การท่ีส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น


สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของมนุ ษ ย์ ใ นเร่ ือ งความเสมอภาคเท่ า เที ย มกั น ความ
สำานึกในศักดิศ ์ รีของความเป็ นมนุษย์ และการจำากัดอำานาจของรัฐ

กฎหมายและคำา ประกาศท่ีรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ของประเทศ
อธิบายกฎหมายรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในประเทศ
อังกฤษ
กฎหมายรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในประเทศอังกฤษ
ได้แก่ แมคนา คาร์ตา (Magna Carta) มีสาระสำาคัญว่าบุคคลใดจะ
ถูกจับกุมคุมขัง ริมทรัพย์ เนรเทศ หรือถูกลงโทษโดยวิธีการอย่างใด
หาได้ไม่ เว้นแต่จะได้รั บการพิจารณาอั นเทีย งธรรมจากบุ คคลในชัน

เดียวกับเขา และตามกฎหมายบ้านเมือง นอกจากนีป ้ ระเทศอังกฤษ
ยังได้ประกาศใช้กฎหมายท่ีมีเน้ือหาสาระเช่นเดียวกับแมคนา คาร์ตา
อี ก ห ล า ย ฉ บั บ เ ช่ น “ The Act of Heabeas Corpus” แ ล ะ
“The English Bill of Rights” เป็ นต้น

อธิ บ ายคำา ประกาศอิ ส รภาพของสหรั ฐ อเมริ ก าท่ีรั บ รองสิ ท ธิ


เสรีภาพของประชาชนอเมริกัน
คำาประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกาเป็ นคำาประกาศท่ีรับรอง
ถึงสิทธิตามธรรมชาติของมนุษย์คือ สิทธิในชีวิต เสรีภาพและสิทธิใน
การแสวงหาความสุข และยืนยันถึงอำานาจของรัฐบาลท่ีต้องมาจากปวง
ชน

อธิ บ ายคำา ประกาศสิ ท ธิ ข องมนุ ษ ย์ แ ละของพลเมื อ งท่ีรั บ รอง


สิทธิเสรีภาพ ของประชาชนชาวฝรัง่เศส
คำา ประกาศสิ ท ธิ ม นุ ษ ย์ ของพลเมื อ งฝรั ง่ เศสซ่ ึง มี ส าระสำา คั ญ
เก่ีย วกับ เสรี ภ าพแนวความคิ ด เก่ีย วกั บ สั งคมการเมื อ ง และแนวคิ ด
เก่ียวกับกฎหมายและความเสมอภาค

ความหมายของสิทธิเสรีภาพของประชาชนในปั จจุบัน
1. แนวคิดท่ีทำาให้ความหมายดัง้เดิมของสิทธิเสรีภาพของประชาชน
เปล่ีย นแปลง เน่ ือ งจากลั ท ธิ สั ง คมนิ ย มแบบมาร์ ก ซิ ส ม์ แนว
ความคิ ด ทางสั ง คมของศาสนาคริ ส ต์ แ ละแนวความคิ ด ทาง
เศรษฐกิจสมัยใหม่
2. การเปล่ีย นแปลงท่ีสำา คั ญ ของความหมายดั ง้ เดิ ม ของสิ ท ธิ
เสรีภาพของประชาชน เป็ นเร่ ืองท่ีเก่ียวกับสิทธิเรียกร้องต่อรัฐ
สิทธิไม่เด็ดขาดในทรัพย์สิน และสิทธิของกลุ่มบุคคล
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
50

3. สิทธิเสรีภาพของประชาชนในปั จจุบันจำา แนกออกเป็ นสิทธิทาง


แพ่งและทางการเมือง และสิทธิทางเศรษฐกิจและสังคม

แนวความคิ ด ท่ีทำา ให้ ค วามหมายดั ง้ เดิ ม ของสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของ


ประชาชนเปล่ียนแปลง
ส่ิงใดท่ีทำา ให้แนวความคิดท่ีว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ตามความหมายดัง้เดิมเปล่ียน แปลงไป
ส่ิงท่ีทำาให้แนวความคิดท่ีว่าด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชนตาม
ความหมายดัง้เดิมเปล่ียนแปลงไป ได้แก่
(1)แนวความคิดของลัทธิสังคมนิยมแบบมาร์กซิสม์
(2)แนวความคิดในทางสังคมของศาสนาคริสต์
(3)แนวความคิดในทางเศรษฐกิจสมัยใหม่
(4)แนวความคิดของลัทธิฟาสซีสต์และลัทธินาซี

การเปล่ีย นแปลงท่ีสำา คั ญ ของความหมายดั ง้ เดิ ม ของสิ ท ธิ


เสรีภาพของประชาชน
การเปล่ียนแปลงท่ีสำาคัญของความหมายดัง้เดิม ของแนวความ
คิดท่ีวา่ ด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชน
การเปล่ียนแปลงท่ีสำาคัญ ของความหมายดัง้เดิมของแนวความ
คิดท่ีวา่ ด้วยสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้แก่
(1)สิทธิเรียกร้องต่อรัฐ
(2)สิทธิในทรัพย์สินไม่เป็ นสิทธิเด็ดขาด
(3)สิทธิเสรีภาพของกลุ่มบุคคล เช่นสิทธิในครอบครัว

สิทธิเสรีภาพของประชาชนในปั จจุบัน
ความหมายของสิทธิเสรีภาพของประชาชนในปั จจุบัน
แต่เดิม สิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็ นแนวความคิดทางการ
เมือง ซ่ ึงอาจสรุปได้ว่าสิทธิเสรีภาพส่วนหน่ ึงของบุคคลนัน ้ รัฐมีพันธะ
ท่ีจะต้องงดเว้นไม่สอดแทรกเข้าไปเก่ียวข้อง สิทธิดังกล่าวในปั จจุบัน
เรียกว่า “สิทธิทางแพ่งและทางการเมือง”
ในขัน้ ต่อมาแนวความคิดของลัทธิสังคมนิยมมาร์กซิสม์ แนว
ความคิ ด ทางสั ง คมของศาสนาคริ ส ต์ แ ละแนวความคิ ด ของลั ท ธิ
เศรษฐกิ จ ใหม่ ทำา ให้ แ นวความคิ ด ดั ง้ เดิ ม ของสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของ
ประชาชนเปล่ียนแปลงไป “สิทธิเรียกร้องต่อรัฐ” ท่ีจะจัดหลักประกัน
ให้แก่ประชาชนเพ่ ือให้สามารถดำารงชีพอยู่ได้อย่างน้อยตามมาตรฐาน
ขัน
้ ต่ำา สิทธิดังกล่าวนีเ้รียกว่า “สิทธิทางเศรษฐกิจและสังคม”

แบบประเมินหน่วยท่ี 8
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
51

1. ความหมายของสิทธิทางกฎหมายคือ อำานาจหรือประโยชน์ของ
ประชาชนท่ีกฎหมายรับรองและคุ้มครองเพ่ ือมิให้ถูกละเมิด
2. สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชนตามแนวความคิ ด ดั ง้ เดิ ม หมายถึ ง
แนวความคิดทางการเมืองของชาวตะวันตกท่ีมีความมุ่งหมายท่ี
จะจำากัดอำานาจรัฐ
3. สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชนตามความหมายดั ง ้ เดิ ม มี กำา เนิ ด มา
จาก ทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ
4. ฌอง ฌาคส์ รุ ส โซ (Jean-Jacques Rousseau) เป็ นนั ก
ปราชญ์ซ่ึงให้แนวความคิดว่าการท่ีประชาชนเคารพกฎหมายของ
บ้านเมืองไม่ทำาให้ประชาชนขาดอิสระเสรีภาพแต่อย่างใด
5. แนวความคิ ด ท่ีว่ า ด้ ว ย “ ทรราชย์ พิ ฆ าต ” อั น เป็ น แนวคิ ด ท่ีว่ า
ประชาชนมีสิทธิท่ีจะกำาจัดผู้ปกครองท่ีประพฤติตนเป็ นทรราชย์
นัน้ เป็ นแนวความคิดของ ศาสนาคริสต์
6. ทฤษฎี “สัญญาประชาคม” เป็ นทฤษฎีของนักคิดทางการเมือง
อธิบายถึงเร่ ือง สังคมมนุษย์ท่ีมีระเบียบทางการเมือง
7. “คำา ประกาศสิ ท ธิ ของมนุ ษ ย์ แ ละของพลเมื อ ง ” ประเทศผู้ เป็ น
เจ้าของประกาศนีค ้ ือ ประเทศฝรัง่เศส
8. การท่ีมี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชนหมายความรวมถึ ง สิ ท ธิ
เสรีภาพของครอบครัวและของชนกลุ่มน้อยนัน ้ เป็ นผลเน่ ืองมา
จาก แนวความคิดทางสังคมของศาสนาคริสต์
9. สิ ทธิ ทางแพ่ ง และทางการเมื อ งได้ แ ก่ สิ ทธิ ท่ีจ ะได้รั บ การรัก ษา
พยาบาลเม่ ือป่ วยเจ็บ
10. สิทธิท่ีจะได้รับค่าจ้างในขณะเจ็บป่ วยเป็ นสิทธิประเภท สิทธิทาง
แพ่งและทางการเมือง
11. สิทธิซ่ึงเกิดจากความรู้สึกนึกคิดของคนทัว ่ ๆว่าวิถีทางท่ีถูกต้อง
และเป็ นธรรมในกรณีหน่ ึงกรณีใดควรเป็ นอย่างนัน ้ อย่างนี้ เป็ น
ความหมายของสิทธิทางศีลธรรม
12. ความหมายดั ง ้ เดิม ของแนวความคิดท่ีว่าด้ วยสิท ธิ เสรีภาพของ
ประชาชนคือ สิทธิของประชาชนในการจำากัดอำานาจรัฐ
13. สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชนตามความหมายดั ง ้ เดิ ม มี ท ่ีม าจาก
หลักการและคำาสอนในศาสนา
14. นักคิดทางการเมืองท่ีแสดงความคิดเห็นว่าผู้ปกครองรัฐมีอำานาจ
จำา กัด เน่ ือ งจากผู้อ ยู่ใ ต้ปกครองสละสิ ท ธิ เสรีภาพให้ เพี ย งบาง
ส่ ว นเท่ า ท่ีจำา เป็ น ของการอยู่ ร่ ว มกั น ในสั ง คมคื อ จอห์ น ล็ อ ค
(John Locke)
15. นั ก คิ ด ทางการเมื อ งผู้ ท ่ีเ ห็ น ว่ า “ การท่ีม นุ ษ ย์ ก่ อ ตั ง
้ สั ง คมท่ีมี
ระเบี ย บทางการเมื อ งขึ้ น มาด้ ว ยการทำา สั ญ ญาประชาคมนั น ้

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


52

มนุษย์ได้ยอมสละเวลาสิทธิเสรีภาพทัง้สิน ้ ทัง้ปวงท่ีมีอยู่ให้กับ
องค์อธิปัตย์” คือ โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
16. “The Act of Habeas Corpus” เป็ นนั ก กฎหมายของ
ประเทศอังกฤษท่ีเป็ นหลักประกันในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชนในกรณี สิทธิเสรีภาพท่ีจะไม่ถูกจับกุมคุมขังไว้โดย
ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
17. “ตราบใดท่ีป ระชาชนยั ง ไม่ มี ค วามพร้ อ มในทางวั ต ถุ สิ ท ธิ
เสรี ภ าพของประชาชนก็ เ ป็ นเพี ย งสิ ท ธิ เ สรี ภ าพทางทฤษฎี
เท่านัน ้ ” มีท่ีมาจากแนวคิดของลัท ธิเศรษฐกิจสังคมนิยมแบบ
มาร์คซิสต์
18. สิ ท ธิ ท่ีจ ะไม่ ถูกจั บ กุ ม คุ ม ขั ง โดยไม่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย เป็ น สิ ท ธิ
ทางแพ่งและทางการเมือง
19. สิ ทธิ ในการก่ อ ตั ง ้ สหภาพแรงงาน เป็ นสิทธิทางเศรษฐกิจและ
สังคม
20. สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชนได้ วิ วั ฒ นาการมาเป็ น ระยะ จนใน
ปั จจุ บั น ความหมายของสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชนได้ เ ป็ นท่ี
ยอมรั บ กั น ทั ว่ ไป ความหมายในปั จจุ บั น คื อ สิ ท ธิ ใ นการจำา กั ด
อำานาจของรัฐในการเรียกร้องต่อรัฐ

----------------------------

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


53

หน่วยท่ี 9 การควบคุมการใช้อำานาจนิติบัญญัติ

1. การแบ่ ง แยกอำา นาจอธิ ป ไตยเป็ น การแบ่ ง แยกอำา นาจเพ่ ือ มิ ใ ห้


องค์กรท่ีใช้อำานาจอธิปไตยใช้อำานาจ โดยไม่มีขอบเขตโดยเฉพาะ
การใช้ อำา นาจนิ ติบั ญญั ตินั น ้ มี ขอบเขตจำา กั ด ตามหลั ก พ้ืน ฐาน
แห่งกฎหมาย ทัง้นีเ้พ่ ือมิให้กฎหมายฉบับใดฉบับหน่ ึงท่ีบัญญัติ
ออกมาใช้บังคับกับรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอ่ ืน
2. การควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญ กระทำา ได้โดยทาง
รัฐสภา ฝ่ ายตุลาการ และองค์กรพิเศษภายนอกท่ีมีความเหมาะ
สมทัง้ในด้านความเป็ นกลาง ความรู้ ความสามารถ และความ
เป็ นอิสระในการพิจารณาปั ญหา
3. ระบบการพิจารณากฎหมายท่ีขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ได้แก่
ระบบการรวมศูนย์อำา นาจการทบทวนทางกฎหมาย และระบบ
การกระจายอำา นาจการทบทวนกฎหมาย ซ่ ึงระบบพิจ ารณาทัง้
ส อ ง ร ะ บ บ ดั ง ก ล่ า ว จ ะ ทำา ใ ห้ ก ฎ ห ม า ย ท ่ีขั ด ห รื อ แ ย้ ง กั บ
รั ฐธรรมนู ญ มี ผ ลย้ อ ยหลั ง ตั ง้ แต่ เ ม่ ือ ใดหรื อ ไม่ มี ผ ลย้ อ นหลั ง
หรื อจะถื อว่ ากฎหมายนั น ้ ใช้ไม่ ได้ตัง้แต่จุ ดใด ย่ อ มเป็ น ไปตาม
แนวคิดของนักกฎหมายในแต่ละประเทศ
4. ทุกประเทศจำา เป็ นต้อ งมีกฎหมายลำา ดับรอง เพ่ ือบัญญั ติใช้ทัน
ท่ ว งที ท ่ีจ ะแก้ ไ ขภาวการณ์ ฝ่ ายปกครองการจั ด ให้ มี ก ฎหมาย
ลำาดับรองอาจดำาเนินการโดยรัฐสภาหรือองค์กรใดองค์กรหน่ ึงท่ี
เก่ียวข้อง กับสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นนัน ้
5. การออกกฎหมายลำา ดับรองต้องมีการควบคุม ทัง้นีเ้พ่ ือให้เกิด
ผลบังคับ ตามท่ีประสงค์และตามความเหมาะสมของแต่ละเร่ ือง
ในบางประเทศได้กำาหนดวิธีการควบคุมเฉพาะไว้ เพ่ ือป้ องกันมิ
ให้กฎหมายลำาดับรองขัดกับกฎหมายแม่บท
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
54

9.1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการควบคุมการใช้อำานาจนิติบัญญัติ
1. การแบ่ ง อำา นาจอธิ ป ไตยออกเป็ นอำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ อำา นาจ
บริหารและอำา นาจตุลาการ มิใช่เป็ นการแบ่งแยกเพ่ ือให้อำา นาจ
ใดอำา นาจหน่ ึง เป็ นขององค์ ก รใดองค์ ก รหน่ ึง โดยเฉพาะ แต่
เป็ นการแบ่งแยกเพ่ ือมิให้องค์กรใดองค์กรหน่ ึงใช้อำานาจนัน ้ โดย
มีขอบเขตความเหมาะสมขององค์กร และสามารถควบคุมตรวจ
สอบการใช้ อำา นาจนั น ้ ขององค์ ก รได้ ต ามกระบวนการแห่ ง
ระบอบการปกครองประชาธิปไตย
2. การใช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติมี ข อบเขตจำา กั ด ตามหลั ก การพ้ืน ฐาน
ของการปกครอง และตามหลั ก การพิ ทั ก ษ์ สิ ท ธิ พ้ืน ฐานของ
ประชาชน ซ่ ึง ขอบเขตจำา กั ด นี อ ้ าจกำา หนดไว้ ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ
กฎหมายลายลักษณ์อักษร และหลักกฎหมายทัว่ไป
3. การใช้ อำา นาจนิ ติบั ญญั ติ ถูกจำา กัด โดยการประกาศใช้ ก ฎหมาย
ผลย้อนหลังแห่งกฎหมาย และความเคลือบคลุมของบทบัญญัติ
แห่งกฎหมาย
4. กลไกท่ีใช้ควบคุมการใช้อำา นาจนิติบัญญัติขององค์กรนอกจาก
กฎหมายและรั ฐ ธรรมนู ญ แล้ ว ยั ง ได้ แ ก่ สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของ
ประชาชน และความเสมอภาคกันในกฎหมาย

9.1.1ข้อจำากัดของการใช้อำานาจนิติบัญญัติ
อธิบายข้อจำากัดของการใช้อำานาจนิติบัญญัติ
อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ มี ข้ อ จำา กั ด ตามหลั ก การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย ไม่มีองค์กรใดจะใช้อำา นาจโดยอิสระโดยปราศจากการ
ควบคุม เว้นแต่องค์กรนัน ้ จะเป็ นองค์กรเผด็จการ ดังนัน ้ การควบคุม
การใช้อำานาจนิติบัญญัติต้องดำา เนินการโดยองค์กรท่ีเหมาะสม ทัง้ใน
ด้ า น ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะ ใ น ด้ า น ร า ก ฐ า น ท า ง ร ะ บ อ บ
ประชาธิปไตย

9.1.2ขอบเขตของการใช้อำานาจนิติบัญญัติ
การใช้อำานาจนิติบัญญัติมีขอบเขตแค่ไหนเพียงใด
การใช้อำา นาจนิติบัญญัติมี ขอบเขตจำา กัดตามหลักการพ้ืนฐาน
การปกครอง และตาม หลัก การพิ ทักษ์สิทธิ พ้ืนฐานของประชาชน
ขอบเขตการใช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ อ าจมี กำา หนดไว้ ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ
กฎหมายลายลักษณ์อักษร และกฎหมายทัว่ไป

9.1.3กลไก ควบคุมการใช้อำานาจนิติบัญญัติ
กลไกสำาคัญท่ีใช้ควบคุมอำานาจขององค์กร
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
55

กลไกสำา คั ญท่ีใ ช้ ค วบคุ มอำา นาจขององค์ ก รคื อ กฎหมาย หรื อ


รัฐธรรมนูญ ซ่ ึงจะกำาหนดอำานาจหน้าท่ีขององค์กรไว้ นอกจากนีก ้ ลไก
ควบคุมการใช้อำา นาจนิติบัญญัติอีกประการหน่ ึงคือสิทธิและเสรีภาพ
ของประชาชน และความเสมอภาคกันในกฎหมาย

9.2 วิธีการควบคุมมิให้กฎหมายท่ีขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ
1. กลไกแห่งการควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญโดยฝ่ าย
นิติบัญญัติประกอบด้วยกระบวน การตรากฎหมายการกำาหนด
ให้ ปรึ ก ษาหารื อ การยั บ ยั ง้การออกกฎหมาย และการตี ค วาม
กฎหมาย
2. การควบคุมกฎหมายไม่ให้ ขัด ต่อ รัฐธรรมนู ญโดยฝ่ ายตุ ล การ
ได้แก่ กระบวนการพิจารณาวินิจฉัยแห่งศาลยุติธรรม
3. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ ข องรั ฐ สภาไม่ อ าจหลี ก
เล่ีย งปั ญหาการเมื อ งได้ ดั ง นั น
้ จึ งจำา เป็ น ต้ อ งพิ จ ารณาจั ด ตั ง้
องค์ ก รพิ เ ศษภายนอกท่ีเ หมาะสมทั ง้ ในด้ า นความเป็ น กลาง
ความรู้ความสามารถ และความเป็ นอิสระในการดำาเนินการ

9.2.1การควบคุมโดยฝ่ ายนิติบัญญัติ
อธิบายวิธีการควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญโดยฝ่ าย
นิติบัญญัติ
การควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญโดยฝ่ ายนิติบัญญัติ
อาจกระทำา ได้ 4 วิ ธี คื อ ควบคุ ม โดยกระบวนการตรากฎหมาย
ควบคุ ม โดยบั ง คั บ ให้ มี ก ารปรึ ก ษา ควบคุ ม โดยการยั บ ยั ง้ การออก
กฎหมาย และควบคุมโดยการตีความบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

9.2.2การควบคุมโดยฝ่ ายตุลาการ
อธิบายวิธีการควบคุมมิให้กฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญโดยฝ่ าย
ตุลาการ
การควบคุ ม มิ ให้ ก ฎหมายขั ด ต่ อ รั ฐ ธรรมนู ญโดยฝ่ ายตุ ล าการ
เป็ นการควบคุมโดยศาลซ่ ึงเป็ นการควบคุมโดยองค์กรภายนอก

9.2.3การควบคุมโดยองค์กรพิเศษ
อธิบายการควบคุมการใช้อำานาจนิติบัญญัติโดยองค์กรพิเศษ
การควบคุมการใช้อำานาจนิติบัญญัติโดยองค์กรพิเศษ คือ การ
จั ด ให้ มี อ งค์ ก รใดองค์ ก รหน่ ึง เป็ นผู้ พิ จ ารณาปั ญหากฎหมายขั ด กั บ
รัฐธรรมนูญ ซ่ ึงศาลปกติทัว่ไปจะพิจารณาปั ญหานีไ้ม่ได้เพราะอาจเป็ น
ปั ญหาทางการเมือง จำาเป็ นต้องจัดตัง้องค์กรพิเศษท่ีมีความเป็ นกลาง
มี ค วามรู้ ค วามสามารถและมี อิ ส ระในการพิ จ ารณาโดยไม่ ย อมให้
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
56

อิ ท ธิ พ ลใดเข้ า มาแทรกแซง องค์ ก รพิ เ ศษนั น


้ ได้ แ ก่ คณะกรรมการ
ตุลาการรัฐธรรมนูญ เป็ นต้น

9.3 ผลของกฎหมายท่ีขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญ
1. ระบบการพิจารณากฎหมายท่ีขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญได้แก่
ระบบกระจายอำา นาจการทบทวนทางกฎหมายและระบบรวม
ศูนย์อำานาจการทบทวนทางกฎหมาย
2. กฎหมายลายลั ก ษณ์ อั ก ษรท่ีขั ด ต่ อ รั ฐ ธรรมนู ญ จะมี ผ ลย้ อ น
หลังตัง้แต่เม่ ือใด หรือไม่มีผลย้อนหลังหรือจะถือว่ากฎหมาย
นั น
้ ใช้ ไ ม่ ไ ด้ ตั ง้ แต่ จุ ด ใด ย่ อ มเป็ นไปตามแนวคิ ด ของนั ก
กฎหมายของแต่ละประเทศ

9.3.1ระบบการพิจารณากฎหมาย
อ ธิ บ า ย ร ะ บ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ก ฎ ห ม า ย ท ่ีขั ด ห รื อ แ ย้ ง กั บ
รัฐธรรมนูญ
ระบบการพิจารณากฎหมายแบ่งออกเป็ นสองระบบคือ ระบบ
การรวมศูนย์อำา นาจการทบทวนทางกฎหมาย และ ระบบการกระจา
ยอำานาจการทบทวนทางกฎหมาย

9.3.2ผลย้อนหลังและผลไม่ย้อนหลังของกฎหมาย
อธิบายข้อแตกต่างของการถือว่ากฎหมายท่ีขัดต่อรัฐธรรมนูญ
นั น
้ ใช้ บั ง คั บ ไม่ ไ ด้ ม าตั ง้ แต่ เ ร่ิม แรก หรื อ ใช้ บั ง คั บ ได้ ม าตั ง้ แต่ มี ก าร
พิพากษาแสดงเช่นว่านัน ้
การท่ีจะให้กฎหมายท่ีขัดต่อรัฐธรรมนูญนัน ้ มีผลย้อนหลัง หรือ
ไม่มีผลย้อนหลัง หรือใช้บังคับไม่ได้ตัง้แต่จุดใด ขึ้นอยู่กับแนวความ
คิดของนักกฎหมายในแต่ละประเทศ

9.4 การมอบอำานาจให้ออกกฎหมายลำาดับรอง
1. ทุ ก ประเทศจำา ต้ อ งจั ด ให้ มี ก ฎหมายลำา ดั บ รอง ทั ง้ นี เ้ พ่ ือ ให้
สามารถใช้กฎหมายนัน ้ บังคับได้ทันต่อการแก้ไขสถานการณ์ท่ี
กระทำาต่อสิทธิ และประโยชน์ของประเทศและสามารถกำาหนด
มาตรการท่ีเหมาะสมกับกรณี
2. โดยหลักการผู้ท่ีได้รับมอบอำา นาจให้ออกกฎหมายลำา ดับรองจะ
ได้แก่องค์กรท่ีขึ้นตรงต่อรัฐบาลตามสายบังคับบัญชาตามลำาดับ
ชั น
้ เช่ น กระทรวงทบวงกรมต่ า งๆ หากผู้ รั บ มอบอำา นาจใช้
อำานาจไปในทางเหมาะสม รัฐสภาสามารถดำาเนินการให้รัฐบาล
รับผิดชอบโดยตรง

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


57

3. วิ ธีก ารมอบอำา นาจให้ อ อกกฎหมายลำา ดั บ รองจะกำา หนดไว้ ใ น


กฎหมายแม่บทโดยระบุว่าองค์กรใดจะมีสิทธิออกฎหมายลำาดับ
รองประเภทใด
4. การมอบอำานาจต่อการออกกฎหมายลำาดับรอง ย่อมเป็ นไปตาม
แนวคิดของนักกฎหมายในแต่ละประเภท

9.4.1เหตุผลในการให้มีกฎหมายลำาดับรอง
อธิบายเหตุผลของการจัดให้มีการออกกฎหมายลำาดับรอง
ในสั งคมสมั ย ใหม่ การจั ด ให้ มี ก ฎหมายลำา ดั บ รองเป็ น เพราะ
ความซั บ ซ้ อ นของระบบการปกครองท่ีต้ อ งการความเหมาะสมและ
ความรวดเร็ว

องค์กรใดควรมีอำานาจในการออกกฎหมายลำาดับรอง
การมอบอำา นาจให้ อ อกกฎหมายลำา ดั บ รอง ควรมอบให้ แ ก่
องค์กรท่ีผู้มอบอำา นาจสามารถควบคุมได้เพราะจะต้องรับผิดชอบร่วม
ด้วย ซ่ ึงอาจเป็ นความรับผิดชอบในทางกฎหมาย หรือความรับผิดชอบ
ในทางการเมืองก็ได้

9.4.2วิธีการมอบอำานาจให้ออกกฎหมายลำาดับรอง
อธิบายวิธีมอบอำานาจให้ออกกฎหมายลำาดับรอง
การมอบอำานาจให้ออกกฎหมายลำาดับรอง จะต้องกำาหนดไว้ใน
กฎหมายแม่บทโดยชัดแจ้งว่าองค์กรใดจะมีสิทธิออกกฎหมายลำา ดับ
รองประเภทใด ส่วนการมอบอำานาจต่อก็เป็ นไปตามแนวความคิดของ
นักกฎหมายในแต่ละประเภท

9.5 การควบคุมการออกกฎหมายลำาดับรอง
1. การกำาหนดแนวทางในการออกกฎหมายลำา ดับรอง ได้คำา นึง
ถึงการปฏิบัติหน้าท่ีของของเจ้าพนักงาน และรายละเอียดของ
หลักเกณฑ์และวิธีการในการดำาเนินการ
2. กฎหมายแม่บทอาจกำาหนดขัน ้ ตอนในการตรากฎหมายลำาดับ
รอง เพ่ ือ ให้ เกิ ด ผลบั ง คั บ ตามท่ีป ระสงค์ ซ่ ึง อาจนำา เอาหลั ก
เกณฑ์ในวิชาการปกครองมาใช้
3. ในบางประเทศได้ กำา หนดให้ มี วิ ธี ก ารควบคุ ม เฉพาะในการ
ออกกฎหมายลำา ดับรอง ทัง้นีเ้พ่ ือประโยชน์ในการป้ องกันมิ
ให้กฎหมายลำาดับรองขัดกับกฎหมายแม่บท

9.5.1การกำาหนดแนวทางของการออกกฎหมายลำาดับรอง
อธิบายแนวทางการออกกฎหมายลำาดับรอง
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
58

กฎหมายลำา ดั บ รองเป็ นการใช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ อ ย่ า งหน่ ึง


ฉะนัน
้ จึงมีขอบเขตเช่นเดียว กับขอบเขตของการใช้อำานาจนิติบัญญัติ
โดยทัว่ไป กฎหมายอาจกำาหนดรายละเอียดต่างๆ ได้ตามความเหมาะ
สมแต่ละเร่ ือง

9.5.2การกำาหนดวิธีการตรากฎหมายลำาดับรอง
อธิบายการตรากฎหมายลำาดับรอง
การกำาหนดวิธีการตรากฎหมายลำาดับรองอาจนำาหลักเกณฑ์ใน
วิชาการปกครองมาใช้ เพ่ ือให้กฎหมายลำา ดับรองออกมาให้เหมาะสม
กับสถานการณ์ กฎหมายอาจกำาหนดขัน ้ ตอนในการตรากฎหมายขึ้น
เพ่ ือ ให้ เ กิ ด ผลตามท่ีมุ่ ง หวั ง ได้ การกำา หนดนี อ
้ าจนำา หลั ก เกณฑ์ ใ น
วิชาการปกครองมาใช้ เช่น ให้มีการคานและดุลกันทัง้ในแง่ของผู้ออก
กฎหมาย ผู้ใช้บังคับกฎหมายและประชาชน การวางระบบเพ่ ือให้มีการ
ตรวจสอบดุ ล พิ นิ จ ภายหลั ง ได้ ตลอดจนการจั ด ให้ มี ก ารแจ้ ง ให้ ผู้ ถู ก
บังคับทราบตามความเป็ นธรรมด้วย

9.5.3การจั ด ให้ มี วิ ธี ก ารควบคุ ม เฉพาะสำา หรั บ การออก


กฎหมายลำาดับรอง
อธิบ ายการจัดให้ มีวิ ธีการควบคุม เฉพาะในการออกกฎหมาย
ลำาดับรอง
เก่ีย วกั บ การออกกฎหมายลำา ดั บ รองนั น้ ในบางประเทศเช่ น
ประเทศอั ง กฤษ ได้ กำา หนดวิ ธีก ารควบคุ ม เฉพาะเพ่ ือ มิ ใ ห้ ก ฎหมาย
ลำาดับรองขัดกับกฎหมายแม่บท

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 9
1. ข้ อ จำา กั ด ของการใช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ คื อ หลั ก การของระบอบ
การปกครองแบบประชาธิปไตย
2. ส่ิง ท่ีเ ป็ น ขอบเขตการควบคุ ม การการใช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ ข อง
องค์กรคือ หลักการพ้ืนฐานของการปกครองประเทศ
3. หลั ก การพ้ืน ฐานของการปกครองประเทศเป็ น เคร่ ือ งมื อ ท่ีใ ช้
สำา หรับดำา เนิ นการในกรณี การแสดงขอบเขตของการควบคุ ม
การใช้อำานาจนิติบัญญัติขององค์กร
4. กลไกของการควบคุ ม มิ ใ ห้ ก ฎหมายขั ด ต่ อ รั ฐ ธรรมนู ญ โดย
องค์กรนิติบัญญัติได้แก่ กระบวนการตรากฎหมาย
5. ลั ก ษณะขององค์ ก รพิ เ ศษภายนอกท่ีทำา หน้ า ท่ีค วบคุ ม การใช้
อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ ข ององค์ ก รได้ แ ก่ ความเป็ นกลางในการ
บริหาร

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


59

6. ลักษณะสำาคัญขององค์กรพิเศษภายนอกท่ีควบคุมการใช้อำานาจ
นิ ติ บั ญ ญั ติ ข ององค์ ก รท่ีค วบคุ ม การใช้ อำา นาจนิ ติ บั ญ ญั ติ ข อง
องค์กรคือ มีความเป็ นอิสระในการดำาเนินงานในหน่วยงาน
7. กฎหมายลายลักษณ์อักษรท่ีขัดต่อรัฐธรรมนูญจะมีผลย้อนหลัง
ได้ โดยเป็ นไปตามความเห็นของนักกฎหมายของแต่ละประเทศ
8. ระบบการกระจายอำา นาจการทบทวนทางกฎหมายในกรณี ท ่ี
กฎหมายขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอ่ ืนได้แก่การ
วิ นิ จ ฉั ย ชี ข้ าดโดยองค์ ก รตุ ล าการซ่ ึง วิ นิ จ ฉั ย กรณี อ ย่ า งเช่ น คดี
ทัว่ไป
9. เหตุ ใ นการให้ มี ก ฎหมายลำา ดั บ รองได้ แ ก่ ความเหมาะสมกั บ
สภาพข้อเท็จจริงของสังคม
10. พระราชบัญญัติ ไม่ได้เป็ นกฎหมายลำาดับรอง
11. วิธีการมอบอำานาจให้ออกกฎหมายลำา ดับรองได้แก่ การกำาหนด
เง่ ือนไขให้เหมาะสมกับแต่ละเร่ ืองแต่ละองค์กร
12. การกำา หนดแนวทางของการออกกฎหมายลำา ดับรองต้องคำา นึ ง
หลั ก เกณฑ์ เ ร่ ือ ง บทบั ญ ญั ติ ข องกฎหมายแม่ บ ทท่ีใ ห้ อำา นาจ
กระทำาในกรณีใด
13. ลั ก ษณะของระบบการกระจายอำา นาจทบทวนทางกฎหมายใน
กรณีท่ีกฎหมายขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอ่ ืนคือ
องค์กรตุลาการวินิจฉัยชีข้าดกรณีอย่างเช่นคดีทัว่ไป
14. คำากล่าวท่ีว่า “ความเจริญของประเทศก้าวหน้าไปรัฐจึงจำาเป็ นต้อง
จัดให้มีกฎหมายลำาดับรอง” หากคำากล่าวนีเ้ป็ นจริงสังคมจะได้รับ
ประโยชน์ ใ นเร่ ือ ง การใช้ ก ฎหมายบั ง คั บ ได้ ทั น ต่ อ การแก้ ไ ข
สถานการณ์
15. เหตุท่ีต้องมอบอำานาจให้ออกกฎหมายลำาดับรองแก่หน่วยงานท่ี
ขึ้ น ตรงต่ อ รั ฐ บาลตามสายงานการบั ง คั บ บั ญ ชาคื อ รั ฐ สภา
สามารถดำาเนินการให้รัฐบาลรับผิดชอบได้โดยตรง
16. เพ่ ือป้ องกันมิให้กฎหมายลำา ดับรองขัดกับกฎหมายแม่บท ต้อง
ดำาเนินการ กำาหนดให้มีวิธีการควบคุมเฉพาะ จึงจะเหมาะสม

-------------------------
หน่วยท่ี 10 หลักทั่วไปแห่งกฎหมายปกครอง

1. การศึกษากฎหมายปกครองในประเทศไทยไม่พัฒนาไปไกลเท่า
ท่ีค วรเพราะนั ก กฎหมายในประเทศ ไทยให้ ค วามสนใจน้ อ ย
อย่างไรก็ ตามกฎหมายปกครองก็ มีลัก ษณะดี เด่ นในตั ว เองใน
การกำา หนดให้ รั ฐใช้ อำา นาจอธิ ป ไตยในขอบเขตและกฎเกณฑ์

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


60

ของกฎหมายโดยไม่กระทบกระเทือนต่อสิทธิ และประโยชน์ของ
ประชาชน
2. กฎหมายปกครองเป็ นกฎหมายมหาชนท่ีวางหลักการจัดระเบียบ
และวิธีดำาเนินการงานสาธารณะ ของฝ่ ายปกครอง และวางหลัก
ความเก่ีย วพั น ระหว่ า งองค์ ก ารฝ่ ายปกครองด้ ว ยกั น เองและ
ระหว่างฝ่ ายปกครองกับประชาชน
3. กฎหมายปกครองมีบ่อเกิดจากกฎหมายลายลักษณ์อักษร จารีต
ประเพณี คำา พิ พ ากษาของศาล ทฤษฎี ก ฎหมาย และหลั ก
กฎหมายทัว่ไป บ่อเกิดต่างๆ เหล่านีท ้ ำา ให้ฝ่ายปกครองมีหน้าท่ี
รับผิดชอบในอันท่ีจะจัดบริการสาธารณะให้กับประชาชน
4. เน่ ืองจากเกรงว่าฝ่ ายปกครองอาจดำาเนินการตามอำาเภอใจอันจะ
ทำาให้เกิดความเสียหายต่อสิทธิและประโยชน์ของประชาชน ดัง
นั น
้ จึ งต้ อ งควบคุมการปฏิ บั ติงานของฝ่ ายปกครองด้ ว ยวิ ธีก าร
ต่างๆ และในขัน ้ สุดท้ายอาจถึงกับฟ้ องร้องต่อศาลยุติธรรมหรือ
องค์กรพิเศษ

ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับกฎหมายปกครอง
1. ประเทศไทยได้เร่ิมศึกษากฎหมายปกครองมากว่า 50 ปี แล้ว
แต่ ยั ง ไม่ พั ฒ นาไปไกลเท่ า ท่ีค วร เพราะนั ก ก ฎหมายใน
ประเทศไทยให้ความสนใจกับกฎหมายปกครองน้อย ประกอบ
กับยังไม่มีการจัดตัง้ศาลปกครองขึ้นเพ่ ือทำา หน้าท่ีพิจารณาคดี
ปกครอง จึ งทำา ให้ นักกฎหมายไทยมองไม่ เห็ น ลัก ษณะดี เด่ น
ของกฎหมายปกครอง
2. รั ฐ ท่ีเ ป็ นเอกราชต้ อ งมี อำา นาจอธิ ป ไตย และการใช้ อำา นาจ
อธิ ป ไตยก็ ต้ อ งมี ก ฎเกณฑ์ แ ละมี ขอบเขต เพ่ ือ ท่ีจ ะไม่ ก ระทบ
กระเทือนต่อสิทธิและประโยชน์ของประชาชน
3. อำานาจหน้าท่ีของฝ่ ายปกครองได้แก่การบริการสาธารณะท่ีฝ่าย
ปกครองต้องดำาเนินการบริการสาธารณะตามนโยบายและภาย
ใต้ ก ารควบคุ ม ดู แ ลของรั ฐ บาล เช่ น การรั ก ษาความสงบ
เรียบร้อยภายในประเทศ การศึกษา การคลังและการสาธารณะ
สุข เป็ นต้น
4. การดำา เนิ น งานของฝ่ ายปกครองย่ อ มได้ รั บ เอกสิ ท ธิ ต าม
กฎหมาย เพ่ ือท่ีจะสามารถปฏิบัติ การบริการบริการสาธารณะ
ได้ทันท่ี
5. ฝ่ ายปกครองมี ค วามสั ม พั น ธ์ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชนใน
ลักษณะท่ีว่าฝ่ ายปกครองปฏิบัติหน้าท่ีโดยเคารพกฎหมายและ
ดำา เนิ น งานภายใต้ ข อบเขตท่ีก ฎหมายให้ อำา นาจไว้ ส่ ว น
ประชาชนก็ต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายโดยเคร่งคัด
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
61

บทนำา
เหตุใดการศึกษาวิชากฎหมายปกครองจึงไม่พัฒนาไปไกลเท่า
ท่ีควร
เพราะนั ก กฎหมายไทยให้ ค วามสนใจกั บ กฎหมายปกครอง
น้อย ส่วนใหญ่มุ่งสนใจไปท่ีกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการพิจารณาอรรถ
คดีในศาลเสียมากกว่า ประกอบกับยังไม่มีการจัดตัง้ศาลปกครองขึ้น
ในประเทศไทย นั ก กฎหมายไทยจึ ง ยั ง ไม่ เ ห็ น ลั ก ษณะดี เ ด่ น ของ
กฎหมายปกครอง

การปกครองของรัฐ
รัฐจะสามารถใช้อำานาจอธิปไตยได้เพียงใด
รัฐเอกราชต้องมีอำานาจอธิปไตยแต่การใช้อำานาจอธิปไตยของรัฐ
ต้องอยู่ภายในขอบเขตและตาม กฎเกณฑ์ท่ีกำาหนดไว้เพ่ ือความสงบสุข
ของประเทศ และเพ่ ือ มิ ใ ห้ ก ระทบกระเทื อ นสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ข อง
ประชาชน

อำานาจหน้าท่ีของฝ่ ายปกครอง
อธิบายอำานาจหน้าท่ีสำาคัญของฝ่ ายปกครอง
อำา นาจหน้ า ท่ีสำา คั ญ ของฝ่ ายปกครอง ได้ แ ก่ ก ารบริ ก าร
สาธารณะท่ีเ ป็ น งานประจำา ทั ง้ นี เ้ พ่ ือ ตอบสนองความต้ อ งการของ
ประชาชนซ่ ึงจ่ายเงินท่ีเรียกว่า “ภาษี” ให้แก่รัฐ

ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ ายปกครองกับเอกชน
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ ายปกครองกับเอกชน
ในระบอบการปกครองแบบประชาธิ ป ไตย ฝ่ ายปกครองกั บ
ประชาชนมี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ กล้ ชิ ด มาก ฝ่ ายปกครองจะปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี
ภายในขอบเขตท่ีกฎหมายกำาหนด ส่วนประชาชนต้องเคารพกฎหมาย

ลักษณะสำาคัญของกฎหมายปกครอง
1. กฎหมายปกครองเป็ นกฎหมายสาขามหาชนท่ีวางหลักการจัด
ระเบี ย บ และวิ ธี ดำา เนิ น การงานสาธารณะของฝ่ ายปกครอง
และวางหลักความเก่ีย วพั น ระหว่ า งองค์ ก รฝ่ ายปกครองด้ ว ย
กันเองและระหว่างฝ่ ายปกครองกับประชาชน
2. บ่ อ เกิ ด ของกฎหมายปกครองได้ แ ก่ กฎหมายลายลั ก ษณ์
อัก ษร จารีตประเพณี คำา พิ พากษาของศาล ทฤษฎี ก ฎหมาย
และหลักกฎหมายทัว่ไป

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


62

3. ฝ่ ายปกครองมีหน้าท่ีจัดการบริการสาธารณะเพ่ ือสนองความ
ต้ อ งการของประชาชนภายในของเขตแห่ งกฎหมายและตาม
นโยบายของรัฐบาล
4. การดำา เนิ น กิ จ การในหน้ า ท่ีข องฝ่ ายปกครองจำา ต้ อ งอาศั ย “
การกระทำา ในทางปกครอง” ท่ีแสดงเจตนาของฝ่ ายปกครอง
ภายในขอบเขตของกฎหมาย

ความหมายของกฎหมายปกครอง
ลักษณะของกฎหมายปกครอง
กฎหมายปกครองเป็ นกฎหมายสาขามหาชนท่ีวางหลักการ จัด
ระเบี ย บและวิ ธี ก ารดำา เนิ น งานสาธารณะของฝ่ ายปกครอง และวาง
หลั ก ความเก่ีย วพั น ระหว่ า งองค์ ก ารฝ่ ายปกครองด้ ว ยกั น เอง และ
ระหว่างฝ่ ายปกครองกับประชาชน

บ่อเกิดของกฎหมายปกครอง
บ่อเกิดของกฎหมายปกครอง
บ่อเกิดของกฎหมายปกครองได้แก่
(1)กฎหมายลายลักษณ์อักษร
(2)จารีตประเพณี
(3)คำาพิพากษาของศาล
(4)ทฤษฎีกฎหมาย
(5)หลักกฎหมายทัว่ไป

กิจการในหน้าท่ีของฝ่ ายปกครอง
กิจการของฝ่ ายปกครองจึงสามารถดำาเนินการได้โดยเสรี
การจั ด บริ ก ารสาธารณะของฝ่ ายปกครองเพ่ ือ สนองความ
ต้องการของประชาชน ต้องอยู่ภาย ในขอบเขตและกฎเกณฑ์ท่ีกำาหนด
ไว้ในกฎหมาย หากฝ่ ายปกครองปฏิบัติการใดๆ ได้ตามอำา เภอใจก็อาจ
เกิดความไม่สงบขึ้นได้ นอกจากนีย้ ังอาจทำาให้เกิดความเสียหายต่อสิทธิ
และประโยชน์ของประชาชนด้วย

การกระทำาในทางปกครอง
ความหมายของคำา ว่า “การกระทำา ในทางปกครอง” และยก
ตัวอย่าง
“การกระทำาในทางปกครอง” หมายถึงกิจกรรมท่ีฝ่ายปกครอง
ได้ ดำา เนิ น ไปเพ่ ือ ประโยชน์ ข องประชาชน ท่ีอ าจจำา แนกได้ เ ป็ นสอง
ประเภท คือ การกระทำา ฝ่ ายเดียว และการกระทำา หลายฝ่ าย การกระ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


63

ทำาฝ่ ายเดียว เช่น คำาสัง่ และการกระทำาหลายฝ่ าย เช่น การทำาสัญญา


ระหว่างฝ่ าย เช่น การทำาสัญญาระหว่างฝ่ ายปกครองกับเอกชน

การควบคุมฝ่ ายปกครองในประเทศไทย
1. อำา นาจหน้าท่ีของฝ่ ายปกครองขยายมากขึ้นตามความเจริญ
ทางเศรษฐกิจและสั งคมการใช้อำา นาจของฝ่ ายปกครองอาจ
ก่อความเดือดร้อนเสียหายแก่ประชาชน
2. การกระทำา ของเจ้ า หน้ า ท่ีฝ่ ายปกครองอาจมี ผ ลกระทบต่ อ
สิทธิ และประโยชน์ของบุคคลอ่ ืน ผู้ซ่ึงได้รับผลเสียหายจาก
การกระทำานัน ้ อาจร้องทุกข์ หรืออุทธรณ์ขอให้ทบทวนการก
ระทำาของเจ้าหน้าท่ีฝ่ายปกครองได้
3. การควบคุมฝ่ ายปกครองโดยฝ่ ายนิติบัญญัติกระทำาได้สองวิธี
คือ การควบคุมโดยทางอ้อม และการควบคุมโดยทางตรง
4. แต่ เ ดิ ม มาการฟ้ องเจ้ า หน้ า ท่ีฝ่ ายปกครอง จะต้ อ งได้ รั บ
พระบรมราชานุญาตจากพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก่อน
แต่ปัจจุบันองค์การของรัฐไม่ว่ากระทรวง หรือทบวงการเมือง
หรือ เจ้าหน้าท่ีฝ่ายปกครองอาจถูกฟ้ องต่อศาลยุติธรรมได้ทัง้
สิน

ความจำาเป็ นในการควบคุมฝ่ ายปกครอง


ความสำาคัญและความจำาเป็ นท่ีจะต้องควบคุมฝ่ ายปกครอง
ปั จจุบันฝ่ ายปกครองและประชาชนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน
มาก การดำา เนิน การฝ่ ายปกครอง จะโดยสุ จ ริ ตหรื อ โดยมิ ช อบก็ ตาม
อาจก่อให้เกิดความยุ่งยากไม่เรียบร้อย และทำาให้เสียหายแก่ประโยชน์
สาธารณะและเอกชนได้ ดังนัน ้ จึงต้องควบคุม

การร้ อ งทุ ก ข์ ห รื อ การอุ ท ธรณ์ เ ก่ีย วกั บ การกระทำา ของเจ้ า


หน้าท่ีฝ่ายปกครอง
วิธีการท่ีประชาชนสามารถควบคุมการกระทำา ในทางปกครอง
ของฝ่ ายปกครองมาหน่ ึงวิธี
ประชาชนสามารถควบคุมการกระทำา ในทางปกครองของฝ่ าย
ปกครองโดยการร้องทุกข์ต่อทางราชการเก่ียวกับการปฏิบัติงานของ
ฝ่ ายปกครอง

การควบคุมฝ่ ายปกครองโดยฝ่ ายนิติบัญญัติ


วิเคราะห์การควบคุมฝ่ ายปกครองโดยฝ่ ายนิติบัญญัติในการตัง้
กระทู้ถาม

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


64

การควบคุมฝ่ ายปกครองโดยฝ่ ายนิติบัญญัติมีทัง้ผลดีและผล


เสีย ในทางปฏิบัติมักจะกระทำาเฉพาะในกรณีท่ีสำาคัญเท่านัน

การฟ้ องฝ่ ายปกครองต่อศาลยุติธรรม


การควบคุ ม ฝ่ ายปกครองโดยการฟ้ องฝ่ ายปกครองต่ อ ศาล
ยุติธรรม มีผลต่อการบริหารงานของฝ่ ายปกครองเพียงใด
การกระทำา ในทางปกครอง มี ลั ก ษณะพิ เ ศษท่ีค วรให้ ผู้ ซ่ ึง มี
ความรู้ ความเข้ าใจเฉพาะอย่า งพิจ ารณาวิ นิจฉั ย ศาลยุ ติธรรมอาจไม่
ถนัดในการใช้ดุลพินิจในกรณีปกครอง ดังนัน ้ จึงได้มีการจัดตัง้องค์กร
พิเศษขึ้นพิจารณาการกระทำาในทางปกครอง

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 10
1. รั ฐ บาลและฝ่ ายปกครอง เป็ นองค์ ก รฝ่ ายบริ ห ารตามหลั ก
กฎหมายปกครอง
2. ฝ่ ายปกครองบั ง คั บ การตามกฎหมายได้ ทั น ท่ีโ ดยไม่ ต้ อ งขอ
อนุญาตศาลยุติธรรมเสียก่อน เป็ นเอกสิทธิของฝ่ ายปกครอง
3. กฎหมายปกครองเป็ นกฎหมายประเภท กฎหมายมหาชน
4. การแสดงเจตนาของฝ่ ายปกครองทางกฎหมายเก่ีย วกั บ การ
บริการสาธารณะ เป็ นความหมายของการกระทำาในทางปกครอง
5. คำาสัง ่ คำาบังคับของฝ่ ายบริหารท่ีมีผลแก่บุคคลทัว่ไปคือ ข้อบังคับ
ของฝ่ ายฝ่ ายปกครอง
6. ปั จจุ บั น พระมหากษั ต ริ ย์ ท รงตราพระราชกฤษฎี ก าโดยอาศั ย
อำา นาจตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญและกฎหมายอ่ ืนท่ีมีค่าบังคับ
เท่าพระราชบัญญัติ
7. พระราชกำา หนดเป็ นกฎหมายท่ีตราขึ้นใช้บังคับเฉพาะกรณี ใน
สถานการณ์ไ ม่ปกติหรื อในเวลาฉุ กเฉิน เป็ น ความลับ เก่ีย วกั บ
ส่วนได้ส่วนเสียของประเทศชาติอย่างสำาคัญย่ิง
8. ปั จจุบันการเสนอเร่ ืองราวร้องทุกข์ตามกฎหมายในประเทศไทย
ดำา เนินการ เสนอเร่ ืองราวร้องทุกข์ไปยังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อ ง
ทัง้นี ภ้ ายในเง่ ือนไขและวิธีการท่ีกฎหมายบัญญัติ
9. ปั จ จุ บั น ก า ร ค ว บ คุ ม ฝ่ า ย ป ก ค ร อ ง โ ด ย ฝ่ า ย นิ ติ บั ญ ญั ติ ใ น
ประเทศไทยกระทำาโดย ฝ่ ายนิติบัญญัติควบคุมฝ่ ายปกครองโดย
อ้ อ มตามรั ฐ ธรรมนู ญ เช่ น การตั ง้ กระทู้ ถามการเปิ ดอภิ ป ราย
ทัว่ไป
10. ในประเทศไทย การควบคุ ม ฝ่ ายปกครองโดยศาลยุ ติ ธ รรม
กระทำาโดยวิธีการ เอกชนผู้ได้รับความเสียหายฟ้ องฝ่ ายปกครอง
ต่อศาลยุติธรรมเป็ นคดีแพ่งหรือคดีอาญา

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


65

11. ตามหลักการปกครอง รัฐมนตรีและเจ้าหน้าท่ีประจำาตามองค์กร


และกระทรวงทบวงกรมต่างๆ จัดเป็ นฝ่ ายปกครอง
12. การท่ีฝ่ายปกครองบังคับการตามกฎหมายได้ทันทีโดยไม่ต้องขอ
อนุญาตศาลยุติธรรม หมายถึงฝ่ ายปกครองมีเอกสิทธิทางการ
บริหารท่ีจะดำาเนินการตามกฎหมาย
13. กฎหมายปกครองเป็ น กฎหมายท่ีว างหลั ก ความเก่ีย วพั น
ระหว่างองค์กรฝ่ ายปกครองด้วยกันและฝ่ ายปกครองกับเอกชน
14. การแสดงเจตนาของฝ่ ายปกครองและเก่ียวข้องกับทางกฎหมาย
เพ่ ือดำาเนินบริการสาธารณะหมายถึง การกระทำาในทางปกครอง
15. พระราชบั ญ ญั ติ เ ป็ น กฎหมายประเภท คำา สั ง ่ คำา บั งคั บ ของฝ่ าย
นิติบัญญัติ
16. พระราชกฤษฎีกาตราขึ้นโดยองค์กร ฝ่ ายบริหาร
17. พระราชกำาหนดตราขึ้นโดย พระมหากษัตริย์ในฐานะฝ่ ายบริหาร
18. ปั จจุ บั น การเสนอเร่ ือ งราวร้ อ งทุ ก ข์ ใ นประเทศไทยได้ รั บ การ
รับรองโดยกฎหมาย รัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยและบรรดา
กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง
19. ฝ่ ายนิ ติ บั ญ ญั ติ ใ นประเทศไทยควบคุ ม ฝ่ ายปกครองโดย ฝ่ าย
นิติบัญญัติใช้วิธีการทางอ้อมในรัฐสภา
20. สิทธิของเอกชนท่ีจะฟ้ องฝ่ ายปกครองให้รับผิดเน่ ืองจากการกระ
ทำา ข อ ง เ จ้ า พ นั ก ง า น ไ ด้ รั บ ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง จ า ก ก ฎ ห ม า ย
รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทยและบรรดากฎหมายท่ี
เก่ียวข้อง

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


66

หน่วยท่ี 11 ระเบียบบิหารราชการแผ่นดิน

1. ระเบียบบริหารราชการ เป็ นข้อตกลงร่ วมกั นทางราชการเก่ีย ว


กับการกำา หนดการแบ่งหน่วย งานและแนวทางของการปฏิบัติ
ราชการ ซ่ ึง วิ วั ฒ นาการมาเป็ นลำา ดั บ จนกระทั ง่ กลายมาเป็ น
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
2. การจั ด ระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น มี ห ลายรู ป แบบ แต่ ล ะ
ประเทศอาจเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับวัฒนธรรม และ
จารีตประเพณี ตลอดจนสภาพการทางการปกครอง
3. ในกรณี ท ่ีหั ว หน้ า ส่ ว นราชการไม่ อ ยู่ หรื อ ไม่ ส ามารถปฏิ บั ติ
ราชการได้ มี ข้อ กำา หนดให้ ข้า ราชการรั ก ษาราชการแทน หรื อ
ปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าส่วนราชการนัน ้

11.1ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
1. ระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น เป็ นข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ทาง
ราชการ เก่ียวกับการกำาหนดการแบ่งหน่วยงานและแนวทาง
ปฏิบั ติร าชการ เพ่ ือ ให้ รู้ ขอบเขตของหน้ า ท่ีและความรั บ ผิ ด
ชอบเป็ นสัดเป็ นส่วน และเพ่ ือให้การบริหารงานบรรลุผลตาม
นโยบายท่ก ี ำาหนด
2. ระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ท่ีมี ม าจากขนบธรรมเนี ย ม
ประเพณี ก ารปกครองแต่ ไ ด้ วิ วั ฒ นาการไปโดยลำา ดั บ จน
กระทัง่ได้มีการบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อักษรใช้เป็ นหลักใน
การบริ ห าร และในท่ีสุ ด ได้ ก ลายเป็ นกฎหมายท่ีใ ช้ ใ นการ
บริหารของประเทศ

11.1.1ความหมายและความสำา คั ญ ของระเบี ย บบริ ห าร


ราชการแผ่นดิน
อธิบายความหมายของระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น เป็ นข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ทาง
ราชการ เก่ียวกับการกำา หนดการแบ่งหน่วยงานเพ่ ือแบ่งภาระหน้าท่ี

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


67

และกำาหนดแนวทางปฏิบัติตามขอบเขตของอำานาจหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบ
เพ่ ือให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงค์

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินมีความสำาคัญหรือไม่เพียงใด
การบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น จะสำา เร็ จ ลุ ล่ ว งไปได้ ก็ ด้ ว ยการ
ปฏิบัติงานร่วมกันของหน่วยงานต่างๆของรัฐ จึงจำาเป็ นต้องมีระเบียบ
การแบ่ ง ส่ ว นในหน่ ว ยงาน และกำา หนดหน้ า ท่ีค วามรั บ ผิ ด ชอบของ
แต่ ล ะหน่ ว ยงานของรั ฐ เป็ นสั ด ส่ ว นไม่ ซ้ำา ซ้ อ น เพ่ ือ ให้ ก ารบริ ห าร
ราชการแผ่นดินสัมฤทธิผลตามเป้ าหมาย

11.1.2วิวัฒนาการของระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
เปรี ย บเที ย บระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ในสมั ย กรุ ง
ศรีอยุธยา กับระเบียบบริหารราชการแผ่นดินในสมัยกรุงรัตนกสินทร์
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาระเบียบบริหารราชการแผ่นดินแยกเป็ น
ราชการฝ่ ายทหารมี ส มุ ห กลา โหมรั บ ผิ ด ชอบ และราชการฝ่ าย
พลเรือนมีสมุหนายกรับผิดชอบ สำาหรับราชการบริหารส่วนกลางก็จัด
เป็ นแบบจตุสดมภ์โดยมีพระมหากษัตริย์เป็ นผู้อำานวยการบริหาร และ
มีเสนาบดี 4 คน คือ ขุนเวียง ขุนคลัง ขุนวัง และขุนนา รับผิดชอบ
งานต่างๆ ของกรมเวียง กรมวัง กรมคลัง และกรมนา ตามลำาดับ
ส่ ว นในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ จั ด ระเบี ย บบริ ห ารราชการให้
สอดคล้ อ งกั บ นานาอารยประเทศทางตะวั น ตก โดยแบ่ ง ออกเป็ น
บริหารราชการส่วนกลางซ่ ึงแบ่งส่วนราชการออกเป็ น 12 กระทรวง
การบริ ห ารราชการส่ ว นภู มิ ภ าคท่ีจั ด แบ่ ง เขตการปกครองออกเป็ น
มณฑลเทศาภิบาล ท่ีประกอบด้วยเมืองต่างๆ และการบริหารราชการ
ส่วนท้องถ่ินท่ีจัดให้มีหน่วยงานในรูปสุขาภิบาล

11.2การจัดระเบียบบริหารราชการ
1. ระเบียบบริหารราชการส่วนกลางประกอบด้วย กระทรวง ทบวง
และกรมหรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ ืออย่างอ่ ืนแต่มีฐานะเป็ นกรม
การจัด ตัง้หรื อการเปล่ีย นแปลงปรั บปรุ งส่ ว นราชการดั งกล่ า ว
ต้องตราเป็ นพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
2. ระเบี ย บบริ ห ารราชการส่ ว นภู มิ ภ าคประกอบด้ ว ยจั ง หวั ด และ
อำาเภอ การจัดตัง้ การยุบ และการเปล่ียนแปลงเขตของจังหวัด
และอำาเภอ กระทำาๆได้โดยตราพระราชกฤษฎีกา
3. ระเบี ย บบริ ห ารราชการส่ ว นท้ อ งถ่ิน จั ด เป็ น 4 รู ป ได้ แ ก่
องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลสุขาภิบาล และสภาตำา บล
การจั ด ระเบี ย บบริ ห ารในส่ ว นราชการดั ง กล่ า วเป็ นไปตาม
กฎหมายว่าด้วยส่วนราชการนัน ้ ๆ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
68

4. ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร ส่ ว น ท้ อ ง ถ ่ิน ใ น รู ป พิ เ ศ ษ ไ ด้ แ ก่
กรุ ง เทพมหานคร เมื อ งพั ท ยา และหมู่ บ้ า นอาสาพั ฒ นาและ
ป้ องกันตนเอง
5. ปั จจุ บั น ระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ทำา ให้ เ กิ ด ปั ญหาทาง
ปฏิบัติหลายประการเช่น การปฏิบัติงานก้าวก่ายซับซ้อน ส่วน
ราชการบางแห่ ง มี บ ทบาทในการบริ ห ารราชการมากและเกิ ด
ปั ญหาทางปฏิ บั ติ ร ะหว่ า งราชการบริ ห ารส่ ว นกลางและส่ ว น
ภูมภิ าคเป็ นต้น

11.2.1การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
อธิ บ ายหน้ า ท่ีท ่ีสำา คั ญ ของกระทรวงในการบริ ห ารราชการ
แผ่นดิน
กระทรวงมี ห น้ า ท่ีรั บ ผิ ด ชอบในกิ จ การตามท่ก ี ำา หนดไว้ ใ น
ประกาศของคณะปฏิ วั ติท่ี 218 ลงวัน ท่ี 19 กัน ยายน 2515 และ
นอกจากนี ย ้ ั ง มี ห น้ า ท่ีอ่ ืน อี ก เช่ น กำา หนดนโยบายดำา เนิ น การของ
กระทรวง และรั บนโยบายของรั ฐบาลท่ีกำา หนดความรั บผิด ชอบของ
แต่ละกระทรวงไปปฏิบัติต่อให้สำาเร็จผลดังเป้ าหมาย เป็ นต้น

11.2.2การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
ลักษณะของการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค มีลักษณะเป็ นการ
บริหารราชการตามระบบผ่อนคลายอำานาจ ซ่ ึงการบริหารราชการส่วน
กลางจะแบ่ งอำา นาจให้ การบริห ารส่ วนภูมิ ภ าคได้บ ริ หารราชการตาม
ลำา พั ง แทนการบริห ารราชการส่ ว นกลาง ทั ง้ท่ีไ ม่ ตัด อำา นาจของการ
บริหารราชการส่วนกลางท่ีจะควบคุมและตรวจสอบการบริหารราชการ
ส่วนภูมิภาคได้ตลอดเวลา

11.2.3การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน
การจั ด ระเบี ย บบริ ห ารราชการส่ ว นท้ อ งถ่ิน แบ่ ง ออกเป็ นก่ี
ประเภท
การจั ด ระเบี ย บบริ ห ารราชการส่ ว นท้ อ งถ่ิน แบ่ ง ออกเป็ น 4
ประเภทคือ
(1)องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(2)เทศบาล
(3)สุขาภิบาล
(4)สภาตำาบล
นอกจากนีย ้ ังมีส่วนราชการของการบริหารราชการส่วนท้อง
ถ่ินในลักษณะพิเศษอีก คือ กรุงเทพมหานคร และ เมืองพัทยา
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
69

11.2.4ปั ญหาเก่ียวกับการจัดระเบียบบริหารราชการ
การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินมีปัญหาหรือไม่
ปั ญหาของระเบียบบริหารราชการแผ่นดินได้แก่
(1)การปฏิบัติงานก้าวก่ายซ้ำาซ้อน
(2)ส่วนราชการมีบทบาทในการบริหารราชการมาก
(3)มีปัญหาทางปฏิบัติระหว่างการบริหารส่วนกลางและส่วน
ภูมิภาค
(4)นโยบายของการบริหารราชการอาจไม่ได้รับการสนองรับ
(5)การบริหารราชการส่วนท้องถ่ินถูกควบคุมใกล้ชด

11.3อำานาจในการบริหารราชการ
1. ในการบริหารงาน จะมีบุคคลหรือผุ้บริหารปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะ
หัวหน้าส่วนราชการซ่ ึงกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน ได้บัญญัติให้อำานาจแก่คณะบุคคล หรือผูบ ้ ริหารในการ
ปฏิบัติราชการตามหน้าท่ีนัน ้
2. ผู้ บ ริห ารจะต้ อ งปฏิ บั ติห น้ า ท่ีตามอำา นาจท่ีก ฎหมายกำา หนดให้
หากไ ม่ ส า มาร ถป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีด้ ว ยเหตุ ใด ก็ ตา ม จ ะต้ องมี
ข้าราชการอ่ ืนปฏิบั ติห น้าท่ีในฐานะผู้รั กษาราชการแทนหรือ ผู้
ปฏิบัติราชการแทน

11.3.1ผู้มีอำานาจในการบิหารราชการ
ยกตัวอย่างผู้มีอำานาจบริหาร พร้อมทัง้อธิบายหน้าท่ีความรับผิด
ชอบตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้
รั ฐ มนตรี เ ป็ น ผู้ มี อำา นาจบริ ห ารราชการ มี อำา นาจหน้ า ท่ีแ ละ
ความรับผิดชอบในการควบคุมดูแลราชการประจำา ของกระทรวงท่ีว่า
ราชการอยู่ และกำา กับ เร่งรัด และติดตามผลการปฏิบัติงานของส่วน
ราชการต่างๆในกระทรวง

11.3.2การปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
วัตถุประสงค์ของการกำาหนดให้มีระบบการรักษาราชการ และ
การปฏิบัติราชการแทน
วัตถุประสงค์ของการกำาหนดให้มีระบบการรักษาราชการ และ
ระบบการปฏิบัติราชการแทน อาจสรุปได้ดังนี้
(1)เพ่ ือ ให้ มีผู้ รับผิด ชอบปฏิ บัติราชการอย่ างไม่ ขาดสายและ
ตลอดเวลา
(2)เพ่ ือแบ่งเบาภาระของการบริหารราชการของหัวหน้าส่วน
ราชการ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
70

(3)เพ่ ือ ให้ ก ารบริ ก ารแก่ ป ระชาชนมี ลั ก ษณะต่ อ เน่ ือ งไม่


ขาดตอน
(4)เพ่ ือ ความคล่ อ งตั ว ในการบริ ห ารราชการ และให้ มี ค วาม
สะดวกในการประสานงาน
(5)เพ่ ือฝึ กบุคลากรระดับรองลงไปซ่ ึงเตรียมตัวเล่ ือนขึ้นไปรับ
ตำาแหน่งผู้บริหาร

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 11
1. ระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น มี ค วามหมายคื อ ข้ อ ตกลงร่ ว ม
กับทางราชการในการกำาหนด การแบ่งหน่วยการเพ่ ือแบ่งภาระ
หน้าท่ีและกำาหนดแนวทางปฏิบัติของหน่วยงาน
2. กฎหมายท่ีใ ช้ เ ป็ น พ้ืน ฐานในการบริ ห ารราชการคื อ ประกาศ
คณะปฏิวัติฉบับท่ี 218
3. ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร แ ผ่ น ดิ น มี กำา เ นิ ด ม า จ า ก แ ห ล่ ง
ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณี
4. กรุงเทพมหานคร ไม่ใช่เป็ นส่วนประกอบของการบริหารราชการ
ส่วนกลาง
5. การจัดระเบียบบริหารราชการท่ีแบ่งออกเป็ นการบริหารราชการ
ส่ ว นกลาง การบริ ห ารราชการส่ ว นภู มิ ภ าค และการบริ ห าร
ราชการส่วนท้องถ่ิน เพ่ ือวัตถุประสงค์ เพ่ ือแบ่งเบาภาระหน้าท่ี
ในการปฏิบัติงาน
6. การแบ่งส่วนราชการในกรมเป็ นอำานาจของรัฐบาลท่ีจะกระทำาได้
โดยการตรากฎหมายประเภท พระราชกฤษฎีกา
7. การจัดระเบียบเมื อ งพัท ยาเป็ นการระเบี ยบบริหารราชการแบบ
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถ่ินลักษณะพิเศษ
8. ปั ญหาสำาคัญในทางปฏิบัติระหว่างการบริหารราชการส่วนกลาง
และการบริ ห ารส่ ว นภู มิ ภ าคคื อ ส่ ว นราชการท่ีมี ห น้ า ท่ีรั บ ผิ ด
ชอบงานด้านเดียวกันเก่ียงกันรับผิดชอบ
9. ในกรณี ท ่ีไ ม่ มี ผู้ มี อำา นาจในการบริ ห ารราชการหรื อ ผู้ มี อำา นาจ
บริหารราชการไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีราชการได้ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ตำา แหน่ ง ใด เจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ตำา แหน่ ง ใดท่ีไ ม่ ส ามารถรั ก ษา
ราชการแทนได้คือ หัวหน้าฝาย
10. กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินได้กำา หนดระบบ
การรั ก ษาราชการ และระบบการปฏิ บั ติ ร าชการแทนไว้ เ พ่ ือ
วัตถุประสงค์ เพ่ ือฝึ กเจ้าหน้าท่ีลำา ดับรองให้คุ้นกับความรับ ผิด
ชอบสำาหรับตำาแหน่งสูง
11. ข้ อ ตกลงร่ ว มกั บ ทางราชการในการกำา หนดการแบ่ ง หน่ ว ยงาน
และแนวทางปฏิ บั ติ ข องหน่ ว ยงานท่ก ี ำา หนดขึ้ น โดยระเบี ย บ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
71

บริห ารราชการแผ่ น ดิ น กระทำา เพ่ ือ ประโยชน์ เพ่ ือ การแบ่ ง เบา


ภาระหน้าท่ีในการปฏิบัติงาน
12. ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี 218 เป็ น กฎหมายท่ีใช้เป็ นพ้ืน
ฐานในการบริหารราชการ
13. สภาตำาบลเป็ นส่วนประกอบของการบริหารราชการส่วนท้องถ่ิน
ตัง้ขึ้นโดย ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี 326
14. การจัดตัง ้ หรือการเปล่ียนแปลงปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมหรือ
ส่วนราชการท่ีเรียกช่ ืออย่างอ่ ืนแต่มีฐานะเป็ นกรมกระทำาได้โดย
กฎหมาย พระราชบัญญัติ
15. กรุ ง เทพมหานคร เป็ นการจั ด ระเบี ย บบริ ห ารราชการส่ ว นท้ อ ง
ถ่ินลักษณะพิเศษ
16. วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการจั ด ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ร าชการแทน เพ่ ือ ให้ มี
ผู้รับผิดชอบปฏิบัติการต่อเน่ ือง

------------------------

หน่วยท่ี 12 บริการสาธารณะ

1. บริ ก ารสาธารณเป็ น กิ จ การท่ีอ ยู่ ใ นความอำา นวยการ หรื อ ใน


ความควบคุมของฝ่ ายปกครองท่ีจัดทำา เพ่ ือสนองความต้องการ
ของประชาชน ซ่ ึงมีลักษณะสำาคัญ 5 ประการ
2. บริการสาธารณะได้ มีวิ วัฒนาการมาโดยลำา ดับ เพ่ ือ ให้ สามารถ
สนองความต้องการของประชาชนท่ีมีเพ่ิมมากขึ้น จนได้เกิดแนว
ความคิ ด ท่ีว่ า รั ฐ ควรเข้ า ไปจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะท่ีเ ก่ีย วข้ อ ง
เศรษฐกิจหรือไม่
3. การจัดทำาบริการสาธารณะในปั จจุบันมีทัง้บริการสาธารณะท่ีฝ่าย
ปกครองจัดทำาเอง หรือมอมให้เอกชนจัดทำา
4. บริ ก ารสาธารณะท่ีฝ่ ายปกครองจั ด ทำา ในรู ป ราชการและรู ป
รั ฐ วิ ส าหกิ จ ส่ ว นท่ีม อบหมายให้ เ อกชน จั ด ทำา เป็ น ไปในรู ป การ
สั ม ปทานเรี ย กว่ า “ สั ม ปทานบริ ก ารสาธารณะ ” โดยมี ฝ่ าย
ปกครองเป็ นผู้ควบคุม
5. ฐานะและอำานาจขององค์การท่ีจัดทำาบริการสาธารณะขึ้นอยู่กับ
กฎหมายท่ีจัดตัง้
6. การดำาเนินการบริการสาธารณะ การยุบเลิก หรือการเพิกถอนก็
ขึ้นอยู่กับกฎหมายท่ีจด ั ตัง้
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
72

7. รั ฐถื อ เป็ นนโยบายท่ีจะจัดทำา บริก ารสาธารณะให้ กับ ประชาชน


ศึกษาได้จาก แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
8. เงินลงทุนท่ีใช้ในการจัด ทำา บริ การสาธารณะ รั ฐได้นำา มาแหล่ง
เงินทุนหลายประเภท เช่น เงินงบประมาณ เงินกู้ เป็ นต้น
9. เพ่ ือให้การบริการสาธารณะสามารถสนองความต้อ งการ ของ
ประชาชนได้ อ ย่ า งทั ว่ ถึ ง รั ฐจึ งได้ จั ด ทำา ให้ มี ก ารควบคุ ม การทำา
บริการสาธารณะทัง้ท่ีรัฐจัดทำาเองหรือให้เอกชนจัดทำา อย่างไรก็
ดีบริการสาธารณะก็ยังมีข้อบกพร่องบางประการ

กำาเนิดของบริการสาธารณะ
1. การบริการสาธารณะเป็ นกิจการท่ีรัฐหรือฝ่ ายปกครองจัดให้กับ
ประชาชน เพ่ ือสนองความต้อ งการของประชาชน นอกเหนื อ
จากปั จจั ยส่ีคื อ อาหาร เคร่ ือ งนุ่ งห่ ม ท่ีอ ยู่ อ าศั ย และยารั กษา
โรค ได้แก่ความต้องการได้รับความปลอดภัยและความต้องการ
ได้รบ
ั ความสะดวกสบายในชีวิต
2. การจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะบางอย่ า งมี ลั ก ษณะไปในทาง
เศรษฐกิ จ จึ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด แนวความ คิ ด ว่ า รั ฐ ควรท่ีจ ะเข้ า ไปทำา
บริการสาธารณะประเภทนีห ้ รือไม่ ซ่ ึงได้ก่อให้เกิดแนวความคิด
ของการจัดทำา บริการสาธารณะท่ีเก่ียวข้องกับเศรษฐกิจเป็ น 2
แนว
3. การบริการสาธารณะท่ีรัฐเป็ นผู้จัดให้ประชาชน เพ่ ือสนองความ
ต้องการของประชาชนนีไ้ด้มีมานานแล้ว ทัง้ในของไทยและต่าง
ประเทศและได้วิวัฒนาการในด้านการจัดทำาและการดำาเนิน การ
มาโดยลำาดับจนกระทัง่ถึงทุกวันนี้

ความหมายของการบริการสาธารณะ
อธิบายความหมายของการบริการสาธารณะและยกตัวอย่าง
ความหมายของการบริการสาธารณะ คือ กิจการท่ีอยู่ในความ
อำานวยการและความควบคุมของฝ่ ายปกครองท่ีจัดทำา เพ่ ือสนองความ
ต้องการของประชาชนในด้านความปลอดภัยในชีวิต และความสะดวก
สบายในชี วิ ต ตั ว อย่ า งของการบริ ก ารสาธารณะเช่ น การท่ีรั ฐ จั ด ให้ มี
กำา ลั ง ทหารการจั ด ให้ มี ส าธาร ณู ป โภค และสาธารณู ป การ เช่ น การ
จัดหาน้ำาประปาให้ การจัดไฟฟ้ า การเดินรถประจำาทางเป็ นต้น

ลักษณะสำาคัญของบริการสาธารณะ
บริการสาธารณะมีลักษณะสำาคัญอย่างไร
บริการสาธารณะมีลักษณะสำาคัญ 5 ประการคือ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


73

(1)เป็ นกิ จ การท่ีอ ยู่ ใ นความอำา นวยการหรื อ อยู่ ใ นความ


ควบคุมของฝ่ ายปกครอง
(2)ต้ อ งมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พ่ ือ สนองความปลอดภั ย ในชี วิ ต
ทรัพย์สินและสนองความสะดวกสบายในชีวิต
(3)การจัดทำาบริการสาธารณะ จะต้องมีการแก้ไขเปล่ียนแปลง
ได้โดยบทกฎหมาย
(4)บริการสาธารณะจะต้องดำา เนินกิจการอยู่เป็ นนิจและโดย
สม่ำาเสมอ
(5)บริการสาธารณะจะต้องจัดให้เอกชนมีสิทธิได้รับประโยชน์
โดยเท่าเทียมกัน

วิวัฒนาการของบริการสาธารณะ
บริการสาธารณะมีวิวัฒนาการอย่างไร และได้มีแนวความคิด
ของการจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะออกเป็ นก่ีแ นวคิ ด มี ส าระสำา คั ญ
อย่างไร
การบริการสาธารณะ ได้จัดทำาโดยรัฐหรือฝ่ ายปกครองมานาน
แล้ ว รั ฐเป็ น ผู้ จั ด ทำา เองในรู ป แบบราชการ ต่ อ เม่ ือ มี ค วามเจริ ญ และ
ประชาชนมีความต้องการเพ่ิมมากขึ้นก็ได้วิวัฒนาการการจัดทำาบริการ
สาธารณะให้รวดเร็วขึ้นโดยจัดทำา ในรูปแบบรัฐวิสาหกิจ และต่อมาได้
มอบหมายให้เอกชนจัดทำาในรูปสัมปทานบริการสาธารณะ จนกระทัง่
ได้มีแนวความคิดว่ารัฐควรเข้าไปจัดทำาบริการสาธารณะท่ีเก่ียวข้องกับ
เศรษฐกิจหรือไม่ ออกเป็ น 2 แนวความคิด

ระเบียบวิธีการจัดทำาบริการสาธารณะ
1. การจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะท่ีฝ่ ายปกครองจั ด ทำา เอง ได้ แ บ่ ง
ออกเป็ นการจัดทำาบริการสาธารณะในรูปแบบราชการ และใน
รูปแบบรัฐวิสาหกิจ
2. บริการสาธารณะในรูปแบบราชการได้แบ่งแยกจากการจัดทำา
บริการสาธารณะออกเป็ น ส่วน กลาง ส่วนภูมิภาคและส่วน
ท้องถ่ิน และการจัดทำาบริการสาธารณะในรูปแบบราชการยังมี
ลั ก ษณะพิ เ ศษตามลั ก ษณะของกฎหมายมหาชนอี ก 4
ประการ
3. การจัดทำาบริการสาธารณะในรูปราชการ ในบ้างครัง้ไม่สามารถ
สนองความต้องการของประชาชนได้อย่างเพียงพอ รัฐจึงได้ใช้
วิ ธี ก ารจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะในรู ป รั ฐ วิ ส าหกิ จ เพ่ ือ ให้ ก าร
บริการสาธารณะมีความคล่องตัว สามารถสนองความต้องการ
ของประชาชน ได้อย่างรวดเร็ว โดยได้นำาวิธีการจัดทำาเช่นเดียว

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


74

กั บ จั ด ทำา กิ จ การของเอกชน แต่ มี ก ารควบคุ ม โดยหน่ ว ยงาน


ของรัฐ
4. บริก ารสาธารณะบางอย่ า งอาจมอบหมายให้ เอกชนจั ด ทำา ได้
ฝ่ ายปกครองก็จะมอบให้เอกชนจัดทำา โดยฝ่ ายปกครองเป็ นผู้
ควบคุม

บริการสาธารณะท่ีฝ่ายปกครองจัดทำาเอง
บริการสาธารณะในรูปแบบราชการ มีลักษณะพิเศษก่ีประการ
บริการสาธารณะในรูปแบบราชการ มีลักษณะพิ เศษเพ่ิมขึ้น
จากลักษณะของบริการสาธารณะ 4 ประการคือ
(1)ความเก่ียวพันระหว่างเจ้าหน้าท่ีผู้จัดทำา บริการสาธารณะ
กับฝ่ ายปกครอง
(2)การดำา เนินราชการและปฏิบัติราชการอาจมีผลบังคับฝ่ าย
เดี ย ว โดยไม่ ต้ อ งแสดงเจตนาร่ ว มกั น เช่ น การออก
กฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
(3)ทรัพย์สินท่ีใช้ในราชการได้รับความคุ้มครองเป็ นพิเศษโดย
กฎหมาย
(4)เป็ นกิจการท่ีประชาชนไม่ต้องเสียค่าตอบแทนโดยตรง

บริการสาธารณะท่ีฝ่ายปกครองมอบให้เอกชนทำา
การจัดทำา บริการสาธารณะโดยฝ่ ายปกครองจัดทำา เองกับมอบ
หมายให้เอกชนจัดทำาแตกต่างกันหรือไม่
แตกต่างกัน ดังนีค
้ ือ
1. การจัดตัง้
2. การดำาเนินการ
3. อำานาจพิเศษ
4. สิทธิและหน้าท่ี

องค์กรท่ีจัดทำาบริการสาธารณะ
1. องค์ ก ารท่ีจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะเป็ นนิ ติ บุ ค คลตาม
ประมวลกฎหมายแพ่ ง และตามตั ว บทกฎหมายท่ีจั ด ตั ง้
นิ ติ บุ ค คลท่ีจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะมี ทั ง้ นิ ติ บุ ค คลใน
กฎหมายมหาชนและนิติบุคคลในกฎหมายเอกชน
2. นิติบุคคลในกฎหมายมหาชนได้รับอำา นาจพิเศษบางอย่าง
ในทางปกครอง เพราะถื อ ว่ า กิ จ การท่ีฝ่ ายปกครองจั ด ทำา
เป็ นกิจการท่ีทำาเพ่ ือสาธารณะประโยชน์ และทรัพย์สินท่ีใช้
จัดทำาบริการสาธารณะเป็ นทรัพย์สินของทางราชการ รัฐจึง
ออกกฎหมายให้ ค วามคุ้ ม ครองเป็ นพิ เ ศษ ซ่ ึง บริ ก าร
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
75

สาธารณะท่ีเอกชนได้รบ ั สัมปทานจากฝ่ ายปกครองไปจัดทำา


ไม่ได้รับอำานาจพิเศษดังกล่าว
3. การจัดตัง้องค์การท่ีจัดทำาบริการสาธารณะโดยฝ่ ายปกครอง
ต้องจัดตัง้โดยบทกฎหมายมีวัตถุ ประสงค์เพ่ ือจัดทำาบริการ
สาธารณะ หากองค์ ก ารไม่ ส ามารถดำา เนิ น การได้ ต าม
วัตถุประสงค์ก็ต้องออกกฎหมายยกเลิกองค์การนัน ้ คือถ้า
จัดตัง้โดยอาศัยพระราชบัญญัติ การยุบเลิกก็ต้องออกพระ
ราช บัญญัติสำาหรับบริการสาธารณะท่ีรัฐได้ให้สัมปทานแก่
เอกชนไปจั ด ทำา จะระบุ ไ ว้ เ ป็ นเง่ ือ นไขของการเพิ ก ถอน
สัมปทาน

ฐานะขององการท่ีจัดทำาบริการสาธารณะ
แยกแยะว่าบริการสาธารณะท่ีจัดตัง้ขึ้นโดยอาศัยบทกฎหมาย
ใดบ้างและมีฐานะอย่างไร
บริการสาธารณะท่ีฝ่ายปกครองจัดทำาในรูปแบบราชการ จัดตัง้
โดยอาศั ย พระราชบั ญญั ติร ะเบี ย บบริ หารราชการแผ่ นดิ น (ประกาศ
คณะปฏิ วั ติ ฉบับ ท่ี 218) และอาศั ย พระราชบั ญญั ติท่ีว่ า ด้ วยอำา นาจ
หน้าท่ีของหน่วยงานนัน ้ ๆ เช่น กระทรวงสาธารณะสุขมีกรมอนามัย
กรมการแพทย์ ท่ีให้บริการรักษาแก่ประชาชน หรือกรมทางหลวงจัด
สร้างทาง เป็ นต้น และกฎหมายได้ระบุให้หน่วยงานนัน ้ ๆ มีฐานะเป็ น
นิติบุคคลด้วย
รัฐวิสาหกิจ ก็มีพระราชบัญญัติจัดตัง้ หรือพระราชกฤษฎีกา
จั ด ตั ง้ ซ่ ึง ได้ ร ะบุ อำา นาจหน้ า ท่ีข องรั ฐ วิ ส าหกิ จ นั น
้ ๆ ไว้ โดยเฉพาะ
รั ฐ วิ ส าหกิ จ ท่ีจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะ เช่ น การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ต แห่ ง
ประเทศไทย การประปานครหลวง และมีฐานะเป็ นนิติบุคคล
เอกชนได้รับสัมปทานบริการสาธารณะ ได้เข้ามามีส่วนในการ
จัดทำาบริการสาธารณะ โดยรัฐให้สัมปทาน และมักจะเป็ นบริษัทจำากัด
หรือห้างหุ้นส่วนจำากัด เป็ นนิติบุคคลโดยอาศัยประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์

อำานาจขององค์การท่ีจัดทำาบริการสาธารณะ
อำานาจพิเศษของฝ่ ายปกครองท่ีจัดทำาบริการสาธารณะ
อำา นาจพิ เศษของฝ่ ายปกครองท่ีจั ดทำา บริการสาธารณะ เพ่ ือ
ก า ร ไ ด้ รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ ร่ ว ม กั น เ ช่ น ก า ร อ อ ก ก ฎ ห ม า ย เ ว น คื น
อสังหาริมทรัพย์ เพ่ ือสร้างถนนและคลังส่งน้ำา มันหรือเพ่ ือการรักษา
ความสงบเรียบร้อ ยภายในโดยมีอำา นาจบังคับ ฝ่ ายเดี ยว เช่น อำา นาจ
จับกุม และควบคุมผู้ท่ีกระทำาความผิดอาญา

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


76

การยุบเลิกองค์การท่ีจัดทำาบริการสาธารณะ
บริการสาธารณะจะยุบเลิกหรือเพิกถอนได้โดยวิธีใด
การยุบเลิกบริการสาธารณะท่ีฝ่ายปกครองเป็ นผู้จัดทำานัน ้ เม่ ือ
ฝ่ ายปกครองเห็นว่า ไม่อาจดำา เนินการนัน ้ ต่อไปได้ หรือมีการจัดทำา ท่ี
ซ้ำา ซ้อนกัน ฝ่ ายปกครองก็ยุบเลิกหน่วยงานท่ีจัดทำา บริการสาธารณะ
ได้โดยอาศัยกฎหมายนัน ่ คือถ้าหน่วยงานนัน
้ จัดตัง้โดยพระราชบัญญัติ
การยุบเลิกก็ต้องอาศัยพระราชบัญญัติ
การยุ บ เลิ ก บริ ก ารสาธารณะท่ีเ อกชนเป็ นผู้ จั ด ทำา บริ ก าร
สาธารณะยุ บ เลิ ก เม่ ือ ครบกำา หนดอายุ สั ญ ญาท่ีไ ด้ รั บ สั ม ปทาน ฝ่ าย
ปกครองเพิกถอนเม่ ือเอกชนทำาผิดสัญญา

นโยบาย ปั ญหาและการควบคุมการจัดทำาบริการสาธารณะ
1. นโยบายของรัฐท่ีจัดทำาบริการสาธารณะให้กับประชาชน ศึกษา
ได้จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นับจากฉบับท่ี
1 จนถึ ง ฉบั บ ปั จจุ บั น ได้ ถื อ เป็ นนโยบายของรั ฐ ท่ีต้ อ งจั ด ทำา
บริการสาธารณะให้กับประชาชนเพ่ ือ สนองความต้ อ งการของ
ประชาชน เพ่ ือให้ประชาชนมีความเป็ นอยู่ดีขึ้น
2. แหล่งเงินทุนท่ีใช้จัดทำาบริการสาธารณะท่ีฝ่ายปกครองจัดทำาใน
รู ป ราชการ มี แ หล่ ง เงิ น ทุ น จากงบประมาณเงิ น กู้ สำา หรั บ
รั ฐ วิ ส าหกิ จ เรี ย กว่ า งบลงทุ น กั บ งบทำา การ ส่ ว นเอกชนเงิ น
ลงทุนเป็ นของเอกชนเอง รัฐอาจช่วยเหลือได้ในบางกรณี
3. การจัดทำาบริการสาธารณะโดยฝ่ ายปกครองต้องใช้เงินทุน และ
ทรัพย์สินมากรัฐจึงจำาเป็ นต้องเข้าควบคุมทำาการดำาเนินการการ
ใช้ทรัพย์สิน ตลอดจนงบประมาณทัง้ในกรณีฝ่ายปกครองจัดทำา
เองและมอบให้เอกชนจัดทำา
4. ถึงแม้ว่าจะมีการควบคุมการจัดทำาบริการสาธารณะโดยองค์การ
ต่ า งๆ ของรั ฐ แล้ ว ก็ ต าม การจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะก็ ยั ง มี ข้ อ
บกพร่องซ่ ึงเป็ นปั ญหาท่ีทำา ให้การจัดทำา บริการสาธารณะ ไม่สา
มาระดำาเนินการไปได้โดยบรรลุเป้ าหมายท่ีตัง้ไว้

นโยบายรัฐในการดำาเนินการบริการสาธารณะ
นโยบายของรัฐในการจัดทำาบริการสาธารณะ ได้กำาหนดอยู่ใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมาโดยตลอด โดยเฉพาะใน
ฉบับท่ี 5 (2525-2529) ได้วางนโยบายเก่ียวกับบริการสาธารณะไว้
สำาหรับส่วนราชการและวิสาหกิจดังนี้
นโยบายเก่ียวกับการจัดทำาบริการสาธารณะของส่วนราชการ
- ด้านการศึกษา
- ด้านสาธารณสุข
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
77

- ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- ด้านสวัสดิการและสวัสดิการสงเคราะห์
นโยบายการปรับปรุงบริการสาธารณะในรูปของรัฐวิสาหกิจ
- พั ฒ นาสนั บ สนุ น ให้ ป ระชาชนใช้ บ ริ ก ารขนส่ ง สาธารณะ
สนับสนุนการก่อสร้างทางด่วนให้สมบูรณ์
- พั ฒ นากิ จ การรถไฟ ปรั บ ปรุ ง กิ จ การเดิ น รถโดยสารและ
สินค้าระยะใกล้ให้มีประสิทธิ ภาพย่ิงขึ้น
- เร่งรัด ขยายงานการให้บริการไปรษณีย์ โทรเลข โทรศัพท์
และบริการโทรคมนาคม

เ งิ น ทุ น ท ่ีใ ช้ จั ด ทำา บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ ข อ ง ร า ช ก า ร แ ล ะ
รัฐวิสาหกิจ
ฝ่ ายปกครองใช้เงินทุนจากแหล่งใด มาจัดทำาบริการสาธารณะ
ฝ่ ายปกครองได้ใช้เงินทุนมาจัดทำา บริการสาธารณะจากหลาย
แหล่ ง ด้ ว ยกั น คื อ จากงบ ประมาณท่ีรั ฐ ตั ง้ ให้ จากเงิ น กู้ ทั ง้ ภายใน
ประเทศและต่างประเทศ เงินรายได้ท่ีได้จากการจัดทำาบริการสาธารณะ
ท่ีได้ค่า ตอบแทนการใช้บริการสาธารณะจากประชาชน และจากการ
ออกพันธบัตรรัฐบาล

การควบคุมการจัดทำาบริการสาธารณะ
ฝ่ ายปกครองได้ควบคุมการจัดทำาบริการสาธารณะอย่างไร
ฝ่ ายปกครองได้ ค วบคุ ม การจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะทั ง้ ฝ่ าย
ปกครองจัดทำาเองกับท่ีได้ให้เอกชนจัดทำา โดยเฉพาะท่ีฝ่ายปกครองจัด
ทำา เอง ได้ควบคุม ทัง้การบริหารงาน การดำา เนิน งานและในด้ านการ
เงิน ส่วนท่ีเอกชนจัดทำา ฝ่ ายปกครองควบคุมทัง้การบริหารงาน การ
ดำา เนิ น งานและในด้ า นการเงิ น ส่ ว นท่ีเ อกชนจั ด ทำา ฝ่ ายปกครอง
ควบคุมให้ดำา เนินการบริการสาธารณะตามเง่ ือ นไขและข้อ กำา หนดท่ี
ระบุไว้ในสัมปทาน

ปั ญหาท่ีเก่ียวกับการจัดทำาบริการสาธารณะ
วิเคราะห์ปัญหาเก่ียวกับการจัดทำาบริการสาธารณะ
ส่วนราชการมีปัญหาคือ
- ด้านการศึกษา รัฐเพียงมุ่งท่ีจะยกระดับการศึกษา โดยไม่
คำา นึ ง ถึ ง การเปล่ีย นแปลงของระบบสั ง คมหรื อ ตลาด
แรงงานมากนั ก ทำา ให้ ผู้ สำา เร็ จ การศึ ก ษาว่ า งงานเป็ น
จำานวนมากและมีการทำางานต่ำากว่าระดับการศึกษา
- ด้ า นสาธารณสุ ข ไม่ ส ามารถครอบคลุ ม จำา นวนประชากร
อย่างทัว่ถึง มีโรงพยาบาลไม่ครบทุกอำาเภอ สถานีอนามัยมี
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
78

ไม่ครบทุกตำาบล ประชากรใช้บริการของรัฐได้เพียงร้อยละ
26 เท่านัน ้
- ด้านสวัสดิการสงเคราะห์ ผูป ้ ระสบปั ญหาหรือด้อยโอกาสท่ี
ต้องเสียเปรียบในสังคมและประสบความเดือดร้อน เช่นมี
รายได้ ต่ำา กว่ า มาตรฐานการครองชี พ ไม่ มี ก ารประกอบ
อาชีพ ขาดแคลนท่ีอยู่อาศัย
รั ฐ วิ ส าหกิ จ มี ปั ญหาอุ ป สรรคหลายประการเป็ นผลให้ ก าร
บริหารงานของรัฐวิสาหกิจไม่สามารถดำาเนินงานให้บรรลุเป้ าหมายได้
บางครัง้ก็ประสบปั ญหาขาดทุน
- ระบบการทำา งานของรั ฐ วิ ส าหกิ จ ขาดส่ิง จู ง ใจให้
พนักงานทำา งานเต็มความสามารถ การดำา เนิ นงาน
ไม่คล่องตัว
- การแต่ ง ตั ง้ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง มิ ไ ด้ คำา นึ ง ถึ ง ผลงาน
และความสามารถเป็ นสำาคัญ
- รั ฐ วิ ส าหกิ จ บางประเภทต้ อ งใช้ ค วามรู้ ท างด้ า น
เทคนิค เช่นโทรศัพท์ การประปาการไฟฟ้ า มักแต่ง
ตัง้ผู้บริหารท่ีจบมาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ทำา ให้
ไม่ได้คำา นึงถึงเร่ ืองการบริหารคนและประสบการณ์
ทางด้านธุรกิจ
- กฎหมายแรงงาน ทำา ให้ ส มาชิ ก และกรรมการ
สหภาพแรงงานใช้ประโยชน์จากสิทธิตามกฎหมายท่ี
กำา หนดไว้อย่างเต็มท่ีและเกินขอบเขต รัฐวิ สาหกิ จ
บางประเภทมีพนักงานอยู่มากเกินความจำาเป็ น
- การกำา หนดอัตราเงินเดือน พนักงานรัฐวิสาหกิจสูง
กว่าข้าราชการมาก ทำาให้รายจ่ายของรัฐวิสาหกิจต้อง
ใช้ไปจำานวนมาก นอกจากนีย ้ ังรวมถึงเงินโบนัสอีก
เอกชนท่ีได้รับสัมปทานบริการสาธารณะมีปัญหาบางประการ
- บริการสาธารณะท่ีเอกชนจัดทำา มักเพ่ิมค่าบริการสูง
ขึ้น
- บริการสาธารณะท่ีเอกชนจัดทำา ถึงแม้ฝ่ายปกครอง
จะควบคุมดูแลก็ไม่อาจแก้ไขปั ญหาได้ทันเช่นการนัด
หยุดงาน
- บริก ารสาธารณะบางอย่ า งท่ีเ อกชนดำา เนิ น การเอง
เช่ น รถโดยสารประจำา ทาง ไฟฟ้ า น้ำา ประปา ถ้ า
เอกชนหยุดดำา เนินการโดยไม่มีสาเหตุจะก่อให้เกิด
ความเดือดร้อนแก่ประชาชน

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 12
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
79

1. ความหมายของการบริการสาธารณะคือ กิจการท่ีฝ่ายปกครอง
จั ด ทำา และควบคุ ม การจั ด ทำา เพ่ ือ สนองความต้ อ งการของ
ประชาชน
2. บริการสาธารณะต้องมีลักษณะ ให้เอกชนมีสิทธิได้รับประโยชน์
เท่าเทียมกัน
3. วิ ธี จั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะในรู ป แบบราชการมี ลั ก ษณะ ฝ่ าย
ปกครองได้รบ ั อำานาจพิเศษตามท่ีกฎหมายให้อำานาจไว้
4. เอกชนได้รับสัมปทานบริการสาธารณะมีความเก่ียวพันกับฝ่ าย
ปกครองคื อ ฝ่ ายปกครองเป็ นผู้ ค วบคุ ม การจั ด ทำา บริ ก าร
สาธารณะท่ีเอกชนจัดทำา
5. กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการจัดทำา บริการสาธารณะคือ ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ท่ีจัดตัง้
6. หน่วยงานท่ีควบคุมการจัดทำาบริการสาธารณะในรูปราชการมี 6
หน่วยงาน
7. ฝ่ ายปกครองประสบปั ญหาในการจัดทำาบริการสาธารณะคือ งบ
ประมาณไม่เพียงพอแหล่งเงินกู้ท่ีจะได้รับไม่แน่นอน
8. เงินทุนท่ีฝ่ายปกครองใช้จัดทำาบริการสาธารณะได้มาจาก เงินงบ
ประมาณ เงิ น กู้ ภ ายในและต่ า งประเทศ เงิ น รายได้ พั น ธบั ต ร
รัฐบาล
9. เอกชนซ่ ึง ได้ รั บ สั ม ปทานบริ ก ารสาธารณะมี ค วามเก่ีย วพั น กั บ
ฝ่ ายปกครองคื อ ผู้รับ สัมปทานเป็ น ผู้ ค วบคุ ม การจัด ทำา บริก าร
สาธารณะ
10. องค์ ก ารท่ีจั ด ทำา บริ ก ารสาธารณะเป็ นนิ ติ บุ ค คลโดย ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ท่ีจัดตัง้

------------------------

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


80

หน่วยท่ี 13 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ

1. เจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือข้าราชการเป็ นผู้ซ่ึงปฏิบัติหน้าท่ีในหน่วย
งานของรัฐเพ่ ือให้บริการแก่ประชาชนโดยไม่ หวังผลประโยชน์
นอกจากค่าตอบแทนท่ีรัฐจ่ายให้เป็ นเงินเดือน
2. เจ้ า หน้า ท่ีข องรั ฐหรื อ ข้ า ราชการเป็ น องค์ ประกอบท่ีสำา คั ญของ
หน่ ว ยงานของรั ฐ ซ่ ึง จะทำา ให้ ก ารบริ ห ารงานบรรลุ ผ ลตาม
วัตถุประสงค์
3. รัฐและเจ้าหน้าท่ีของรั ฐมี ความสัม พัน ธ์กั นอย่า งใกล้ ชิด ทัง้ใน
ตำา แหน่ งหน้ า ท่ีท่ีรั บ ผิ ด ชอบ ในทางเศรษฐกิ จ และในทางการ
เมือง
4. การสรรหาบุค คลเข้ ารับ ราชการในหน่ ว ยงานของรั ฐดำา เนิ น ไป
ตามระบบคุณธรรมโดยยึดถือหลักความสามารถและหลักความ
เสมอภาค
5. การบรรจุและแต่งตัง้เจ้าหน้าท่ีของรัฐให้ดำารงตำาแหน่งตามความ
รู้ความสามารถและให้ได้ รับเงินเดือนตามตำาแหน่ง ผู้ได้รับแต่ง
ตัง้ให้ดำารงตำาแหน่งระดับใดก็ให้ได้รับเงินเดือนในระดับนัน ้
6. การพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐและช่วยเพ่ิมพูนความรูค ้ วามสามารถ
ให้ แก่ เจ้ าหน้ า ท่ีของรั ฐ และช่ ว ยสร้ า งสรรค์ ทั ศนคติ ท ่ีดี ใ นการ
ปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
7. การรักษาวินัยท่ีดีต้องดำาเนินการในทางส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีของ
รั ฐประพฤติ ด้ า นวิ นั ย โดยสมั ค รใจควบคู่ ไ ปกั บ การปราบปราม
ลงโทษผู้ประพฤติผิดวินัย โดยมีระเบียบข้อบังคับกำา หนดส่ิงท่ี
ควรประพฤติและส่ิงท่ีละเว้นปฏิบัติไว้แจ้งชัด
8. การจัดสวัสดิการสำาหรับเจ้าหน้าท่ีอย่างเหมาะสม ไม่ใช่เป็ นเพียง
ส่วนหน่ ึงของให้ค่าตอบ แทนในการปฏิบัติหน้าท่ีราชการเท่านัน ้
แต่ยังเป็ นส่ิงท่ีช่วยส่งเสริมขวัญและกำาลังใจให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
สามารถปฏิบัติหน้าท่ีราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพและผูกพัน
ให้อยู่ปฏิบัติราชการต่อไปได้นานอีกด้วย

13.1ความรู้ เ บ้ือ งต้ น เก่ีย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรั ฐ กั บ เจ้ า


หน้าท่ีของรัฐ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


81

1. เจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ นทรัพยากรอย่างหน่ ึงของรัฐ ท่ีเป็ นหน่ ึง


ในสามขององค์ ป ระกอบของการบริ ห ารงานและมี บ ทบาท
สำาคัญท่ีทำาให้การดำาเนินงานขององค์การมีประสิทธิภาพและ
บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
2. เน่ ืองจากหน่วยงานของรัฐมีลักษณะของหน้าท่ีและความรับ
ผิดชอบแตกต่างกัน เจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีรับผิดชอบดำาเนินการ
จึงแบ่งออกเป็ นหลายประเภททัง้ท่ีเป็ นเจ้าหน้าท่ีของรัฐแท้ๆ
และพนักงานของรัฐวิสาหกิจ

13.1.1ความหมายและความสำาคัญของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
อธิบายความหมายของข้าราชการ
ข้าราชการหมายถึงเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีปฏิบัติหน้าท่ีในกระทรวง
ทบวงกรม มี ค วามรับ ผิ ด ชอบในการปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีเ พ่ ือ ให้ บ ริ ก ารแก่
ประชาชนโดยไม่หวังผลตอบแทน นอกจากเงิน เดือ นและสวัสดิ การ
ตามสมควรแห่งฐานะ

อธิบายความสำาคัญของข้าราชการท่ีมีต่อองค์กร
ข้ า ราชการเป็ น ทรั พ ยากรของรั ฐ ท่ีเ ป็ น หน่ ึง ในสามขององค์
ประกอบขององค์การ และเป็ นองค์ประกอบท่ีมีบทบาทสำา คัญท่ีทำา ให้
ดำาเนินงานขององค์กรมีประสิทธิภาพ และบรรลุผลตามวัตถุประสงค์

13.1.2ประเภทของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ประเภทของเจ้าหน้าท่ีของรัฐพร้อมทัง้ยกตัวอย่าง
ในปั จจุบันเจ้าหน้าท่ีของรัฐมี 13 ประเภท ดังตัวอย่างเช่น
1)ข้าราชการการเมือง
2)ข้าราชการพลเรือน
3)ข้าราชการทหาร
4)ข้าราชตำารวจ
5)ข้าราชการฝ่ ายตุลาการ

13.2ลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
1. รัฐมีหน้าท่ีจำา แนกตำา แหน่งในกระทรวงทบวง กรม โดยยึด ถือ
หน้าท่ีความรับผิดชอบและความยากง่ายของตำาแหน่งเป็ นสำาคัญ
ในการกำาหนดอัตราเงินเดือนอย่างเป็ นธรรม และเจ้าหน้าท่ีของ
รั ฐ ก็ ต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ า ท่ีใ นอั น ท่ีจ ะปฏิ บั ติ ง านให้
สำาเร็จผลตามนโยบายท่ีรัฐวางไว้

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


82

2. รัฐมีความสัมพันธ์กับเจ้าหน้าท่ีของรั ฐ ในการจ่ายค่าตอบแทน
เป็ น เงิน เดือ นการสวั สดิการ และประโยชน์ เก้ือกู ล อ่ ืน ๆ ท่ีอ าจ
ทำาให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐสามารถดำารงชีพอยู่ได้ตามสมควรแก่ฐานะ
3. เจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ มี ข้อ จำา กั ด ในทางการเมื อ ง ในการท่ีจ ะรั ก ษา
ความเป็ นกลางในทางการเมื อ งอย่ า งเคร่ ง คั ด โดยไม่ ฝั กใฝ่
พรรคการเมือง หรือนักการเมืองฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ ึง และจะไม่ยอม
ให้ระบบการเมืองมีอิทธิพลการปฏิบัติหน้าท่ี

13.2.1ความสัมพันธ์เก่ียวกับตำาแหน่งหน้าท่ี
ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและเจ้าหน้าท่ีของรัฐเก่ียวกับ
ตำาแหน่งหน้าท่ี
รั ฐ และ เจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ มี ค วามสั ม พั น ธ์ เ ก่ีย วกั บ ตำา แหน่ ง
หน้ าท่ีใ นการปฏิ บัติตอบแทนกั นโดยรั ฐรั บ ผิด ชอบท่ีจ ะกำา หนดหลั ก
การเก่ียวกับตำาแหน่ง สำาหรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐและเจ้าหน้าท่ี ของรัฐจะ
รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าท่ีตามตำาแหน่งท่ีรัฐกำาหนด เพ่ ือประโยชน์
ของการบริหารราชการ
(1) ในส่ วนท่ีเก่ียวกับรั ฐ ตามระบบจำา แนกตำา แหน่ ง
รั ฐ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ เจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดยการ
จำา แนกตำา แหน่ งงานราชการ และกำา หนดหน้ าท่ี
และความรับผิดชอบของตำาแหน่งนัน ้
(2) ในส่วนท่ีเก่ียวกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ เจ้าหน้าท่ีของ
รั ฐ ต้ อ ง ตั ง้ ใ จ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท ่ี แ ล ะ รั ก ษ า วิ นั ย
ข้าราชการโดยเคร่งครัด

13.2.2ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
การกำาหนดค่าตอบแทนสำาหรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ในการปฏิบัติ
หน้าท่ีมีหลักเกณฑ์อย่างไร
การกำาหนดค่าตอบแทนเป็ นเงินเดือนสำาหรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
รัฐพิจารณากำาหนดโดยถือหลักความเสมอภาค ยึดเอาหน้าท่ีความรับ
ผิดชอบ และความยากง่ายของงานสำาหรับตำาแหน่งเป็ นหลักสำาคัญ

เจ้าหน้าท่ีของรัฐควรปฏิบัติอย่างไรเพ่ ือ แก้ปัญหาความเส่ ือม


สภาพของภาวะเศรษฐกิ จ ท่ีมี ผ ลกระทบต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพของการ
ปฏิบัติหน้าท่ี
การท่ีรั ฐ ห่ ว งใยสภาวะเศรษฐกิ จ ของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ และ
ครอบครั ว เพราะเห็ น ว่ า เป็ นส่ิง สำา คั ญ สำา หรั บ อาชี พ แต่ ถ้ า หากเจ้ า
หน้าท่ีของรัฐจะมัวรอให้รัฐช่วยเหลือในด้านนี โ้ดยท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ไม่ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ ช่ ว ยเหลื อ แก่ รั ฐบ้ า ง สั ก วั น หน่ ึง รั ฐ คงไม่ ส ามารถ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
83

ปรับภาวะเศรษฐกิจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้ต่อไปอีก ดังนัน ้ เจ้าหน้าท่ี


ของรัฐจึงต้อ งให้ความร่วมมือ ช่ว ยเหลื อรั ฐโดย “การประหยัด” โดย
วางแผนการครองชี พของตนเองให้ สอดคล้อ งกับรายได้ ท่ีได้รั บอยู่ก็
อาจเป็ นทางหน่ ึงท่ีจะช่วยเหลือรัฐได้

13.2.3ความสัมพันธ์ทางการเมือง
อธิบายความสัมพันธ์ของรัฐกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐทางการเมือง
ความสั ม พั น ธ์ ข องรั ฐ กั บ เจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ทางการเมื อ ง คื อ
ความเป็ นกลางทางการเมือง เจ้าหน้าท่ีของรัฐต้อ งรักษาความเป็ น ก
ลางทางการเมือ งอย่างเคร่งครัดไม่ฝักใฝ่ ทางการเมือ งพรรคใดพรรค
หน่ ึง หรื อ นั ก การเมื อ งคนใดคนหน่ ึง และต้ อ งไม่ ย อมรั บ ระบบ
การเมืองมีอิทธิพลเหนือการปฏิบัติหน้าท่ีราชการ

13.3การดำาเนินการตามกฎหมายเก่ียวกับการสรรหาข้าราชการ
1. เจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ นองค์ประกอบสำาคัญของการบริหาร
หน่ ว ยงานของรั ฐ เพราะเป็ น ผู้ ดำา เนิ น การตามหน้ า ท่ี
เพ่ ือ ให้ ก ารบริ ห ารงานเป็ น ผลสำา เร็ จ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์
ของหน่ ว ยงาน และเป็ นผู้ ใ ช้ ท รั พ ยากรในการปฏิ บั ติ
หน้าท่ี
2. ระบบการสรรหาข้า ราชการดำา เนิ น การไปตามหลัก พ้ืน
ฐานแห่งระบบคุณธรรมโดยคำานึงถึงการให้เสมอภาคใน
โอกาส ยึดหลักความยุติธรรมตามความรู้ความสามารถ
และการแต่งตัง้บุคคลในตำาแหน่งท่ีเหมาะสม
3. แ ห ล่ ง สำา ห รั บ ส ร ร ห า บุ ค ค ล เ ข้ า รั บ ร า ช ก า ร ไ ด้ แ ก่
มหาวิทยาลัย และโรงเรียนทัว่ไป และโรงเรียนท่ีสังกัด
อยู่ในส่วนราชการต่างๆ
4. วิธีการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการดำาเนินการหลายวิธีคือ
การสอบการคัดเลือก และการให้ทุน การศึกษาและการ
ใช้ วิ ธี ก ารใดในการสรรหาบุ ค คลย่ อ มเป็ น ไปตามความ
ต้องการของทางราชการ

13.3.1ค ว า ม จำา เ ป็ น แ ล ะ ค ว า ม สำา คั ญ ใ น ก า ร ส ร ร ห า


ข้าราชการ
อธิ บ ายความจำา เป็ น และความสำา คั ญในการสรรหาเจ้ า หน้า ท่ี
ของรัฐ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ นปั จจัยสำาคัญลำาดับแรกในการบริหาร และ
เป็ นผู้ซ่ึงสามารถทำาให้กิจกรรมของหน่วยงานสำาเร็จหรือไม่ ดังนัน ้ ใน
การบริ ห ารงานบุ ค คลจึ ง มุ่ ง ถึ ง การท่ีจ ะให้ ไ ด้ บุ ค คลท่ีมี ค วามรู้ ค วาม
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
84

สามารถสูงมาปฏิบัติหน้าท่ี และเม่ ือได้มาแล้วก็ต้องจัดให้รับผิดชอบใน


งานท่ีเหมาะ สมกับความรู้ความสามารถของบุคคลนัน ้ การสอบ และ
การคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการเกือบจะเป็ นหน้าท่ีอันเดียวท่ีสำา คัญ
ของรัฐในการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการ

13.3.2ระบบของการสรรหาเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ประเทศไทย การสรรหาบุคคลเข้ารับราชการควรดำา เนินการ
ตามระบบใด จึงเหมาะสม
การสรรหาท่ีได้กำาหนดเป็ นแนวทางปฏิบัติอยู่ในประเทศไทย
ซ่ ึง ก.พ. ได้กำาหนดให้กระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัด ยึดถือเป็ น
แนวปฏิบัติคือ
1) การกำาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเก่ียวกับกรณีท่ี
มีเหตุพิเศษซ่ ึงอาจคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการได้
โดยไม่จำาเป็ นต้องดำาเนินการสอบแข่งขัน
2) การกำา หนดวิ ธี ก ารดำา เนิ น การเก่ีย วกั บ การคั ด
เลื อ กเพ่ ือ เล่ ือ นข้ า ราชการพลเรื อ นขึ้ น แต่ ง ตั ง้ ให้
ดำารงตำา แหน่งในระดับสูงขึ้น โดยให้ผู้ดำา เนินการ
คัด เลื อกพิจ ารณาดำา เนิ นการคัด เลื อ กโดยวิ ธีการ
ประเมินบุคคลตามแบบท่ี ก.พ. กำาหนด

13.3.3แหล่งสำาหรับสรรหาบุคคลเข้ารับราชการ
แหล่งสำาหรับสรรหาบุคคลเข้ารับราชการมีท่ีใดบ้าง
แหล่งสำาหรับสรรหาบุคคลเข้ารับราชการคือ
1) มหาวิทยาลัย และโรงเรียนสามัญ
2) โรงเรียนท่ีกระทรวง ทบวง กรม จัดตัง้ขึ้นเพ่ ือผลิตบุคลากร
ซ่ ึงมีความรู้ความสามารถเฉพาะอย่างท่ีจะปฏิบัติหน้าท่ีใน
กระทรวง ทบวง กรม นัน ้
3)การให้ทุนการศึกษาของรัฐบาลและของทุนเล่าเรียนหลวง

13.3.4วิธีการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการ
วิธีการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการมีก่ีวิธี แต่ละวิธีนำา มาใช้ใน
กรณีใดบ้าง
วิธีการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการมีสามวิธีคือ
1) การสอบ แบ่ ง ออกเป็ น สองประเภทคื อ การสอบ
แข่งขัน ใช้สำา หรับการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการ
ในตำา แหน่ ง ระดั บ ต่ำา และการสอบคั ด เลื อ ก ใช้
สำา หรับกรณีการสอบเพ่ ือเลือนข้าราชการให้ดำา รง
ตำาแหน่งสูงขึ้น
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
85

2) การคัดเลือก การคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการจะ
กระทำาในกรณีท่ีมีเหตุพิเศษตามท่ี ก.พ. กำาหนด
3) การให้ ทุ น การศึ ก ษา ใช้ สำา หรั บ กรณี ก ารสอบ
แข่ ง ขั น เพ่ ือ รั บ ทุ น ของรั ฐ บาล และทุ น เล่ า เรี ย น
หลวง

13.4การดำา เนินการตามกฎหมายเก่ียวกับการบรรจุและแต่งตัง้
ข้าราชการ
1. การบรรจุ แ ละการแต่ ง ตั ง้ ข้ า ราชการ เป็ นการกำา หนดให้
บุคคลท่ีได้ผ่านกระบวนการสรรหาข้าราชการดำารงตำาแหน่ง
ตามระบบคุ ณ ธรรม โดยการพิ จ ารณาถึ ง ความรู้ ค วาม
สามารถของผู้นัน ้ ให้เหมาะสมกับตำาแหน่งท่ีได้รับแต่งตัง้
2. การบรรจุ แ ละแต่ ง ตั ง้ มี ค วามสำา คั ญ ย่ิง ต่ อ การบริ ห ารงาน
ของส่วนราชการ เพราะการบรรจุและแต่งตัง้ให้บุคคลดำารง
ตำา แหน่ ง ท่ีมี ห น้ า ท่ีค วามรั บ ผิ ด ชอบตรงกั บ ความรู้ ค วาม
ส า ม า ร ถ ข อ ง ผู้ นั น ้ ย่ อ ม ทำา ใ ห้ ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท ่ีมี
ประสิทธิภาพ
3. วิธีการบรรจุและแต่งตัง้ข้าราชการพลเรือนเข้ารับราชการจะ
บรรจุจากผู้ซ่ึงสอบแข่งขันได้ และต้องผ่านการทดลองการ
ปฏิบัติหน้าท่ีราชการตามระยะเวลาท่ีกฎหมายกำาหนด
4. ปั ญหาและอุปสรรคของการบรรจุและแต่งตัง้ข้าราชการให้
ดำา รงตำา แหน่ ง มี ม ากโดยเฉพาะผู้ ซ่ ึง ได้ รั บ คำา สั ง่ บรรจุ และ
แต่งตัง้ในส่วนภูมิภาค ในกรณีสอบรวม

13.4.1หลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุและแต่งตัง้ข้าราชการ
อธิบายหลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุและแต่งตัง้ข้าราชการ
การบรรจุและแต่งตัง้บุคคลเข้ารับราชการ ต้องดำา เนินการให้
เหมาะสมกับความรู้ความ สามารถกล่าวคือผู้ซ่ึงได้รับบรรจุและแต่งตัง้
ให้ดำารงตำาแหน่งข้าราชการพลเรือนตำาแหน่งใดต้องมีคุณสมบัติเหมาะ
สมสำา หรับตำา แหน่งนัน้ และต้องมีความเสมอภาคในโอกาสเท่าเทียม
กัน กล่าว คือการดำาเนินการสอบแข่งขัน ้ เข้ารับราชการ และการบรรจุ
แต่งตัง้เรียงตามลำาดับท่ีในบัญชีของผู้สอบแข่งขันได้

13.4.2ปั ญหาเก่ียวกับการบรรจุและแต่งตัง้ข้าราชการ
วิ เ คราะห์ ห ลั ก เกณฑ์ และวิ ธี ก ารของการบ รรจุ แต่ ง ตั ง้
ข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดำารงตำาแหน่งข้าราชการในระบบราชการ
ไทย ยกตัวอย่างปั ญหากรณีนี้

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


86

หากพิ จ ารณาหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธีก ารเก่ีย วกั บ การบรรจุ และ


แต่งตัง้ข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดำา รงตำา แหน่งข้าราชการในระบบ
ราชการไทยท่ีกำา หนดไว้ในกฎหมาย จะเห็นว่ามีข้อกำา หนดท่ีเหมาะ
สมกับแนวความคิดในระบบคุณธรรม แต่ในทางปฏิบัติมักจะมีปัญหา
มากเพราะระบบราชการไทยในปั จจุ บั น กำา หนดให้ อำา นาจแก่ ผู้ บั งคั บ
บั ญ ชามากในการใช้ ดุ ล พิ นิ จ เก่ีย วกั บ การบรรจุ แ ต่ ง ตั ง้ ข้ า ราชการ
พลเรือนสามัญ หากนำาเอาหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกฎหมายกำาหนดไว้
ไปดำา เนิน การโดยมิชอบ ไม่ว่าจะโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม ย่อมก่อให้
เกิดผลเสียหายต่อระบบราชการไทยทัง้สิน ้

13.5การดำาเนินการตามกฎหมายท่ีเก่ียวกับการพัฒนาข้าราชการ
1. การพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ นการฝึ กอบรมเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
เพ่ ือเพ่ิมพูนความรู้ความ สามารถและสร้างทัศนคติท่ีดีในการ
ปฏิบัติหน้าท่ีทำา ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐสามารถก้าวทันความเจริญ
ก้าวหน้ าทางวิ ชาการท่ีเปล่ีย นแปลงไป และสามารถใช้ วิ ธีการ
ใหม่ๆตลอดจนส่ิงแวดล้อมท่ีช่วยให้การทำา งานมีประสิทธิภาพ
อยู่เสมอ
2. ประเภทของการพัฒนาเจ้าหน้าท่ีได้แก่ การฝึ กอบรมก่อ นเข้ า
ปฏิบัติหน้าท่ีและการฝึ กอบรมระหว่างการปฏิบัติหน้าท่ี
3. การฝึ กอบรมอาจดำา เนิ น การได้ ส ามรู ป แบบคื อ แบบบรรยาย
แบบสัมมนา และแบบผสม
4. การฝึ กอบรมเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีทัง้ผลดีและผลเสีย ส่วนราชการ
ซ่ ึงจัดการฝึ กอบรมต้องระมัดระวังในการดำาเนินการ โดยเฉพาะ
เจ้าหน้าท่ีท่ีจัดดำา เนินการฝึ กอบรมต้องมีความรู้ความเข้าใจใน
นโยบายของส่วนราชการ และวิธีการฝึ กอบรม

13.5.1ความหมายและความสำา คั ญ ของการพั ฒ นาเจ้ า


หน้าท่ีของรัฐ
อธิบายความหมายและความสำา คั ญของการพั ฒนาเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ
การพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ นการฝึ กอบรมเพ่ ือเพ่ิมพูนความ
รู้ความสามารถ และสร้าง สรรค์ทัศนคติท่ีดีให้แก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐใน
การปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ซ่ ึง ทำา ให้ เ จ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ได้ รั บ ความรู้ ใ หม่ ๆ และ
สามารถนำาไปใช้ในการปฏิบัติหน้าท่ีให้มีประสิทธิภาพดีย่ิงขึ้น

13.5.2ประเภทของการพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
การพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีก่ีประเภท
การพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีสองประเภทคือ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
87

1)การฝึ กอบรมก่อนเข้าปฏิบัติหน้าท่ี
2)การฝึ กอบรมระหว่างปฏิบัติหน้าท่ี

13.5.3รูปแบบของการฝึ กอบรม
การฝึ กอบรมมีก่ีรป
ู แบบ รูปแบบใดท่ีเห็นว่าเหมาะสม
การฝึ กอบรมมีสามรูปแบบ คือ
1)การบรรยาย
2)การสัมมนา
3)แบบผสม
สำา หรับความเหมาะสมนั น ้ การฝึ กอบรมแบบผสมนี ม ้ ี ค วาม
เหมาะสมสำาหรับการพัฒนาข้าราชการ เพราะผู้เข้ารับการฝึ กอบรมทุก
คนได้ทราบปั ญหาทางปฏิบัติ และวิธีการแก้ปัญหาของส่วนราชการอ่ ืน
ด้วย

13.5.4ผลของการพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
วิเคราะห์ผลของการพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
การพัฒนาข้าราชการมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
และข้าราชการทัง้ในทางดีและทางเสียดังนี้
ผลดีของการพัฒนาเจ้าหน้าท่ีรัฐ
1. ข้าราชการทุกระดับสามารถวิเคราะห์ตนเองได้ว่า
ตนมีความรับผิดชอบต่อตำาแหน่งและหน้าท่ีเพียง
ใด
2. ข้ า ราชการทุ ก คนสามารถทราบปั ญหา และ
อุปสรรคท่ีทำา ให้การปฏิบัติหน้าท่ีไม่สำา เร็จลุล่วง
ไปตามเป้ าหมาย ทราบถึงการแก้ไขปั ญหา
3. ทำาให้ข้าราชการได้รับความรู้ใหม่เก่ียวกับระเบียบ
แบบแผนของราชการ และสามารถชีแ ้ จงให้ผู้อ่ืน
ทราบด้วย
4. ทำา ให้เปล่ียนทัศนคติในการปฏิบัติหน้าท่ี ก่อให้
เกิ ด ความผู ก พั น กั บ ตำา แหน่ ง หน้ า ท่ีแ ละมี ค วาม
กระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน
5. นำา เอาวิ ธี ก ารใหม่ ๆ ท่ีไ ด้ จ ากการฝึ กอบรมไป
ปฏิ บั ติ ใ นส่ ว นราชการ ทำา ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านมี
ประสิทธิภาพสูง
6. ทำาให้เกิดความเข้าใจและมีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีต่อ
กันในระหว่างปฏิบัติราชการ
7. การปฏิบัติงานจะถูกต้อ งสมบูรณ์เป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
88

ผลเสียของการพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
1. รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมสูงในการจัดฝึ กอบรม จำานวนมาก
2.ก าร ฝึ ก อบร มก ล า ย เป็ นเว ที ร ะบา ย ค ว า มก ด ดั น ขอ ง
ข้ า ราชการ หากผู้ เ ข้ า รั บ ฝึ กอบรมข้ า ราชการต่ า งระดั บ
เพราะสามารถวิ เคราะห์ วิจารณ์ปั ญหาทางปฏิบัติเก่ียวกั บ
พฤติกรรมของผู้บัง คับบัญชาได้อย่างเต็มท่ี
3.เป็ น เวทีใ นการโต้ค ารมระหว่ า งผู้ เข้ า รั บ การฝึ กอบรมด้ว ย
กั น เอง ระหว่ า งผู้ เ ข้ า รั บ การฝึ กอบรมกั บ วิ ท ยากร เพราะ
ต่างมีประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าท่ีมาแล้ว
4.ข้าราชการชัน ้ ผู้ใหญ่มีความคิดฝั งใจว่าตนเป็ นข้าราชการชัน ้
ผู้ใหญ่ มีหน้าท่ีการงานสูงแล้ว ไม่น่าจะมีใครมาอบรมสัง่
ส อน อี ก บุ ค ค ล เ ห ล่ า นี ม ้ ั ก จ ะ ป ร ะพ ฤ ติ ต นใ น ท า ง ไ ม่
สนับสนุนการฝึ กอบรม
5. การฝึ กอบรมมั ก สู ญ เปล่ า หากข้ า ราชการระดั บ สู ง ไม่
ยอมรั บ ถึ ง ความสำา คั ญ ของการฝึ กอบรม และไม่ ย อม
เปล่ียนทัศนคติเดิมท่ีมีต่อสำานักงาน

13.6การดำาเนินการตามกฎหมายเก่ียวกับวินัยแก่ราชการ
1. วินัยข้าราชการพลเรือน เป็ นแบบแผนความประพฤติทก ่ี ำาหนด
ให้ ข้ า ราชการพลเรื อ นพึ ง ปฏิ บั ติ ห รื อ ละเว้ น การปฏิ บั ติ แ ละ
ควบคุ ม ข้ า ราชการให้ ป ระพฤติ ดี ห รื อ ปฏิ บั ติ ต ามท่ีก ฎหมาย
กำาหนด
2. วินัยข้าราชการพลเรือนมีความสำา คัญต่ อรั ฐบาลอย่า งมากใน
การบริหารของประเทศและถือเป็ นปั จจัยสำาคัญท่ีจะช่วยให้การ
ปฏิบัติราชการมีประสิทธิภาพ
3. การดำาเนินการเก่ียวกับการรักษาวินัยข้าราชการ กระทำาได้ใน
สองรูปแบบกล่าวคือ การรักษาวินัยในทางเสริมสร้างโดยวงใจ
ให้ทุกคนปฏิบัติตามวินย ั ข้าราชการโดยสมัครใจ และการรักษา
วินัยในทางปราบปรามลงโทษ
4. การดำา เนิ น การทางวิ นั ย มี ผ ลกระทบต่ อ การบริ ห ารงานของ
ส่วนราชการ สถานภาพทางการเมือง และภาวะเศรษฐกิจของ
รัฐ

13.6.1ความหมายและความสำาคัญของวินัยข้าราชการ
ความหมายของวินัยข้าราชการ
วินัยข้าราชการเป็ นแบบแผนของความประพฤติ ท่ีกำา หนดให้
ข้าราชการพลเรือนพึงควบคุมตนเองและควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชาให้
ประพฤติปฏิบัติตาม
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
89

ความสำาคัญของวินัยข้าราชการ
วินัยเป็ นส่ิงสำา คัญทัง้ แก่ ส่วนตัว ของข้าราชการและส่ว นรวม
ของหน่วยงาน เพราะวินัยดีจะนำาข้าราชการและหน่วยงานไปสู่ความดี
ความจริง และทำาให้ประชาชนมีศรัทธาต่อการปฏิบัติหน้าท่ีราชการของ
ข้าราชการ ถ้าวินัยเส่ ือมก็จะทำาให้ตัวข้าราชการและหน่วยงานเส่ ือมลง
ไปด้วย

13.6.2ระบบการรักษาวินัยข้าราชการ
วิเคราะห์ระบบการรักษาวินัยข้าราชการ
การรักษาวินัยข้าราชการมีวิธีปฏิบัติอยู่สองแบบคือ การรักษา
วินัยในทางเสริมสร้าง และการรักษาวินัยในทางปราบปรามลงโทษ
การรั ก ษาวิ นั ย ในทางเสริ ม สร้ า งก่ อ ให้ เ กิ ด ความรั บ ผิ ด ชอบ
และเป็ นวิถีทางทำาให้การบริหาร งานสัมฤทธิผ ์ ลส่วนการรักษาวินัยใน
ทางปราบปรามลงโทษ นอกจากจะไม่ช่วยให้มีความริเร่ิมแล้วยังกลับ
ทำาให้เกิดความเกรงกลัวและขาดความรับผิดชอบ ในบางครัง้อาจทำาให้
เกิดการต่อต้าน หรือไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน

13.6.3การดำาเนินการเก่ียวกับการรักษาวินัยข้าราชการ
อธิ บ ายการดำา เนิ น การรั ก ษาวิ นั ย ในทางเสริ ม สร้ า งและยก
ตัวอย่าง
การดำาเนินการรักษาวินัยในทางเสริมสร้าง เป็ นมาตรการท่ีมุ่ง
หนัก ไปในทางดูแลความประพฤติ ของกลุ่ มคนโดยวิ ธีจู งใจให้ ทุก คน
ปฏิบัติตามวินัยโดยสมัครใจ การดำาเนินการการรักษาวินัยในทางเสริม
สร้ า งท่ีสำา คั ญ คื อ การบั ญ ญั ติ ก ฎหมาย ระเบี ย บและข้ อ บั ง คั บ ซ่ ึง มี
ลักษณะท่ีใช้บังคับได้ทัง้ผู้บังคับบัญชาและข้าราชการ

อธิบายการดำาเนินการรักษาวินัยในทางปราบปรามลงโทษและ
ยกตัวอย่างประกอบ
การดำา เนิน การการรักษาวินัย ในทางปราบปรามลงโทษเป็ น
มาตรการบังคับท่ีมุ่งไปในทางควบคุมความประพฤติรายตัว มีลักษณะ
ในทางใช้อำานาจบังคับให้ต้องปฏิบัติตาม การดำาเนินการการรักษาวินัย
ในทางปราบปรามลงโทษท่ีสำาคัญคือ การลงโทษ ซ่ ึงถ้าจะให้เป็ นผลดี
ก็ต้องดำา เนินการด้วยหลักเกณฑ์สามประการคือ ยุติธรรม เป็ นธรรม
และฉับพลัน

13.6.4ผลของการดำาเนินการของการรักษาวินัยข้าราชการ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


90

การดำา เนิน การของการรักษาวินั ยข้ าราชการมีผ ลกระทบต่ อ


กิจการหรือภาวการณ์ใด
การดำาเนินการของการรักษาวินัยมีผลกระทบต่อ
1)การบริหารงานของส่วนราชการ
2)สถานภาพทางการเมือง
3)ภาวะเศรษฐกิจของรัฐ

13.7การดำาเนินการเก่ียวกับสวัสดิการของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
1. องค์การท่ีรับผิดชอบการจัดสวัสดิการข้าราชการ ควรเป็ นหน่วย
งานกลางท่ีมี ห น้า ท่ีรั บ ผิ ด ชอบในด้ า นวิ เคราะห์ จั ด มาตรฐาน
ออกกฎระเบียบต่างๆ เก่ียวกับสวัสดิการ
2. รัฐบาลจัดประเภทของสวัสดิการต่างๆ ขึ้นโดยพิจารณาถึงความ
จำา เป็ นแห่ ง การดำา รงชี พ ของข้ า ราชการ เพ่ ือ ช่ ว ยเหลื อ มิ ใ ห้
ข้าราชการมีชีวิตความเป็ นอยู่อย่างลำาบากยากแค้นจนเกินไป
3. การปรับปรุงสวัสดิการข้าราชการจะสอดคล้องกับภาวะของความ
จำาเป็ น แห่งการดำารงชีพของข้าราชการ

13.7.1อ ง ค์ ก า ร ท ่ีรั บ ผิ ด ช อ บ ก า ร จั ด ส วั ส ดิ ก า ร ข อ ง
ข้าราชการ
หน่ ว ยงานใดท่ีมี ห น้ า ท่ีรั บ ผิ ด ชอบการจั ด สวั ส ดิ ก ารของ
ข้าราชการ
หน่ ว ยงานท่ีมี ห น้ า ท่ีรั บ ผิ ด ชอบการจั ด สวั ส ดิ ก ารควรให้ เ ป็ น
หน่วยงานกลาง ท่ีสามารถวิเคราะห์จัดมาตรฐานและออกกฎระเบียบ
ต่างๆ เก่ียวกับสวัสดิการโดยประสานงานกับหน่วยงานระดับกระทรวง
และกรมได้ สำาหรับข้าราชการในประเทศไทย หน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีรับ
ผิ ด ชอบการจั ด สวั ส ดิ ก ารข้ า ราชการคื อ สำา นั ก งานคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)

13.7.2ประเภทของสวัสดิการข้าราชการ
สวัสดิการข้าราชการมีก่ีประเภท
สวัสดิการข้าราชการมีสองประเภทคือ
1)การจัดระบบเงินเดือนท่ีต้องสอดคล้องได้สัดส่วนกับอัตรา
ค่าครองชีพ
2) การให้ความช่วยเหลือด้านสวัสดิการอ่ ืนๆ เช่น
- บ้านพักอาศัย
- ค่ารักษาพยาบาล
- ค่าเล่าเรียนบุตร
- เงินเพ่ิมช่วยเหลือค่าครองชีพ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
91

13.7.3แนวทางปรับปรุงสวัสดิการข้าราชการ
เสนอความคิดเห็นเก่ียวกับการปรับปรุงสวัสดิการข้าราชการ
1)ปรั บ ปรุ ง สวั ส ดิ ก ารเดิ ม ให้ เ หมาะสมกั บ ภาวะเศรษฐกิ จ ท่ี
เปล่ียนแปลงไปในทางสูงขึ้น
2) จัดสวัสดิการให้ทัว่ถึง โดยพิจารณาข้าราชการชัน ้ ผู้น้อย
3) จัดสวัสดิการท่ีอยู่อาศัย ให้ข้าราชการมีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน
ได้ตามความเป็ นจริง ควรจัดให้กับข้าราชการท่ีรับราชการ
มาก่อน
4)สนับสนุนจัดให้มีพาหนะรับส่งในการเดินทางไปปฏิบัติงาน
และให้จัดตัง้สหกรณ์ออมทรัพย์
5)ในการซ้ือผ่อนบ้านให้ข้าราชการเบิกเงินเป็ นค่าผ่อนชำา ระ
บ้านได้เท่าท่ีเป็ นจริง ช่วยให้ข้าราชการมีบ้า นพั กเป็ น ของ
ตนเอง

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 13
1. เจ้าหน้าท่ีของรัฐหมายถึง บุคคลซ่ ึงปฏิบัติงานในหน่วยงานท่ีรัฐ
กำาหนดให้ได้รับเงินจากงบประมาณหมวดเงินเดือน
2. การสนั บ สนุ น หลั ก ความเป็ น กลางทางการเมื อ ง เป็ น ลั ก ษณะ
ของความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
3. การสรรหาบุคคลเข้ารับราชการท่ีดีนัน ้ ต้องดำา เนินการตามหลัก
พ้ืนฐานแห่งระบบคุณธรรม หมายความว่า การสรรหาบุคคลโดย
การให้ความเสมอภาคในโอกาส
4. แหล่ ง สำา หรับ สรรหาบุ คคลเข้ า รับ ราชการตามระบบการสรรหา
บุ ค คลเข้ า รั บ ราชการตามระบบการสรรหาแบบตะวั น ตกคื อ
สถาบันการศึกษา
5. การบรรจุ แ ละแต่ ง ตั ง ้ ตามตำา แหน่งท่ีเหมาะสมกับ ความรู้ ค วาม
สามารถ เป็ นหลักเกณฑ์และวิธีการบรรจุและแต่งตัง้ข้าราชการ
ตามระบบคุณธรรม
6. การบรรจุ และแต่ ง ตั ง ้ ข้าราชการให้ดำา รงตำา แหน่งมักเกิดปั ญหา
ขึ้ น ในหน่ ว ยงานของรั ฐ เสมอ และเป็ น อุ ป สรรคท่ีทำา ให้ ร ะบบ
ราชการเสี ย หายคื อ ใช้ ห ลัก เกณฑ์ และวิ ธีก ารในกฎหมายเพ่ ือ
ประโยชน์แก่ผู้สมัครคนใดคนหน่ ึง
7. สำา นั ก งาน ก .พ . เป็ นหน่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบในการพั ฒ นาเจ้ า
หน้าท่ีของรัฐ
8. วิธี การรัก ษาวิ นัยท่ีได้ผ ลดีคื อ การรักษาวิ นัย ในการเสริ มสร้าง
ให้ประพฤติตามวินัยโดยสมัครใจ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


92

9. ก า ร พั ฒ น า บุ ค ค ล ก่ อ น เ ข้ า รั บ ตำา แ ห น่ ง ห น้ า ท ่ีก า ร ง า น มี
วั ต ถุ ป ระสงค์ เพ่ ือ เพ่ิม พู น ความรู้ แ ละทั ศ นะคติ ใ นการปฏิ บั ติ
หน้าท่ีราชการ
10. การฝึ กอบรมราชการกระทำา ได้หลายรูปแบบ การฝึ กอบรมแบบ
ท่ีน่ า จะให้ ผ ลดี ท ่ีสุ ด คื อ การบรรยายและการสั ม มนาระหว่ า ง
วิทยากรและผู้เข้าฝึ กอบรม
11. บุคคลใดถือว่าเป็ นข้าราชการ บุคคลซ่ ึงปฏิบัติหน้าท่ีในกระทรวง
ทบวงกรมโดยได้ รั บ เงิ น เดื อ นจากเงิ น งบประมาณหมวดเงิ น
เดือน
12. การกำาหนดให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐได้รับเงินเดือนตามตำาแหน่ง เป็ น
ลั ก ษณะของความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่า งรั ฐกั บ เจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐทาง
เศรษฐกิจในระบบราชการ
13. “ระบบการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการท่ีดี ต้ อ งดำา เนิน การตาม
หลั ก พ้ืน ฐานแห่ งระบบคุ ณ ธรรม ” หมายความว่ า การสรรหา
บุคคลโดยคำานึงถึงความรู้ความสามารถท่ีเหมาะสมกับตำาแหน่ง
14. สถาบันการศึกษา เป็ นแหล่งสำาคัญสำาหรับการสรรหาบุคคลเข้า
รับราชการตามระบบสรรหาแบบตะวันออก
15. การบรรจุและแต่ง ตัง ้ บุคคลเข้ารับราชการตามระบบคุณธรรมมี
หลักเกณฑ์ การบรรจุและแต่งตัง้ผู้มีความรู้ความสามารถทำา ให้
เหมาะสมกับตำาแหน่ง
16. ปั ญหาสำา คัญสำาหรับเร่ ืองการบรรจุและแต่งตัง ้ ท่ีทำา ให้เกิดความ
เสี ย หายต่ อ ระบบราชการคื อ ผู้ มี อำา นาจสั ง่ บรรจุ แ ละแต่ ง ตั ง้
ละเลยต่อบทบัญญัติของกฎหมายท่ีกำาหนดให้ปฏิบัติ
17. สำานักงาน ก.พ. เป็ นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการฝึ กอบรมเจ้า
หน้าท่ีของรัฐ
18. การพั ฒ นาเจ้ า หน้า ท่ีข องรั ฐ ให้ ผ ลดี แ ก่ ว งราชการคื อ เจ้ าหน้ า ท่ี
ของรัฐได้รับความรู้ใหม่และมีทัศนคติท่ีดีต่อทางราชการ
19. การรักษาวินัยราชการในทางปราบปราม ต้องดำา เนินการปราบ
ปรามลงโทษด้ ว ยความยุ ติ ธ รรมความเป็ น ธรรมและความฉั บ
พลัน จึงจะให้ผลดีในการรักษาวินัยข้าราชการ
20. การฝึ กอบรมในรูปแบบผสมโดยการบรรยายและการสัมมนา ให้
ผลในการพัฒนาคือ ผู้เข้าฝึ กอบรมได้มีโอกาสแลกเปล่ียนความ
คิดเห็นระหว่างกันเองและวิทยากร

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


93

หน่วยท่ี 14 การควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ

1. การควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ นมาตรการหน่ ึง
ท่ีจ ะป้ องกั น มิ ใ ห้ เ จ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีโ ดยขั ด ต่ อ
กฎหมาย ระเบียบและ กฎ อันจะทำา ให้สิทธิและประโยชน์ของ
ประชาชนเสียหาย ทัง้นีเ้พ่ ือก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างอำานาจ
ของรัฐกับสิทธิและประโยชน์ของประชาชน
2. การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ แม้จะมีกฎหมายท่ก ี ำาหนด
กฎเกณฑ์และวิธีการเป็ นแนวทางปฏิบัติไว้ แต่ก็ควรระมัดระวัง
ดูแลให้เจ้าหน้าท่ีนำาเอากฎเกณฑ์เหล่านัน ้ ไปใช้ในทางท่ีสมควร
3. การควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐภายในวงราชการ
กระทำาได้หลายกระบวนการเช่น การควบคุมโดยคณะรัฐมนตรี
การควบคุม ตามลำา ดับชั น ้ การบังคับบั ญชาและการควบคุ ม โดย
กระบวนการบริหารงานบุคคล
4. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ จากภายนอก
กระทำาได้โดยกลุ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และการเมือง โดย
รั ฐ สภา โดยพรรคการเมื อ ง โดยประชาชน โดยตรง และ
ส่ ือมวลชน

14.1ความรู้ เ บ้ือ งต้ น เก่ีย วกั บ การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า


หน้าท่ีของรัฐ
1. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ เป็ น
มาตรการป้ องกันในระบบการบริหารท่ีกำาหนดขึ้นเพ่ ือมิให้
เจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ปฏิ บั ติ ง านโดยขั ด ต่ อ กฎหมาย ระเบี ย บ
และข้อบังคับ หรือทำาให้สิทธิของประชาชนเสียหาย
2. การวางระบบการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
มีวัตถุประสงค์เพ่ ือให้เกิดความสมดุลระหว่างอำานาจของรัฐ
และสิทธิและประโยชน์ของประชาชน
3. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ มี ผ ลสื บ
เน่ ืองมาจากวิวัฒนาการของการปกครองประเทศจากระบบ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
94

พระมหากษัตริย์ไปสู่ระบบการปกครองประชาธิปไตยท่ีมี
การมอบอำานาจการบริหารงานให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐสามารถ
ปฏิบัติหน้าท่ีได้ตามลำาพัง

14.1.1ความหมายและวัตถุประสงค์ของการควบคุ มการใช้
อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
อธิ บ ายความหมายและวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการควบคุ ม การใช้
อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ เป็ นมาตรการ
ป้ องกันระบบการบริหารท่ีกำาหนดขึ้นเพ่ ือความควบคุมการใช้ดุลพินิจ
ของเจ้า หน้าท่ีของรั ฐในการปฏิ บัติหน้ าท่ี ทั ง้นี โ้ ดยมี วั ตถุ ป ระสงค์ จ ะ
ทำา ให้ เ กิ ด ดุ ล ยภาพระหว่ า งการบริ ห ารงานของรั ฐ กั บ สิ ท ธิ และ
ประโยชน์ของประชาชน

อธิบายความสำาคัญของการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐซ่ ึงปฏิบัติหน้าท่ีในหน่วยงานของรัฐ มีอำานาจ
ในการปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีเห็นสมควรการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ี
อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิทธิและประโยชน์ของประชาชนเพ่ ือมิ
ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐดำาเนินการด้านบริหารตามอำาเภอใจ จึงจำาเป็ นต้อง
สร้างมาตรการของการควบคุมการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ

14.1.2ความเป็ น มาของการควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า


หน้าท่ีรัฐ
อธิบายวิวัฒนาการของการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ
ในสมั ย ท่ีป ระเทศต่ า งๆปกครองด้ ว ยระบบกษั ต ริ ย์ กษั ต ริ ย์
ทรงควบคุ ม การใช้ อำา นาจของขุ น นางท่ีป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีต่ า งพระเนตร
พระกรรณด้ ว ยพระองค์ เ อง ต่ อ มาเม่ ือ ประเทศต่ า งๆ ได้ ป ฏิ รู ป การ
ปกครองไปสู่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ประชาชนได้เข้า
มามี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารประเทศโดยการเลื อ กตั ง้ ผู้ แ ทนเข้ า ไป
บริหารประเทศ แต่ผู้ บริห ารกลั บทารุณโหดร้ ายต่ อ ประชาชนเสี ย จน
ประชาชนทนไม่ ไ ด้ จนต้ อ งก่ อ จลาจลล้ ม ล้ า งกลุ่ ม รั ฐ บาลผู้ บ ริ ห าร
ประเทศ และคณะผู้ก่อการปฏิวัติก็ได้ตัง้กฎเกณฑ์ของการควบคุมการ
ปฏิบัติหน้าท่ี ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐโดยการบัญญัติกฎหมาย ระเบียบ
และข้อบังคับขึ้นจนกลายเป็ นรัฐสมัยใหม่ เรียกว่า “นิติรัฐ” นอกจาก
นีย
้ ังมีการจัดตัง้องค์กรขึ้นทำาหน้าท่ีควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐอีกด้วย
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
95

อธิบายความเป็ นมาของการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ
ในประเทศไทยนับแต่กรุงสุโ ขทัย สมัยกรุ งศรี อยุ ธยา จนถึ ง
ตอนต้นกรุงรัตนโกสินทรฺ์ พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการใช้อำา นาจ
ของขุ น นางด้ ว ยพระองค์ เ อง ต่ อ มาในสมั ย พระบาทสม เด็ จ พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปรับปรุงการบริหารประเทศให้สอดคล้อง
กับอารยธรรมของประเทศตะวันตก โดยจัดระเบียบบริหารออกเป็ นก
ระทรวง ทบวง และกรม และทรงตรากฎหมายออกเพ่ ือ กำา หนด
อำา นาจหน้ า ท่ีข องส่ ว นราชการนั น ้ พร้ อ มทั ง้ อำา นาจหน้ า ท่ีข องผู้ ซ่ ึง
ปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีใ นหน่ ว ยงานนั น
้ จึ ง นั บ ได้ ว่ า เร่ิม มี ก ารควบคุ ม การใช้
อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐแล้ว ครัน ้ เม่ ือประเทศไทยได้เปล่ียนแปลง
การปกครองไปสู่ ร ะบอบประชาธิ ป ไตย โดยมี พ ระมหากษั ต ริ ย์ เ ป็ น
ประมุ ข ก็ ไ ด้ ป ระกาศการใช้ ก ฎหมายว่ า ด้ ว ยระเบี ย บบริ ห ารราชการ
แผ่นดินท่ีวางกฎเกณฑ์การปฏิบัติหน้าท่ีของกระทรวงทบวงกรมไว้ชัด
แจ้ ง ซ่ ึง เป็ นการควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ในการ
ปฏิบัติหน้าท่ีไปพร้อมกัน

14.2กลไกแห่งการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
1. ในการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ มีกลไกสำา คัญ
คือ กฎหมายท่ีเป็ นแม่บทในการกำาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
ในการควบคุม นอกจากนีย ้ ังมีมติของคณะรัฐมนตรีท่ีวางแนว
ทางให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐถือปฏิบัติ
2. ในการบริ ห ารงานจะมี อ งค์ ก รบริ ห าร งานบุ ค คลซ่ ึง เป็ น กลไก
หน่ ึงท่ีมีหน้าท่ีควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ องค์กร
เหล่ า นี แ
้ ยกย้ า ยกั น สั ง กั ด อยู่ ใ นส่ ว นราชการต่ า งๆ และรั บ ผิ ด
ชอบควบคุมการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐนัน ้ ๆ
3. การแก้ไขปั ญหาเก่ียวกับการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐ ได้แก่ การเคร่งคัดต่อนโยบายของรัฐบาล การตัง้หน่วย
งานในส่ ว นราชการเพ่ ือ วิ เคราะห์ก ารปฏิ บั ติงานของเจ้ า หน้ าท่ี
ของรั ฐ การปรั บ ปรุ งแก้ไ ขกฎหมายเก่ีย วกั บการปฏิ บั ติใ นการ
ควบคุมและการจัดตัง้องค์กรกลางการบริหารงานบุคคล

14.2.1การควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดย


กฎหมาย
อธิบาย ยกตัวอย่างกฎหมายท่ีใช้ควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้า
หน้าท่ีของรัฐมา 2 ฉบับ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


96

กฎหมายท่ีใช้ควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีหลาย
ฉบับเช่น
1) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2518
2)ประมวลกฎหมายอาญา

วิเคราะห์ความสมบูรณ์และความบกพร่ องของกฎหมายท่ีใช้
ควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
กฎหมายท่ีใ ช้ ค วบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีรั ฐ มี
บทบั ญ ญั ติ ท ่ีส อดคล้ อ งและรั บ กั น ดี ก ล่ า วคื อ ให้ ค ณะกรรมการ
ป.ป.ป. เป็ นผู้คอยดูแลให้มีการดำาเนินการทัง้ทางอาญา และทางวินัย
ข้ า ราชการแก่ เ จ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ซ่ ึง ใช้ อำา นาจโดยมิ ช อบ และให้ ก.พ.
เป็ นผู้คอยควบคุมตรวจสอบการบริหารของรัฐโดยทัว่หน้ากัน แต่การ
ดำาเนินการในทางควบคุมนัน ้ มีขัน
้ ตอนการดำาเนินการมากมายและซับ
ซ้อนยากแก่การปฏิบัติ

14.2.2การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ โดย


องค์กรการบริหาร งานบุคคล
อธิบายหน้าท่ีและความรับผิดชอบทัว่ไปขององค์กรท่ีทำาหน้าท่ี
ในการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีรัฐ
หน้ า ท่ีแ ละความรั บ ผิ ด ชอบทั ว่ ไปขององค์ ก รท่ีทำา หน้ า ท่ี
ควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีสองประการคือ
1)การให้คำาปรึกษาและการพิจารณาคดีปกครอง
2)การให้คำาปรึกษาแต่เพียงประการเดียว

อธิ บ าย และ ยกตั ว อย่ า งองค์ ก รท่ีทำา หน้ า ท่ีค วบคุ ม การใช้
อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐมา 3 องค์กร
องค์กรท่ีทำา หน้าท่ีควบคุมการใช้ อำา นาจของเจ้ าหน้า ท่ีของรั ฐ
เช่น
1) กองเซย เดตาต์
2) คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
3) คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต)

14.2.3การแก้ไ ขปั ญหาเก่ียวกับการควบคุ มการใช้ อำา นาจ


ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
อธิ บ ายมาตรการเสริ ม ท่ีช่ ว ยให้ก ลไกแห่ งการควบคุ ม การใช้
อำานาจ ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐสัมฤทธิผ ์ ล
มาตรการเสริ ม ท่ีช่ ว ยให้ ก ลไกแห่ ง การควบคุ ม การใช้ อำา นาจ
ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐสัมฤทธิผ ์ ลได้แก่
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
97

1)การเคร่งครัดต่อนโยบายของรัฐบาล
2)การตัง้หน่วยงานในส่ ว นราชการเพ่ ือ วิ เคราะห์ก ารปฏิ บั ติ
งานของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
3)การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเก่ียวกับการปฏิบัติ
4)การจัดตัง้องค์กรกลางการบริหารงานบุคคล

14.3การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ภายในวง


ราชการ
1. การควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐโดยฝ่ ายนิติบัญญัติ
ได้แก่ การควบคุมโดยวิธีการงบประมาณ การควบคุมการออก
กฎหมายของฝ่ ายบริหาร และการควบคุมโดยการตัง้กระทู้ถาม
ฝ่ ายบริหารในรัฐสภา
2. การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ โดยองค์กรฝ่ าย
บริ ห ารได้ แ ก่ ก ารควบคุ ม โดยคณะรั ฐ มนตรี การควบคุ ม ตาม
ลำาดับชัน
้ ของสายการบังคับบัญชาและการควบคุมโดยหน่วยงาน
ต่างๆของรัฐ
3. การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐโดยฝ่ ายตุลาการ
ได้ แก่ การควบคุ มในทางตุล าการโดยศาล และการควบคุ ม ใน
ทางตุลาการโดยการดำาเนินการทางวินัย

14.3.1การควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดย


ฝ่ ายนิติบัญญัติ
อธิบายการควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ โดยวิธี
การงบประมาณ
การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ โดยวิธีการงบ
ประมาณเป็ นการตรวจสอบการบริหารงานของเจ้าหน้า ท่ีใ นรอบปี ท่ี
ผ่านมา หากฝ่ ายนิติบัญญัติเห็นว่าฝ่ ายบริหารกำาหนดงบประมาณราย
จ่ายไม่เหมาะสมก็จะพิจารณาแก้ไขรายการในร่างพระราชบัญญั ติงบ
ประมาณ โดยการตั ด ทอน เพ่ิม เติ ม หรื อ ตั ด ออกไม่ อ นุ มั ติ ใ นบาง
รายการได้

14.3.2การควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดย


องค์กรฝ่ ายบริหาร
อธิบายการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐโดยคณะ
รัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรี ค วบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้า หน้ าท่ีของรั ฐ โดย
การอ้ า งนโยบายท่ีเ ก่ีย วกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีข องเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ
กำาหนดมาตรฐานการลงโทษเจ้าหน้าท่ีของรัฐซ่ ึงใช้อำานาจโดยมิชอบใน
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
98

การปฏิบัติหน้าท่ีท่ีถือว่าเป็ นความผิดวิ นัยร้ ายแรง และมี อำา นาจบรรจุ


และแต่งตัง้เจ้าหน้าท่ีของรัฐระดับสูง

14.3.3การควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดย


ฝ่ ายตุลาการ
อธิบายการควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐบาลโดย
ศาล
เจ้าหน้าท่ีของรัฐซ่ ึงใช้อำา นาจโดยมิชอบในการปฏิบัติหน้าท่ีจะ
ต้องถูกดำาเนินคดีในศาล และต้องรับโทษอาญาในบางกรณีผู้นัน ้ อาจ
ต้องรับผิดทางแพ่งอีกด้วย สำาหรับท่ีได้จัดตัง้ศาลปกครองขึ้นแล้ว ถ้า
การใช้อำานาจโดยมิชอบของเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็ นเหตุให้ประชาชนเสีย
สิทธิและประโยชน์อันจะพึงมี อันเป็ นลักษณะคดีปกครองประชาชน
จะนำา คดี ท ่ีไ ปสู่ ศ าลปกครองเพ่ ือ พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ชี ข้ าด โดยความ
ยุติธรรม

14.4การควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐจากภายนอก
1. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดยกลุ่ ม ผล
ประโยชน์ได้แก่ การควบคุมโดยกลุ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
เช่ น สหภาพกรรมกรและกลุ่ ม เกษตรกร เป็ นต้ น และการ
ควบคุมโดยกลุ่มอิทธิพลทางการเมือง
2. การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐโดยรัฐสภาได้แก่
การควบคุมด้านนโยบายของรัฐบาล การควบคุมในด้านการใช้
จ่ า ยเงิ น งบประมาณ การควบคุ ม โดยการตั ง้ กระทู้ ภ ามรั ฐ บาล
และการควบคุมโดยการขอเปิ ดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล
3. ในทฤษฎีพรรคการเมืองฝ่ ายจัดตัง้รัฐบาล ต้องมีหน้าท่ีควบคุม
การใช้อำานาจเจ้าหน้าท่ีของรัฐในการปฏิบัติหน้าท่ีด้วย แต่ในทาง
ปฏิบัติพรรคการเมืองจะใช้วิธีการย่ ืนกระทู้ถามในรัฐสภาเท่านัน ้
ในต่ า งประเทศพรรคการเมื อ งมี อิ ท ธิ พ ลมาก ถึ ง ขนาดทำา ให้
รัฐมนตรี ต้องลาออกจากตำาแหน่งได้
4. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดยตรงจาก
ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ แ ก่ ก า ร ค ว บ คุ ม โ ด ย ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น มี ส่ ว น ใ น
กระบวนการบริหาร การควบคุมโดยให้ประชาชนได้รับรู้เอกสาร
ของทางราชการ และการควบคุมโดยการท่ีประชาชนย่ ืนเร่ ืองราว
ต่อทางราชการ
5. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดยส่ ือ มวลชน
ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วิทยุและโทรทัศน์

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


99

14.4.1การควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดย


กลุ่มผลประโยชน์
การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดยกลุ่ ม ผล
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
กลุ่ ม ผลประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ ได้ แ ก่ กลุ่ ม ประชาชนท่ี
ประกอบอาชีพอย่างเดียวกันเข้าร่วมกลุ่มกันเพ่ ือพิทักษ์ผลประโยชน์
ของสมาชิกกลุ่มอาชีพ เช่นสหภาพแรงงาน สหบาลกรรมกร และกลุ่ม
เกษตรกร เป็ น ต้ น กลุ่ ม ผลประโยชน์ ดั ง กล่ า วนี ม ้ ี พ ลั ง พอ ท่ีจ ะบี บ
บังคับฝ่ ายบริหารได้ ให้ปฏิบัติตามความต้องการของกลุ่มผลประโยชน์
นัน
้ ได้ เช่น กลุ่มเกษตรกรใช้วิธีการกักตุนผลิตผลเกษตรกรรม เพ่ ือ
บีบบังคับให้รัฐบาลลดภาษีการส่งสินค้าออกเป็ นต้น

14.4.2การควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดย


รัฐสภา
วิเคราะห์การควบคุมการใช้อำานาจเจ้าหน้าท่ีของรัฐโดยรัฐสภา
การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐสภาอาจกระทำา
ได้หลายวิธี คือ
1)การควบคุมในด้านนโยบาย
2)การควบคุมในด้านการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ
3)การควบคุมโดยการตัง้กระทู้ถามรัฐบาล
4)การควบคุมโดยการขอเปิ ดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล

14.4.3การควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดย


พรรคการเมือง
พรรคการเมืองมีอิทธิพลต่อการบริหารงานของรัฐเพียงใด
โดยปกติ พรรคการเมือ งท่ีไ ด้รับ เลื อกตัง้โดยมีท่ีนั ง่ในรัฐสภา
มากท่ีสุดมีสิทธิตัง้รัฐบาลบริหาร ประเทศ พรรคการเมืองนัน ้ มักจะบีบ
บังคับให้รัฐบาลต้องปฏิบัติตามแนวนโยบายของพรรคซ่ ึงรัฐบาลก็อาจ
กำา หนดหลั ก เกณฑ์ ก ารปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีข องเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ให้
สอดคล้องไปตามนโยบายนัน ้

14.4.4การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ


โดยตรงจากประชาชน
ประชาชนมีส่วนเข้าไปมีบทบาทควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้า
หน้าท่ีของรัฐในการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างไร
ประชาชนมีส่วนเข้าไปควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของ
รั ฐ โดยเข้ า ไปร่ ว มในกระบวนการ บริ ห ารก่ อ นท่ีเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐจะ
ปฏิ บั ติ กิ จ การทางราชการใดๆโดยการรั บ รู้ ถึง โครงการ หรื อ ขั น ้ ตอน
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
100

ของการปฏิบัติงาน รับรู้เอกสารบางอย่างของทางราชการ และสามารถ


ย่ ืนเร่ ืองราวต่อฝ่ ายบริหารในเร่ ือ งท่ีเก่ีย วกับการใช้ดุ ลพิ นิจ สัง่การ ท่ี
ประชาชนเห็นว่าไม่ถูกต้องเหมาะสม

14.4.5การควบคุ มการใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดย


ส่ ือมวลชน
ส่ ือ มวลชนท่ีค วบคุ ม การใช้ อำา นาจเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ในการ
ปฏิบัติหน้าท่ีท่ีสำาคัญได้แก่อะไรบ้าง
ส่ ือมวลชนท่ีทำา หน้าท่ีควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของ
รัฐ คือ หนังสือพิมพ์ และวิทยุ และโทรทัศน์

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 14
1. วัตถุประสงค์ของการควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
เพ่ ือให้เกิดดุลยภาพระหว่างการบริหารงานของรัฐกับสิทธิและ
ประโยชน์ของประชาชน
2. แนวความคิ ด ในการควบคุ ม การใช้ อำา นาจรั ฐ มี ท ่ีม าจากแหล่ ง
ความไม่เป็ นธรรมท่ีได้รับจากเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
3. การพิ จ ารณาคดี ค วามดี ค วามชอบของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ไม่ ใ ช่
กลไกแห่งการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
4. การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีข องรัฐ ในทางตุ ลาการท่ี
ได้ผลดี เป็ นความรับผิดชอบของ ศาลปกครอง
5. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดยฝ่ ายนิ ติ บั ญ ญั ติ
ด้วยวิธีการงบประมาณมีวิธีคือ แก้ไขเปล่ียน แปลงรายการ การ
จ่ายเงินในร่างพระราชบัญญัติงบประมาณโดยคณะกรรมาธิการ
ท่ีรัฐสภาแต่งตัง้
6. สำา นั ก พระราชวั ง เป็ น หน่ ว ยงานรั ฐ ท่ีไ ม่ มี ห น้ า ท่ีรั บ ผิ ด ชอบใน
การควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
7. กองเซยเดตาต์ ( le Conseil d’Etat ) เป็ นองค์กรทำา หน้าท่ี
ทัง้การให้คำาปรึกษาแนะนำาและการพิจารณาคดีปกครองท่ีเก่ียว
กับการควบคุมการใช้อำานาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
8. ประชาชนสามารถควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ
โดยตรงด้ว ยวิ ธีก าร ให้ ประชาชนมีส่ วนร่วมรับรู้ ในการบริห าร
ของรัฐ
9. พรรคการเมือง “พรรคฝ่ ายค้าน” ทำาหน้าท่ีควบคุมการใช้อำานาจ
ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้ดีท่ีสุด
10. การควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของรัฐโดยส่ ือมวลชนให้
ประโยชน์ คือ ทำา ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐต้ อ งระมั ดระวั งการปฏิ บัติ
หน้าท่ี
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
101

11. การท่ีเ จ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ ต้ อ งระมั ด ระวั ง ท่ีจ ะไม่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีต าม
อำาเภอใจ เน่ ืองมาจากสาเหตุ การบริหารงานอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์
แห่งกฎหมาย
12. การควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ สื บ เน่ ือ งมาจาก
สาเหตุ เจ้ าหน้า ท่ีของรั ฐปฏิบั ติงานโดยไม่ คำา นึ งถึ งกฎเกณฑ์ ?
ของการบริหาร
13. กลไกท่ีใช้ได้ผลดีในการควบคุมการใช้อำา นาจของเจ้าหน้าท่ีของ
รัฐคือ สายการบังคับบัญชาตามลำาดับชัน ้
14. การตรวจสอบการใช้จ่า ยเงิ นงบประมาณของหน่วยงานซ่ ึง เป็ น
วิ ธี ก ารควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ โดยทาง
นิติบัญญัติกระทำา ได้โดย รัฐบาลส่งพระราชบัญญัติงบประมาณ
ให้รัฐสภาเพ่ ือพิจารณาตรวจสอบ
15. ปั จจุบันประเทศไทยมีองค์กรท่ีมีหน้าท่ีควบคุมการใช้อำานาจของ
เจ้ า หน้ า ท่ีรั ฐ 12 องค์ ก ร ทำา ให้ เ กิ ด ผลการปฏิ บั ติ ง านไม่ มี
มาตรฐาน
16. ประชาชนสามารถควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ
โดยตรงคือ ประชาชนได้ร่วมรู้เอกสารของรัฐ
17. กลุ่มผลประโยชน์มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีรัฐ
โดย การแสดงพลังเพ่ ือประท้วงการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีของ
รัฐท่ีมีผลต่อประโยชน์ส่วนรวม
18. ส่ ือ มวลชลสามารถควบคุ ม การใช้ อำา นาจของเจ้ า หน้ า ท่ีข องรั ฐ
ด้วยวิธีการ เสนอข่าวและบทความเก่ียวกับปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้า
หน้าท่ีของรัฐ

------------------------

หน่วยท่ี 15 ศาลปกครอง
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
102

1. คดีป กครองเป็ น คดีท่ีมี ลั ก ษณะพิ เ ศษแตกต่ า งกั บ คดี ท่ีดำา เนิ น


การในศาลยุ ติ ธ รรม เพราะเก่ีย วกั บ ส่ ว นได้ เ สี ย ของรั ฐ และ
สาธารณะชน อันเป็ นผลกระทบกระเทือนต่อระบบการบริหาร
ปะเทศ ฉะนัน ้ สถาบันท่ีจะพิจารณาชีข้าดคดีปกครองจึงต้องมี
ลักษณะเฉพาะ และแยกต่างหากจากศาลยุติธรรม
2. วิวัฒนาการของศาลปกครองจะสอดคล้องกับระบบการปกครอง
ของประเทศ
3. ศาลปกครองเป็ นศาลพิเศษท่ีมีกระบวนการพิจารณาคดี ซ่ ึงเป็ น
ข้อยกเว้นของกระบวนการยุติธรรม
4. เจ้ า หน้ า ท่ีซ่ ึง รั บ ผิ ด ชอบการปฏิ บั ติ ง านในศาลปกครองต้ อ งมี
ความรู้ ค วามสามารถ และมี ป ระสบ การณ์ เ ก่ีย วกั บ ปั ญหา
ทางการปกครอง และการบริ ห ารงาน ในศาลปกครองไม่ มี
ทนายความท่ีช่วยในการต่อสู้คดี
5. การพิจารณาคดีในศาลปกครองมีวิธีการง่ายๆไม่ซับซ้อน สะดวก
และรวดเร็วและประหยัด
6. วิ ธี ก ารพิ จ ารณาคดี ป กครองดำา เนิ น ไปในระบบไต่ ส วน เป็ น
หน้าท่ีของศาลปกครองท่ีจะสืบค้นข้อเท็จจริงแห่งคดี พยานหลัก
ฐานท่ีคู่คดีนำา ไปสู่ศาล ไม่ถือว่ าเป็ น พยานของคู่ก รณี ฝ่ายหน่ ึง
ฝ่ ายใด แต่ถือเป็ นพยานของศาลปกครองทัง้สิน ้
7. การจัดตัง้ศาลปกครองเป็ นผลให้ฝ่ายปกครองซ่ ึงมีบทบาทสำาคัญ
ในการบริ ห ารประเทศต้ อ งระมั ด ระวั ง การใช้ ดุ ล พิ นิ จ ในการ
ปฏิบัติหน้าท่ี เพราะศาลปกครองได้เข้าไปควบคุมการบริหารงาน
ของเจ้า หน้าท่ีรัฐ ในขณะเดี ย วกั น ฝ่ ายปกครองก็ อ าจขาดขวั ญ
และกำา ลั ง ใจในการปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี เพราะรู้ ตั ว ว่ า มี ศ าลปกครอง
คอยจ้ อ งจั บ ผิ ด อยู่ และรั ฐ ต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยในการดำา เนิ น คดี
ปกครองสู ง ขึ้ น เน่ ือ งจากคู่ ก รณี ไ ม่ ต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยในการ
ดำาเนินการในศาลปกครอง
8. การจัดตัง้ศาลปกครองมีปัญหามากมายนับตัง้แต่โครงสร้างของ
ระบบศาลปกครอง บุคคลากรซ่ ึงปฏิบัติหน้าท่ีในศาลปกครอง
ขอบเขตอำานาจของศาลปกครอง และเขตพ้ืนท่ีของศาลปกครอง

15.1บทนำา
1. ศาลปกครองเป็ นองค์กรของฝ่ ายบริหารท่ีทำาหน้าท่ีควบคุมฝ่ าย
ปกครอง ในการปฏิบัติหน้ าท่ี มีอำา นาจพิ จารณาวินิ จฉั ยชี ข้าด
ปั ญหาในทางปกครองท่ีเอกชนไม่ได้รับความเป็ นธรรมจากการ
ปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ เจ้ า พนั ก งานของรั ฐ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


103

นอกจากนีย ้ ังพิจารณาชีข้าดกรณีท่ีเจ้าพนักงานของรัฐไม่ได้รับ
ความเป็ นธรรมจากคำาสัง่ของผู้บังคับบัญชาผู้มีอำานาจ
2. คดีปกครองมีลั กษณะพิ เศษแตกต่า งไปจากกรณี พิพาททั ว่ไป
เพราะเป็ น ปั ญหาขั ด แย้ งระหว่ า งเอกชนกั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ
หรือเจ้าพนักงานของรัฐ คดีปกครองจึงต้องได้รับการพิจารณา
โดยสถาบั น พิ เ ศษท่ีป ระกอบด้ ว ยบุ ค ลากรซ่ ึง มี ค วามรู้ ค วาม
เข้ า ใจและประสบการณ์ ใ นปั ญหาทางการบริ ห ารและการ
ปกครอง
3. ศาลปกครองจะช่ ว ยคุ้ ม ครองสิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ข องเอกชน
และเจ้าพนักงานของรัฐซ่ ึงเป็ นผู้อยู่ในบังคับบัญชามากขึ้น

15.1.1ความหมายของศาลปกครอง
ความหมายของศาลปกครอง
ศาลปกครองเป็ น องค์ ก รหรื อ สถาบั น ฝ่ ายบริ ห ารท่ีจั ด ตั ง้ ขึ้ น
เป็ น พิ เ ศษ แยกต่ า งหากจากศาลยุ ติ ธ รรม มี อำา นาจพิ จ ารณาชี ข้ าด
ปั ญหาทางปกครองท่ีเ อกชนไม่ ไ ด้ รั บ ความเป็ น ธรรมจากการปฏิ บั ติ
งานของหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ตลอดจนวินิจฉัยชีข้าด
กรณีท่ีเจ้าพนักงานของรัฐไม่ได้รบั ความเป็ นธรรมจากการสัง่การของผู้
บังคับบัญชา

15.1.2ความจำาเป็ นและความสำาคัญของศาลปกครอง
ศาลปกครองมีความจำาเป็ นและความสำาคัญ
ความขัดแย้งระหว่างเอชนกับหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าพนักงาน
ของรั ฐ มี ลั ก ษณะพิ เ ศษแตกต่ า งกั บ คดี ทั ว่ ไปท่ีดำา เนิ น การในศาล
ยุติธรรม กล่าวคือ มีลักษณะในทางปกครอง ความขัดแย้งดังกล่าวนี้
ควรจะต้ อ งได้ รับการพิจ ารณาโดยผู้พิพากษาศาลปกครองซ่ ึงมี ความรู้
ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ทางการบริหาร และการปกครอง
ศาลปกครองเป็ นสถาบันของฝ่ ายบริหารท่ีจัดตัง้ขึ้นเพ่ ือควบคุม
ฝ่ ายปกครอง ในการปฏิ บั ติห น้า ท่ีและเป็ น องค์ ก ารของรั ฐท่ีเป็ น หลั ก
ประกันความมัน ่ คงแห่งอาชีพของเจ้าหน้าท่ีของรัฐในอันท่ีจะไม่ถูกกลัน ่
แกล้งให้ออกไปเสียจากอาชีพข้าราชการง่ายๆ

15.2วิวัฒนาการของศาลปกครอง
1. ระบอบการปกครองของประเทศท่ีทำา ให้ ฝ่ ายปกครองสั ม พั น ธ์
ใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชนมากมี ผ ลทำา ให้ ป ระเทศต้ อ งจั ด ตั ง้ ศาล
ปกครองขึ้นเพ่ ือควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ ายปกครอง
2. วิวัฒนาการของศาลปกครองในต่างประเทศเป็ นผลสืบเน่ ืองจาก
เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์และความเปล่ียนแปลงทางการเมือง
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
104

3. นั บ ตั ง้ แต่ ส มั ย โบราณเป็ น ต้ น มา พระมหากษั ต ริ ย์ ไ ทยมี ค วาม


ใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชนอย่ า งมาก ประชา ชนชาวไทยไม่ ค่ อ ยมี
ปั ญหาขั ด แย้ งกั บ พระมหากษั ตริ ย์ ประชาชนจึ งไม่ รู้ จัก กั บการ
ป้ องกันในทางปกครอง
4. ในสมั ย ท่ีป ระเทศไทยมี ก ารปกครองระบอบประชาธิ ป ไตย มี
กฎหมายหลายฉบั บ ท่ีใ ห้ อำา นาจแก่ ฝ่ ายปกครองไว้ อ ย่ า งกว้ า ง
ขวางในการใช้ดุลพินิจสำา หรับการปฏิบัติหน้าท่ี จึงเป็ นเหตุให้มี
กรณี พิ พ าทระหว่ า งส่ ว นราชการหรื อ เจ้ า พนั ก งานของรั ฐ กั บ
ประชาชนอยู่เป็ นประจำา ในกรณีเช่นนีจ้ึงควรจัดตัง้ศาลปกครอง
ขึ้น

15.2.1ความสั มพั นธ์ระหว่ า งระบอบการปกครองกั บศาล


ปกครอง
ระบอบการปกครองและศาลปกครองมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น
อย่างไร
การปกครองระบอบประชาธิปไตย มีทฤษฎีสำาคัญเก่ียวกับการ
แบ่งแยกการใช้อำานาจอธิปไตย เพ่ ือมิให้ฝ่ายบริหารเข้าไปยุ่งเก่ียวกับ
ฝ่ ายตุลาการ หรือในทางกลับกัน ฝ่ ายท่ีใช้อำา นาจบริหารก็ไม่พยายาม
ใช้สิทธิของตนจนทำา ให้ฝ่ายตุลาการไม่มีอิสระในการพิจารณาคดี ใน
ทางปฏิบัติ ไม่มีการแบ่งแยกการใช้อำา นาจอธิปไตยเคร่งครัดนัก เพ่ ือ
ป้ องกันมิให้มีการก้าวก่ายกันในการใช้อำานาจอธิปไตย และเพ่ ือให้เกิด
ดุลอำา นาจระหว่างกัน เป็ นเหตุให้มีการจัดตัง้ศาลปกครองขึ้นควบคุม
ฝ่ ายปกครองในการปฏิบัติหน้าท่ี

15.2.2วิวัฒนาการของศาลปกครองในต่างประเทศ
วิวัฒนาการของศาลปกครองในต่างประเทศ
วิ วั ฒ นาการของศาลปกครองในต่ า งประเทศเช่ น ประเทศ
ฝรัง่เศสเกิ ด ขึ้ น จากความเป็ น มาทางประวั ติศาสตร์ ก ารเมื อ งนั บ แต่
สมัยท่ีประเทศต่างๆ มีระบบการการปกครองระบบสมบูรณายาสิทธิ
ราชย์ จนถึงระบอบประชาธิปไตย การใช้อำา นาจอธิปไตยท่ีเป็ นอำา นาจ
สู ง สุ ด ควรต้ อ งแยกกั น อย่ า งเคร่ ง ครั ด การจั ด ตั ง้ ศาลปกครองใน
ประเทศฝรัง่เศส มีวัตถุประสงค์จะให้เกิดดุลอำานาจแห่งสามอำานาจ คือ
อำา นาจนิติบัญญัติ อำา นาจตุลาการและอำา นาจบริหาร และนอกจากจะ
ป้ องกันมิให้ฝ่ายบริหารเข้าไปก้าวก่ายในอำานาจตุลาการแล้วยังถือเป็ น
ทางควบคุมการปฏิบัติหน้าท่ีของฝ่ ายปกครองอีกทางหน่ ึงด้วย

15.2.3วิวัฒนาการของศาลปกครองในประเทศท่ีใช้ระบบ
กฎหมายคอมมอนลอว์
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
105

ในประเทศท่ีใ ช้ ร ะบบคอมมอนลอว์ ไม่ มี อ งค์ ก รวิ นิ จ ฉั ย คดี


ปกครองท่ีเรียกว่า ศาลปกครอง ดังกรณีของประเทศภาคพ้ืนยุโรป คง
มีแต่ศาลยุติธรรมและองค์การบริหารซ่ ึงทำาหน้าท่ีก่ึงตุลาการ

15.2.4วิวัฒนาการของศาลปกครองในประเทศไทย
วิวัฒนาการของศาลปกครองในประเทศไทย
ในสมั ย ท่ีป ระเทศไทยมี ก ารปกครองแบบสมบู ร ณายาสิ ท ธิ
ราชย์ พระมหากษัตริย์ทรงบริหารประเทศด้วยพระองค์เอง ความขัด
แย้งในทางปกครองระหว่างพระมหากษัตริย์และประชา ชนเกือบจะ
ไม่มี ทำา ให้ประชาชนไม่รู้สึกถึงการฟ้ องร้องคดีในทางปกครอง ต่อมา
ประเทศไทยได้ เปล่ีย นแปลงการปกครองไปสู่ ร ะบอบประชาธิ ป ไตย
ทำาให้เกิดการกระจายอำานาจการปกครองไปสู่ภูมิภาคและท้องถ่ินมาก
ขึ้น ความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าท่ีของ
รัฐกับประชาชนก็จะเพ่ิมขึ้นตามไปด้วย จึงทำาให้หน่วยงานของรัฐหรือ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐกับราษฎรมีความขัดแย้งกันเสมอ เพ่ ือขจัดความขัด
แย้งดังกล่าว และเพ่ ือควบคุมการปฏิบัติหน้าท่ีของฝ่ ายปกครอง ทำาให้
เกิดแรงผลักดันให้เกิดความคิดท่ีจะจัดตัง้ศาลปกครองขึ้น

15.3ลักษณะของศาลปกครอง
1. ระบบของศาลแบ่ ง ออกเป็ น สองระบบคื อ ระบบศาลเด่ีย วและ
ระบบศาลคู่
2. ศาลปกครองเป็ น ศาลพิ เ ศษท่ีเป็ น ข้ อ ยกเว้ น ของกระบวนการ
ยุติธรรม ยอมรับแนวความคิดแห่งระบบอำานาจของการพิจารณา
ความ กล่าวคือถือเอาลักษณะแห่งคดีเป็ น หลัก ในการกำา หนด
อำานาจศาล
3. โครงสร้ า งของศาลปกครองจะสอดคล้ อ งกั บ ระบบของศาลใน
ประเทศท่ีมีระบบศาลเด่ียว ศาลปกครองจะสังกัดอยู่กับหน่วย
งานฝ่ ายตุลาการคือกระทรวงยุติธรรมส่วนในประเทศท่ีมีระบบ
ศาล คู่ศาลปกครองจะอยู่ในความควบคุมรับผิดชอบของหน่วย
งานฝ่ ายบริหารคือสำานักนายกรัฐมนตรี

15.3.1การจัดระบบศาล
ศาลของประเทศต่างๆ แบ่งออกได้เป็ นก่ีแบบ
การจัดระบบศาลแบ่งออกเป็ นสองระบบ คือระบบศาลเด่ีย ว
และระบบศาลคู่
ระบบศาลเด่ียว หมายถึงศาลทุกศาลไม่ว่าจะเป็ นศาลยุติธรรม
หรื อศาลพิ เศษจะสั งกัดกระทรวงยุ ติ ธรรมทั ง้หมด ผู้ พิ พากษาซ่ ึงทำา
หน้าท่ีในศาลพิเศษจะคัดเลือกแต่งตัง้จากผู้มีคูณสมบัติเช่นเดียวกับผู้
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
106

พิ พ ากษาศาลยุ ติ ธ รรม ประเทศท่ีจั ด ระบบศาลเด่ีย วได้ แ ก่ ป ระเทศ


อังกฤษ และประเทศเยอรมันเป็ นต้น
ระบบศาลคู่ หมายถึง การแบ่งระบบศาลออกเป็ นสองประเภท
คื อ ศาลท่ีมี ฐ านะเป็ น ศาลยุ ติ ธรรมและศาลท่ีมี ฐ านะเป็ น ศาลพิ เ ศษ
และมี วิ ธีดำา เนิ น การท่ีเป็ น ข้ อ ยกเว้ น แห่ ง กระบวนการยุ ติ ธรรม เช่ น
ศาลในประเทศฝรัง่เศส เป็ นต้น

15.3.2ลักษณะของศาลปกครอง
ลักษณะสำาคัญของศาลปกครอง
ศาลปกครองมี ลั ก ษณะเป็ นศาลพิ เ ศษท่ีเ ป็ นข้ อ ยกเว้ น ของ
กระบวนการยุติธรรมท่ีถือเอาลักษณะของกรณีพิพาทเป็ นส่ิงกำา หนด
อำานาจศาลปกครอง

15.3.3โครงสร้างของศาลปกครอง
โครงสร้างของศาลปกครองท่ีแยกเป็ นอิสระจากศาลยุติธรรม
ศาลปกครองท่ีแยกเป็ นอิสระจากศาลยุติธรรม ถือกันว่าเป็ น
ระบบศาลปกครองสมบูรณ์แบบศาลปกครองเป็ นสถาบันฝ่ ายบริหาร
สั งกัดสำา นั กนายกรัฐมนตรีทำา หน้ าท่ีค วบคุ ม การปฏิ บั ติงานของฝ่ าย
ปกครองมีศาลปกครองสูงสุดแยกต่างหากจากศาลยุติธรรมสูงสุด ใน
กรณี ท ่ีคู่ ค วามเห็ น ว่ า ตนไม่ ไ ด้ รั บ ความเป็ นธรรมจากคำา พิ พ ากษา
ปกครองชั น ้ ต้น จะอุท ธรณ์ไ ปยั งศาลปกครองสู งสุ ดได้ คำา พิ พากษา
ของศาลปกครองสูงสุดเป็ นอันถึงท่ีสุด

15.4เจ้าหน้าท่ซ ี ่ึงรับผิดชอบการปฏิบัติงานในศาลปกครอง
1. เจ้ า หน้ า ท่ีฝ่ ายธุ ร การในศาลปกครองรั บ ผิ ด ชอบงานสารบั น
ทั ง้หมด เป็ น ตั ว เช่ ือ มทางธุ ร การทั ง้ ระหว่ า งหน่ ว ยงานภายใน
ศาลปกครองและระหว่ า งศาลปกครองกั บ หน่ ว ยงานภายนอ
กอ่ ืนๆ นอกจากนีย ้ ังทำา หน้าท่ีเก็บรักษาสำา นวนคดีและงานงบ
ประมาณการเงินด้วย
2. เจ้ า หน้ า ท่ีฝ่ ายปกครองได้ แ ก่ ผู้ พิ พ ากษาคดี ป กครองและ
พนั ก งานคดี ป กครองมี ห น้ า ท่ีรั บ ผิ ด ชอบในการดำา เนิ น งาน
กระบวนการวิ ธี พิ จ ารณาคดี ป กครองนั บ ตั ง้ แต่ ก ารรั บ ฟ้ องคดี
ปกครองจนกระทั ง่ การพิ จ ารณาคดี ข องศาลปกครองสู ง สุ ด ท่ี
ถือว่าเป็ นท่ีสุด
3. การสรรหาเจ้าพนัก งานฝ่ ายคดีปกครองเข้ าไปปฏิบั ติห น้าท่ีใ น
ศาลปกครอง ต้องกระทำาด้วยวิธีพิเศษเพ่ ือให้ได้บุคคลท่ีมีความ
เช่ีย วชาญเฉพาะ และมี ป ระสบการณ์ ทั ง้ ในทางการปกครอง
และการบริหารรัฐกิจ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
107

15.4.1เจ้าหน้าท่ีฝ่ายธุรการในศาลปกครอง
บุคคลากรซ่ ึงปฏิบัติหน้าท่ีในศาลปกครองมีก่ีประเภท
บุคคลกรซ่ ึงปฏิบัติหน้าท่ีในศาลปกครองมีสองประเภทคือ
1. เจ้าหน้าท่ีฝ่ายธุรการ
2. เจ้าหน้าท่ีฝายคดีปกครอง

เจ้ า หน้ า ท่ีฝ่ ายธุ ร การในศาลปกครองแบ่ ง เป็ น ก่ีร ะดั บ แต่ ล ะ


ระดับมีบทบาทสำาคัญอย่างไร
เจ้าหน้าท่ีฝ่ายธุรการในศาลปกครองแบ่งออกเป็ นสองระดับ
คือ
1. เจ้าหน้าท่ีฝ่ายธุรการระดับผู้บริหาร
2. เจ้าหน้าท่ีฝ่ายธุรการระดับผู้ปฏิบัติ
เจ้าหน้าท่ีฝ่ายธุรการระดับผู้บริหารมีหน้าท่ีรับผิดชอบสำา คัญ
ดังนี้
1. กำา หนดนโยบายการบริ ห ารและแผนการดำา เนิ น การ
ของศาลปกครอง
2. กำา หนดนโยบายเก่ียวกับงบประมาณรายจ่ายของศาล
ปกครอง
3. การบริหารงานบุคคลในศาลปกครอง
เจ้ า หน้ า ท่ีฝ่ ายธุ ร การระดั บ ปฏิ บั ติ มี ห น้ า ท่ีรั บ ผิ ด ชอบในการ
ดำาเนินการเก่ียวกับกิจกรรมต้อไปนี้
(1)งานสารบัน
(2)งานคลัง
(3)งานเก่ียวกับคดีปกครอง
(4)งานทำาลายเอกสาร
(5)งานท่ีได้รับมอบหมา

15.4.2เจ้าหน้าท่ีฝ่ายคดีปกครอง
บุคลากรซ่ ึงปฏิบัติหน้าท่ีในศาลปกครองของประเทศฝรัง่เศส
บุคลากรท่ีปฏิบัติหน้าท่ีในศาลปกครองของประเทศฝรัง่เศส
แบ่งออกเป็ นสองประเภท คือ เจ้าหน้าท่ีฝ่ายงานบริหารและเจ้าหน้าท่ี
ฝ่ ายคดีปกครอง
เจ้าหน้าท่ีฝ่ายบริหารได้แก่ เจ้าหน้าท่ีระดับผู้บริหาร คือนายก
รั ฐ มนตรี เ ป็ น ประธานกองเซย เดตาต์ รองประธานกองเซยเดตาต์
และหัวหน้าพิพากษาศาลปกครองชัน ้ ต้น และเจ้าหน้าท่ีระดับปฏิบัติ
ได้แก่ เจ้าหน้าท่ีซ่ึงรับผิดชอบด้านงานธุรการ

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


108

เจ้าหน้าท่ีฝ่ายคดีปกครอง ได้แก่ พนักงานคดีปกครอง อัยการ


ประจำาศาลปกครอง และผู้พิพากษาคดีปกครอง

คุณสมบัติของผู้พิพากษาศาลปกครอง
ผู้พิพากษาศาลปกครองต้องมีคุณสมบัติดังนี้
(1)มีความรู้ความเข้าใจดีในกฎหมายปกครอง
(2)รับรู้สภาพความเป็ นจริงในการปฏิบัติงานฝ่ ายปกครอง
(3)รู้ จั ก นำา หลั ก กฎหมายมาใช้ อ ย่ า งเหมาะสมและวางหลั ก
กฎหมาย โดยคำานึงถึงปั ญหาในอนาคต

15.5วิธีพิจารณาคดีในศาลปกครอง
1. การพิ จารณาคดีใ นศาลปกครองใช้ ระบบไต่ส วนกล่ าวคื อ ศาล
ปกครองมีห น้าท่ีสืบ ค้น ข้อ เท็จ จริง ด้วยตนเองจากพยานหลั ก
ฐานท่ีคู่กรณีนำาไปสู่ศาล พยานหลักฐานไม่ว่าจะเป็ นบุคคลหรือ
พยานเอกสารท่ีปรากฏต่อหน้าศาลปกครองไม่ถือว่าเป็ นพยาน
หลักฐานของคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ ายหน่ ึง แต่ถือเป็ นพยานหลัก ฐาน
ของศาลปกครองทัง้สิน ้
2. วิธีพิจารณาคดีในศาลปกครองมักกระทำา โดยลับ และพิจารณา
จากพยานเอกสารเป็ นหลัก ศาลแต่ผู้ เดีย วจะทำา หน้าท่ีซัก ถาม
พยานบุคคลท่ีปรากฏตัวต่อหน้าศาลเพ่ ือรวบรวมข้อเท็จจริงแห่ง
กรณี การดำาเนินกระบวนการพิจารณาในศาลปกครองจึงต่างกับ
กระบวนการพิ จ ารณาในระบบกล่ า วหา คื อ ไม่ มี ก ารซั ก ถาม
พยาน ถามค้าน และถามติง
3. กระบวนการพิ จ ารณาในศาลปกครองในประเทศไทย มี แ นว
โน้ ม ท่ีจ ะให้ เ ป็ นไปในระบบไต่ ส วน ซ่ ึง นั บ ได้ ว่ า เป็ นความ
เปล่ีย นแปลงท่ีสำา คั ญ อั น หน่ ึง ของกระบวนการยุ ติ ธ รรมใน
ประเทศไทย

15.5.1ระบบการพิจารณาคดี
การพิจารณาคดีในระบบกล่าวหาและระบบไต่สวน มีลักษณะ
ต่างกันอย่างไร
การพิจารณาคดีในระบบกล่าวหาและระบบไต่สวนมีลักษณะ
ต่างกันคือ
(1) ระบบกล่าวหาพยานบุคคล พยานเอกสารหรือวัตถุ
พยานท่ีนำา ไปสู่ ศ าลเป็ นพยาน หลั ก ฐานของคู่
กรณี ซ่ ึง เป็ น คนนำา ไปสู่ ศ าลสำา หรั บ ระบบไต่ ส วน
พยานดังกล่าวทัง้หลายเป็ นของศาล

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.


109

(2) ระบบกล่ า วหาในการพิ จ ารณาคดี มี ก ารซั ก ถาม


ถามค้ า น ถามติ ง ส่ ว นระบบไต่ ส วนไม่ มี ก ารซั ก
ถาม ถามค้าน ถามติง
(3) ระบบกล่ า วหาเอกชนต้ อ งพิ สู จ น์ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า การ
กระทำา ของเจ้ าหน้ า ท่ีของรั ฐ มิ ช อบอย่ า งไร บาง
ครัง้ก็มิอาจหาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ได้ เอกชน
จึ ง ตกเป็ นฝ่ ายเสี ย เปรี ย บ สำา หรั บ ระบบไต่ ส วน
ศาลจะเป็ นผู้ดำา เนิน การพิสู จน์ก ารกระทำา เองทั ง้
สิน้

15.5.2วิธีพิจารณาคดีปกครอง
อธิบายลักษณะเฉพาะของกระบวนการพิจารณาคดีปกครอง
ในศาลปกครอง
กระบวนการพิจารณาคดีปกครองในศาลปกครองมีลักษณะ
เฉพาะสามประการ คือ
(1)กระบวนการพิจารณาคดีปกครองกระทำาโดยลับ
(2)การพิจารณาคดีปกครองพิจารณาจากพยานเอกสารเป็ น
หลัก
(3)ศาลเป็ นผูด
้ ำาเนินกระบวนการพิจารณาเอง

15.6ผลของการจัดตัง้ศาลปกครอง
1. การจัดตั ง้ศาลปกครอง ทำา ให้ ฝ่ายปกครองต้ องระมั ด ระวั งการ
ปฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีเ พราะตระหนั ก ดี ว่ า มี อ งค์ ก ารฝ่ ายบริ ห ารคอย
ควบคุมพฤติกรรมของฝ่ ายปกครองอยู่สำาหรับประชาชน และเจ้า
พนัก งานของรัฐก็จะรู้สึกองค์การฝ่ ายบริหารเป็ นท่ีพ่ึงสุดท้าย ท่ี
ให้ความเป็ นธรรมและเป็ นหลักประกันความมัน ่ คงแห่งอาชีพ
2. การจัดตัง ้ ศาลปกครอง ทำาให้เจ้าพนักงานฝ่ ายปกครองลังเลขาด
ความมัน ่ ใจในการปฏิบัติ งาน เพราะรู้สึกว่ามีศาลปกครองและ
เอกชนคอยจ้องจับผิดการปฏิบัติหน้าท่ีของตนเอง
3. การจัดตัง ้ ศาลปกครองขึ้นในประเทศมีปัญหามากมาย นับตัง้แต่
โครงสร้ า งของศาลปกครองบุ ค ลากรท่ีป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ีใ นศาล
ปกครอง และตลอดจนวิธีการพิจารณาคดีปกครอง
4. นอกจากนี ท ้ ำา ให้ มี ค ดี ป กครองมาสู่ ศ าลมากมายจนเป็ นภาระ
หนักแก่ศาลปกครอง ท่ีต้องพิพากษาคดีให้เสร็จสิน ้ ไปโดยเร็ว

15.6.1ผลดีของการจัดตัง้ศาลปกครอง
อธิบายถึงผลดีของศาลปกครอง
การจัดตัง้ศาลปกครองมีผลดีคือ
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
110

(1)คุ้ ม ครองสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ข องหน่ ว ยงานของรั ฐ และของ


ประชาชน
(2)ควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ ายปกครอง
(3)ประหยัด คู่ค วามในศาลปกครองไม่ต้อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยใน
การดำาเนินคดี
(4)เป็ นหลักประกันความมัน ่ คงแห่งอาชีพ
(5)เป็ นดุลอำานาจของรัฐบาลและฝ่ ายนิติบัญญัติ

15.6.2ผลเสียของการจัดตัง้ศาลปกครอง
ผลเสียของฝ่ ายปกครอง
ผลเสียของการจัดตัง้ศาลปกครอง
(1)ทำาลายขวัญและกำาลังใจในการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงาน
ฝ่ ายปกครอง
(2)รัฐต้องเสียค่าใช้จา่ ยสูง
(3)คดีปกครองคัง่ค้างในศาลปกครอง

15.6.3ปั ญหาเก่ียวกับการจัดตัง้ศาลปกครอง
ศาลปกครองควรสังกัดอยูก ่ ับหน่วยงานฝ่ ายใดของรัฐ
ศาลปกครองมี ลั ก ษณะเป็ นองค์ ก ารฝ่ ายบริ ห าร ควรอยู่ ใ น
ความรับผิดชอบของฝ่ ายบริหาร ประเทศฝรัง่เศสได้ยึดถือหลักนี โ้ดย
จั ด ให้ ศ าลปกครองสั ง กั ด อยู่ กั บ สำา นั ก นายกรั ฐ มนตรี ท ่ีอ งค์ ก รฝ่ าย
บริ ห าร แต่ โ ดยพฤติ นั ย นั น
้ ศาลปกครองดำา เนิ น งานเป็ น อิ ส ระจาก
รั ฐบาล รัฐบาลจะไม่เข้า ไปแทรกแซงหรื อก้าวก่ ายในการดำา เนิน งาน
ของศาลปกครอง

แบบประเมินผลหน่วยท่ี 15
1. ศาลปกครองเป็ นศาลท่ีจัดตัง ้ ขึ้นโดยกฎหมายประเภท พระราช
บัญญัติ
2. ศาลปกครองเป็ นสถาบันประเภท ศาลพิเศษ
3. คดี ท ่ีอ ยู่ ใ นอำา นาจของศาลปกครองคื อ คดี ท ่ีเ ป็ นความขั ด แย้ ง
ระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
4. แนวความคิ ด ของการจั ด ตั ง ้ ศาลปกครองสื บเน่ ือ งมาจาก หลัก
แห่งการแบ่งแยกการใช้อำานาจ
5. ประเทศท่ีจั ด ตั ง ้ ศาลปกครองสมบู ร ณ์ แ บบจนถื อ ได้ ว่ า เป็ น แม่
แบบของศาลปกครองคือ ประเทศฝรัง่เศส
6. ผู้พิพากษาศาลปกครองต้องมีคุณลักษณะเฉพาะคือ สามารถนำา
หลั ก กฎหมายมาใช้ อ ย่ า งเหมาะสมและวางหลั ก กฎหมายโดย
คำานึงถึงปั ญหาในอนาคต
สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.
111

7. ประเทศท่ีจั ด ระบบศาลปกครองในระบบศาลคู่ คื อ ประเทศ


ฝรัง่เศส
8. กระบวนการพิจ ารณาคดี ใ นศาลปกครองใช้ ร ะบบการพิ จ ารณา
คือ ระบบไต่สวน
9. การจั ด ตั ง
้ ศาลปกครองมี ผ ลดี คื อ เป็ นดุ ล อำา นาจระหว่ า งฝ่ าย
บริหารกับฝ่ ายนิติบัญญัติ
10. ศาลปกครองควรสังกัดอยูก ่ ับส่วนราชการ สำานักนายกรัฐมนตรี
11. สถาบั น ท่ีมี ลั ก ษณะเป็ นข้ อ ยกเว้ น ของกระบวนการยุ ติ ธ รรม
ได้แก่ ศาลปกครอง
12. หลั ก การท่ีเ ป็ นบ่ อ เกิ ด ของแนวความคิ ด ในการจั ด ตั ง ้ ศาล
ปกครอง คือหลักการแห่งการแบ่งแยกการใช้อำานาจอธิปไตย
13. ประเทศฝรัง ่ เศสจัดตัง้ศาลปกครองในรูปแบบ ศาลปกครองเป็ น
อิสระต่างหากจากศาลยุติธรรม
14. การจัดตัง้ ศาลปกครองอาจมีผลเสียคือ เจ้าพนักงานของรัฐขาด
ความมัน่ ใจการปฏิบัติงาน
15. ศาลปกครองท่ีจัดตัง ้ ขึ้นเพ่ ือคุ้มครองสิทธิและประโยชน์ของรัฐ
และของประชาชน ควรสั ง กั ด อยู่ กั บ หน่ ว ยงาน สำา นั ก นายก
รัฐมนตรี

สอบวันอาทิตย์ 26 ตุลาคม 2551 เวลา 09.00-12.00 น.

You might also like