You are on page 1of 122

1

41212 กฎหมายแพ่ง 2 : หนี้ ละเมิด


Civil Law 2: Obligation and Delicts

หน่วยที่ 1 ความหมายบ่อเกิด และวัตถุแห่งหนี้

1. หนี้ ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บุคคลสิทธิหรือสิทธิเรียกร้องนั้น คือความเกี่ยวพันทางกฎหมายระหว่าง


บุคคลสองฝ่าย คือ ระหว่างเจ้าหนี้และลูกหนี้
2. บ่อเกิดแห่งหนี้มี 2 ประการ ได้แก่ นิติกรรมและนิติเหตุ
3. วัตถุแห่งหนี้คือสิ่งที่เจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้ชำาระได้แก่ การกระทำาการ การงดเว้นการกระทำา และการ
ส่งมอบทรัพย์สิน

1.1 ความหมาย บ่อเกิด และลักษณะแห่งหนี้


1. หนี้คือ ความผูกพันทางกฎหมายระหว่างบุคคลสองฝ่าย บุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกว่าลูกหนี้ ผู้มีหน้าที่
ต้องกระทำาการ งดเว้นการกระทำา หรือส่งมอบทรัพย์สินต่อบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเรียกว่าเจ้าหนี้
2. หนี้ เ กิ ด จากนิ ติ ก รรม และนิ ติ เ หตุ ลั ก ษณะสิ ท ธิ ใ นหนี้ นั้ น เป็ น บุ ค คลสิ ท ธิ ซึ่ งเป็ น ทรั พย์ สิน
ประเภทหนึ่ง และเป็นสิทธิทจี่ ำากัดอยู่ในวัตถุแห่งหนี้ โดยเป็นสิทธิเหนือกองทรัพย์สินของลูกหนี้
3. หนี้อาจแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้คือ หนี้มีเงื่อนไข หนี้มีเงื่อนเวลา หนี้แบ่งได้ (มาตรา
290) และหนี้แบ่งไม่ได้ (มาตรา 301 และ 302)
4. หนี้ประธาน และหนี้อุปกรณ์
มาตรา 290 ถ้าการชำาระหนี้เป็นการอันจะแบ่งกันชำาระได้ และ มีบุคคลหลายคนเป็นลูกหนี้ก็ดี มี
บุคคลหลายคนเป็นเจ้าหนี้ก็ดี เมื่อ กรณีเป็นที่สงสัย ท่านว่าลูกหนี้แต่ละคนจะต้องรับผิดเพียงเป็นส่วน เท่าๆ
กัน และเจ้าหนี้แต่ละคนก็ชอบที่จะได้รับแต่เพียงเป็นส่วนเท่า ๆ กัน
มาตรา 301 ถ้าบุคคลหลายคนเป็นหนี้อันจะแบ่งกันชำาระมิได้ ท่านว่าบุคคลเหล่านั้นต้องรับผิด
เช่นอย่างลูกหนี้ร่วมกัน
มาตรา 302 ถ้าการชำาระหนี้เป็นการอันจะแบ่งกันชำาระมิได้และ มีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าหนี้ ถ้า
บุคคลเหล่านั้นมิได้เป็นเจ้าหนี้ร่วมกัน ไซร้ ท่านว่าลูกหนี้ได้แต่จะชำาระหนี้ให้ได้ประโยชน์ แก่บุคคลเหล่านั้น
ทั้งหมดด้วยกัน และเจ้าหนี้แต่ละคนจะเรียกชำาระหนี้ได้ก็แต่เพื่อได้ ประโยชน์ด้วยกันหมดทุกคนเท่านั้น อนึ่ง
เจ้าหนี้แต่ละคนจะเรียก ให้ลูกหนี้วางทรัพย์ที่เป็นหนี้นั้นไว้เพื่อประโยชน์แห่งเจ้าหนี้หมดทุก คนด้วยกันก็ได้
หรือถ้าทรัพย์นั้นไม่ควรแก่การจะวางไว้ ก็ให้ส่งแก่ ผู้พิทักษ์ทรัพย์ซึ่งศาลจะได้ตั้งแต่งขึ้น
นอกจากนี้ ข้อความจริงใดที่เท้าถึงเจ้าหนี้คนหนึ่งเท่านั้น หา เป็นไปเพื่อคุณหรือโทษแก่เจ้าหนี้คนอื่น
ๆ ด้วยไม่

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
2

1.1.1 หนีค้ ืออะไร


ความหมายของคำาว่าหนี้
หนี้เป็นบุคคลสิทธิหรือสิทธิเรียกร้อง คือความเกี่ยวพันทางกฎหมายระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย คือเจ้าหนี้
และลูกหนี้ เช่นหนี้ที่เกิดจากสัญญาต่างๆ ซึ่งเป็นนิติกรรม 2 ฝ่าย ต้องมีเจ้าหนี้และลูกหนี้

1.1.2 บ่อเกิดและลักษณะของสิทธิแห่งหนี้
บ่อเกิดแห่งหนี้มีกี่อย่าง ยกตัวอย่างประกอบ
บ่อเกิดแห่งหนี้มี 2 อย่าง คือ
ก. นิติกรรมและสัญญา นิติกรรมฝ่ายเดียวซึ่งต้องมีผู้รับการแสดงเจตนาก็เป็นเหตุก่อให้เกิดหนี้ได้
เช่นกัน
ข. นิติเหตุ ได้แก่ จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ ละเมิด และตามกฎหมายอื่น เช่น หนี้ค่าภาษีอากร
ซึ่งเกิดจากบทบัญญัติประมวลรัษฎากร

ลักษณะของสิทธิในหนี้ที่สำาคัญมีอะไรบ้าง
ลักษณะแห่งสิทธิในหนี้ เป็นบุคคลสิทธิหรือสิทธิเรียกร้องที่ใช้บังคับกันระหว่างคู่กรณี บุคคลสิทธิ
นั้นถือเป็นทรัพย์สินประเภทหนึ่ง สิทธิในหนี้นั้นจำากัดอยู่ในวัตถุแห่งหนี้เท่านั้น จะเรียกร้องให้ลูกหนี้ปฏิบัติ
การนอกเหนือจากวัตถุแห่งหนี้ไม่ได้ สิทธิของเจ้าหนี้มีโดยเท่าเทียมกันที่จะได้รับชำาระหนี้จากกองทรัพย์สิน
ของลูกหนี้

ประเภทต่างๆของหนี้
1.1.3

เราแบ่งหนี้ออกได้เป็นกี่ประเภท ยกตัวอย่างประกอบ
หนี้อาจแบ่งออกได้เป็นประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้ คือหนี้มีเงื่อนไข หนี้มีเงื่อนเวลา หนี้แบ่งได้ (มาตรา
290) และหนี้แบ่งไม่ได้ (มาตรา 301 และ มาตรา 302) หนี้ประธานและหนี้อุปกรณี

1.2 วัตถุแห่งหนี้
1. วัตถุแห่งหนี้มี 3 ประการได้แก่ การกระทำา การ การงดเว้นกระทำา การ และการงดเว้นการกระทำา
และการส่งมอบทรัพย์สิน
2. เมื่อเกิดหนี้ขึ้น เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำาระหนี้ได้ เว้นแต่หนี้นั้นจะเป็นหนี้ขาดอายุความ หนี้
ขาดหลักฐานหรือหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยที่จะชำาระ
3. ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้คือ ทรั พย์ อันเป็นวั ตถุ ในการชำา ระหนี้ อาจเป็นทรัพย์ที่ ยังมิไ ด้กำา หนด
แน่นอน หรือเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง
4. การเลือกวัตถุแห่งหนี้นั้น ถ้าไม่ได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น ลูกหนี้จะเป็นฝ่ายเลือก หรืออาจตกลงให้
เจ้าหนี้หรือบุคคลภายนอกเป็นผู้เลือกได้ การเลือกทำาโดยการแสดงเจตนาต่ออีกฝ่ายหนึ่ง

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
3

1.2.1 ชนิดของวัตถุแห่งหนี้
วัตถุแห่งหนี้คืออะไร แตกต่างจากวัตถุประสงค์แห่งนิติกรรมสัญญาอย่างไร
วัตถุแห่งหนี้มีอยู่ 3 ประการ คือ การกระทำา การ การงดเว้นกระทำา การ หรือการส่งมอบทรัพย์สิน
วัตถุแห่งหนี้แตกต่างกับวัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม เพราะวัตถุแห่งหนี้อยู่ในขั้นผล คือเกิดหนี้ขึ้นแล้ว ส่วน
วัตถุที่ประสงค์แห่งนิติกรรมอยู่ในขั้นมูลฐานอันจะก่อให้เกิดหนี้ วัตถุแห่งหนี้มีอยู่ในมูลหนี้ทุกชนิด วัตถุที่
ประสงค์มีได้เฉพาะในเรื่องนิติกรรมสัญญา วัตถุแห่งหนี้มี 3 ประการ แต่วัตถุที่ประสงค์แห่งนิติกรรมมีได้
ไม่จำากัด

ที่ว่า “เจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิจะเรียกให้ลูกหนี้ชำาระหนี้ได้” ท่านเข้าใจว่าอย่างไร อธิบายและยกตัวอย่าง


ประกอบ
มาตรา 219 ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์ อันใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง
ที่ได้ก่อหนี้ และซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับ ผิดชอบนั้นไซร้ท่านว่าลูกหนี้เป็นอันหลุดพ้นจากการชำาระหนี้นั้น
ถ้าภายหลังที่ได้ก่ อหนี้ขึ้นแล้วนั้น ลูกหนี้กลายเป็นคนไม่สามารถ จะชำา ระหนี้ได้ไซร้ ท่านให้ถือ
เสมือนว่าเป็นพฤติการณ์ที่ทำาให้การ ชำาระหนี้ตกเป็นอันพ้นวิสัยฉะนัน้

ที่ว่า “เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ลูกหนี้ชำาระหนี้ได้” เป็นหลักทั่วไป แต่มีข้อยกเว้น ซึ่งเจ้าหนี้ไม่อาจเรียก


ให้ลูกหนีช้ ำาระหนี้ได้ 3 กรณี คือ
ก. หนี้ประเภทนี้ เป็นหนี้ซึ่งมีอยู่จริงแต่กฎหมายห้ามฟ้องร้อง เพราะเหตุว่าเป็นหนี้ที่ขาดอายุความ
หรือหนี้ขาดหลักฐานในกรณีซึ่งหนีน้ ั้นเป็น
ข. หนี้ขาดหลักฐานในกรณีซึ่งหนี้นั้นเป็นประเภทที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องทำา เป็นหลักฐานเป็น
หนังสือ
ค. หนี้อนั เป็นการพ้นวิสัยจะชำาระกันได้ (มาตรา 219 วรรคแรก)

1.2.2 ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้
กฎหมายบัญญัติในเรื่องทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ไว้อย่างไรบ้าง อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
มาตรา 195 เมื่อทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้นั้นได้ระบุไว้แต่เพียง เป็นประเภท และถ้าตามสภาพ
แห่งนิติกรรม หรือตามเจตนาของ คู่กรณีไม่อาจจะกำาหนดได้ว่าทรัพย์นั้นจะพึงเป็นชนิดอย่างไรไซร้ ท่านว่า
ลูกหนี้จะต้องส่งมอบทรัพย์ชนิดปานกลาง

ตามมาตรา 195 บัญญัติเกี่ยวกับทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้ อันหมายถึงทรัพย์อันเป็นวัตถุในการ


ชำา ระหนี้ไว้เป็น 2 ประการคือ ทรัพย์ได้ระบุไว้แต่เป็นเพียงประเภทและทรัพย์เฉพาะสิ่งคือทรัพย์ซึ่งได้
กำาหนดเพื่อจะส่งมอบแล้ว

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
4

ก. ตกลงขายข้าวให้ ข. จำานวน 100 กระสอบ ขณะตรวจนับข้าวสารอยู่ได้ 50 กระสอบ ข.


ติดธุระไม่อาจจะอยู่เลือกต่อไปได้ ตกลงกับ ก. ว่า จะมาเลือกวันรุ่งขึ้น ในคืนนั้นเองไฟไหม้โรงเก็บข้าวสาร
หมดโดยไม่ใช่ความผิดของ ก. ผลในกฎหมายจะเป็นอย่างไร
แยกเป็น 2 ประเด็น คือ
ก. ยังคงต้องรับผิดชำาระข้าวสารอีก 50 กระสอบ เพราะเป็นกรณีต้องตามมาตรา 195 วรรค
แรก โดยส่งมอบข้าวสารชนิดปานกลาง
ข. ก. ไม่ต้องรับผิดชดใช้ข้าวสารอีก 50 กระสอบ ซึ่งได้เลือกโดยความยินยอมของ ข. แล้ว
ข้าวสาร 50 กระสอบดังกล่าวเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง

1.2.3 การเลือกวัตถุแห่งหนี้
กฎหมายบัญญัติการเลือกวัตถุแห่งหนี้ไว้อย่างไร อธิบายและยกตัวอย่าง
โดยหลักแล้วสิทธิที่จะเลือกทำาการอย่างใดนั้น ตกอยู่กับฝ่ายลูกหนี้ หากการกระทำาเพื่อการชำาระหนี้
นั้นมีหลายอย่าง แต่คู่กรณีอาจตกลงให้เจ้าหนี้ หรือบุคคลภายนอกเป็นผู้มีสิทธิเลือกก็ได้ การเลือกนั้นต้อง
กระทำาโดยการแสดงเจตนา หากเป็นกรณีที่บุคคลภายนอกเป็นผู้เลือก บุคคลภายนอกนั้นต้องแสดงเจตนา
เลือกต่อลูกหนี้ แล้วลูกหนี้จึงแจ้งความนั้นให้เจ้าหนี้ทราบ

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 1

1. หนี้คือบุคคลสิทธิหรือสิทธิเรียกร้องอันเป็นความเกี่ยวพันทางกฎหมายระหว่างบุคคล 2 ฝ่ายคือ เจ้า


หนี้และลูกหนี้
2. บ่อเกิดแห่งหนี้มี 2 ประการคือ นิติกรรมและนิติเหตุ
3. วัตถุแห่งหนี้คือ สิ่งที่จะเรียกร้องให้ชำาระในมูลหนี้นั้น
4. วัตถุแห่งหนี้มี 3 อย่างคือ การกระทำาการ งดเว้นกระทำาการ และการส่งมอบทรัพย์สิน
5. เมื่อเกิดหนี้ขึ้นเจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้ชำาระหนี้ได้ โดยสิ้นเชิง มีข้อยกเว้นคือ หนี้ขาดอายุความ หนี้ขาด
หลักฐาน และหนีท้ ี่กลายเป็นพ้นวิสัย
6. ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ คือ ทรัพย์ซึ่งเข้ามาเกี่ยวกับวัตถุแห่งหนี้ หรืออาจเรียกว่าทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุ
ในการชำาระหนี้
7. วัตถุแห่งหนี้มีหลายอย่าง ผู้เลือก ได้แก่ (ก) ลูกหนี้ (ข) เจ้าหนี้ (ค) บุคคลภายนอก
8. การเลือกวัตถุแห่งหนี้นั้นต้องทำา โดยการแสดงเจตนา
9. วัตถุแห่งหนี้มีหลายอย่าง หากตกเป็นพ้นวิสัยบางอย่างผู้มีสิทธิเลือก ต้องเลือกสิ่งที่ยังเป็นวิสัย
10. เมื่อผู้มีสิทธิเลือกได้เลือกวัตถุแห่งหนี้เป็นอย่างใดแล้ว จะกลับใจไม่ได้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
5

หน่วยที่ 2 การไม่ชำาระหนี้

เมื่อเกิดหนี้ขึ้นย่อมมีเจ้าหนี้ลูกหนี้ ลูกหนี้ต้องชำาระหนี้แก่เจ้าหนี้ให้ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่ง
หนี้ หากลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้เสียเลย หรือชำาระหนี้ขาดตกบกพร่อง กล่าวคือ ชำาระหนี้ล่าช้าผิดเวลา ผิดสถานที่
หรือผิดวัตถุแห่งหนี้ ย่อมทำาให้เจ้าหนี้ได้รับความเสียหาย เพื่อชดเชยความเสียหาย จำาเป็นที่จะให้เจ้าหนี้ซึ่งเป็น
ผู้ได้รับความเสียหายจากการไม่ชำาระหนี้มีสิทธิที่จะฟ้องร้องบังคับชำาระหนี้ได้ การฟ้องร้องบังคับชำา ระหนี้
ต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์แห่งการบังคับชำาระหนี้

2.1 การถึงกำาหนดชำาระหนี้
1. ถ้าเวลาอันพึงชำาระหนี้นั้นมิได้กำาหนดลงไว้หรือจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ เจ้าหนี้ย่อม
จะเรียกชำาระหนี้ได้โดยพลัน และฝ่ายลูกหนี้ก็ย่อมจะชำาระหนี้ของตนโดยพลันดุจกัน
2. ถ้าหนี้ได้กำาหนดเวลาชำาระไว้ แต่หากกรณีเป็นที่สงสัยให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า เจ้าหนี้จะเรียกให้ชำาระ
หนี้ก่อนถึงเวลานั้นหาได้ไม่ แต่ฝา่ ยลูกหนี้จะชำาระหนี้ก่อนกำาหนดนั้นได้

2.1.1 หนีท้ ี่ไม่มีกำาหนดเวลาชำาระ


หนี้ที่ไม่มีกำาหนดเวลาชำาระนั้นถึงกำาหนดชำาระเมื่อใด และมีผลต่อเจ้าหนี้และลูกหนี้อย่างไรบ้าง
ยกตัวอย่างประกอบ
ปพพ. ได้บัญญัติหลักทั่วไปในเรื่องหนีที่มิได้กำาหนดเวลาในมาตรา 203 วรรคแรก ว่าดังนี้ “ถ้า
เวลาอันจะพึงชำาระหนี้นั้นมิได้กำาหนดลงไว้หรือจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้
ย่อมจะเรียกให้ชำาระหนี้โดยพลันและฝ่ายลูกหนี้ก็ย่อมชำาระหนี้ของตนโดยพลันดุจกัน ซึ่งหมายถึงว่า ถ้าหนี้
ไม่ได้กำาหนดเวลาชำาระเอาไว้ หรือจะอนุมานจากพฤติการณ์ใดๆ ก็ไม่อาจทราบได้ว่าถึงกำาหนดชำาระเมื่อใด
ย่อมถือว่าเมื่อมีหนี้เกิดขึ้น กำาหนดชำาระหนี้ย่อมเกิดขึ้นพร้อมกันในทันที มีผลให้เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ลูกหนี
ชำาระหนี้ทันที่ และลูกหนี้ก็มีสิทธิที่จะชำาระหนี้ได้ทันทีดุจกัน”
ตัวอย่าง ก. กู้เงิน ข. โดยมิได้กำาหนดเวลาว่าจะชำาระหนี้ให้ ข. เมื่อใด และอนุมานจากพฤติการณ์
ทั้งปวงก็ไม่ได้ ข. ย่อมเรียกให้ ก. ชำาระหนี้ได้โดยพลัน และ ก. ก็ย่อมชำาระหนี้ให้ ข. ได้โดยพลันดุจกัน

2.1.2 หนีม้ ีกำาหนดเวลาชำาระและหนี้มีกำาหนดชำาระตามพฤติการณ์


ก. ยืมเครื่องบวชนาคของ ข. เพื่อเอาไปอุปสมบทบุตรชายโดยไม่ได้กำา หนดเวลาส่งคืน ข. เรียก
เครื่องอุปสมบทคืนจาก ก. ได้เมื่อไร เพราะเหตุใด

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
6

ปพพ. มาตรา 203 วรรคแรกบัญญัติหลักในเรื่องเวลาชำาระหนี้ตามพฤติการณ์ดังนี้ ถ้าเวลาอันพึง


จะชำาระหนี้มิได้กำาหนดลงไว้หรือจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ย่อมจะเรียกให้
ชำาระหนี้ได้โดยพลัน และฝ่ายลูกหนี้ก็ย่อมจะชำาระหนี้ของตนได้โดยพลันดุจกัน
ตามบทบัญญัติดังกล่าวย่อมหมายความว่า ถ้าเวลาชำา ระหนี้มิได้กำา หนดกันไว้ แต่พออนุมานจาก
พฤติการณ์ทั้งปวงได้ว่าจะชำาระหนี้กันได้เท่าใด ลูกหนี้ต้องชำา ระหนี้และเจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ชำา ระหนี้ตาม
พฤติการณ์ที่พึงอนุมานได้
ตามอุทาหรณ์ แม้ไม่ได้กำาหนดเวลาชำาระหนี้ แต่ก็พออนุมานได้ว่า ก. ต้องคืนเครื่องอุปสมบทนาค
ให้ ข. เมื่ออุปสมบทบุตรชายเสร็จแล้ว ดังนั้น ข. จะเรียกเครื่องอุปสมบทคืนก่อนเสร็จงานอุปสมบทไม่ได้
จะเรียกคืนได้เมื่องานอุปสมบทเสร็จสิ้นแล้ว

2.1.3 หนีม้ ีกำาหนดเวลาชำาระแต่กรณีเป็นที่สงสัย


ที่ว่า “ประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาได้แก่ฝ่ายลูกหนี้” และ “หนี้ที่ถึงกำาหนดเวลาชำาระแต่กรณีเป็นที่สงสัย”
เราเข้าใจว่าอย่างไร มีผลต่อเจ้าหนีและลูกหนี้อย่างไร อธิบาย
มาตรา 203 ถ้าเวลาอันจะพึงชำาระหนี้นั้นมิได้กำาหนดลงไว้ หรือ จะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวง
ก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ย่อม จะเรียกให้ชำาระหนี้ได้โดยพลัน และฝ่ายลูกหนี้ก็ย่อมจะชำาระหนี้ของ ตนได้
โดยพลันดุจกัน

ปพพ. มาตรา 203 วรรคสองบัญญัติเกี่ยวกับหลักที่ว่า “เงื่อนประโยชน์แห่งเวลาย่อมได้แก่ฝ่าย


ลูกหนี้” ไว้ว่า ถ้าได้กำาหนดเวลาไว้ แต่หากกรณีเป็นที่สงสัย ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า เจ้าหนี้จะเรียกให้
ชำาระหนี้ก่อนถึงกำาหนดเวลานั้นหาได้ไม่ แต่ฝ่ายลูกหนี้จะชำาระหนี้ก่อนกำาหนดนั้นก็ได้
หลักกฎหมายดังกล่าวเป็นเรื่องหนี้มีกำาหนดเวลาชำาระ แต่กรณีเกิดเป็นสงสัยว่า ประโยชน์แห่งเวลา
เป็นของเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ กฎหมายจึงให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นประโยชน์แก่ฝ่ายลูกหนี้ฝ่ายเดียว เจ้าหนี้จะ
เรียกให้ชำาระหนี้ก่อนกำาหนดเวลาไม่ได้ แต่ฝา่ ยลูกหนี้จะชำาระหนี้ก่อนถึงกำาหนดเวลาย่อมทำาได้ ทั้งนี้กฎหมาย
ประสงค์จะให้ลูกหนี้ได้เตรียมการชำาระหนี้ไว้ให้พร้อม ถ้าจะให้เจ้าหนี้เรียกให้ชำาระหนี้ได้ก่อนกำาหนดเวลา
ลู กหนี้อาจจะยั งไม่พร้อ มที่ จ ะชำา ระหนี้ จะทำา ให้ ลูก หนี้เ ดือ ดร้ อน แต่ถ้ าอนุมานจากพฤติ ก ารณ์ได้ หรื อ มี
ข้อความปรากฏชัดแจ้งในตราสารว่ากำาหนดเวลาชำาระหนี้มีไว้เพื่อประโยชน์ของเจ้าหนี้ ก็ย่อมเป็นไปตามนั้น
ซึ่งจะมีผลให้เจ้าหนี้เรียกชำาระหนี้ก่อนกำาหนดเวลาได้ แต่ลูกหนี้ไม่มีสิทธิที่จะชำาระหนี้ได้ก่อนเวลากำาหนด

2.2 การผิดนัด
1. ลูกหนี้ผิดนัดหมายถึงการที่ลูกหนี้ชำาระหนี้ล่าช้าผิดเวลา
2. ลูกหนีไม่มีกำาหนดเวลาชำาระ ถ้าเจ้าหนี้เตือนให้ชำาระหนี้ไม่ชำาระ ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดเพราะเขาเตือน
แล้วถ้าได้กำาหนดเวลาชำาระหนี้ไว้ตามวันแห่งปฏิทิน และลูกหนี้มิได้ชำาระหนี้ตามกำาหนด ลูกหนี้ตก
เป็นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้องเตือน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
7

3. ในกรณีหนี้อันเกิดมูลละเมิด ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดมาแต่เวลาที่ทำาละเมิด
4. ลูกหนี้ยังไม่ชำาระหนี้เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ ลูกหนี้ยังไม่ผิดนัด
5. เมื่อลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์แห่งหนี้ ลูกหนี้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
6. ลูกหนี้ชำาระหนี้ล่าช้า เจ้าหนี้บอกปัดไม่ยอมรับชำาระหนี้ และเรียกค่าสินไหมทดแทนได้
7. ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในความเสียหายตลอดจนการชำาระหนี้กลายเป็นหนี้พ้นวิสัยในระหว่างผิดนัด
8. ลูกหนี้ต้องรับผิดใช้ดอกเบี้ยหนี้เงินในระหว่างผิดนัด
9. เมื่อลูกหนี้ได้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบแล้ว เจ้าหนี้ไม่ยอมรับชำาระหนี้โดยปราศจากมูลเหตุที่
อ้างได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด
10.ถ้าลูกหนี้จำาต้องชำาระหนี้ส่วนของตนต่อเมื่อเจ้าหนีช้ ำาระหนี้ตอบแทนด้วยหากเจ้าหนี้พร้อมจะชำาระ
หนี้แต่ไม่เสนอที่จะชำาระหนี้ตอบแทน เจ้าหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด
11.ในเวลาที่ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้หรือในเวลาที่กำาหนดให้เจ้าหนี้ทำาการอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้า
ลูกหนี้มิได้อยู่ในฐานะที่จะสามารถชำาระหนี้ได้เจ้าหนี้ยังไม่ผิดนัด
12.ถ้ามิได้กำาหนดเวลาชำาระหนี้ไว้ หรือถ้าลูกหนี้มีสิทธิที่ชำาระหนี้ได้ก่อนเวลากำาหนด การที่เจ้าหนี้มี
เหตุขัดข้องชั่วคราวไม่อาจรับชำาระหนี้ที่ลูกหนี้ขอปฏิบัติแก่ตนได้ เจ้าหนี้ยังไม่ผิดนัด เว้นแต่ลูกหนี้
ได้บอกกล่าวชำาระหนี้ไว้ล่วงหน้าโดยเวลาอันสมควร
13.หนี้เงินจะเรียกดอกเบี้ยในระหว่างเจ้าหนีผ้ ิดนัดไม่ได้
14.เมื่อขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบแล้วเจ้าหนี้ผิดนัด บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแก่การไม่ชำาระ
หนี้เป็นอันปลดเปลื้องไปนับแต่เวลาที่ขอปฏิบัติการชำาระหนี้และเพื่อให้หลุดพ้นจากหนี้ ลูกหนี้ต้อง
จัดการวางทรัพย์ไว้เพื่อประโยชน์ของเจ้าหนี้

2.2.1 กรณีทถี่ ือว่าลูกหนี้ผิดนัด


ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บัญญัติให้ลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้องเตือนเลยในกรณีใด
บ้าง
มาตรา 204 ถ้าหนี้ถึงกำาหนดชำาระแล้ว และภายหลังแต่นั้นเจ้าหนี้ ได้ให้คำา เตือนลูกหนี้แล้ว ลูก
หนี้ยังไม่ชำาระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด เพราะเขาเตือนแล้ว
ถ้าได้กำาหนดเวลาชำาระหนี้ไว้ตามวันแห่งปฏิทิน และลูกหนี้มิได้ ชำาระหนี้ตามกำาหนดไซร้ ท่านว่าลูก
หนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้อง เตือนเลย วิธีเดียวกันนี้ท่านให้ใช้บังคับแก่กรณีที่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ก่อน
การชำาระหนี้ ซึ่งได้กำาหนดเวลาลงไว้ อาจคำานวณนับได้โดย ปฏิทินนับแต่วันที่ได้บอกกล่าว
มาตรา 206 ในกรณีหนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด มาแต่เวลาที่ทำาละเมิด

ป.พ.พ. บัญญัติให้ลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้องเตือนเลยในกรณีดังต่อไปนี้
1. ตามมาตรา 204 วรรคสอง ถ้าได้กำาหนดเวลาชำาระหนี้ไว้ตามวันแห่งปฏิทิน และลูกหนี้มิได้
ชำาระหนี้ตามกำาหนด ลูกหนี้ย่อมตกเป็นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้องเตือน
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
8

2. ตามมาตรา 204 วรรคสองตอนท้าย ถ้าได้มีการบอกกล่าวกันล่วงหน้าก่อนการชำาระหนี้และ


การบอกกล่าวนั้นได้กำาหนดเวลาลงได้ อาจคำานวณนับได้โดยปฏิทินนับแต่วันที่ได้บอกกล่าวเมื่อ
ครบกำาหนดวันบอกกล่าวแล้ว ลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ลูกหนี้ย่อมตกเป็นผู้ผิดนัดโดยมิพักต้องเตือน
3. ตามมาตรา 206 ในกรณีหนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัดมาแต่เวลาที่ทำาละเมิด
หมายความว่าทำาละเมิดเมื่อใด ลูกหนี้ย่อมตกเป็นผู้ผิดนัดตั้งแต่เวลาที่ทำาละเมิดโดยมิพักต้องเตือน
เลย

2.2.2 กรณีทไี่ ม่ถือว่าลูกหนี้ผิดนัด


แดงกู้เงินขาวไป 10,000 บาท กำาหนดชำาระเงินต้นคืนในวันที่ 31 ธันวาคม 2524 ครั้น
หนี้ถึงกำาหนดชำาระแล้ว แดงได้นำาเงินต้นไปชำาระแก่ขาว บังเอิญในวันนั้นฝนตกหนักนำ้าท่วมทางที่จะไปบ้าน
นายขาว จนเป็นเหตุให้แดงไม่สามารถนำาเงินต้นไปชำาระให้ขาวได้ตามกำาหนดเวลา ดังนี้จะถือว่าแดงตกเป็นผู้
ผิดนัดหรือไม่ เพราะอะไร หลักกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้มีว่าอย่างไร
มาตรา 205 ตราบใดการชำาระหนี้นั้นยังมิได้กระทำาลงเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่
ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ ยังหาได้ชื่อว่าผิดนัดไม่
ป.พ.พ. มาตรา 205 บัญญัติเป็นหลักซึ่งถือเป็นข้อยกเว้นซึ่งยังไม่ถือว่าลูกหนี้ผิดนัด แม้ลูกหนี้
ไม่ชำาระหนี้ตามเวลากำาหนด ดังนี้ “ตราบใดการชำาระหนี้นั้นยังไม่ได้กระทำาลงเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่ง
ซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังได้ชื่อว่าผิดนัดไม่”
ตามหลักทั่วไปในเรื่องกำา หนดเวลาชำา ระหนี้นั้น เมื่อมีลูกหนี้เกิดขึ้น คู่กรณีต่างก็มีสิทธิและหน้าที่
ผูกพันซึ่งกันและกัน ลูกหนี้ย่อมมีหน้าที่ที่จะชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้และต้องชำาระหนี้ให้ต้องตามประสงค์อัน
แท้จริงแห่งมูลหนี้ เจ้าหนี้ก็มีหน้าที่ที่จะรับชำาระหนี้เมื่อลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบด้วยกฎหมาย
หากหนี้ถึงกำาหนดชำาระแล้ว และภายหลังเจ้าหนี้ได้ให้คำาเตือนลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ยังไม่ชำาระหนี้ ลูกหนี้ได้ชื่อ
ว่าผิดนัดเพราะเขาเตือนแล้ว ถ้าหนี้นั้นได้กำาหนดเวลาชำาระไว้ตามวันแห่งปฏิทิน หรือหนี้ที่ได้บอกกล่าวล่วง
หน้าก่อนการชำาระหนี้ ซึ่งได้กำาหนดเวลาลงไว้ อาจคำานวณกันได้โดยปฏิทินนับแต่เวลาที่ได้บอกกล่าว และลูก
หนี้มิได้ชำาระหนี้ตามกำาหนด ลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด โดยมิพักต้องเตือนเลย กรณีที่ลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด ต้อง
เป็นพฤติการณ์ซึ่งลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในการที่ตนไม่ชำาระหนี้ตามกำาหนดนั้น แต่ถ้าการที่ลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้
ตรงตามกำาหนดเวลา สืบเนื่องมาจากพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบแล้ว ลูกหนี้ยังหาได้
ชื่อว่าผิดนัดไม่
ตามอุทาหรณ์ การที่ฝนตกนำ้า ท่วมทางที่จะไปบ้านขาว จนเป็นเหตุให้แดงไม่สามารถนำา เงินต้นไป
ชำาระให้ขาวตามกำาหนดนั้น เป็นเหตุสุดวิสัยเป็นพฤติการณ์ซึ่งแดงไม่ต้องรับผิดชอบ แม้แดงจะไม่ได้ชำาระหนี้
ให้ขาวได้ตามเวลากำาหนด แดงยังไม่ตกเป็นผู้ผิดนัด

2.2.3 ผลแห่งการผิดนัดของลูกหนี้
เมื่อลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ประการใดบ้างหรือไม่
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
9

มาตรา 215 เมื่อลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์ อันแท้จริงแห่งมูลหนี้ไซร้ เจ้าหนี้จะ


เรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อ ความเสียหายอันเกิดแต่การนั้นก็ได
มาตรา 216 ถ้าโดยเหตุผิดนัด การชำาระหนี้กลายเป็นอันไร้ ประโยชน์แก่เจ้าหนี้ เจ้าหนี้จะบอกปัด
ไม่รับชำาระหนี้ และจะเรียก เอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อการไม่ชำาระหนี้ก็ได้
มาตรา 217 ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่ เกิดแต่ความประมาทเลินเล่อใน
ระหว่างเวลาที่ตนผิดนัด ทั้งจะต้อง รับผิดชอบในการที่การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย เพราะอุบัติเหตุ อันเกิด
ขึ้นในระหว่างเวลาที่ผิดนัดนั้นด้วย เว้นแต่ความเสียหายนั้น ถึงแม้ว่าตนจะได้ชำาระหนี้ทันเวลากำาหนดก็คงจะ
ต้องเกิดมีอยู่นั่นเอง
มาตรา 218 ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยจะทำาได้ เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้
ต้องรับผิด ชอบไซร้ ท่านว่าลูกหนี้ จะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่เจ้าหนี้เพื่อค่าเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิด
แต่การไม่ชำาระหนี้นั้น
ในกรณีที่การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยแต่เพียงบางส่วน ถ้าหากว่าส่วนที่ยังเป็นวิสัยจะทำาได้นั้นจะ
เป็นอันไร้ประโยชน์แก่เจ้าหนี้แล้ว เจ้าหนี้จะไม่ยอมรับชำาระหนี้ส่วนที่ยังเป็นวิสัยจะทำาได้นั้น แล้วและ เรียก
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการไม่ชำาระหนี้เสียทั้งหมดทีเดียวก็ได้
มาตรา 219 ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์ อันใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังที่
ได้ก่อหนี้ และซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับ ผิดชอบนั้นไซร้ท่านว่าลูกหนี้เป็นอันหลุดพ้นจากการชำาระหนี้นั้น
ถ้าภายหลังที่ได้ก่ อหนี้ขึ้นแล้วนั้น ลูกหนี้กลายเป็นคนไม่สามารถ จะชำา ระหนี้ได้ไซร้ ท่านให้ถือ
เสมือนว่าเป็นพฤติการณ์ที่ทำาให้การ ชำาระหนี้ตกเป็นอันพ้นวิสัยฉะนัน้
มาตรา 220 ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในความผิดของตัวแทนแห่งตน กับทั้งของบุคคลที่ตนใช้ในการ
ชำาระหนี้นั้นโดยขนาดเสมอกับว่าเป็น ความผิดของตนเองฉะนั้น แต่บทบัญญัติแห่ง มาตรา 373 หาใช้
บังคับ แก่กรณีเช่นนี้ด้วยไม่
มาตรา 221 หนี้เงินอันต้องเสียดอกเบี้ยนั้น ท่านว่าจะคิดดอกเบี้ย ในระหว่างที่เจ้าหนี้ผิดนัดหาได้
ไม่
มาตรา 222 การเรียกเอาค่าเสียหายนั้น ได้แก่เรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายเช่นที่ตาม
ปกติย่อมเกิดขึน้ แต่การไม่ชำาระ หนี้นั้น
เจ้าหนี้จะเรียกค่าสินไหมทดแทนได้ แม้กระทั่งเพื่อความเสียหาย อันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษ หากว่าคู่
กรณีที่เกี่ยวข้องได้คาดเห็นหรือ ควรจะได้คาดเห็นพฤติการณ์เช่นนั้นล่วงหน้าก่อนแล้ว
มาตรา 223 ถ้าฝ่ายผู้เสียหายได้มีส่วนทำาความผิดอย่างใด อย่างหนึ่งก่อให้เกิดความเสียหายด้วย
ไซร้ ท่านว่าหนี้อันจะต้องใช้ ค่าสินไหมทดแทนแก่ฝ่ายผู้เสียหายมากน้อยเพียงใดนั้น ต้องอาศัย พฤติการณ์
เป็นประมาณ ข้อสำาคัญก็คือว่าความเสียหายนั้นได้เกิดขึ้น เพราะฝ่ายไหนเป็นผู้ก่อยิ่งหย่อนกว่ากันเพียงไร
วิธีเดียวกันนี้ ท่านให้ใช้แม้ทั้งที่ความผิดของฝ่ายผู้ที่เสียหายจะ มีแต่เพียงละเลยไม่เตือนลูกหนี้ให้รู้สึก
ถึงอันตราย แห่งการเสียหาย อันเป็นอย่างร้ายแรงผิดปกติ ซึ่งลูกหนี้ไม่รู้หรือไม่อาจจะรู้ได้ หรือ เพียงแต่ละเลย

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
10

ไม่บำาบัดปัดป้อง หรือบรรเทาความเสียหายนั้นด้วย อนึ่งบทบัญญัติแห่ง มาตรา 220 นั้นท่านให้นำามาใช้


บังคับด้วยโดยอนุโลม
มาตรา 224 หนี้เงินนั้น ท่านให้คิดดอกเบี้ยในระหว่างเวลาผิดนัด ร้อยละเจ็ดกึ่งต่อปี ถ้าเจ้าหนี้อาจ
จะเรียกดอกเบี้ยได้สูงกว่านั้น โดย อาศัยเหตุอย่างอื่นอันชอบด้วยกฎหมาย ก็ให้คงส่งดอกเบี้ยต่อไปตามนั้น
ท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัด
การพิสูจน์ค่าเสียหายอย่างอื่นนอกกว่านั้น ท่านอนุญาตให้พิสูจน์ได้
มาตรา 225 ถ้าลูกหนี้จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อราคาวัตถุ อันได้เสื่อมเสียไประหว่างผิดนัด
ก็ดี หรือวัตถุอันไม่อาจส่งมอบได้ เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันเกิดขึ้นระหว่างผิดนัดก็ดี ท่านว่า เจ้าหนี้จะ
เรียกดอกเบี้ยในจำานวนที่จะต้องใช้เป็นค่าสินไหมทดแทน คิดตั้งแต่เวลาอันเป็นฐานที่ตั้งแห่งการกะประมาณ
ราคานั้นก็ได้ วิธีเดียวกันนี้ ท่านให้ใช้ตลอดถึงการที่ลูกหนี้จำา ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน เพื่อการที่ราคาวัตถุ
ตกตำ่าเพราะวัตถุนั้นเสื่อมเสียลงในระหว่างเวลา ทีผ่ ิดนัดนั้นด้วย
1. เมื่อลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกเอาค่า
สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแก่การนั้นได้ (มาตรา 215)
2. โดยเหตุ ที่ ลู ก หนี้ ผิ ด นั ด การชำา ระหนี้ นั้ น กลายเป็ น อั น ไร้ ป ระโยชน์ แ ก่ เ จ้ า หนี้ เจ้ า หนี้ มี สิ ท ธิ
บอกปัดไม่รับชำาระหนี้ และเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อการไม่ชำาระหนี้ของลูกหนี้ได้ (มาตรา
216)
3. ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบในความเสียหาย บรรดาที่เกิดแก่ความประมาทเลินเล่อในระหว่างที่ตน
ผิดนั ด ทั้ งจะต้อ งรับผิ ดชอบในการชำา ระหนี้ ก ลายเป็น พ้น วิ สัย เพราะอุ บั ติ เ หตุ อั น เกิ ด ขึ้น ใน
ระหว่างเวลาที่ตนผิดนัดนั้นด้วยเงิน แต่ความเสียหายนั้นถึงแม้ตนจะได้ชำาระหนี้ทันเวลากำาหนด
ก็คงจะต้องเกิดมีอยู่นั้นเอง (มาตรา 217)
4. สำาหรับหนี้เงินในระหว่างที่ลูกหนี้ผิดนัด เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยจากลูกหนี้ได้ร้อยละเจ็ดครึ่ง
ต่ อปี แต่ เจ้ าหนี้ อาจเรีย กได้ สูง กว่า นั้ น โดยอาศัย เหตุ อ ย่ า งอื่ น อั น ชอบด้ว ยกฎหมาย (มาตรา
224)
5. กรณีที่เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทน เพื่อราคาวัตถุอันได้เสื่อมเสียไประหว่างผิดนัด หรือ
วัตถุไม่อาจส่งมอบได้ในระหว่างผิดนัด เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในจำานวนค่าสินไหมทดแทน
นับแต่เวลาอันเป็นฐานที่ตั้งแห่งการกะประมาณราคานั้น (มาตรา 225)

ในกรณีหนี้เงิน เมื่อลูกหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ประการใดบ้าง


หนี้เงินนั้น ป.พ.พ. มาตรา 224 บัญญัติหลักเกณฑ์ที่ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบในระหว่างผิดนัด
ดังนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีและเจ้าหนี้จะเรียกดอกเบี้ยให้สูงกว่านั้นก็ได้ โดยอาศัยเหตุ
อื่นอันชอบด้วยกฎหมาย เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยสูงกว่าร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีก็ได้ แต่ห้ามมิให้คิดดอกเบี้ย
เสมือนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดและให้สิทธิแก่เจ้าหนี้ที่จะเรียกร้องค่าเสียหายอย่างอื่นได้ ถ้าสามารถพิสูจน์
ได้ว่ามีความเสียหายอย่างอื่น นอกจากดอกเบี้ยดังกล่าวมาแล้ว

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
11

การเรียกดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดนี้ เป็นสิทธิของเจ้าหนี้ที่จะเรียกได้ โดยไม่จำาเป็นต้องพิสูจน์และไม่


จำาเป็นต้องมีข้อตกลงว่าลูกหนี้จะต้องเสียดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัดเพราะกฎหมายถือว่าหนี้เงินนั้น เมื่อผิดนัด
ชำาระ เจ้าหนี้ย่อมเสียหายและกำาหนดค่าเสียหายไว้เป็นการแน่นอนตายตัว คือคิดให้เป็นดอกเบี้ยร้อยละเจ็ด
ครึ่งต่อปี

เขียวยืมรถยนต์ขาวไปใช้ในวันแต่งงานของดำาน้องชาย เมื่องานแต่งงานเสร็จสิ้นลงเขียวได้นำารถยนต์
เก็บไว้ในโรงรถ ต่อมาอีก 2 วัน ไฟฟ้าช๊อตไหม้บ้านและโรงรถของเขียวเป็นเหตุให้รถยนต์ของขาวถูกไฟ
ไหม้เสียหายทั้งคันไปด้วย เขียวต้องรับผิดชอบใช้ราคารถยนต์ให้แก่ขาวหรือไม่ เพราะเหตุใด
ป.พ.พ. มาตรา 217 บัญญัติหลักเกณฑ์ไว้ว่า “ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่
เกิดแก่ความประมาทเลินเล่อในระหว่างที่ตนผิดนัด ทั้งจะต้องรับผิดชอบในการที่การชำาระหนี้กลายเป็นพ้น
วิสัย เพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นในระหว่างเวลาที่ผิดนัดนั้นด้วย เว้นแต่ความเสียหายนั้น ถึงแม้วา่ ตนจะได้ชำาระ
หนี้ทันเวลากำาหนดก็คงจะต้องเกิดมีอยู่นั่นเอง” และตามมาตรา 203 วรรคแรกบัญญัติว่า “ถ้าเวลาวันจะพึง
ชำาระหนี้นั้นมิได้กำาหนดลงไว้ หรือจะอนุมานจากพฤติการณ์ทั้งปวงก็ไม่ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ย่อมจะเรียกให้
ชำาระหนี้ได้โดยพลัน และฝ่ายลูกหนี้ก็ย่อมจะชำาระหนี้ของตนได้โดยพลันดุจกัน”
ตามอุทาหรณ์แม้หนีจ้ ะไม่กำาหนดระยะเวลาเอาไว้ คือไม่ได้กำาหนดเวลาตามปฏิทินที่จะคืนรถยนต์ให้
ขาว แต่พอจะอนุมานได้ตามพฤติการณ์ว่า เมื่องานแต่งงานของดำา เสร็จ เขียวจะต้องคืนรถยนต์ให้ขาว คือ
เท่ากับว่าหนี้คือรถยนต์ได้กำาหนดเวลาชำาระไว้เป็นการแน่นอนแล้ว ฉะนั้นเมื่อเขียวได้ส่งรถยนต์คืนให้ขาว
ภายหลังจากแต่งงานเสร็จสิ้นแล้ว เขียวตกเป็นผู้ผิดนักตามมาตรา 203 วรรคหนึ่ง และมาตรา 204
วรรคสอง แม้ต่อมาจะเกิดอุบัติเหตุไฟไหม้บ้าน โรงรถ ที่ใช้เก็บรถและไหม้รถยนต์เสียหายหมดก็ตาม เขียว
ย่อมต้องรับผิดชอบใช้ราคารถยนต์ให้แก่ขาวตามมาตรา 217

2.2.4 กรณีทถี่ ือว่าเจ้าหนี้ผิดนัด


เจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดในกรณีใดบ้าง
มาตรา 207 ถ้าลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้ และเจ้าหนี้ไม่รับ ชำาระหนี้นั้นโดยปราศจากมูลเหตุ
อันจะอ้างกฎหมายได้ไซร้ ท่านว่า เจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด
มาตรา 208 การชำาระหนี้จะให้สำาเร็จผลเป็นอย่างใด ลูกหนี้จะ ต้องขอปฏิบัติการชำาระหนี้ต่อเจ้า
หนี้เป็นอย่างนั้นโดยตรง
แต่ถ้าเจ้าหนี้ได้แสดงแก่ลูกหนี้ว่า จะไม่รับชำาระหนี้ก็ดี หรือเพื่อ ที่จะชำาระหนี้จำาเป็นที่เจ้าหนี้จะต้อง
กระทำาการอย่างใดอย่างหนึ่งก่อน ก็ดี ลูกหนี้จะบอกกล่าวแก่เจ้าหนี้ว่า ได้เตรียมการที่จะชำาระหนี้ไว้ พร้อม
เสร็จแล้ว ให้เจ้าหนี้รับชำาระหนี้นั้น เท่านี้ก็นับว่าเป็นการเพียงพอ แล้ว ในกรณีเช่นนี้ ท่านว่าคำาบอกกล่าวของ
ลูกหนี้นั้นก็เสมอกับคำาของ ปฏิบัติการชำาระหนี้
มาตรา 209 ถ้าได้กำา หนดเวลาไว้เป็นแน่นอนเพื่อให้เ จ้าหนี้ กระทำา การอันใด ท่านว่า ที่จ ะขอ
ปฏิบัติการชำาระหนี้นั้นจะต้องทำาก็แต่เมื่อ เจ้าหนี้ทำาการอันนั้นภายในเวลากำาหนด
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
12

มาตรา 210 ถ้าลูกหนี้จำา ต้องชำาระหนี้ส่วนของตนต่อเมื่อเจ้าหนี้ ชำาระหนี้ตอบแทนด้วยไซร้ แม้


ถึงว่าเจ้าหนี้จะได้เตรียมพร้อมที่จะรับชำาระหนี้ตามที่ลูกหนี้ขอปฏิบัตินั้นแล้วก็ดี หากไม่เสนอที่จะทำาการชำาระ
หนี้ตอบแทนตามที่จะพึงต้องทำาเจ้าหนี้ก็เป็นอันได้ชื่อว่าผิดนัด

เจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดได้ใน 2 กรณีคือ
1)ตามมาตรา 207 ซึ่งบัญญัติว่า ถ้าลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้ และเจ้าหนี้ไม่รับชำาระหนี้นั้น
โดยปราศจากมูลเหตุอันจะอ้างกฎหมายได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด
2)มาตรา 210 ซึ่งบัญญัติว่า ถ้าลูกหนี้จำาต้องชำาหนี้ส่วนของตนต่อเมื่อเจ้าหนี้ชำาระหนี้ตอบแทน
ด้วยไซร้ แม้ถึงว่าเจ้าหนี้จะได้เตรียมพร้อมที่จะรับชำาระหนี้ตามที่เขาพึงต้องทำาเจ้าหนี้ก็เป็นอันได้
ชื่อว่าผิดนัด
ตามมาตรา 207 บัญญัติให้เจ้าหนี้ผิดนัด เพราะไม่รับชำา ระหนี้ การไม่รับชำา ระหนี้ ก็คือการไม่
ยอมรับชำาระหนี้ที่ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้ การขอปฏิบัติการชำาระหนี้จะต้องเป็นการขอชำาระหนี้ได้ใน
ขณะที่ขอชำาระหนี้
ตามมาตรา 210 เป็นเรื่องสัญญาต่างตอบแทน คู่กรณีฝ่ายหนึ่งจะต้องขอปฏิบัติการชำาระหนี้ต่ออีก
ฝ่ายหนึ่ง ในเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งไม่เสนอชำาระหนี้ตอบแทน ฝ่ายนั้นก็เป็นผู้ผิดนัด การผิดนัดมีได้ทั้งสองฝ่าย การ
ขอปฏิบัติการชำาระหนี้จะต้องอยู่ในฐานะพร้อมที่จะชำาระหนี้ได้อย่างจริงจังเจ้าหนี้จะตกเป็นผู้ผิดนัด

2.2.5 ข้อยกเว้นที่ไม่ถือว่าเจ้าหนี้ผิดนัด
มีกรณีใดบ้างที่ไม่ถือว่าเจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด
มาตรา 211 ในเวลาที่ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำา ระหนี้นั้นก็ดี หรือในเวลาที่กำา หนดไว้ให้ เจ้าหนี้
ทำา การอย่างใดอย่ างหนึ่ง โดยกรณีที่ บั ญญั ติ ไว้ใ น มาตรา 209 นั้นก็ ดี ถ้า ลูก หนี้มิ ได้ อยู่ ในฐานะที่ จ ะ
สามารถชำาระหนี้ได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ยังหาผิดนัดไม่
มาตรา 212 ถ้ามิได้กำา หนดเวลาชำา ระหนี้ไว้ก็ดี หรือถ้าลูกหนี้มี สิทธิที่จะชำา ระหนี้ได้ก่อนเวลา
กำาหนดก็ดี การที่เจ้าหนี้มีเหตุขัดข้อง ชั่วคราวไม่อาจรับชำาระหนี้ที่เขาขอปฏิบัติแก่ตนได้นั้น หาทำาให้ เจ้าหนี้
ตกเป็นผู้ผิดนัดไม่ เว้นแต่ลูกหนี้จะได้บอกกล่าวการชำาระหนี้ ไว้ล่วงหน้าโดยเวลาอันสมควร
มาตรา 213 ถ้าลูกหนี้ละเลยเสียไม่ชำาระหนี้ของตน เจ้าหนี้จะ ร้องขอต่อศาลให้สั่งบังคับชำาระหนี้
ก็ได้ เว้นแต่สภาพแห่งหนี้จะไม่เปิด ช่องให้ทำาเช่นนั้นได้
เมื่อสภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับชำาระหนี้ได้ ถ้าวัตถุแห่งหนี้ เป็นอันให้กระทำาการอันหนึ่งอัน
ใด เจ้าหนี้จะร้องขอต่อศาลให้สั่งบังคับ ให้บุคคลภายนอกกระทำาการอันนั้นโดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่ายให้ก็ได้
แต่ถ้าวัตถุแห่งหนี้เป็นอันให้กระทำานิติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งไซร้ ศาลจะสั่งให้ถือเอาตามคำา พิพากษาแทน
การแสดงเจตนาของลูกหนี้ก็ได้
ส่วนหนี้ซึ่งมีวัตถุเป็นอันจะให้งดเว้นการอันใด เจ้าหนี้จะเรียกร้อง ให้รื้อถอนการที่ได้กระทำาลงแล้ว
นัน้ โดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่าย และ ให้จัดการอัน ควรเพื่อกาลภายหน้าด้วยก็ได้
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
13

อนึ่ง บทบัญญัติในวรรคทั้งหลายที่กล่าวมาก่อนนี้ หากระทบกระทั่ง ถึงสิทธิที่จะเรียกเอาค่าเสียหาย


ไม่

มีอยู่ 2 กรณี ที่ไม่ถือว่าเจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด คือ


1)ลูกหนี้ไม่อยู่ในฐานะที่จะชำาระหนี้ได้อย่างจริงจัง ซึ่งมาตรา 211 บัญญัติว่าในเวลาที่ลูกหนี้ขอ
ปฏิบัติการชำาระหนี้ หรือในเวลาที่กำาหนดไว้ให้เจ้าหนี้ทำาการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยกรณีที่บัญญัติ
ไว้ในมาตรา 209 ถ้าลูกหนี้มิได้อยู่ในฐานะที่จะสามารถชำาระหนี้ได้ เจ้าหนี้ยังหาผิดนัดไม่
ในการขอปฏิบัติการชำาระหนี้นั้น ลูกหนี้ต้องอยู่ในฐานะที่จะชำาระหนี้ได้อย่างจริงจัง คือพร้อมที่จะ
ชำาระหนี้ที่ผูกพันตนอยู่และสามารถที่จะชำาระหนี้ได้ในทันที เมื่อลูกหนี้พร้อมชำาระหนี้และขอปฏิบัติการชำาระ
หนี้แล้ว ถ้าเจ้าหนี้ไม่รับชำาระหนี้ เจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด หากลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยตนไม่พร้อมที่
จะชำาระหนี้ แม้เจ้าหนี้ไม่รับชำาระหนี้ เจ้าหนี้ก็ไม่ผิดนัด
กรณีตามมาตรา 209 ก็เช่นเดียวกัน แม้จะกำาหนดเวลาแน่นอนให้เจ้าหนี้กระทำาการใดแล้วเจ้าหนี้
ไม่กระทำาตามกำาหนด หากปรากฏว่าในเวลาที่กำาหนดไว้ ลูกหนี้ยังไม่อยู่ในฐานะพร้อมที่จะชำาระหนี้ได้แล้ว
แม้จะมีการขอปฏิบัติการชำาระหนี้ เจ้าหนี้ยังไม่ผิดนัด
2)เจ้าหนี้มีเหตุชั่วคราวที่จะไม่รับชำาระหนี้ ซึ่งมาตรา 212 บัญญัติว่า ถ้ามิได้กำาหนดระยะเวลา
ชำาระหนี้ไว้ หรือถ้าลูกหนี้มีสิทธิที่จะชำาระหนี้ได้ก่อนกำาหนดเวลากำาหนดก็ดี การที่เจ้าหนี้มีเหตุ
ขัดข้องชั่วคราวไม่อาจรับชำาระหนี้ที่เขาขอปฏิบัติแก่ตนได้นั้น หาทำาให้เจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดไม่
เว้นแต่ลูกหนี้จะได้บอกกล่าวการชำาระหนี้ไว้ล่วงหน้าโดยเวลาอันควร
ถ้าหนี้ไม่มีกำาหนดเวลาชำาระหรือมีกำาหนดเวลาชำาระ แต่กำาหนดเวลามีไว้เพื่อประโยชน์แก่ลูกหนี้ ซึ่ง
ลูกหนี้มีสิทธิที่จะชำาระหนี้ได้ก่อนเวลากำาหนด หนี้ทั้งสองประการนี้ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำา ระหนี้โดยพลัน
หรือจะชำาระหนี้เมื่อใดก็ได้ เจ้าหนี้ไม่มีโอกาสรู้ตัวล่วงหน้าว่าลูกหนี้จะชำาระหนี้เมื่อใด ฉะนั้นหากลูกหนี้ขอ
ปฏิบัติการชำาระหนี้ในเวลาที่เจ้าหนี้มีเหตุจำาเป็นชั่วคราว ไม่อาจจะรับชำาระหนี้ได้ เจ้าหนี้ไม่รับชำาระหนี้ด้วย
เหตุขัดข้องดังกล่าว เจ้าหนี้ยังไม่ตกเป็นผู้ผิดนัด แต่ถ้าลูกหนี้ได้บอกกล่าวล่วงหน้าว่าจะขอปฏิบัติการชำาระหนี้
ในเวลาอันกำาหนดแน่นอนซึ่งเป็นเวลาที่ให้โอกาสเจ้าหนี้ก็ถือว่าเจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด

2.2.6 ผลแห่งการผิดนัดของเจ้าหนี้
เมื่อลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบแล้ว ลูกหนีจ้ ะหลุดพ้นจากความรับผิดอะไรบ้าง อธิบาย ลูก
หนีจ้ ะหลุดพ้นจากหนี้หรือไม่เพราะเหตุใด
เมื่อลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบแล้ว และเจ้าหนี้ไม่รับชำาระหนี้นั้นโดยปราศจากมูลเหตุอัน
จะอ้างกฎหมายได้ เจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัดตามมาตรา 207 มีผลให้ ลูกหนี้ไม่ต้องเสียดอกเบี้ยในหนี้เงินตาม
มาตรา 221 และลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ในบรรดาความเสียหายอันเกิดแต่การไม่ชำาระหนี้ นับ
แต่เวลาที่ลูกหนี้ได้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้นั้น ตามมาตรา 330 บรรดาความรับผิดชอบคือ ลูกหนี้ไม่ต้องรับ
ผิดชอบใช้ค่าสินไหมทดแทน เนื่องจากการชำา ระหนี้ไม่ต้อ งตามความประสงค์อันแท้จริงแห่ งมูลหนี้ตาม
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
14

มาตรา 215 ไม่ต้องรับผิดชอบถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นอันไร้ประโยชน์ต่อเจ้าหนี้ ตามมาตรา 216 ไม่


ต้องรับผิดชอบ ถ้าเกิดการเสียหายแก่ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้โดยมิใช่ความผิดของลูกหนี้ตามมาตรา 217
เมื่อเจ้าหนี้ผิดนัด ลูกหนี้ไม่รับผิดชอบเฉพาะค่าสินไหมทดแทนความเสียหายอันเกิดจากการไม่ชำา ระหนี้
เท่านั้น ส่วนหนี้ที่ต้องชำาระแก่กันมีอยู่อย่างไร ลูกหนี้ยังรับผิดชอบชำาระให้แก่เจ้าหนี้อยู่ หากลูกหนี้ประสงค์ที่
จะหลุดพ้นจากหนี้ ต้องจัดการวางทรัพย์ไว้เพื่อประโยชน์ของเจ้าหนี้ตามมาตรา 331 ซึ่งบัญญัติว่า ถ้าเจ้า
หนี้บอกปัดไม่ยอมรับชำาระหนี้ก็ดี หรือไม่สามารถจะรับชำาระหนี้ได้ก็ดี หากบุคคลผู้ชำาระหนี้วางทรัพย์อัน
เป็นวัตถุแห่งหนี้ไว้เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้แล้ว ก็ย่อมจะเป็นอันหลุดพ้นจากหนี้ได้
มาตรา 330 เมื่อขอปฏิบัติการชำา ระหนี้โดยชอบแล้ว บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแต่การไม่
ชำาระหนี้ก็เป็นอันปลดเปลื้องไป นับแต่ เวลาที่ขอปฏิบัติการชำาระหนี้นั้น
มาตรา 331 ถ้าเจ้าหนี้บอกปัดไม่ยอมรับชำาระหนี้ก็ดี หรือไม่ สามารถจะรับชำาระหนี้ได้ก็ดี หาก
บุคคลผู้ชำาระหนี้วางทรัพย์อันเป็น วัตถุแห่งหนี้ไว้เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้แล้ว ก็ย่อมจะเป็นอันหลุด พ้นจาก
หนี้ได้ความข้อนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึงกรณีที่บุคคลผู้ชำาระหนี้ไม่ สามารถจะหยั่งรู้ถึงสิทธิ หรือไม่รู้ตัว เจ้าหนี้ได้
แน่นอนโดยมิใช่เป็น ความผิดของตน

2.3 การไม่ชำาระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์แห่งหนี้
1. การไม่ชำา ระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์แห่งหนี้ นั้นคือกรณีลูกหนี้ได้กระทำา การชำา ระหนี้ไม่ถูก
ต้องครบถ้วนตามหน้าที่ที่ต้องกระทำา คือ ชำาระหนี้แต่เพียงบางส่วน ชำาระหนี้ชำารุดบกพร่อง ชำาระหนี้
ล่าช้าเกินกำาหนดเวลา หรือชำาระหนี้ผิดสถานที่ที่ได้ตกลงกันไว้
2. เมื่อลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะเรียกเอาค่า
สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแต่การไม่ชำาระหนี้นั้นได้

มาตรา 320 อันจะบังคับให้เจ้าหนี้รับชำาระหนี้แต่เพียงบางส่วน หรือให้รับชำาระหนี้เป็นอย่างอื่น


ผิดไปจากที่จะต้องชำาระแก่เจ้าหนี้นั้น ท่านว่าหาอาจจะบังคับได้ไม่
มาตรา 321 ถ้าเจ้าหนี้ยอมรับการชำาระหนี้อย่างอื่นแทนการ ชำาระหนี้ที่ได้ตกลงกันไว้ ท่านว่าหนี้
นัน้ ก็เป็นอันระงับสิ้นไป
ถ้าเพื่อที่จะทำาให้พอแก่ใจเจ้าหนี้นั้น ลูกหนี้รับภาระเป็นหนี้อย่างใด อย่างหนึ่งขึ้นใหม่ต่อเจ้าหนี้ไซร้
เมื่อกรณีเป็นที่สงสัย ท่านมิให้ สันนิษฐานว่าลูกหนี้ได้ก่อหนี้นั้นขึ้นแทนการชำาระหนี้
ถ้าชำาระหนี้ด้วยออก-ด้วยโอน-หรือด้วยสลักหลังตั๋วเงิน หรือ ประทวนสินค้า ท่านว่าหนี้นั้นจะระงับ
สิ้นไปต่อเมื่อตั๋วเงินหรือประทวน สินค้านั้นได้ใช้เงินแล้ว
มาตรา 322 ถ้าเอาทรัพย์ก็ดี สิทธิเรียกร้องจากบุคคลภายนอกก็ดี หรือสิทธิอย่างอื่นก็ดี ให้แทน
การชำาระหนี้ ท่านว่าลูกหนี้จะต้องรับ ผิดเพื่อชำารุดบกพร่องและเพื่อการรอนสิทธิทำานองเดียวกับผู้ขาย
มาตรา 323 ถ้าวัตถุแห่งหนี้เป็นอันให้ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง ท่านว่าบุคคลผู้ชำาระหนี้จะต้องส่ง
มอบทรัพย์ตามสภาพที่เป็นอยู่ใน เวลาที่จะพึงส่งมอบ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
15

ลูกหนี้จำา ต้องรักษาทรัพย์นั้นไว้ด้วยความระมัดระวัง เช่นอย่าง วิญญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สินของ


ตนเอง จนกว่าจะได้ส่งมอบทรัพย์นั้น
มาตรา 324 เมื่อมิได้มีแสดงเจตนาไว้โดยเฉพาะเจาะจงว่าจะ พึงชำาระหนี้ ณ สถานที่ใดไซร้ หาก
จะต้องส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง ท่านว่าต้องส่งมอบกัน ณ สถานที่ซึ่งทรัพย์นั้นได้อยู่ในเวลาเมื่อก่อ ให้เกิดหนี้
นัน้ ส่วนการชำาระหนี้โดยประการอื่น ท่านว่าต้องชำาระ ณ สถานที่ซึ่งเป็นภูมิลำาเนาปัจจุบันของเจ้าหนี้

2.3.1 การชำาระหนี้ผิดวัตถุแห่งหนี้
การชำาระหนี้ผิดวัตถุแห่งหนี้ จะเข้าใจว่าอย่างไร อธิบาย
การชำาระหนี้ผิดวัตถุแห่งหนี้คือ การชำาระหนี้แต่เพียงบางส่วน หรือการชำาระหนี้เป็นอย่างอื่นผิดไป
จากที่จะต้องชำาระแก่เจ้าหนี้ตามมาตรา 320 แต่ถ้าเจ้าหนี้ยอมรับชำาระหนี้อย่างอื่นแทนการชำาระหนี้ที่ได้
ตกลงกัน ไว้ ก็ย่ อ มใช้ ไ ด้ ทำา ให้ ห นี้ ร ะงั บ สิ้น ไปตามมาตรา 321 ถ้ า เอาทรั พย์ สิท ธิ เ รี ย กร้ อ งจากบุ ค คล
ภายนอกหรือสิทธิอย่างอื่นให้แทนการชำาระหนี้ลูกหนี้จะต้องรับผิดเพื่อชำารุดบกพร่องและเพื่อการรอนสิทธิ
ทำานองเดียวกับผู้ขาย ตามมาตรา 322 ถ้าวัตถุแห่งหนี้เป็นอันได้ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง บุคคลผู้ชำาระหนี้
จะต้องส่งมอบทรัพย์ตามสภาพที่เป็นอยู่ในเวลาที่จะส่งมอบตามมาตรา 323 ถ้าหากชำาระหนี้ฝ่าฝืนมาตรา
320 321 322 และ 323 ย่อมถือว่าเป็นการชำาระหนี้ผิดวัตถุแห่งหนี้

2.3.2 การชำาระหนี้ล่าช้าผิดเวลา
การที่ลูกหนี้ชำาระหนี้ล่าช้าผิดเวลานั้น ลูกหนีจะต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายให้แก่เจ้าหนี้เสมอไป
หรือไม่ เพราะเหตุใด
การที่ลูกหนี้ชำาระหนี้ล่าช้าผิดเวลานั้น เป็นการไม่ชำาระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่ง
มูลหนี้ การชำาระหนี้ล่าช้าบางกรณี ก็ทำาให้เจ้าหนี้เสียหาย บางกรณีก็ไม่ทำาให้เจ้าหนี้เสียหาย ทั้งนี้สุดแล้วแต่
เวลาที่กำาหนดให้ชำาระหนี้นั้นเป็นสาระสำาคัญหรือไม่ ถ้าไม่ทำาให้เจ้าหนี้เสียหาย เจ้าหนี้จะเรียกร้องค่าสินไหม
ทดแทนจากลูกหนี้ไม่ได้ ฉะนั้นการชำาระหนี้ล่าช้าผิดเวลานั้น ลูกหนี้ไม่จำาเป็นต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่เจ้า
หนี้เสมอไป

2.3.3 การชำาระหนี้ผิดสถานที่
แดงมีภูมิลำา เนาอยู่จังหวัดอุดรธานี ทำาสัญญาซื้อรถยนต์ของขาวซึ่งมีภูมิลำา เนาอยู่กรุงเทพมหานคร
ปรากฏว่าในเวลาที่แดงกับขาวตกลงกันซื้อขายรถยนต์คันนั้น รถยนต์ของขาวอยู่ที่จังหวัดนนทบุรีเพราะจ้าง
ช่างซ่อมเครื่องยนต์ที่นั่น ขาวจะต้องส่งมอบรถยนต์ให้แก่แดง ณ สถานที่ใดจึงจะเป็นส่งมอบโดยชอบด้วย
กฎหมาย ให้อ้างหลักกฎหมายประกอบ
การชำาระหนี้ผิดสถานที่ก็เป็นการชำาระหนี้ ที่ไม่ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้ประการ
หนึ่ง ซึ่งมาตรา 324 บัญญัติเป็นหลักกฎหมายไว้ว่า เมื่อมิได้แสดงเจตนาไว้โดยเฉพาะเจาะจงจะพึงชำาระ
หนี้ ณ สถานที่ใดไซร้ หากต้องส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่งท่านว่าต้องส่งมอบกัน ณ สถานที่ซึ่งทรัพย์นั้น ได้อยู่ใน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
16

เวลาเมื่อก่อให้เกิดหนี้นั้น ส่วนการชำา ระหนี้โดยประการอื่นท่านว่าต้องชำา ระ ณ สถานที่ซึ่งเป็นภูมิลำา เนา


ปัจจุบันของเจ้าหนี้
ตามอุทาหรณ์จากข้อเท็จจริงที่ปรากฏการซื้อขายรถยนต์ ถือว่าเป็นการชำา ระหนี้ที่จะต้องส่งมอบ
ทรัพย์เฉพาะสิ่ง และตามข้อเท็จจริงก็ไม่ปรากฏว่า แดงกับขาวได้ตกลงให้ส่งมอบรถยนต์กันที่ไหนโดยเฉพาะ
ฉะนั้นจะต้องส่งมอบรถยนต์กัน ณ สถานที่ซื้อรถยนต์ได้อยู่ในเวลาเมื่อได้ตกลงซื้อขายกัน ดังนั้น นายขาวจะ
ต้องส่งมอบรถยนต์ให้แก่นายแดง ณ สถานที่รถยนต์ได้อยู่ในเวลาที่ตกลงซื้อขายกัน คือจังหวัดนนทบุรี

2.4 การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
1. การที่ลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้อาจเป็นเพราะลูกหนี้ไม่สามารถชำาระหนี้ได้ เพราะการชำา ระหนี้กลาย
เป็นพ้นวิสัย
2. การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย อาจเป็นเพราะทรัพย์อันเป็นวัตถุที่ใช้ชำาระหนี้ได้สูญหายหรือถูก
ทำา ลายไป อาจเป็นเพราะกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ได้โอนไปจากลูกหนี้ หรือมีกฎหมายห้า มโอน
ทรัพย์หรือลูกหนี้กลายเป็นคนไม่สามารถชำาระหนี้ได้
3. การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยนั้นอาจกลายเป็นพ้นวิสัยทั้งหมดหรือบางส่วน
4. การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเป็นเพราะความผิดของลูกหนี้ ซึ่งลูกหนี้ต้องรับผิดชอบ
5. การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเป็นเพราะเหตุอื่นไม่ใช่ความผิดของลูกหนี้ และลูกหนี้ไม่ต้องรับ
ผิดชอบ

2.4.1 เหตุที่ทำาให้การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
เหตุที่ทำาให้การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยมีอะไรบ้าง
เหตุที่ทำาให้การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยมีอยู่หลายเหตุคือ
1. ทรัพย์อันเป็นวัตถุที่ใช้ชำาระหนี้ได้สูญหายหรือถูกทำา ลายไป เช่น ทำาสัญญาขายบ้าน ขายรถยนต์

บ้านและรถยนต์ถูกไฟไหม้
2. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่จะใช้ชำาระหนี้ ได้โอนหลุดมือไปจากลูกหนี้ เช่น ทำาสัญญาจะขายที่ดิน

แต่หลังจากทำาสัญญา ที่ดนิ ถูกเจ้าหนี้ยึดเอาไปขายทอดตลาด


3. มีกฎหมายออกมาห้ามโอนทรัพย์ที่จะใช้ชำาระหนี้ เช่น ทำาสัญญาจะขายข้าวออกนอกประเทศ ทำา

สัญญาแล้วมีกฎหมายออกมาห้ามนำาข้าวออกนอกประเทศ
4. ลูกหนี้เป็นคนไม่สามารถจะชำาระหนี้ได้ เช่น ทำาสัญญาจะไปร้องเพลง แต่ต่อมาลูกหนี้กลายเป็น

ใบ้ไม่สามารถจะร้องเพลงได้
นอกจากกรณีดังกล่าวแล้วอาจมีเหตุอื่นที่ทำาให้การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยได้

2.4.2 การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์ซึ่งลูกหนี้ต้องรับหนี้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
17

หมีทำาสัญญาร้องเพลงในไนต์คลับแห่งหนึ่ง ก่อนถึงกำาหนดจะไปร้องเพลง หมีขับรถยนต์ชนกับราว


สะพานโดยประมาทจนเป็นเหตุให้หมีบาดเจ็บสาหัส ปากเบี้ยว ไม่สามารถจะร้องเพลงได้ตามสัญญา หมีจะ
หลุดพ้นจากการชำาระหนี้หรือไม่ ให้ยกหลักกฎหมายขึ้นมาประกอบ
มาตรา 218 บัญญัติเป็นหลักกฎหมายไว้ว่า ถ้าการชำา ระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยจะทำา ได้ เพราะ
พฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ต้องรับผิดชอบไซร้ ท่านว่าลูกหนี้จะต้องใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่เจ้าหนี้
เพื่อค่าเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิดแก่การไม่ชำาระหนี้นั้น
ตามอุทาหรณ์ หมีขับรถยนต์ไปชนราวสะพานโดยประมาท เป็นเหตุให้หมีได้รับบาดเจ็บสาหัส ปาก
เบี้ยวไม่สามารถร้องเพลงได้ตามสัญญา การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยจะทำาได้เป็นเพราะความผิดของหมีที่
ขับรถยนต์ประมาท หมี่ไม่หลุดพ้นจากการชำาระหนี้ แต่เนื่องจากหมีไม่มีทางจะชำาระหนี้ให้ได้เพราะตนเอง
กลายเป็นคนไร้ความสามารถจะชำาระหนี้ได้ เจ้าหนี้ได้แต่เรียกเอาค่าสินไหมทดแทนความเสียหายอันเกิดจาก
การไม่ชำา ระหนี้เท่านั้น ถ้าไนต์คลับเสียหายคิดเป็นเงินได้เท่าใดในการที่หมีไปร้องเพลงไม่ได้ตามสัญญา
ไนต์คลับก็เรียกร้องเอาเงินค่าเสียหายจำานวนดังกล่าวได้จากหมี

2.4.3 การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยทั้งหมดหรือบางส่วน
ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยแต่เพียงบางส่วน เจ้าหนี้จะไม่รับชำาระหนี้ในส่วนที่ยังเป็นวิสัยจะ
ทำาได้นั้น ได้หรือไม่ และแตกต่างกับการเป็นพ้นวิสัยทั้งหมดอย่างไร
ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยแต่เพียงบางส่วน เจ้าหนี้จะไม่รับชำาระหนี้ในส่วนที่เป็นวิสัยจะทำาได้
นั้นได้หรือไม่ มาตรา 218 วรรคสองบัญญัติเป็นหลักกฎหมายไว้ว่า ในกรณีที่การชำาระหนี้กลายเป็นพ้น
วิสัยแต่เพียงบางส่วน ถ้าหากว่าส่วนที่ยังเป็นวิสัยจะทำา ได้นั้น แล้วและเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อการไม่
ชำาระหนี้เสียทั้งหมดทีเดียวก็ได้
ตามหลักกฎหมายดังกล่าว ถ้าการชำาระหนี้การเป็นพ้นวิสัยทั้งหมดถือเท่ากับว่าไม่มีการชำาระหนี้ และ
เจ้าหนี้จะเรียกร้องให้ชำาระหนี้ไม่ได้ เพราะทรัพย์ที่เป็นวัตถุแห่งหนี้ไม่มีอยู่แล้วหรือบุคคลที่จะชำาระหนี้กลาย
เป็นผู้ไม่สามารถจะชำาระหนี้ไม่ได้ เพราะทรัพย์ที่เป็นวัตถุแห่งหนี้ไม่มีอยู่แล้วหรือบุคคลที่จะชำาระหนี้กลาย
เป็นผู้ไม่สามารถจะชำาระหนี้ได้ เจ้าหนี้มีสิทธิจะเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจาก
การไม่ชำาระหนี้ได้เท่านั้น แต่ถ้าหากการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยบางส่วน และส่วนที่ยังเป็นวิสัยจะทำา ได้
เป็นอัน ไร้ ประโยชน์แ ก่เ จ้า หนี้ เจ้า หนี้จ ะไม่ย อมรับชำา ระหนี้ ในส่วนที่ ยั งเป็ นวิ สัย อยู่ นั้ น และเรี ย กเอาค่ า
สินไหมทดแทนเหมือนดังว่าไม่มีการชำาระหนี้ได้ แต่ถ้าเจ้าหนี้ยอมรับชำาระหนี้บางส่วนที่ยังเป็นวิสัยจะได้ทั้ง
ที่ไร้ประโยชน์แก่เจ้าหนี้ เจ้าหนี้ก็ทำาได้แต่มีสิทธิเรียกค่าเสียไหมทดแทนความเสียหายอันเกิดจากการไม่ชำาระ
หนี้ให้ต้องตามประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้ได้ แต่เรียกเอาค่าสินไหมทดแทนความเสียหายเหมือนดังไม่
ชำาระหนี้เสียเลยไม่ได้
เจ้าหนี้มีสิทธิไม่รับชำา ระหนี้บางส่วนที่ยังเป็นวิสัยจะทำา ได้นั้น ส่วนที่ยังเป็นวิสัยจะทำา ได้ต้อ งไร้
ประโยชน์แก่เจ้าหนี้ถ้าไม่ไร้ประโยชน์เจ้าหนี้ต้องรับชำาระหนี้ แต่ก็มีสิทธิเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนค่าเสีย
หายอันเกิดจากการชำาระหนี้ไม่ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้ได้
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
18

2.4.4 การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์ซึ่งลูกหนีไ้ ม่ต้องรับผิด


ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังที่ได้ก่อหนี้ จะถือ
ได้เสมอไปหรือไม่ว่าลูกหนี้เป็นอันหลุดพ้นจากการชำาระหนี้นั้น
มาตรา 219 บัญญัติเป็นหลักกฎหมายไว้ว่า ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์อัน
ใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังได้ก่อหนี้ และซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบนั้นไซร้ ท่านว่าลูกหนี้เป็นอันหลุดพ้น
จากการชำาระหนี้นั้น
ตามอุทาหรณ์ แม้การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย ลูกหนี้ก็ไม่หลุดพ้นจากการชำาระหนี้เสมอไป ถ้าการ
ชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังที่ได้ก่อหนี้ ลูกหนี้จะหลุดพ้นจาก
การชำาระหนี้ พฤติการณ์นั้นต้องเป็นพฤติการณ์ซึ่งจะโทษลูกหนี้ไม่ได้หรือเป็นพฤติการณ์ที่ลูกหนี้ไม่ต้องรับ
ผิดชอบ แต่ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังได้ก่อหนี้ เป็น
พฤติการณ์ซึ่งจะโทษลูกหนี้ได้หรือซึ่งลูกหนี้ต้องรับผิดชอบแล้ว ลูกหนีห้ าหลุดพ้นจากการชำาระหนี้ไม่

2.4.5 ลูกหนี้ตกเป็นคนไม่สามารถจะชำาระหนี้ได้
มาตรา 219 วรรคสอง บั ญ ญั ติ ว่ า ถ้ า ภายหลั ง ที่ ไ ด้ ก่ อ หนี้ ขึ้ น แล้ ว นั้ น ลู ก หนี้ ก ลายเป็ น คนไม่
สามารถจะชำา ระหนี้ได้ไซร้ ท่านให้ถือเสมือนว่าเป็นพฤติการณ์ที่ทำา ให้การชำา ระหนี้ตกเป็นอันพ้นวิสัยนั้น
ฉะนัน้ จะเข้าใจได้ว่าอย่างไร
ที่ ม าตรา 219 วรรคสองบั ญญั ติ ว่า ถ้ า ภายหลั งที่ ไ ด้ ก่ อ หนี้ ขึ้ น แล้ วนั้ น ลู ก หนี้ ก ลายเป็ นคนไม่
สามารถจะชำาระหนี้ได้ไซร้ ท่านให้ถือเสมือนว่าเป็นพฤติการณ์ที่ทำาให้การชำาระหนี้ตกเป็นอันพ้นวิสัยฉะนั้น
หมายความว่าพฤติการณ์อย่างหนึ่งที่กฎหมายถือว่าเทียบเท่ากับการชำาระหนี้ตกเป็นพ้นวิสัยมีผลให้ลูกหนี้หลุด
พ้นจากการชำาระหนี้คือพฤติการณ์ที่ลูกหนี้กลายเป็นคนไม่สามารถชำาระหนี้ได้ ภายหลังที่ได้ก่อหนี้ขึ้นแล้วคือ
ขณะก่อหนี้ ลูกหนี้สามารถชำาระหนี้ได้ แต่ภายหลังก่อหนี้มีพฤติการณ์ที่ทำาให้ลูกหนี้ไม่สามารถชำาระหนี้ได้
หนี้ที่ลูกหนี้กลายเป็นคนไม่สามารถชำาระหนี้จะต้องเป็นหนี้อันมีวัตถุแห่งหนี้เป็นการกระทำาของตัวลูกหนี้เอง
พฤติการณ์ที่ลูกหนี้กลายเป็นคนไม่สามารถที่จะชำาระหนี้ได้นี้ ลูกหนี้จะหลุดพ้นจากการไม่ชำาระหนี้ ต้องเป็น
พฤติการณ์ที่จะโทษลูกหนี้ไม่ได้หรือที่ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ แต่ถ้าเป็นพฤติการณ์ที่จะโทษลูกหนี้ได้ห รือที่
ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบแล้ว ลูกหนี้ก็หาหลุดพ้นจากการไม่ชำาระหนี้ไม่

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 2

1. กฎหมายกำา หนดหลักเกณฑ์ทั่วไปในเรื่องเวลาจะพึงชำา ระหนี้ของลูกหนี้ไว้คือ (ก) ถ้าเวลาอันพึง


ชำาระหนี้ได้กำาหนดไว้แน่นอนตามวันแห่งปฏิทิน หนี้นั้นย่อมถึงกำาหนดตามตามวันที่ที่ได้ตกลงกันไว้
(ข) ถ้ามีพฤติการณ์พอจะอนุมานได้ว่าหนี้ถึงกำาหนดเมื่อใด กำาหนดเวลาชำาระหนี้จะต้องเป็นไปตาม

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
19

ที่พึงอนุมานได้นั้น (ค) ถ้าเวลาอันพึงชำาระหนี้มิได้กำาหนดไว้ตามวันแห่งปฏิทิน เจ้าหนี้ย่อมเรียกให้


ลูกหนี้ชำาระหนี้ได้โดยพลันและลูกหนี้ย่อมชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ได้โดยพลันดุจกัน
2. แดงกู้เงินขาวไป 10,000 บาท เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2524 กำาหนดใช้เงินกู้คืนภายใน 1
ปี ขาวจะเรียกให้แดงชำาระเงินคืนได้เมื่อใดและแดงจะชำาระเงินคืนให้ขาวได้เมื่อใด คำำตอบ แดงจะ
ชำาระเงินคืนให้แก่ขาวได้ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2525 แต่ขาวจะเรียกให้แดงชำาระเงินคืนก่อนวัน
ที่ 1 มกราคม 2525 ไม่ได้
3. นาง ก ขอยื ม สร้ อ ยคอมุ ก จาก นาง ข เพื่ อ ใส่ ไ ปงานเลี้ ย งส่ ง ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ในวั น ที่ 10
กรกฎาคม เมื่อพ้นกำาหนดงานเลี้ยงส่งแล้ว นาง ข ทวงสร้อยคอมุกโดยให้นาง ก คืนสร้อยไข่มุกแก่
นาง ข ภายในวันที่ 20 กรกฎาคม ครบกำาหนด นาง ก ก็ยังไม่คืนสร้อยไข่มุกให้นาง ข ดังนั้นนาง ก
ผิดนัดไม่ชำาระหนี้เมื่อใด คำำตอบ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม
4. ก ขับรถยนต์ชน ข โดยประมาทเป็นเหตุให้ ข ได้รับบาดเจ็บสาหัสเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2524 ข
จะฟ้อ งเรียกค่า สิน ไหมทดแทนจาก ก ได้ ตั้งแต่เ มื่อ ใด คำำ ตอบ ข ฟ้อ งร้อ งเรีย กได้ตั้ งแต่วั นที่ 5
เมษายน 2524
5. นายสวัสดิ์ขอยืมชามสังคโลกจากนายกิติ เพื่อไปโชว์ในงานแสดงสินค้า กำาหนดส่งคืนในวันที่ 11
ธันวาคม 2524 ครบกำาหนดนายสวัสดิ์ผิดนัดไม่ส่งคืน ต่อมาอีก 10 วัน นายสวัสดิ์ทำาชามสังค
โลกแตก ดังนี้ นายสวัสดิ์จะต้องเสียดอกเบี้ยอัตราเท่าไร คำำตอบ อัตราร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี ตั้งแต่วัน
ที่ 11 ธันวาคม 2524
6. นายมากู้เงินนายมีไป 50,000 บาท กำาหนดใช้คืนในวันที่ 5 ธันวาคม 2523 กรณีต่อไปนี้
ที่ ถือ ว่ า เจ้า หนี้ ต กเป็ น ผู้ ผิ ดนั ด คื อ นายมานำา เงิน 50,000 บาท ไปชำา ระให้น ายมี ใ นวั น ที่ 5
ธันวาคม 2523 แต่นายมีไม่ยอมรับอ้างว่าจะเดินทางไปต่างจังหวัดในขณะนั้น นำา เงินไปฝาก
ธนาคารไม่ทันและที่บ้านก็ไม่มีที่เก็บรักษาเงิน
7. ก ทำาสัญญาขายข้าวแก่นาย ข จำานวน 1,000 กระสอบ ราคากระสอบละ 500 บาท ต่อมา ก
ไม่สามารถส่งมอบข้าวสารตามสัญญาแก่ ข เพราะภายหลังทำา สัญญาแล้ว ราคาข้าวสารแพงขึ้นถึง
กระสอบละ 2,000 บาท ดังนี้ ก จะต้องรับผิดต่อ ข หรือไม่ คำำตอบ ก ต้องรับผิดต่อ ข เพราะ
ราคาข้าวสารแพงขึ้นผิดปกติ ไม่เป็นเหตุให้การชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
8. ก ซื้อนำ้าตาลจาก ข 2 กระสอบ ถึงกำาหนดส่งมอบ ข นำาข้าวสาร 2 กระสอบไปส่งที่บ้านของ ก แต่
ก ไม่อยู่ ค. ภรรยาของ ก อยู่บ้าน รับข้าวสาร 2 กระสอบไว้ ต่อมา ก กลับมาบ้าน ค บอก ก ว่า ข
เป็นคนนำา ข้าวสาร 2 กระสอบมาส่งให้ ก ไม่ว่าอะไร ให้ ค ใช้ข้าวสารดังกล่าวหุงรับประทานได้
ดังนี้ ก จะเรียกให้ ข ส่งมอบนำ้า ตาล 2 กระสอบให้แก่ตนอีกได้หรือไม่ คำำ ตอบ จะเรียกให้ ข ส่ง
มอบนำ้าตาลอีกไม่ได้ เพราะตามพฤติการณ์เป็นที่แน่ชัดว่า ก ยอมรับข้าวสารแทนการส่งมอบนำ้าตาล
หนี้การส่งมอบนำ้าตาลให้ระงับแล้ว

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
20

9. ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นภายหลังที่ได้ก่อหนี้จะถือ
ได้เสมอไปหรือไม่ว่าลูกหนี้เป็นอันหลุดพ้นจากการชำาระหนี้นั้น คำำตอบ จะถือเช่นนั้นทุกกรณีเสมอ
ไปไม่ได้ เพราะการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยนั้นเมื่อไม่ใช่ความผิดของของลูกหนี้ ลูกหนี้จึงจะหลุด
พ้นจากการชำาระหนี้ ถ้าเป็นความผิดของลูกหนี้ ลูกหนี้ก็ไม่หลุดพ้น แต่ถ้าการชำาระหนี้กลายเป็นพ้น
วิสัยในระหว่างผิดนัด แม้จะไม่ใช่ความผิดของลูกหนี้ ลูกหนี้ก็ไม่หลุดพ้นจากการชำาระหนี้
10. ก จ้าง ข ให้วาดภาพตัว ก เพราะ ข เป็นช่างวาดฝีมือดีและมีชื่อเสียง ทำาสัญญาจ้างเสร็จแล้ว ยังไม่ทัน
วาดภาพให้ ก ข ได้ขับรถยนต์ไปชนกับรถยนต์ของผู้อื่นโดยประมาท เป็นเหตุให้รถยนต์ของ ข ควำ่า
ข ได้รับบาดเจ็บสาหัสต้องตัดแขนขวาทิ้ง ซึ่งเป็นแขนที่ ข จะต้องใช้วาดภาพ ข จึงกลายเป็นคนที่ไม่
สามารถจะชำาระหนี้คือวาดภาพให้ ก ได้ ดังนี้ ข จะต้องรับผิดชอบต่อ ก หรือไม่ คำำตอบ ข ต้องผิด
ชอบเพราะการชำาระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยเพราะความผิดของ ข เอง
หน่วยที่ 3 การไม่ชำาระหนี้

1. ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในความผิดของตัวแทน หรือบุคคลที่ตนใช้ในการชำา ระหนี้เสมือนดังว่าเป็น


ความผิดของตนเอง
2. มีหนี้บางประเภทที่เจ้าหนี้บังคับชำา ระ โดยเฉพาะเจาะจงได้ ส่วนหนี้บางประเภทบังคับชำา ระโดย
เฉพาะเจาะจงไม่ได้
3. เป็นสิทธิของเจ้าหนี้ที่บังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงหรือไม่ก็ได้ เจ้าหนี้มีสิทธิที่บังคับชำาระหนี้ได้
เฉพาะเจาะจงหรือเรียกค่าสินไหมทดแทนอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างเลยก็ได้
4. การเรียกเอาค่าเสียหายคือการเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหาย เช่นที่ตามปกติย่อมเกิดขึ้น
แต่การไม่ชำาระหนี้
5. กรณีที่เ จ้าหนี้ มี ส่วนในการกระทำา ความผิด ซึ่งก่ อให้เ กิด ความเสีย หายเจ้ า หนี้ จ ะเรี ย กค่ า สิน ไหม
ทดแทนได้มากน้อยเพียงใดต้องอาศัยพฤติการณ์เป็นประมาณ ข้อสำาคัญก็คือว่าความเสียหายได้เกิด
ขึ้นเพราะฝ่ายไหนเป็นผู้ก่อยิ่งหย่อนกว่ากันเพียงใด
6. การที่เจ้าหนี้ไม่เตือนลูกหนี้ถึงอันตรายแห่งการเสียหายอย่างร้ายแรงผิดปกติ หรือละเลยไม่บำาบัดปัด
ป้องหรือบรรเทาความเสียหายได้ถือเป็นความผิดอย่างหนึ่งของเจ้าหนี้ซึ่งจะต้องเฉลี่ยความรับผิดกับ
เจ้าหนี้ด้วย

ความรับผิดชอบของลูกหนี้เพื่อคนที่ให้ชำาระหนี้
1. ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในความผิดของตัวแทนของตนและของบุคคลที่ตนใช้ในการชำาระหนี้
2. ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบแม้กระทั่งเพื่อกลฉ้อฉลหรือความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของตัวแทนของ
ตนหรือของบุคคลที่ตนใช้ในการชำาระหนี้ หากมีข้อตกลงที่ทำากันไว้ล่วงหน้า

ขอบเขตของตัวแทนและผู้ที่ใช้ชำาระหนี้
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
21

มาตรา 220 บัญญัติว่าลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในความผิดของตัวแทนแห่งตน กับทั้งของบุคคลที่ตน


ใช้ในการชำาระหนี้โดยขนาดเสมอกันว่าเป็นความผิดของตนเองฉะนั้นท่านเข้าใจอย่างไรให้อธิบาย
กรณีใดก็ตามที่ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบเพราะพฤติการณ์ที่จะโทษลูกหนี้ได้แล้ว หากลูกหนี้ได้ใช้คนอื่น
ทำาแทน ความผิดของผู้ที่ลูกหนี้ใช้นั้นก็เสมอกับเป็นความผิดของตนเอง ลูกหนี้จะต้องรับผิดชอบ ทั้งนี้เพราะ
กฎหมายมาตรา 314 บัญญัติให้บุคคลภายนอกทำาการชำาระหนี้ได้ คำาว่าตัวแทนนั้นมีความหมายตามที่มา
ตรา 797 บัญญัติไว้ว่า อันว่าสัญญาตัวแทนนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่าตัวแทนมีอำานาจทำาการ
แทนบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ตัวการ และตกลงจะทำาการดังนั้น อันความเป็นตัวแทนนั้น จะเป็นโดยแต่งตั้ง
แสดงออกชัดหรือโดยปริยายก็ย่อมทำาได้ ตัวแทนของลูกหนี้ตามมาตรา 220 นั้น จะต้องเป็นตัวแทนของ
ลูกหนี้ในการไปชำาระหนี้ ถ้าไม่ได้เป็นตัวแทนในการชำาระหนี้ ลูกหนี้ก็ไม่ต้องรับผิด ส่วนบุคคลที่ใช้ในการ
ชำาระหนี้นั้นจะเป็นบุคคลใดๆ ก็ได้ไม่จำากัด แต่มีหนี้บางประเภทที่ตั้งตัวแทนหรือใช้ให้บุคคลอื่นไปชำาระหนี้
แทนไม่ได้ ลูกหนี้จะต้องปฏิบัติการชำาระหนี้ด้วยตนเอง เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับความไว้วางใจ หรือต้องการ
คุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัว เช่นจ้างช่างมาวาดภาพ จ้างนักร้องมาร้องแพลง เป็นต้น

พฤติการณ์ที่ตัวแทนและผู้ที่ใช้ในการชำา ระหนี้จะต้องรับผิด และลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบเพื่อกล


ฉ้อฉลหรือความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของตัวแทน หรือของผู้ที่ใช้ในการชำาระหนี้
1. นายแดงทำา สั ญ ญาขายแร่ ดี บุ ก 500 ตั น ให้ แก่น ายดำา โดยมีข้ อสั ญ ญาว่ า นายแดงจะต้ อ งส่ ง

มอบแร่ดีบุกซึ่งอยู่จังหวัดภูเก็ตให้แก่นายดำาที่กรุงเทพฯ ในสัญญาซื้อขายแร่ดีบุกระหว่างคนทั้ง
สองมีข้อตกลงกันว่า นายแดงจะจ้างนายเขียวเป็นผู้ขนส่งแร่ดีบุกให้แก่นายดำาตามสัญญา และยัง
ตกลงกันไว้ด้วยว่า ถ้ามีความเสียหายใดๆ เกิดขึ้นแก่แร่ดีบุกที่ซื้อขายกัน ไม่ว่าจะเกิดขึ้นเพราะ
การกระทำาของนายแดงหรือของนายเขียว แล้วนายแดงจะไม่รับผิดชอบต่อนายดำาทั้งสิ้น ปรากฏ
ว่านายดำาไม่ได้รับแร่ดีบุกจากนายแดงตามสัญญา เพราะนายเขียวขายแร่ดีบุกที่ขนมาให้แก่นาย
ขาวแล้วเบียดบังเอาเงินที่ขายได้ไปเป็นประโยชน์ของตนเสียประการหนึ่ง หรือมากเพียงขาย
แร่ดีบุกให้แก่นายเหลืองตามคำาสั่งของนายแดงอีกประการหนึ่ง ทั้งสองประการนี้นายดำาจะฟ้อง
เรี ยกค่าสินไมทดแทนจากนายแดงอี กประการหนึ่ ง ทั้ งสองประการนี้ นายดำา จะฟ้ อ งเรี ย กค่ า
สินไหมทดแทนจากนายแดงเพื่อความเสียหายอันเกิดแก่การกระทำาของนายเขียวได้หรือไม่เพราะ
เหตุใด
ตามหลักทั่วไปในมาตรา 220 ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในความผิดของตัวแทนแห่งตนหรือของ
บุคคลที่ตนใช้ในการชำา ระหนี้โดยขนาดเสมอกันว่าเป็นความผิดของตนเองฉะนั้น และถ้าเจ้าหนี้ลูกหนี้ได้
ตกลงกันไว้ล่วงหน้า เป็นข้อยกเว้นมิให้ลูกหนี้ต้องรับผิดเพื่อกลฉ้อฉลหรือความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ของตัวแทนหรือบุคคลที่ลูกหนี้ใช้ในการชำาระหนี้ ก็ทำาได้แต่ถ้าเป็นข้อตกลงยกเว้นมิให้ลูกหนี้ต้องรับผิดเพื่อ
กลฉ้อฉลหรือความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของตนนั้นย่อมทำา ไม่ได้ ข้อตกลงดังกล่าวเป็นโมฆะตาม
มาตรา 373

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
22

ตามอุทาหรณ์ข้อตกลงในสัญญาซื้อขายระหว่างนายแดงเจ้าหนี้ นายดำาลูกหนี้ เฉพาะข้อที่ว่าถ้ามีความ


เสียหายใดๆเกิดขึ้นแก่แร่ดีบุก เพราะการกระทำาของนายแดงลูกหนี้จึงเป็นโมฆะใช้ไม่ได้ ตามมาตรา 373
เพราะข้อตกลงดังกล่าวเป็นข้อยกเว้นมิให้นายแดงลูกหนี้ต้องรับผิดเพื่อกลฉ้อฉลของตน ในการที่นายแดงสั่ง
ให้นายเขียวขายแร่ดีบุกให้นายเหลือง นายแดงลูกหนี้ยังต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่นายดำาเจ้าหนี้
ในการที่นายดำาไม่ได้รับแร่ดีบุก
สัญญาส่วนที่ว่า ถ้ามีความเสียหายใดๆเกิดแก่แร่ดีบุก เพราะการกระทำาของนายเขียวแล้ว นายแดงจะ
ไม่รับผิดชอบต่อนายดำานั้นมีผลใช้บังคับได้ เพราะลูกหนี้ตกลงกับเจ้าหนี้ไว้ล่วงหน้าได้ว่าลูกหนี้จะไม่ต้องรับ
ผิดชอบในความผิดของตัวแทนหรือบุคคลที่ตนใช้ในการชำาระหนี้ตามมาตรา 220 นายดำาจึงฟ้องเรียกค่า
สินไหมทดแทนจากนายแดงเพื่อความเสียหายอันเกิดจากการที่นายเขียวขายแร่ดีบุกโดยพละการหรือกลฉ้อฉล
ของนายเขียวเองไม่ได้

2. นายเขียวขายรถยนต์ของตนให้นายขาวเมื่อชำาระเงินกันเรียบร้อยแล้ว นายเขียวจะเอารถยนต์ไป
ส่งมอบให้ที่บ้านนายขาวในวันรุ่งขึ้น รุ่งเช้านายเขียวใช้ให้นายขำาขับรถของตนเอาไปส่งที่บ้าน
ของนายขาว โดยนายขาวได้กำา ชั บ ให้ นายขำา ว่ า ต้ อ งขั บ รถยนต์ คั น นี้ ไ ปส่ ง ให้ แ ก่ น ายขาวให้
เรียบร้อย และนายเขียวยังกล่าวต่อไปอีกว่าถ้ามีกรณีใดๆเกิดขึ้นอันเป็นเหตุให้นายขาวไม่ได้ขับ
รถยนต์ตามที่ตกลงกันไว้ นายขำาจะต้องรับผิดแต่เพียงผู้เดียว โดยที่นายเขียวจะไม่รับผิดชอบใดๆ
ทั้งสิ้น นายขำา ก็ตกลง ในระหว่างทางที่นายขำา ขับรถยนต์ไปเพื่อส่งมอบให้แก่นายขาวนั่นเอง
นายขำาได้แอบนำารถยนต์คันนี้ไปขายให้แก่นายขม แล้วเอาเงินที่ได้หลบหนีไปโดยนายเขียวมิได้รู้
เห็นด้วยเลย
ดังนี้ นายเขียวจะต้องรับผิดชอบต่อนายขาวในกรณีที่นายขาวไม่ได้รับมอบรถยนต์คันนี้หรือไม่เพราะ
เหตุใด
ตามอุทาหรณ์เป็นเรื่องความรับผิดของลูกหนี้ เพื่อบุคคลที่ลูกหนี้ใช้ในการชำาระหนี้ ซึ่งมาตรา 220
บัญญัติว่า “ลูกหนี้ต้องรับผิดชอบในความผิดของตัวแทนแห่งตนกับทั้งของบุคคลที่ตนใช้ในการชำาระหนี้นั้น
โดยขนาดเสมอว่าเป็นความผิดของตนเองฉะนั้น แต่บทบัญญัติแห่งมาตรา 373 หาใช้บังคับแก่กรณีเช่นนี้
ด้วยไม่”
นายเขียวเป็นลูกหนี้นายขาวในอันที่จะต้องส่งมอบรถยนต์ที่ซื้อขายกันให้แก่นายขาวผู้ซื้อแต่นายเขียว
ไม่ได้ใช้นายขำาทำาการชำาระหนี้แทน ซึ่งนายเขียวจะต้องรับผิดชอบในความผิดของนายขำาที่ตนใช้ในการชำาระ
หนี้นั้นโดยขนาดเสมอกันว่าเป็นความผิดของตนเอง แต่นายเขียวและนายขาวสามารถทำาความตกลงไว้ล่วง
หน้าเป็นข้อยกเว้นมิให้นายเขียวต้องรับผิดเพื่อกลฉ้อฉลหรือความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของนายขำาซึ่ง
เป็นบุคคลที่นายเขียวใช้ในการชำาระหนี้ได้ เป็นที่น่าสังเกตว่าข้อตกลงดังกล่าว จะต้องเป็นข้อตกลงระหว่างเจ้า
หนี้กัลป์ปบลูกหนี้คือ นายเขียวกับนายขาวเท่านั้น ข้อตกลงยกเว้นความรับผิดชอบดังกล่าวจึงจะใช้บังคับได้
แต่ตามอุทาหรณ์ข้อตกลงยกเว้นความรับผิดของนายเขียว เป็นข้อตกลงระหว่างนายเขียวกับนายขำา คือลูกหนี้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
23

กับบุคคลที่ลูกหนี้ที่ใช้ในการชำาระหนี้ ข้อตกลงยกเว้นความรับผิดชอบของนายเขียวดังกล่าวนี้เป็นโมฆะใช้
บังคับไม่ได้
ดังนั้นนายขำา ได้แอบนำา รถยนต์ไปขายให้แก่นายขม แล้วเอาเงินที่ขายได้หลบหนีไปโดยที่นายเขียว
มิได้รู้เห็นด้วยนั้น ไม่ทำาให้นายเขียวหลุดพ้นจากความรับผิดต่อนายขาวได้ นายเขียวจึงต้องรับผิดต่อนายขาว
ในกรณีที่นายขาวไม่ได้รับรถยนต์ตามสัญญา

การบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง
1. ถ้าลูกหนี้ละเลยเสียไม่ชำาระหนี้ เจ้าหนี้จะร้องขอต่อศาลให้สั่งบังคับชำาระหนี้ได้
2. เมื่ อ สภาพแห่ งหนี้ ไ ม่ เ ปิ ด ช่ อ งให้ บั งคั บชำา ระหนี้ ไ ด้ เจ้ า หนี้ จ ะร้ อ งขอต่ อ ศาลสั่ ง บั งคั บ ให้ บุ ค คล
ภายนอกกระทำาการโดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่าย ถ้าวัตถุแห่งหนี้เป็นอันให้กระทำาการอันหนึ่งอันใด
3. ถ้าวัตถุแห่งหนี้เป็นอันให้ทำานิติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ศาลจะสั่งให้ถือเอาตามคำาพิพากษาแทนการ
แสดงเจตนาของลูกหนี้ได้
4. ถ้าวัตถุแห่งหนี้เป็นอันจะให้งดเว้นการอันใด เจ้าหนี้จะเรียกร้องให้รื้อถอน การที่ได้กระทำาลงโดยให้
ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่ายและให้จัดการอันควรเพื่อการภายหน้าได้ด้วย
5. เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงหรือเรียกค่าสินไหมทดแทนก็ได้
6. เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงและเรียกค่าสินไหมทดแทนในคราวเดียวกันก็ได้

ความหมายของการบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง
การบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงหมายความว่าอย่างไร
มาตรา 213 บัญญัติเป็นหลักทั่วไปว่าเมื่อลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ เจ้าหนี้บังคับให้ลูกหนี้ชำา ระหนี้ได้
หมายความว่าเป็นหนี้กันอยู่อย่างไรก็บังคับให้ลูกหนี้ชำาระหนี้อย่างนั้นได้ ทั้งนี้ก็เพราะบุคคลใดก่อหนี้ขึ้น ก็
ประสงค์จะได้สิ่งที่ตนต้องการ เช่น อยากได้รถยนต์ก็ทำาสัญญาซื้อรถยนต์ ถ้าลูกหนี้ไม่ส่งมอบรถยนต์ให้ก็มี
วิธีการบังคับให้ลูกหนี้ส่งมอบรถยนต์ให้เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตนต้องการ ส่วนวิธีการที่จะใช้เจ้า
หนี้ได้รับตามสิทธิดังกล่าวนั้นมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นพิเศษคือประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กรณีที่จะบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงได้นั้น สภาพแห่งหนีจ้ ะต้องเปิดช่องว่างให้บังคับกันได้ ถ้า
สภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องว่างให้บังคับได้แล้ว เจ้าหนี้จะใช้สิทธิบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงไม่ได้ ทั้งนี้
เพราะหนี้เป็นบุคคลสิทธิเป็นสิทธิเหนือบุคคลจะบังคับเอาแก่ตัวตนของลูกหนี้ไม่ได้ เจ้าหนี้มีสิทธิบังคับชำาระ
หนี้ได้เฉพาะแต่ทรัพย์สินของลูกหนี้เท่านั้น เช่น ก. รับจ้างเขียนรูปภาพให้ ข. ด้วยฝีมือของตนเอง ก. ผิด
สัญญาไม่เ ขียนรู ปภาพให้ ข. ข. จะร้ องขอต่อ ศาลขอให้บั งคั บ ก. เขียนรูป ภาพให้ แ ก่ต นไม่ไ ด้ เพราะ
เป็นการบังคับเอาแก่ตัวตนของลูกหนี้
นอกจากนี้สภาพแห่งหนี้ต้องไม่พ้นวิสัยที่ลูกหนี้จะชำาระหนี้ได้ ถ้าเป็นการพ้นวิสัยที่ลูกหนี้จะชำาระ
หนี้ได้แล้ว เจ้าหนี้ขอให้ศาลบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงไม่ได้ เช่นแดงยืมถ้วยลายครามของดำาไปแล้วทำา
แตก ดำาจะร้องต่อศาลบังคับให้แดงคืนถ้วยลายครามของตนไม่ได้ ดำาได้แต่ฟ้องเรียกค่าเสียหายแทน
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
24

หนี้เงินหรือหนี้ซึ่งมีวัตถุประสงค์เป็นการส่งมอบทรัพย์สิน เจ้าหนี้ย่อมขอให้ลูกหนี้ชำา ระหนี้โดย


เฉพาะเจาะจงได้เสมอ เพราะเป็นการบังคับเกี่ยวกับทรัพย์สิน หนี้ที่มีวัตถุแห่งหนี้เป็นการกระทำา หรืองดเว้น
การกระทำา ตามหลักทั่วไปแล้ว สภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับชำาระหนี้ได้โดยเฉพาะเจาะจงได้ เพราะ
เป็นการบังคับเอาแก่ตัวลูกหนี้

กรณีทบี่ ังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงไม่ได้
มีกรณีใดบ้างที่เจ้าหนี้จะบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงไม่ได้
เจ้าหนี้มีสิทธิที่บังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงได้ คือเป็นหนี้กันอย่างไรก็บังคับเอากันอย่างนั้น ซึ่ง
เป็นการบังคับเอาตามวัตถุประสงค์แห่งหนี้ แต่มีข้อยกเว้นที่เจ้าหนี้ไม่อาจที่จะบังคับชำา ระหนี้โดยเฉพาะ
เจาะจงได้คือ
1) สภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับกันได้ ซึ่งมาตรา 213 วรรค 1 บัญญัติเป็นหลัก
ไว้ว่า “ถ้าลูกหนี้ละเลยเสียไม่ชำาระหนี้ของตน เจ้าหนี้จะร้องขอต่อศาล ให้สั่งบังคับชำาระ
หนี้ก็ได้เว้นแต่สภาพแห่งหนี้จะไม่เปิดช่องให้ทำาเช่นนั้นได้” เรื่องสภาพแห่งหนี้ไม่เปิด
ช่องให้บังคับกันได้นั้นเป็นการพิจารณาตามสภาพแห่งหนี้ ซึ่งหมายความว่าเป็นหนี้ที่ลูก
หนี้จะต้องทำา เองเฉพาะตัว จะให้คนอื่นทำา แทนไม่ได้ เช่น จ้างให้ร้องเพลง จ้างให้วาด
ภาพ เป็นเรื่องว่าจ้างเกี่ยวกับความสามารถเฉพาะตัวของลูกหนี้ ถ้าลูกหนี้ผิดนัดไม่ไปร้อง
เพลงตามวันเวลากำาหนด หรือไม่ยอมวาดภาพให้ ไม่มีวิธีการใดจะบังคับให้ทำาได้ เพราะ
จะเป็นการบังคับจิตใจลูกหนี้ให้ทำางาน ผลงานที่ออกมาจะไม่ดีตามความประสงค์ของ
เจ้าหนี้
2) บังคับชำา ระหนี้ที่กลายเป็นพ้นวิสัยแล้วไม่ได้ การบังคับชำา ระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงจะ
ทำาได้ก็ต่อเมื่อหนี้ยังเป็นวิสัยที่จะทำาได้ ถ้าหนี้กลายเป็นพ้นวิสัยจะชำาระหนี้ได้เสียแล้ว ก็
ย่อมจะบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงไม่ได้ เพราะวัตถุประสงค์แห่งหนี้ไม่มีแล้ว เช่น
ซื้อขายม้า แต่ม้าที่ส่งมอบให้เจ้าหนี้ได้ตายไปแล้ว ก็ไม่มีม้าที่จะส่งมอบ จะมาบังคับให้
ส่งมอบม้าไม่ได้

การใช้สิทธิบังคับชำาระหนี้และการบังคับชำาระหนี้โดยค่าสินไหมทดแทน
1. เมื่อสภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับชำา ระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงได้ กฎหมายได้วาง
หลักเกณฑ์ การบังคับชำาระหนี้ไว้อย่างไร
เมื่อสภาพแห่งนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงได้ กฎหมายมาตรา 213 วรรค 2
และ 3 ได้บัญญัติวางหลักเกณฑ์การบังคับชำาระหนี้ไว้ว่า “เมื่อสภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บังคับชำาระหนี้
ได้ ถ้าวัตถุแห่งหนี้เป็นอันให้กระทำาการอันหนึ่งอันใดเจ้าหนี้จะร้องขอต่อศาลให้สั่งบังคับให้บุคคลภายนอก
กระทำาการอันนั้นโดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่ายให้ก็ได้ แต่ถ้าวัตถุแห่งนี้เป็นอันให้กระทำานิติกรรมอย่างใดอย่าง
หนึ่งไซร้ ศาลจะสั่งให้ถือเอาตามคำาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้ได้ ส่วนหนี้ซึ่งมีวัตถุแห่งหนี้เป็น
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
25

อันจะให้งดเว้นการอันใด เจ้าหนี้จะเรียกร้องให้รื้อถอนการที่ได้กระทำาลงแล้วนั้นโดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่าย
และให้จัดการอันควรเพื่อการภายหน้าด้วยก็ได้”
1) เมื่อวัตถุแห่งหนี้เป็นการกระทำา ถ้าลูกหนี้ละเลยไม่ชำาระหนี้ จะไปบังคับตัวตนของลูก
หนี้ให้กระทำาไม่ได้ เพราะเป็นการละเมิดต่อเสรีภาพในร่างกายของบุคคล สภาพแห่ง
หนี้ที่จะบังคับให้ลูกหนี้กระทำาไม่เปิดช่องให้ทำาได้ แต่กฎหมายได้หาทางออกให้กับเจ้า
หนี้ เมื่อบังคับตัวลูกหนี้ไม่ได้ ก็ให้บุคคลอื่นทำาแทนโดยให้ลูกหนี้เป็นคนออกค่าใช้จ่าย
เช่น ลูกหนี้ปลูกโรงเรือนรุกลำ้าออกไป ถ้าลูกหนี้ไม่ยอมรื้อถอน เจ้าหนี้ฟ้องศาลให้สั่ง
บังคับให้บุคคลอื่นทำาการรื้อถอนโดยให้ลูกหนี้เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนได้ ถ้า
ลูกหนี้ไม่ยอมออกค่าใช้จ่าย ก็ขอให้ศาลออกหมายบังคับยึดทรัพย์สินของลูกหนี้ออก
ขายทอดตลาดนำาเงินมาชำาระค่าใช้จ่ายได้ บุคคลภายนอกนี้จะเป็นเจ้าหนี้เองหรือบุคคล
ใดก็ได้ซึ่งไม่ใช่ตัวลูกหนี้
2) เมื่อวัตถุแห่งหนี้เป็นอันให้ทำานิติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ซื้อขายที่ดิน ผู้ขายไม่ยอม
ไปโอนที่ดินที่ซื้อขายให้แก่ผู้ซื้อ เจ้าหนี้ซึ่งเป็นผู้ซื้อจะฟ้องร้องขอให้ศาลบังคับให้ผู้ขาย
ซึ่งเป็นลูกหนี้ไปทำานิติกรรมโอนที่ดินให้เจ้าหนี้ได้ ถ้าลูกหนี้ไม่ยอมไปโอนให้ก็ขอให้
ศาลพิพากษาว่า ให้ถือเอาคำาพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้เพื่อให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทำานิติกรรมโอนที่ดินให้แก่เจ้าหนี้ได้
3) เมื่อวัตถุแห่งหนี้เป็นอันให้งดเว้น การกระทำา เป็นเรื่ องสภาพแห่ งหนี้ไ ม่เ ปิด ช่อ งให้
บังคับชำาระหนี้ได้ประการหนึ่ง แต่หนี้ที่จะชำาระนั้นเป็นการยกเว้นการกระทำาอย่างใด
อย่างหนึ่ง เมื่อบังคับให้ลูกหนี้ชำาระหนี้ต่อตนเองไม่ได้ กฎหมายก็ได้ให้สิทธิแก่เจ้าหนี้
ในอันที่จะฟ้องศาลขอให้ศาลมีคำา สั่งให้รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่ทำา ขึ้นผิดวัตถุแห่งหนี้
โดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่าย เจ้าหนี้จะขอให้ศาลอนุญาตให้ตนเองหรือบุคคลภายนอก
ทำา การรื้อถอนก็ได้ เช่น ก. สัญญาจะไม่สร้างสิ่งปลุกสร้างยังบ้านของ ข. ต่อมา ข.
ผิดสัญญาโดยสร้างสิ่งปลูกสร้างลงไป ข. มีสิทธิฟ้องศาลให้ ก. รื้อสิ่งปลูกสร้างได้ ถ้า
ก. ไม่ยอมรื้อถอนก็ให้ศาลสั่งให้เจ้าหนี้หรือบุคคลอื่นทำา การรื้อถอนได้ ไม่ให้ลูกหนี้
เสียค่าใช้จ่ายในการรื้อถอน

2. เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องขอให้บังคับชำาระหนี้แล้วเจ้าหนี้มีสิทธิที่จะฟ้องเรียกค่าเสียหายหรือไม่ให้
อธิบาย
เรื่องการเรียกค่าเสียหายในกรณีที่เจ้าหนี้ขอบังคับชำาระหนี้นั้น มาตรา 213 วรรคสุดท้ายบัญญัติ
เป็นหลักไว้ว่า “อนึ่งบทบัญญัติในวรรคทั้งหลายที่กล่าวมาก่อนนี้ หากระทบกระทั่งถึงสิทธิที่จะเรียกเอาค่าเสีย
หายไม่”
หมายความว่าการชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง ไม่ตัดสิทธิของเจ้าหนี้ที่จะเรียกเอาค่าสินไหมทดแทน
การละเลยไม่ชำาระหนี้ สิทธิบังคับชำาระหนี้เป็นสิทธิเฉพาะตัวของเจ้าหนี้ คือเจ้าหนี้จะใช้ก็ได้ไม่ใช้ก็ได้ แม้ว่า
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
26

เจ้าหนี้จะบังคับชำาระหนี้หรือไม่ก็ตาม ถ้าเจ้าหนี้ได้รับความเสียหายเนื่องจากการที่ลูกหนี้ละเลยไม่ชำาระหนี้
เจ้าหนี้ก็มีสิทธิเรียกเอาค่าเสียหายจากลูกหนี้ได้
ในกรณีที่เจ้าหนี้ขอบังคับชำาระหนี้ ไม่ว่าจะขอให้ส่งมอบทรัพย์สิน ให้กระทำาการหรืองดเว้นการกระ
ทำา หรือทำานิติกรรมตามมาตรา 213 วรรค 1 2 และ 3 ก็ตาม และการไม่ชำาระหนี้ของลูกหนี้นั้นเป็น
เหตุให้เจ้าหนี้เสียหาย เจ้าหนี้ก็เรียกร้องเอาค่าเสียหายได้ เช่น สัญญาซื้อขายรถยนต์ ลูกหนี้ไม่ส่งมอบตามเวลา
กำาหนด เจ้าหนี้ไม่มีรถยนต์ใช้ก็ต้องเช่ารถแท็กซี่ไปกลับจากทีท่ ำางาน เจ้าหนี้ฟ้องขอให้บังคับให้ลูกหนี้ส่งมอบ
รถยนต์ให้แก่เจ้าหนี้ และในเวลาเดียวกันก็จะฟ้องร้องเอาค่าเสียหายซึ่งเสียไปเพราะเช่ารถแท็กซี่ไปกลับมาที่
ทำางาน ตั้งแต่วันผิดนัดจนกว่าลูกหนี้จะส่งมอบรถยนต์ให้เจ้าหนี้ด้วยก็ได้ หรือถ้าหนี้มีวัตถุแห่งหนี้เป็นการ
กระทำาหรืองดเว้นการกระทำา เช่น ปลูกสิ่งก่อสร้างรุกลำ้าที่ดินของเจ้าหนี้โดยไม่สุจริต หรือมีสัญญาห้ามมิให้
ปลุกสิ่งก่อสร้างในที่ดินของเจ้าหนี้ แต่เจ้าหนี้ฝ่าฝืนปลูกสร้างลงไป ในกรณีเจ้าหนี้ฟ้องขอให้บังคับลูกหนี้
ทำา การรื้อถอนสิ่งปลุกสร้างโดยฝืนใจลูกหนี้ไม่ได้ เจ้าหนี้ก็มีสิทธิฟ้องขอให้ศาลมีคำา สั่งให้บุคคลภายนอก
ทำาการรื้อถอน โดยให้ลูกหนี้เสียค่าใช้จ่าย และฟ้องเรียกค่าเสียหาย ถ้าเจ้าหนี้พิสูจน์ได้ว่าตลอดเวลาที่ลูกหนี้
ละเมิดสัญญา เจ้าหนี้ได้รับความเสียหายอย่างใดได้อีกด้วย

การบังคับชำาระหนี้โดยค่าสินไหมทดแทน
1. การเรียกค่าเสียหายได้แก่เรียกค่าสินไหมทดแทน เพื่อความเสียหายเช่นที่ตามปกติย่อมเกิด
ขึ้นแต่การไม่ชำาระหนี้
2. เจ้าหนี้เรียกเอาค่าสินไหมทดแทน เพื่อความเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษหากว่าคู่กรณี
ที่เกี่ยวข้องได้คาดเห็นหรือควรจะได้คาดเห็นพฤติการณ์เช่นนั้นล่วงหน้าก่อนแล้ว
3. ถ้าเจ้าหนี้มีส่วนก่อให้เกิดความเสียหาย ด้วยการคำานวณค่าเสียหายต้องอาศัยพฤติการณ์เป็น
ประมาณโดยคำานึงว่าความเสียหายได้เกิดขึ้นเพราะฝ่ายไหนเป็นผู้ก่อยิ่งหย่อนเท่ากันเพียงไร
4. เจ้าหนี้จะต้องรับผิดในความเสียหาย เพราะการละเลยไม่เตือนลูกหนี้ให้รู้ถึงอันตรายแห่งการ
เสียหายซึ่งร้ายแรงผิดปกติ หรือละเลยไม่บำาบัดปัดป้องหรือบรรเทาความเสียหาย
5. เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะรับชำาระหนี้ของตนจากทรัพย์สินของลูกหนี้จนสิ้นเชิง

หลักเกณฑ์ในการเรียกค่าสินไหมทดแทน
การฟ้องร้องค่าสินไหมทดแทนมีหลักเกณฑ์ประการใดบ้าง
การฟ้องร้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากการไม่ชำาระหนี้มีหลักเกณฑ์ดังต่อ
ไปนี้
1)ต้องมีการไม่ชำา ระหนี้ มาตรา 222 วรรคแรก บัญญัติหลักเกณฑ์สำา คัญในการเรียกร้องค่า
สินไหมทดแทน คือ ต้องมีการไม่ชำาระหนี้ การไม่ชำาระหนี้รวมความตลอดถึงการชำาระหนี้ไม่ถูก
ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้คือ ชำาระหนี้ล่าช้า ผิดเวลา ผิดสถานที่ หรือวัตถุแห่ง
หนี้
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
27

2)ต้องมีพฤติการณ์ที่จะโทษลูกหนี้ได้ การไม่ชำาระหนี้ของลูกหนี้ จะเป็นเหตุให้เจ้าหนี้เรียกเอาค่า


สินไหมทดแทนได้นั้นจะต้องเกิดจากพฤติการณ์ที่ลูกหนี้จะต้องรับผิดพฤติการณ์ที่ลูกหนี้จะต้อง
รับผิดชอบก็คือ ลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ให้ต้องตามประสงค์แห่งหนี้ตามมาตรา 215 ลูกหนี้ผิดนัด
เป็นเหตุให้การชำา ระหนี้เป็นอันไร้ประโยชน์แก่เจ้าหนี้ ตามมาตรา 216 การชำา ระหนี้กลาย
เป็นพ้นวิสัยเพราะอุบัติเหตุหรือเจ้าหนี้ได้รับความเสียหายอันเกิดแต่ความประมาทเลินเล่อของลูก
หนี้ ในระหว่ า งที่ ลู ก หนี้ผิ ด นั ด ตามมาตรา 217 และการชำา ระหนี้ ก ลายเป็ น พ้นวิ สัย เพราะ
พฤติการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งลูกหนี้ต้องรับผิดชอบตามมาตรา 218
3)ต้องมีความเสียหาย การไม่ชำาระหนี้ของลูกหนี้จะเป็นเหตุให้เจ้าหนี้เรียกค่าสินไหมทดแทนได้
เจ้าหนี้จะต้องเสียหายจากการไม่ชำาระหนี้นั้น เช่น ก . สั่งซื้อนำ้าตาลจาก ข. 1 กิโลกรัม โดย ข.
จะส่งนำ้าตาลให้ ก. ที่บ้าน ถึงกำาหนด ข. ไม่ส่งนำ้าตาลให้ ก. แต่ส่งล่าช้าไป 2 วัน แต่ปรากฏ
ว่าถึงแม้ ข. จะส่งให้ ก. ภายในกำา หนดเวลา ก. ก็ยังไม่มีโอกาสได้ใช้นำ้า ตาลของ ข. เพราะ
นำ้าตาลเก่ายังมีเหลือใช้ประโยชน์ได้อยู่ เช่นนี้ ข. จะชำาระหนี้ล่าช้า แต่ ก. ก็ไม่เสียประโยชน์ ก.
จะเรียกค่าสินไหมทดแทนจาก ข. ไม่ได้
ความเสียหายจะต้องคำานวณเป็นเงินได้ ความเสียหายทางจิตใจที่ไม่ใช่ตัวเงินซึ่งเป็นความเสียหาย เกิด
จากการไม่ชำาระหนี้ เจ้าหนี้จะเรียกร้องเอาจากลูกหนี้ไม่ได้
ความเสียหายอันเกิดจากการไม่ชำาระหนี้นั้น เจ้าหนี้จะต้องพิสูจน์ว่าเสียหายเป็นเงินเท่าใด แต่ถ้าข้อ
เท็จจริงปรากฏแก่ศาลว่าเจ้าหนี้เสียหายเท่าใดแล้ว ถือว่าศาลทราบเอง เจ้าหนี้ไม่จำาเป็นต้องพิสูจน์
หนี้เงินเมื่อผิดนัดไม่ชำาระหนี้ กฎหมายถือว่าเจ้าหนี้เสียหายแล้ว เจ้าหนี้มีสิทธิคิดดอกเบี้ยอัตราร้อยละ
เจ็ดครึ่งต่อปี โดยเจ้าหนี้ไม่ต้องพิสูจน์ความเสียหาย ถ้าเจ้าหนี้เสียหายมากกว่าดอกเบี้ยอัตราร้อยละเจ็ดครึ่ง เจ้า
หนี้ก็สามารถเรียกจากลูกหนี้ได้ แต่เจ้าหนี้ต้องพิสูจน์ว่าเสียหายมากกว่าเป็นเป็นจำานวนเท่าใด ถ้าไม่พิสูจน์ก็
เรียกร้องไม่ได้
ความเสียหายเพราะการไม่ชำาระหนี้ แม้จะเป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นในอนาคต ถ้าเป็นความเสียหายที่
เกิดขึ้นแน่นอน เจ้าหนี้ก็เรียกร้องเอาจากลูกหนี้ได้
4)ต้องไม่มีสัญญาตัดสิทธิ ตามมาตรา 114 คู่กรณีจะตกลงทำา สัญญาอย่างใดก็ได้ แม้ข้อตกลง
นัน้ จะผิดแผกแตกต่างกับที่กฎหมายบัญญัติไว้ เช่น เจ้าหนี้ลูกหนี้ทำาสัญญาตกลงกันว่า แม้ลูกหนี้
จะละเลยไม่ชำาระหนี้เป็นเหตุให้เจ้าหนี้เสียหาย เจ้าหนี้ก็ไม่ติดใจเรียกร้องเอาค่าเสียหายจากลูกหนี้
แต่ความข้อนี้มีข้อยกเว้นว่า ข้อตกลงที่ผิดแผกแตกต่างจากที่กฎหมายบัญญัติไว้นั้นจะต้องไม่ขัด
ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

หลักเกณฑ์ในการกำาหนดค่าสินไหมทดแทน
การละเลยไม่ชำา ระหนี้ของลูกหนี้จนเป็นเหตุให้เจ้าหนี้ ได้รับความเสียหายนั้นมีหลักเกณฑ์ในการ
กำาหนดค่าเสียหายอย่างไรบ้าง อธิบาย

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
28

หลักเกณฑ์ในการกำา หนดค่าเสียหายอันเกิดจากการไม่ชำา ระหนี้ มาตรา 222 บัญญัติเป็นหลัก


ทั่วไป ดังนี้
1)ความเสียหายต้องเป็นความเสียหาย เช่น ที่ตามปกติย่อมเกิดขึ้น หมายความว่าค่าเสียหายธรรมดา
ที่คนทั่วไปรู้ว่าถ้าไม่มีการชำาระหนี้แล้ว ความเสียหายอะไรจะเกิดขึ้น เช่น ซื้อเครื่องสีข้าว ลูกหนี้
ไม่ส่งมอบเครื่องสีข้าวภายในเวลากำาหนดเป็นเหตุให้เจ้าหนี้ไม่มีเครื่องสีข้าวสำา หรับสีข้าวขาย
ทำาให้ขาดรายได้จากการสีข้าวขายวันละ 1,000 บาท เช่นนี้เป็นความเสียหายธรรมดาที่เกิด
จากการไม่ชำาระหนี้ เจ้าหนี้เรียกเอาจากลูกหนี้ได้ตั้งแต่วันผิดนัดจนถึงวันส่งมอบเครื่องสีข้าว
2) ความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากพฤติ ก ารณ์ พิ เ ศษเป็ น ความเสี ย หายที่ ไ ม่ มี ใ ครคาดคิ ด ว่ า จะเกิ ด ขึ้ น ได้
เนื่องจากการไม่ชำาระหนี้ ความเสียหายที่เกิดจากพฤติการณ์พิเศษนี้จะเรียกร้องเอาจากลูกหนี้ไม่
ได้ เว้นแต่ลูกหนี้รู้มาก่อนล่วงหน้าแล้วว่า ถ้าลูกหนี้ไม่ชำา ระหนี้ เจ้าหนี้จะได้รับความเสียหาย
พิเศษ มาตรา 222 วรรคสอง ใช้คำาว่า “คาดเห็น” หรือ “ควรจะได้คาดเห็น” หมายความว่าลูก
หนี้ได้รู้หรือควรได้รู้ว่าความเสียหายจากพฤติการณ์พิเศษนั้นจะเกิดขึ้นแก่เจ้าหนี้ หากลูกหนี้ไม่
ชำาระหนี้ เช่น ก. เช่าบ้านของ ข. เดือนละ 1,000 บาท เมื่อหมดสัญญาเช่า ข. บอกให้ ก.
ออกจากบ้านเช่าเพราะไม่ประสงค์จะให้ ก. เช่าต่อ ไปเนื่องจากได้ทำาสัญญาให้ ค. เช่าต่อจาก
ก. เดือนละ 2,000 บาทซึ่งการทำาสัญญาระหว่าง ข. และ ค. นี้ ก. ก็รู้ แต่ก็ไม่ยอมออก
จากบ้านเช่าตามกำา หนด ข. จึงได้รับความเสียหายเดือนละ 2,000 บาท ซึ่งเป็นความเสีย
หายที่เกิดขึ้นจากพฤติการณ์พิเศษ แต่ ก. ก็รู้ความเสียหายนี้ล่วงหน้าแล้ว ก. จึงต้องชดใช้ค่าเสีย
หายเดือนละ 2,000 บาท ให้แก่ ข. นับตั้งแต่ผิดนัดจนกว่า ก. จะออกจากบ้านเช่า
การที่ลูกหนี้คาดเห็นหรือควรจะคาดเห็นความเสียหายอันเกิดจากพฤติการณ์พิเศษเนื่องจากการไม่
ชำาระหนี้นั้น ลูกหนี้จะได้คาดเห็นเอง หรือเจ้าหนี้หรือบุคคลภายนอกอื่นใดบอกให้รู้ก็ได้
ความเสียหายธรรมดาหรือความเสียหายพิเศษนั้น จะต้องเป็นความเสียหายที่เกิดจากการไม่ชำาระหนี้
จะเกิดจากเหตุอื่นไม่ได้ เพราะเป็นความเสียหายที่ไกลต่อเหตุ เช่น ก. ไปซื้อเสื้อกันฝนลูกหนี้ไม่ส่งมอบเสื้อ
กันฝนให้ ก. ตามสัญญา ก. ไม่มีเสื้อกันฝนใส่ออกจากบ้าน นำ้าฝนเปียกทำาให้เสื้อผ้าเสียหาย เช่นนี้จะเรียก
ร้องค่าเสียหายจากลูกหนี้ไม่ได้ เพราะเป็นความเสียหายที่ไกลต่อเหตุ

ความเสียหายเกิดจากผู้เสียหายเอง
ถ้าความเสียหายที่เ กิด จากการได้ชำา ระหนี้ผู้เ สีย หายมีส่วนก่ อให้เ กิด ขึ้น ด้วย มีหลั กเกณฑ์ในการ
คำานวณค่าเสียหายอย่างไร ให้อธิบายมีกรณีใดบ้างที่ถือว่าเจ้าหนี้เป็นผู้มีส่วนก่อให้เกิดความเสียหายด้วย
มาตรา 223 ได้วางหลักเกณฑ์ในการกำาหนดค่าเสียหายในกรณีที่เจ้าหนี้หรือผู้เสียหายมีส่วนก่อให้
เกิดความเสียหายขึ้นเนื่องจากการไม่ชำาระหนี้ดังนี้
1)ผู้เสียหายมีส่วนทำาความผิดอยู่ด้วย ความเสียหายที่เจ้าหนี้ได้รับเพราะลูกหนี้ละเลยไม่ชำา ระหนี้
นัน้ ถ้าความเสียหายที่เกิดขึ้นเจ้าหนี้มีส่วนก่อให้เกิด เจ้าหนี้จะต้องรับผิดชอบในส่วนนี้จะไปเรียก
เอาจากลูกหนี้ไม่ได้ ค่าเสียหายที่ฝ่ายใดจะต้องรับผิดมากน้อยเพียงใดนั้น มาตรา 223 บัญญัติ
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
29

ว่าจะต้องพิจารณาตามพฤติการณ์เป็นประมาณ ข้อสำาคัญที่สุดต้องพิจารณาว่าฝ่ายใดเป็นผู้ก่อให้
เกิดความเสียหายมากน้อยเพียงใด ซึ่งหมายความว่าลูกหนี้ก่อให้เกิดความเสียหายเท่าใด ลูกหนี้ก็
รับผิดเพียงเท่านั้น ถ้าความผิดส่วนที่เหลือเจ้าหนี้เป็นผู้ก่อขึ้น เจ้าหนี้ต้องรับผิด
2)กรณีที่ถือว่าเจ้าหนี้เป็นผู้มีส่วนก่อให้เกิดความเสียหายด้วยมีดังนี้
1)เจ้าหนี้มีส่วนเป็นผู้ก่อความเสียหายขึ้นโดยตรงตามข้อ (1)
2)เจ้าหนี้มีส่วนผิดโดยละเลยไม่บอกลูกหนี้ ไม่บำาบัดปัดป้องหรือบรรเทาความเสียหาย มาตรา
223 วรรคสอง บัญญัติให้เจ้าหนี้หรือผู้เสียหายต้องรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้น
จากการที่ผู้เสียหายได้ละเลยไม่เตือนลูกหนี้ให้รู้สึกถึงอันตรายแห่งการเสียหายอันร้ายแรงผิด
ปกติ ซึ่งลูกหนี้ไม่รู้หรือไม่อาจรู้ได้ หรือเพียงแต่ละเลยเสียไม่บำา บัดปัดป้อง หรือบรรเทา
ความเสียหายนั้น การละเลยเช่นนี้ถือเสมือนเท่ากับผู้เสียหายได้มีส่วนก่อให้เกิดความเสียหาย
เหมือนกัน ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายในส่วนนี้ เจ้าหนี้หรือผู้เสียหายจะเรียกร้องไม่ได้
3)การมีส่วนในการทำาความเสียหาย การละเลยไม่ตักเตือน การละเลยไม่บำาบัดปัดป้อง หรือไม่
บรรเทาความเสียหายของตัวแทนหรือของผู้ที่เจ้าหนี้ใช้ในการชำา ระหนี้ ให้ถือเสมือนว่า
เป็นการกระทำาหรือละเลยของเจ้าหนี้เอง เจ้าหนี้ต้องรับผิดชอบด้วย

ทรัพย์สินที่จะใช้ชำาระหนี้
ที่ว่า เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะให้ชำาระหนี้ของตนจากทรัพย์สินของลูกหนี้จนสิ้นเชิงนั้นท่านเข้าใจอย่างไร
ที่ว่าเจ้าหนี้มีสิทธิที่จะให้ชำาระหนี้ของตนจากทรัพย์สินของลูกหนีจ้ นสิ้นเชิงนั้น หมายความว่า
1)ทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนีน้ ำามาชำาระหนี้ได้ เพราะกฎหมายถือหลักว่าทรัพย์สินทั้งหมดของลูก
หนี้เป็นประกันการชำาระหนี้ เมื่อลูกหนี้ไม่ชำาระหนี้ เจ้าหนี้เสียหายอย่างไร มากน้อยแค่ไหน เจ้า
หนี้ฟ้องร้องเรียกเอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้ได้ ถ้ามีเงินก็ขอให้ยึดเงินมาชำาระหนี้ ถ้าไม่มีเงินก็
ขอให้ยึดทรัพย์สินของลูกหนี้มาขายทอดตลาดเอาเงินชำาระหนี้ได้ ทรัพย์สินทั้งหมดของลุกหนี้
หมายความรวมถึงเงินและทรัพย์สินๆ ซึ่งบุคคลภายนอกค้า งชำา ระแก่ลู ก หนี้ ด้วย ซึ่งเงิน และ
ทรัพย์สินดังกล่าว แม้จะอยู่กับบุคคลภายนอกก็เป็นเงินและทรัพย์สินของลูกหนี้นั่นเอง
2)ทรัพย์สินของลูกหนี้ที่จะนำามาชำาระหนี้นั้น มีความหมายตามมาตรา 99 คือเป็นทั้งวัตถุมีรูปร่าง
และไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้ ทั้งที่เป็นสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ รวม
ตลอดถึงสิทธิบางอย่าง เช่นลิขสิทธิ์ซึ่งสามารถที่จะจำาหน่ายจ่ายโอนนำาเงินมาชำาระหนี้ให้เจ้าหนี้
ได้
3)ที่ว่าเจ้าหนี้ชอบที่จะบังคับชำาระหนี้เอาจากทรัพย์สินของลุกหนี้โดยสิ้นเชิงนั้น หมายความว่าเป็น
หนี้อยู่เท่าใด เจ้าหนี้บังคับชำาระหนี้ได้เท่านั้นจะไปยึดเอาเงินหรือทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้มา
เป็นของเจ้าหนี้ทั้งหมดไม่ได้ ถ้ายึดเงินของลุกหนี้มาชำาระหนี้แล้ว ได้เงินมายังไม่ครบจำานวนหนี้
เจ้าหนี้ก็ยึดทรัพย์สินอื่นของลูกหนี้มาขายทอดตลาดเอาเงินมาชำาระหนี้ให้เจ้าหนี้จนครบ เมื่อได้
ครบแล้วจะไปยึดมาอีกไม่ได้ ถ้าทรัพย์สินของลูกหนี้เป็นทรัพย์สินมีราคามาก เมื่อขายแล้ว เอา
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
30

เงินมาชำาระหนี้จนครบ ยังมีเงินเหลือ เงินส่วนที่เหลือต้องคืนให้แก่ลูกหนี้ ทรัพย์สินของลูกหนี้ที่


เจ้ าหนี้ มี สิท ธิ ยึ ด มาชำา ระหนี้นั้ น หมายความถึ งทรั พย์ ที่ ลู ก หนี้ มี อ ยู่ ใ นปั จ จุ บั น และที่ จ ะมี ใ น
อนาคตด้วย
4)มีทรัพย์สินบางประเภทที่เจ้าหนี้ยึดมาชำาระหนี้ไม่ได้คือ
1)ทรัพย์สินที่หลุดออกจากกองทรัพย์สินของลูกหนี้แล้ว
2)ทรั พ ย์ สิ น ต้ อ งห้ า มมิ ใ ห้ ยึ ด เพราะเกี่ ย วกั บ ความสงบเรี ย บร้ อ ยหรื อ ศี ล ธรรมอั น ดี ข อง
ประชาชน เช่น ทรัพย์สินของรัฐ ทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบั งคั บคดี เช่น
เครื่องนุ่งห่มหลับนอน หรือเครื่องใช้ที่จำาเป็น เครื่องมือเครื่องใช้ที่จำาเป็นใช้ในการประกอบ
อาชีพ วัตถุหรืออุปกรณ์ที่ใช้แทนอวัยวะของลูกหนี้ ทรัพย์สินที่เป็นของส่วนตัวโดยเฉพาะ
เช่นจดหมายหรือสมุดบัญชี เบี้ยเลี้ยง เงินเดือน ค่าจ้างของข้าราชการหรือลูกจ้างของรัฐบาล
เป็นต้น
3)เจ้าหนี้หลายคนอาจได้รับชำาระหนี้เพียงบางส่วน เพราะเงินและทรัพย์สินของลูกหนี้มีไม่พอ
ชำาระหนี้
5) ถ้าเอาทรัพย์สินจำานองหลุด และราคาทรัพย์สินนั้นมีประมาณตำ่ากว่าจำานวนเงินที่ค้างชำาระกันอยู่
ก็ดี หรือถ้าเอาทรัพย์สินซึ่งจำานองออกขายทอดตลาดใช้หนี้ จำานวนสุทธิน้อยกว่าจำานวนเงินที่ค้าง
ชำา ระกันอยู่ก็ได้ เงินยังขาดจำา นวนอยู่เท่าใด ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบเงินนั้น นอกจากจะมีข้อ
ตกลงกันว่าถ้านำา ทรัพย์สินที่จำา นองออกขายทอดตลาด ได้เงินไม่พอชำา ระหนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิยึด
ทรัพย์สินอย่างอื่นของลูกหนี้ออกขายทอดตลาดเอาเงินมาชำาระหนี้ให้เจ้าหนี้ได้จนครบ

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 3

1. สี รับจ้างทำาโอ่งมังกรให้ สา 100 ใบ ทำาเสร็จแล้ว สี ได้วา่ จ้างให้ สอน ขนโอ่งมังกรไปให้ สา โดย


รถยนต์ ระหว่างขับรถยนต์บรรทุกโอ่งมังกรไปส่งให้ สา นัน้ สอน ได้ขับรถยนต์ออกนอกเส้นทางไป
บ้านสา เพื่อไปเยี่ยม ส่อ เพื่อนของตนก่อนที่จะเอาโอ่งไปส่ง สา ระหว่างทางไปบ้าน ส่อ สอน ขับ
รถยนต์บรรทุกโอ่งมังกรโดยประมาทชนกับรถยนต์คันอื่นเป็นเหตุให้รถยนต์ของ สอน ควำ่า โอ่งที่
บรรทุกในรถแตกเสียหายหมด ดังนี้ สี จะต้องรับผิดชอบต่อ สา เพราะสอนไม่มีโอ่งมังกรไปส่งให้
สา หรือไม่ คำำตอบ สีจะต้องรับผิดชอบต่อสาเพราะสอนเป็นบุคคลที่สีใช้ให้ไปชำาระหนี้คือส่งโอ่ง
มังกรไปให้สาแทนตน เป็นความผิดของสอนทีข่ ับรถประมาทถือเสมือนกับเป็นความผิดของสีเอง
2. ก ทำาสัญญาขายข้าวสารให้ ข 500 กระสอบ ก. ใช้ให้ ค. ขนข้าวรายนี้ไปส่งมอบให้แก่ ข. แต่
ค. ได้นำาข้าวรายนี้ไปขายให้ ง. แล้วนำาเงินไปใช้เป็นประโยชน์ส่วนตนเสียดังนี้ ก. จะต้องรับผิด
ต่อ ข. หรือไม่ คำำตอบ ก. ต้องรับผิดชอบต่อ ข. เพราะ ค. เป็นบุคคลที่ ก. ใช้ให้นำาข้าวสารไป
ส่งมอบให้แก่ ข. และ ข. ยังไม่ได้รับมอบข้าวสารที่สั่งซื้อจาก ก.

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
31

3. แดงว่าจ้างขาวให้วาดภาพของตน แต่ขาวได้ว่าจ้างเขียวให้วาดภาพของแดงอีกต่อหนึ่ง และขาวได้


วาดภาพของแดงมาส่งมอบให้แดงตามกำาหนดเวลาที่ตกลงกันไว้แดงไม่ยอมรับภาพวาดดังกล่าวเช่น
นีแ้ ดงหรือขาวเป็นผู้ผิดสัญญา คำำตอบ ขาวผิดสัญญาเพราะการวาดภาพนี้ขาวจะตั้งตัวแทนหรือใช้ให้
บุคคลอื่นทำาแทนตนไม่ได้ขาวจะต้องทำาด้วยตนเอง
4. กรณีต่อไปนี้จะถือว่าเป็นการบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาจง เช่น แดงขายที่ดินให้ดำา แดงผิดสัญญา
ดำาฟ้องขอให้ศาลบังคับให้แดงโอนกรรมสิทธิ์ที่ดนิ ให้ดำา
5. ก. ปลูกบ้านลำ้ารุกเข้าไปในที่ดินของ ข. ข. บอกให้ ก. รื้อถอนบ้านออกไป ก. ไม่ยอมทำา ดังนี้
ข. จะฟ้องขอให้ศาลบังคับอย่างไร คำำตอบ ฟ้องขอให้ศาลบังคับให้บุคคลภายนอกทำาการรื้อถอน
บ้านออกไปโดยให้ ก. เป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย
6. แดงทำาสัญญาขายที่ดินให้ขาว แดงผิดสัญญาไม่ยอมขายที่ดินให้ ขาวจะฟ้องขอให้ศาลบังคับอย่างไร
จึงจะได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ซื้อ คำาตอบ ฟ้องขอให้ศาลบังคับให้แดงโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินให้ขาว
หากแดงไม่ยอมไปโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ขาว ก็ขอให้ถือเอาคำา พิพากษาแทนการแสดงเจตนาของ
แดง
7. ก. เช่าอาคารจาก ข. เดือนละ 10,000 บาท ครบกำาหนดสัญญาเช่า ข. ไม่ต้องการให้ ก. เช่า
อีก และได้บอกให้ ก. ออกจากอาคารที่เช่า โดยบอกว่าจะเอาอาคารให้ ค. เช่าต่อ เมื่อครบสัญญาเช่า
ก. ไม่ยอมออกจากอาคารที่เช่า เป็นเหตุให้ ข. เอาอาคารที่เช่าไปให้ให้ ค. เช่าไม่ได้ ทั้งนี้ ค. ทำา
สั ญ ญาเช่ า อาคารจาก ข. เดื อ นละ 20,000 บาท และได้ เ งิ น กิ น เปล่ า จาก ค. อี ก
100,000 บาท ดังนี้ ฃ. จะเรียกค่าเสียหายจาก ก. เดือนละ 20,000 บาท ในระหว่าง
ผิดนัดและเรียกเงิน 100,000 บาท ที่ควรได้จาก ค. เอาจาก ก. ได้หรือไม่ คำำตอบ ข. เรียก
เงินเดือนละ 20,000 บาท จาก ก. ได้ เพราะเป็นค่าเสียหายธรรมดาที่เกิดจากการไม่ชำาระหนี้
คือไม่ส่งมอบอาคารเช่าให้แก่ ข. ตามกำาหนด ส่วนเงินกินเปล่า 100,000 บาทนั้น เป็นค่าเสีย
หายที่เกิดจากพฤติการณ์พิเศษซึ่ง ก. ไม่ทราบล่วงหน้า ข. จะเรียกเงินจาก ก. ไม่ได้
8. ก. ทำาสัญญาซื้อแร่ดีบุกจาก ข. โดยระบุในสัญญาว่าเพื่อนำา ไปขายต่อให้แก่โรงถลุงแร่ ต่อมา ข.
ผิดสัญญาไม่มีแร่ดีบุกขายให้แก่ ก. ก. จึงไม่มีแร่ดีบุกไปขายให้แก่โรงถลุงแร่ตามสัญญาเป็นเหตุ
ให้ ก. ขาดกำาไรที่จะได้จากการขายแร่ดีบุกเป็นเงิน 50,000 บาท เงินจำานวนนี้ ก. จะฟ้องร้อง
เอาจาก ข. ได้หรือไม่ คำาตอบ ฟ้องได้เพราะแม้จะเป็นค่าเสียหายที่เกิดจากพฤติการณ์พิเศษก็ตาม
แต่ ข. ก็รู้ล่วงหน้าแล้วว่า ก. จะนำาแร่ดีบุกที่ซื้อไปขายต่อให้โรงถลุงแร่ พฤติการณ์เช่นนี้ ก. ย่อมมี
โอกาสจะได้กำาไร เมื่อ ข. ผิดนัดไม่มีแร่ดีบุกขายให้แก่ ก. ก. ย่อมเสียหายและฟ้องร้องเอาค่าเสีย
หายจาก ข. ได้
9. มาทำาสัญญาซื้อมะพร้าวจากสวนของนายมั่น เพื่อนำาไปขายในตลาดเมืองจำานวน 1,000 ลูก ถึง
กำาหนดส่งมอบ มัน่ เก็บมะพร้าวขายให้แก่มาได้เพียง 500 ลูก แล้วนำาไปส่งมอบให้แก่มา แต่มาไม่
ยอม เพราะส่งมอบให้ไม่ครบ 1,000 ลูกตามสัญญา หากมั่นส่งมอบให้ครบ 1,000 ลูกตาม

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
32

สัญญา มาจะขายในตลาดในเมืองได้กำาไรลูกละ 1 บาท เป็นเงินกำาไรที่มาควรได้ทั้งสิ้น 1,000


บาท มาจะฟ้องเรียกค่าขาดกำาไรดังกล่าวจากมั่นได้หรือไม่เพียงใด คำาตอบ ฟ้องเรียกได้ 500 บาท
เพราะมามีส่วนผิดด้วยเพราะไม่ยอมรับมะพร้าว 500 ลูกที่มั่นนำามาส่งมอบแล้วนำาไปขายเอากำาไร
500 บาท เพื่อบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้น ความเสียหายในส่วนนี้มาจะต้องรับผิด จะเรียกเอา
กับมั่นไม่ได้
10. แดงนำาที่ดินมีโฉนดไปจำานองไว้กับธนาคาร เพื่อเป็นประกันเงินกู้จำา นวน 50,000 บาท ต่อมา
แดงผิดนัดไม่ชำา ระหนี้ให้แก่ธนาคาร ธนาคารยึดทรัพย์สินอื่นของแดงมาขายทอดตลาดชำา ระหนี้ที่
เหลือไม่ได้ เพราะในสัญญาจำานองไม่ได้ระบุไว้ให้ทำาเช่นนั้นได้
11. ก. ทำาสัญญาซื้อไม้มะค่าโมงจาก ข. โดยตกลงให้ ข. ส่งไม้ไปให้ ก. เมื่อถึงกำาหนด ข. ได้ให้ ค.
ลูกจ้างขับรถยนต์บรรทุกไม้ไปส่งให้ ก. ระหว่างทาง ค. ขับรถยนต์โดยประมาทไปชนกับรถของ
คนอื่นเป็นเหตุให้ไฟไหม้รถยนต์และไม้ที่บรรทุกมาในรถเสียหายทั้งหมด ดังนี้ ข. จะต้องรับผิดต่อ
ก. หรือไม่ คำำตอบ ข. จะต้องรับผิดต่อ ก. เพราะความเสียหายเกิดขึ้นจากความผิดของ ค . ซึ่งเป็น
บุคคลที่ ข. ใช้ให้นำาไม้ไปส่งให้ ก.
12. ดำา ทำา สัญญาซื้อนำ้า มันเบนซินจากขาวจำา นวน 5,000 ลิตร ถึงกำา หนดส่งมอบ ขาวจ้างเขียวขน
นำ้ามันไปส่งดำาโดยทางรถยนต์ แต่แทนที่เขียวจะขนนำ้ามันไปส่งให้ดำา เขียวกับนำา นำ้ามันไปขายแล้ว
นำาเงินที่ได้ไปใช้เป็นประโยชน์ส่วนตัวเสียดังนี้ ขาวจะต้องรับผิดใช้ราคานำ้ามันให้ดำาหรือไม่ คำำตอบ
ขาวจะต้องรับผิดใช้ราคานำ้ามันให้แก่ดำา เพราะดำาใช้ให้เขียวนำานำ้ามันไปส่งให้ดำา เมื่อเขียวก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่ดำา ขาวจะต้องรับผิดเสมือนกับขาวได้ก่อความเสียหายขึ้นเอง
13. โต๊ะขายเครื่องเรือนของตนให้แก่ตู้ โดยชำาระราคากันเรียบร้อยแล้ว และตกลงกันว่าโต๊ะจะเอาเครื่อง
เรือนไปส่งให้ที่บ้านของตู้ในเย็นวันเดียวกันเมื่อตู้กลับบ้านแล้ว โต๊ะได้ว่าจ้างตั่งให้เอาเครื่องเรือนไป
ส่งให้ตู้โดยมีข้อตกลงว่าตั่งจะต้องนำาเครื่องเรือนไปส่งให้ตู้ถึงบ้านของตู้ให้เรียบร้อย ถ้าหากตู้ไม่ได้
รับเครื่องเรือนหรือเครื่องเรือนชำารุดเสียหายตั่งจะต้องรับผิดชอบต่อตู้แต่เพียงผู้เดียวโดยโต๊ะจะไม่รับ
ผิดชอบด้ ว ยตกลงกั น เสร็ จ แล้ ว ตั่ งได้ เ อาเครื่ อ งเรื อ นบรรทุ ก รถยนต์ ข องตนเพื่อนำา ไปส่ ง แต่ ใ น
ระหว่างทาง ตั่งกลับนำาเอาเครื่องเรือนไปขายให้เตียง ตู้เลยไม่ได้รับเครื่องเรือนตามสัญญาดังนี้โต๊ะจะ
ต้องรับผิดชอบต่อตู้ในการที่ตู้ไม่ได้รับเครื่องเรือนหรือไม่ คำำตอบ โต๊ะจะต้องรับผิดชอบต่อตู้เพราะ
ตั่งเป็นบุคคลที่โต๊ะให้ไปชำา ระหนี้ ข้อตกลงที่โต๊ะกับตั่งให้ไว้ต่อกันไม่มีผลบังคับเพราะไม่ใช่ข้อ
ตกลงที่โต๊ะมีกับตู้
14. หลักทั่วไปของการบังคับชำาระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงคือ สภาพแห่งหนี้ต้องเปิดช่องให้บังคับได้โดยมี
วัตถุแห่งหนี้เป็นการส่งมอบทรัพย์สิน และการชำาระหนี้ยังเป็นวิสัยที่กระทำาได้
15. ก. ซื้อที่ดินมีโฉนดแปลงหนึ่งจาก ข. ชำาระเงินกันเรียบร้อยแล้ว แต่ ข. ไม่ยอมไปจดทะเบียนโอน
กรรมสิทธิ์ที่ดินให้ ก. ดังนี้ ก. จะฟ้องร้องบังคับอย่างไร ก. จึงจะได้กรรมสิทธิ์ในที่ดิน คำาตอบ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
33

ฟ้องขอให้ศาลบังคับให้ ข. ไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินให้ ถ้า ข. ไม่ไปก็ถือเอาคำาพิพากษา


แทนการแสดงเจตนาของ ข. ให้เจ้าพนักงานที่ดินจดทะเบียนโอนในที่ดินให้ ข.
16. ก. ทำาสัญญาซื้อขายที่ของ ข. เพื่อปลูกบ้านอยู่อาศัยโดยมีข้อตกลงว่า ข. ให้ ก. ใช้ถนนส่วนบุคคล
ของ ข. ที่ผ่านที่ดินของ ก. เพื่อออกสู่ถนนใหญ่ได้ ต่อมา ก. กับ ข. มีเรื่องไม่ถูกกัน ข. จึงทำา
ประตูปิดกั้นถนนไม่ให้ ก. ใช้เป็นทางเดินออกไปสู่ถนนใหญ่ได้ ดังนี้ ก. จะดำาเนินการอย่างไรเพื่อ
ให้รื้อถอนประตูออกไปจากถนนเสีย คำาตอบ ก. จะต้องฟ้องให้ศาลสั่งให้บุคคลภายนอกจากตัว ข.
จัดการรื้อถอนประตูออกโดยให้ ข. เป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการรื้อถอน
17. กรณีที่หนี้มีวัตถุแห่งหนี้เป็นส่งมอบทรัพย์สินลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำาระหนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะบังคับชำาระ
หนี้คือ มีสิทธิที่จะฟ้องศาลขอให้ส่งบังคับให้ลูกหนี้ส่งมอบทรัพย์สินและให้ชดใช้ค่าเสียหายอันเกิด
จากการไม่ชำาระหนี้
18. มีหลักเกณฑ์อะไรบ้างที่จะเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากลูกหนี้ได้ คำาตอบ (ก) ต้องมีการไม่ชำาระ
หนี้และเจ้าหนี้ได้รับความเสียหาย (ข) การไม่ชำาระหนี้เป็นเพราะพฤติการณ์ ซึ่งจะโทษลูกหนี้ได้
(ค) ต้องไม่มีข้อสัญญาตัดสิทธิเจ้าหนี้ไม่ให้เรียกร้องค่าเสียหาย
19. มี ว่าจ้าง มา ให้สร้างบ้านให้ มาสร้างบ้านไม่เสร็จตามกำาหนดเวลาที่ตกลง มีไม่สามารถเอาบ้านไปให้
มา เช่าตามสัญญาที่มีกับมาทำากันไว้เป็นเหตุให้ มี ต้องถูกปรับเป็นเงิน 10,000 บาท และขาด
ประโยชน์ ไ ม่ ไ ด้ ค่ า เช่ า บ้ า นจาก มา เดื อ นละ 5,000 บาท เป็ น เวลา 4 เดื อ นเป็ น เงิ น
20,000 บาท ดังนี้ มี จะฟ้องเรียกค่าปรับที่เสียไปและขาดประโยชน์ที่ควรจะได้จาก มา ได้หรือ
ไม่ คำา ตอบ ฟ้องเรี ยกค่าปรั บและค่า ขาดประโยชน์จาก มา ไม่ไ ด้เ พราะเป็นค่า เสียหายที่ เกิ ดจาก
พฤติการณ์พิเศษซึ่งมา ไม่คาดเห็นหรือควรจะได้คาดเห็น
20. มาตรา 214 บัญญัติว่า เจ้าหน้าที่มีสิทธิที่จะให้ชำาระหนี้ของตนจากทรัพย์สินของลูกหนี้จนสิ้นเชิง
นั้นท่านเข้าใจว่าอย่างไร คำาตอบ เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะยึดทรัพย์สินของลูกหนี้เพียงเท่าที่พอจะชำาระหนี้
แก่ตนเท่านั้น จะยึดทรัพย์สินของลูกหนี้เกินกว่าที่จำาเป็นจะต้องชำาระแก่ตนไม่ได้

หน่วยที่ 4 การรับช่วงสิทธิ การใช้สทิ ธิเรียกร้องของลูกหนี้และการเพิกถอน การฉ้อฉล

1. การรับช่วงสิทธิ เป็นผลพิเศษแห่งหนี้อย่างหนึ่ง และจะมีได้เฉพาะที่กฎหมายระบุไว้เท่านั้น ตาม


มาตรา 226 กฎหมายบัญญัติเรื่องการรับช่วงสิทธิไว้ 2 กรณี คือ การรับช่วงสิทธิซึ่งเรียกว่าช่วง
บุคคล และการรับช่วงสิทธิที่กฎหมายเรียกว่าช่วงทรัพย์
2. การใช้ สิ ท ธิ เ รี ย กร้ อ งของลู ก หนี้ เป็ น วิ ธี ก ารซึ่ ง กฎหมายกำา หนดให้ เ จ้ า หนี้ ส ามารถควบคุ ม กอง
ทรัพย์สินของลูกหนี้เพื่อการที่เจ้าหนี้ จะได้บังคับชำาระหนี้เอาจากกองทรัพย์สินของลูกหนี้เพื่อมิให้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
34

เป็นที่เสียหายแก่ตน รวมทั้งให้เจ้าหนี้ใช้วิธีการที่จะให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินที่บุคคลภายนอกต้องชำาระ
แก่ลูกหนี้ดว้ ย
3. การเพิกถอนการฉ้อ ฉล เป็นวิธี การควบคุ มกองทรัพย์ สินของลู กหนี้อี กอย่า งหนึ่ งคื อ มิ ให้ ลูก หนี้
จำาหน่าย จ่าย โอนทรัพย์สินที่มีอยู่ไป ทำาให้เจ้าหนี้ไม่สามารถบังคับให้ใช้หนี้ได้เพียงพอจากทรัพย์สิน
ที่ลูกหนี้มีเหลืออยู่

การรับช่วงสิทธิ
1. บุคคลผู้รับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ชอบที่จะใช้สิทธิทั้งหลายบรรดาที่เจ้าหนี้มีอยู่โดยมูลหนี้ รวมทั้ง
ประกันแห่งหนี้นั้นได้ในนามของตนเอง
2. กรณีที่มีการรับช่วงสิทธินั้น มีได้โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายเท่านั้น โดยกฎหมายได้บัญญัติไว้
สามกรณี คือ ตามมาตรา 227 229 และ 230
3. เมื่อเกิดการรับช่วงสิทธิขึ้น สิทธิทั้งหลายที่เจ้าหนี้เดิมมีอยู่ในมูลหนี้ตกมาเป็นของผู้รับช่วงสิทธิ
แต่ผู้รับช่วงสิทธิที่รับช่วงมาให้เป็นที่เสื่อมเสีย
4. ช่ว งทรัพย์ ได้ แก่ เอาทรั พย์ สินอัน หนึ่งเข้า แทนที่ ทรัพย์สินอี ก อันหนึ่ งในฐานะนิ ติ นั ย อย่า ง
เดียวกันกับทรัพย์สินอันก่อน
5. กรณีช่วงทรัพย์นั้นมีได้โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายเท่านั้น โดยกฎหมายบังคับไว้ 2 กรณี คือ
ตามมาตรา 228 และ 231

มาตรา 226 บุคคลผู้รับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ ชอบที่จะใช้สิทธิ ทั้งหลายบรรดาที่เจ้าหนี้มีอยู่โดยมูล


หนี้ รวมทั้งประกันแห่งหนี้นั้น ได้ในนามของตนเอง
ช่วงทรัพย์ ได้แก่เอาทรัพย์สินอันหนึ่งเข้าแทนที่ทรัพย์สินอีก อันหนึ่งในฐานะนิตินัยอย่างเดียวกันกับ
ทรัพย์สินอันก่อน
มาตรา 227 เมื่อเจ้าหนี้ได้รับค่าสินไหมทดแทนความเสียหายเต็ม ตามราคาทรัพย์หรือสิทธิซึ่งเป็น
วัตถุแห่งหนี้นั้นแล้ว ท่านว่าลูกหนี้ย่อม เข้าสู่ฐานะเป็นผู้รับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้อันเกี่ยวกับทรัพย์หรือสิทธิ
นัน้ ๆ ด้วยอำานาจกฎหมาย
มาตรา 228 ถ้าพฤติการณ์ซึ่งทำาให้การชำาระหนี้เป็นอันพ้นวิสัย นั้นเป็นผลให้ลูกหนี้ได้มาซึ่งของ
แทนก็ดี หรือได้สิทธิเรียกร้องค่า สินไหมทดแทนเพื่อทรัพย์อันจะพึงได้แก่ตนนัน้ ก็ดี ท่านว่าเจ้าหนี้จะ เรียกให้
ส่งมอบของแทนที่ได้รับไว้ หรือจะเข้าเรียกเอาค่าสินไหม ทดแทนเสียเองก็ได้
ถ้าเจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเพราะการไม่ชำาระหนี้ และถ้าใช้สิทธินั้นดังได้ระบุไว้ใน
วรรคต้นไซร้ ค่าสินไหมทดแทนอัน จะพึงใช้แก่เจ้าหนี้นั้นย่อมลดจำานวนลงเพียงเสมอราคาแห่งของแทน ซึ่ง
ลูกหนี้ได้รับไว้ หรือเสมอจำานวนค่าสินไหมทดแทนที่ลูกหนี้ จะเรียกร้องได้นั้น
มาตรา 229 การรับช่วงสิทธิย่อมมีขึ้นด้วยอำานาจกฎหมาย และ ย่อมสำาเร็จเป็นประโยชน์แก่บุคคล
ดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
35

(1) บุคคลซึ่งเป็นเจ้าหนี้อยู่เอง และมาใช้หนี้ให้แก่เจ้าหนี้อีก คนหนึ่งผู้มีสิทธิจะได้รับใช้หนี้ก่อน


ตน เพราะเขามีบุริมสิทธิ หรือมี สิทธิจำานำา จำานอง
(2) บุคคลผู้ได้ไปซึ่งอสังหาริมทรัพย์ใด และเอาเงินราคาค่าชื้อ ใช้ให้แก่ผู้รับจำานองทรัพย์นั้นเสร็จ
ไป
(3) บุคคลผู้มีความผูกพันร่วมกับผู้อื่น หรือเพื่อผู้อื่นในอันจะต้อง ใช้หนี้ มีส่วนได้เสียด้วยในการ
ใช้หนี้นั้น และเข้าใช้หนี้นั้น
มาตรา 230 ถ้าในการที่เจ้าหนี้นำาบังคับยึดทรัพย์อันหนึ่งอันใด ของลูกหนี้นั้น บุคคลผู้ใดจะต้อง
เสี่ยงภัยเสียสิทธิในทรัพย์อันนั้นเพราะ การบังคับยึดทรัพย์ไซร้ ท่านว่าบุคคลผู้นั้นมีสิทธิจะเข้าใช้หนี้เสียแทน
ได้ อนึ่ง ผู้ครองทรัพย์อันหนึ่งอันใด ถ้าจะต้องเสี่ยงภัยเสียสิทธิ ครองทรัพย์นั้นไปเพราะการบังคับยึดทรัพย์ ก็
ย่อมมีสิทธิจะทำาได้ เช่นเดียวกับที่ว่ามานั้น
ถ้าบุคคลภายนอกผู้ใดมาใช้หนี้แทน จนเป็นที่พอใจของเจ้าหนี้ แล้วบุคคลผู้นั้นย่อมเข้ารับช่วงสิทธิ
เรียกร้องของเจ้าหนี้ แต่สิทธิ เรียกร้องอันนี้จะบังคับให้เป็นที่เสื่อมเสียแก่เจ้าหนี้หาได้ไม่
มาตรา 231 ถ้าทรัพย์สินที่จำานอง จำานำา หรืออยู่ในบังคับบุริมะ สิทธิประการอื่นนั้น เป็นทรัพย์อัน
ได้เอาประกันภัยไว้ไซร้ท่านว่าสิทธิ จำา นอง จำานำาหรือบุริมสิทธิอย่างอื่นนั้น ย่อมครอบไปถึงสิทธิที่จะเรียก
ร้องเอาแก่ผู้รับประกันภัยด้วย
ในกรณีที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ถ้าผู้รับประกันภัยได้รู้ หรือควร จะได้รวู้ ่ามีจำานองหรือบุริมะสิทธิอย่าง
อื่นไซร้ ท่านยังมิให้ผู้รับประ กันภัยใช้เงินให้แก่ผู้เอาประกันภัย จนกว่าจะได้บอกกล่าวเจตนา เช่นนั้นไปยัง
ผู้รับจำานอง หรือเจ้าหนี้มีบุริมะสิทธิคนอื่นแล้ว และมิได้ รับคำาคัดค้านการที่จะใช้เงินนั้นมาภายในเดือนหนึ่ง
นับแต่วันบอกกล่าว แต่สิทธิอย่างใด ๆ ที่ได้ไปจดทะเบียน ณ หอทะเบียนที่ดินนั้น ท่านให้ถือว่าเป็นอันรู้ถึง
ผู้รับประกันภัย วิธเี ดียวกันนี้ท่านให้ใช้ตลอด ถึงการจำานองสังหาริมทรัพย์ ที่กฎหมายอนุญาตให้ทำาได้นั้นด้วย
ในกรณีที่เป็นสังหาริมทรัพย์ผู้รับประกันภัยจะใช้เงินให้แก่ผู้เอา ประกันภัยโดยตรงก็ได้ เว้นแต่ตนจะ
ได้รู้หรือควรจะได้รู้ว่าทรัพย์ นัน้ ตกอยู่ในบังคับจำานำา หรือบุริมะสิทธิอย่างอื่น
ผู้รับประกันภัยไม่ต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้ ถ้าทรัพย์สินอันได้เอา ประกันภัยไว้นั้นได้คืนมา หรือได้จัด
ของแทนให้วิธีเดียวกันนี้ท่านให้อนุโลมบังคับแก่กรณีบังคับซื้อ กับทั้งกรณี ที่ต้องใช้ค่าเสียหายอันควรจะ
ได้แก่เจ้าของทรัพย์สิน เพราะเหตุ ทรัพย์สินทำาลายหรือบุบสลายนั้นด้วย
มาตรา 232 ถ้าตามความใน มาตรา ก่อนนี้เป็นอันว่าจะเอาเงินจำา นวนหนึ่งให้แทนทรัพย์สินที่
ทำาลายหรือบุบสลายไซร้ เงินจำา นวน นี้ท่านยังมิให้ส่งมอบแก่ผู้รับจำา นอง ผู้รับจำา นำา หรือเจ้าหนี้มีบุริมสิทธิ
คนอื่นก่อนที่หนี้ซึ่งได้เอาทรัพย์นี้เป็นประกันไว้นั้นจะถึงกำาหนด และ ถ้าคู่กรณีไม่สามารถจะตกลงกับลูกหนี้
ได้ไซร้ ท่านว่าต่างฝ่ายต่าง มีสิทธิที่จะเรียกร้องให้นำา เงินจำา นวนนั้นไปวางไว้ ณ สำา นักงานวาง ทรัพย์เพื่อ
ประโยชน์อันร่วมกัน เว้นแต่ลูกหนี้จะหาประกันให้ไว้ ตามสมควร

การรับช่วงสิทธิ (รับช่วงบุคคล)

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
36

การรับช่วงสิทธิ เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมายประการเดียวเสมอไปหรือไม่ และจะมีการรับช่วงสิทธิ


ได้ในกรณีใดบ้าง
การรับช่วงสิทธิเกิดโดยผลของกฎหมายเสมอไป ไม่อาจเกิดจากข้อตกลงหรือสัญญาระหว่างคู่กรณี
ได้ การรับช่วงสิทธิจะมีได้ กรณีตามมาตรา 228 และ 231

การรับช่วงทรัพย์
ช่วงทรัพย์ เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมายประการเดียวเสมอไปหรือไม่ และจะมีได้ในกรณีใดบ้าง
ช่วงทรัพย์เกิดขึ้นโดยผลของกฎหมายเสมอไป ไม่อาจเกิดจากข้อตกลงหรือสัญญาระหว่างคู่กรณีได้
กรณีตามมาตรา 227 229 และ 230

การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
1. ถ้าลูกหนี้ขัดขืนไม่ยอมใช้สิทธิเรียกร้อง หรือเพิกเฉยไม่ใช้สิทธิเรียกร้อง เป็นเหตุให้เจ้าหนี้ต้องเสีย
ประโยชน์ เจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องนั้นในนามของตนเองแทนลูกหนี้เพื่อป้องกันสิทธิของตนในมูล
หนีน้ ั้นก็ได้ เว้นแต่ในข้อที่เป็นการของลูกหนี้ส่วนตัวโดยแท้
2. วิธีการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้นั้น คือ เจ้าหนี้ผู้ใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้นั้นจะต้องขอหมาย
เรียกลูกหนี้มาในคดีนั้นด้วย
3. ผลของการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ก็คือ หากมีการได้รับทรัพย์สินมาตามคำาพิพากษาทรัพย์สินนั้น
ก็ตกเป็นของลูกหนี้เดิม

หลักเกณฑ์การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
อธิบายหลักเกณฑ์การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
หลักเกณฑ์การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ อธิบายได้โดยใช้หลักตามมาตรา 233 และ 234
การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
มาตรา 233 ถ้าลูกหนี้ขัดขืนไม่ยอมใช้สิทธิเรียกร้อง หรือเพิกเฉย เสียไม่ใช้สิทธิเรียกร้อง เป็นเหตุ
ให้เจ้าหนี้ต้องเสียประโยชน์ไซร้ ท่าน ว่าเจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องนั้นในนามของตนเอง แทนลูกหนี้เพื่อ
ป้องกันสิทธิของตนในมูลหนี้นั้นก็ได้ เว้นแต่ในข้อที่เป็นการของ ลูกหนี้ส่วนตัวโดยแท้
มาตรา 234 เจ้าหนี้ผู้ใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนีน้ ั้นจะต้องขอ หมายเรียกลูกหนี้มาในคดีนั้นด้วย
มาตรา 235 เจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้เรียกเงินเต็ม จำานวนที่ยังค้างชำาระแก่ลูกหนี้โดย
ไม่ต้องคำานึงถึงจำานวนที่ค้างชำาระ แก่ตนก็ได้ ถ้าจำาเลยยอมใช้เงินเพียงเท่าจำานวนที่ลูกหนี้เดิมค้าง ชำาระแก่เจ้า
หนีน้ ั้นคดีก็เป็นเสร็จกันไป แต่ถ้าลูกหนี้เดิมได้เข้าชื่อเป็น โจทก์ด้วย ลูกหนีเ้ ดิมจะขอให้ศาลพิจารณาพิพากษา
ต่อไปในส่วน จำานวนเงินที่ยังเหลือติดค้างอยู่ก็ได้
แต่อย่างไรก็ดี ท่านมิให้เจ้าหนี้ได้รับมากไปกว่าจำานวนที่ค้างชำาระ แก่ตนนั้นเลย

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
37

มาตรา 236 จำาเลยมีข้อต่อสู้ลูกหนี้เดิมอยู่อย่างใด ๆ ท่านว่าจะ ยกขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ทั้งนั้น เว้นแต่


ข้อต่อสู้ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อยื่นฟ้องแล้ว

วิธีการและผลของการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
ข. เป็นหนี้กู้ยืม ก. อยู่ 500,000 บาท ก. ฟ้องเรียกเงินกู้ดังกล่าวต่อศาลแพ่ง ศาลพิจารณา
แล้วพิพากษายกฟ้องของ ก. ให้ ก. แพ้คดี ก. อุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากยืน ก. ไม่มีทรัพย์สินอื่นนอกจาก
เงินกู้จำา นวนนี้ และไม่ประสงค์จะฎีกาคัดค้านคำา พิพากษาของศาลอุทธรณ์ เพราะเห็นว่าแพ้คดีมาแล้วถึง 2
ศาลแล้ว ค. จึงเป็นเจ้าหนี้ ก. ค้างจ้างทำา ของ เป็นเงิน 400,000 บาท จะใช้สิทธิของ ก. เพื่อฎี กา
คัดค้านคำาพิพากษาของศาลอุทธรณ์ในนามของตนเองแทน ก. ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ค. สามารถฎีกาคัดค้านคำาพิพากษาของศาลอุทธรณ์ได้ เพราะเป็นกรณีที่ ก. เพิกเฉยไม่ใช้สิทธิเรียก
ร้อง เป็นเหตุให้ ค. เจ้าหนี้เสียประโยชน์ ค. ฎีกาฯ เพื่อป้องกันสิทธิของตนในมูลหนี้ที่ตนเป็นหนี้อยู่ และ
การฎีกาหาใช่เป็นการที่ ก. ลูกหนีจ้ ักต้องกระทำาเป็นการส่วนตัวโดยแท้

การเพิกถอนการฉ้อฉล
1. เจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสียได้ซึ่งนิติกรรมใดๆ อันลูกหนี้ได้กระทำาลงทั้งรู้อยู่ว่าจะเป็น
ทางให้เจ้าหนี้เสียเปรียบ แต่ความข้อนี้ท่านมิให้ใช้ บังคับถ้าปรากฏว่าในขณะที่ทำานิติกรรมนั้น บุคคล
ซึ่งเป็นผู้ได้ลาภงอกแต่การนัน้ มิได้รู้เท่าถึงข้อเท็จจริง อันเป็นทางให้เจ้าหนี้ต้องเสียเปรียบนั้นด้วย แต่
หากกรณีเป็นการทำาโดยเสน่หา ท่านว่าเพียงแต่ลูกหนี้เป็นผู้รู้ฝ่ายเดียวนั้นก็พอแล้วที่จะเพิกถอนได้
แต่กรณีดังกล่าวมานี้มิให้ใช้บังคับแก่นิติกรรมใดอันมิได้มีวัตถุเป็นสิทธิในทรัพย์สิน
2. ผลของการเพิกถอนการฉ้อฉลนั้นย่อมได้ประโยชน์แก่เจ้าหนี้หมดทุกคน แต่การเพิกถอนไม่กระทบ
กระทั่งสิทธิของบุคคลภายนอกอันใดโดยสุจริตก่อนเริ่มคดีขอเพิกถอน

หลักเกณฑ์การเพิกถอนการฉ้อฉล
1) การเพิกถอนการฉ้อฉลมีหลักเกณฑ์และวิธีการอย่างไรบ้าง
การเพิกถอนการฉ้อฉลให้ใช้หลักตามมาตรา 237
เพิกถอนการฉ้อฉล
มาตรา 237 เจ้าหนี้ชอบที่จะร้องขอให้ศาลเพิกถอนเสียได้ ซึ่ง นิติกรรมใด ๆ อันลูกหนี้ได้กระทำา
ลงทั้ งรู้อ ยู่ว่า จะเป็น ทางให้ เจ้า หนี้ เสีย เปรีย บ แต่ ความข้ อนี้ท่านมิใ ห้ใช้ บังคับ ถ้า ปรากฏว่ า ในขณะที่ ทำา
นิติกรรมนั้น บุคคลซึ่งเป็นผู้ได้ลาภงอกแต่การนั้นมิได้รู้เท่าถึง ข้อความจริง อันเป็นทางให้เจ้าหนี้ต้องเสีย
เปรียบนั้นด้วย แต่หาก กรณีเป็นการทำาให้โดยเสน่หาท่านว่าเพียงแต่ลูกหนี้เป็นผู้รู้ฝ่ายเดียว เท่านั้นก็พอแล้วที่
จะขอเพิกถอนได้บทบัญญัติดังกล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านมีให้ใช้บังคับแก่นิติกรรม ใดอันมิได้มีวัตถุเป็น
สิทธิในทรัพย์สิน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
38

มาตรา 238 การเพิกถอนดังกล่าวมาในบท มาตรา ก่อนนั้น ไม่อาจ กระทบกระทั่งถึงสิทธิของ


บุคคลภายนอก อันได้มาโดยสุจริตก่อนเริ่ม ฟ้องคดีขอเพิกถอนอนึ่ง ความที่กล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้
ใช้บังคับ ถ้าสิทธินั้น ได้มาโดยเสน่หา
มาตรา 239 การเพิกถอนนั้นย่อมได้เป็นประโยชน์แก่เจ้าหนี้หมด ทุกคน
มาตรา 240 การเรียกร้องขอเพิกถอนนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องร้อง เมื่อพ้นปีหนึ่ง นับแต่เวลาที่เจ้า
หนี้ได้รู้ต้นเหตุอันเป็นมูลให้เพิกถอน หรือพ้นสิบปีนับแต่ได้ทำานิติกรรมนั้น

2) วันที่ 1 มกราคม 2524 ก. ทำาสัญญากู้เงิน 100,000 บาท โดยกำาหนดเงื่อนไขไว้


ในสั ญ ญากู้ มี ผ ลใช้ บั ง คั บ เมื่ อ ค. บุ ต รชายของ ก. เดิ น ทางไปต่ า งประเทศแล้ ว ค. ออกเดิ น ทางไป
สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2525
ก. มีทรัพย์สินเพียงอย่างเดียวคือที่ดินและสิ่งปลูกสร้างบนที่ดิน ก. ไม่ประสงค์จะให้ ข. ได้รับ
ชำาระหนี้ตามที่ตนกู้ยืมมา จึงโอนขายให้ ง. เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2525 เพื่อหลีกเลี่ยงการชำา ระหนี้
ดังนี้ ข. จะฟ้องเพิกถอนนิติกรรมการซื้อขายที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างที่ทำาขึ้นระหว่าง ก. กับ ง.ได้หรือไม่
เพราะเหตุใด
ข. จะฟ้องให้เพิกถอนนิติกรรมการซื้อขายที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างที่ทำาขึ้นระหว่าง ก. กับ ง. ไม่ได้
เพราะสัญญากู้ระหว่าง ก. และ ข. เป็นสัญญาที่มีเงื่อนไขบังคับก่อน มีผลใช้บังคับหลังการซื้อขายระหว่าง
ก. และ ง. และในขณะที่ ก. ขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้ ง. นั้น ข. ยังไม่เป็นเจ้าหนี้ ก. โดยสมบูรณ์
ตามกฎหมาย

วิธีการและผลของการเพิกถอนการฉ้อฉล
เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องให้เพิกถอนการฉ้อฉลและ จะมีผลต่อบุคคลภายนอกหรือไม่เพียงใด
1. ไม่กระทบสิทธิของบุคคลภายนอกอันได้มาโดยสุจริตก่อนเริ่มฟ้องคดีให้เพิกถอน เว้นแต่
สิทธินั้นจะได้มาโดยเสน่หาตามมาตรา 238
2. การเพิกถอนย่อมเป็นประโยชน์แก่บรรดาเจ้าหนี้ทุกคนตามมาตรา 235
มาตรา 235 เจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้เรียกเงินเต็ม จำานวนที่ยังค้างชำาระแก่ลูกหนี้โดย
ไม่ต้องคำานึงถึงจำานวนที่ค้างชำาระ แก่ตนก็ได้ ถ้าจำาเลยยอมใช้เงินเพียงเท่าจำานวนที่ลูกหนี้เดิมค้าง ชำาระแก่เจ้า
หนีน้ ั้นคดีก็เป็นเสร็จกันไป แต่ถ้าลูกหนี้เดิมได้เข้าชื่อเป็น โจทก์ด้วย ลูกหนีเ้ ดิมจะขอให้ศาลพิจารณาพิพากษา
ต่อไปในส่วน จำานวนเงินที่ยังเหลือติดค้างอยู่ก็ได้
แต่อย่างไรก็ดี ท่านมิให้เจ้าหนี้ได้รับมากไปกว่าจำานวนที่ค้างชำาระ แก่ตนนั้นเลย
มาตรา 238 การเพิกถอนดังกล่าวมาในบท มาตรา ก่อนนั้น ไม่อาจ กระทบกระทั่งถึงสิทธิของ
บุคคลภายนอก อันได้มาโดยสุจริตก่อนเริ่ม ฟ้องคดีขอเพิกถอน อนึ่ง ความที่กล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้
ใช้บังคับ ถ้าสิทธินั้น ได้มาโดยเสน่หา

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
39

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 4

1. การรับช่วงสิทธิเกิดขึ้นได้โดย บทบัญญัติของกฎหมาย
2. ช่ ว งทรั พ ย์ คื อ การเอาทรั พ ย์ สิ น อั น หนึ่ ง เข้า แทนที่ ท รั พ ย์ สิ น อี ก อั น หนึ่ ง ในฐานะและนิ ติ นั ย อย่ า ง
เดียวกันกับทรัพย์สินอันก่อน
3. กรณีที่เจ้าหนี้จะใช้สิทธิเรียกร้องแทนลูกหนี้ คือ (ก) เจ้าหนี้เสียประโยชน์ เพราะการที่ลูกหนี้ไม่ใช้
สิทธิเรียกร้อง (ข) ลูกหนี้ขัดขืน หรือเพิกเฉยไม่ใช้สิทธิเรียกร้องของตน (ค) สิทธิเรียกร้องของลูก
หนี้ที่เจ้าหนี้จะเข้าใช้แทนได้ ต้องไม่ใช่สิทธิที่เป็นการส่วนตัวของลูกหนี้โดยแท้
4. ผลของการเพิกถอนการฉ้อฉล ย่อมได้เป็นประโยชน์แก่เจ้าหนี้หมดทุกคน
5. วิธีการที่เจ้าหนี้ใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ คือ เจ้าหนี้สามารถฟ้องในนามของตนเอง และใช้สิทธิ
เรียกร้องของลูกหนี้ เรียกเต็มจำานวนที่ค้างชำาระแก่ลูกหนี้ โดยไม่ต้องคำานึงจำานวนที่ค้างชำาระแก่ตน
ก็ได้
6. ผลของการรับช่วงสิทธิ คือ สิทธิทั้งหลายที่เจ้าหนี้เดิมมีอยู่ในมูลหนี้ ตกมาเป็นของผู้รับช่วงสิทธิ โดย
อำานาจของกฎหมาย
7. กรณีใดบ้างซึ่งเจ้าหนี้จะใช้วิธีการเพิกถอนการฉ้อฉลเสียก็ได้ คำา ตอบ นิติกรรมซึ่งลูกหนี้ทำา ขึ้นเพื่อ
ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ของตน
8. การเพิ ก ถอนการฉ้ อ ฉลมี กำา หนดอายุ ค วามดั ง นี้ (ก) ต้ อ งฟ้ อ งภายใน 1 ปี นั บ แต่ เ วลาที่ บุ ค คล
ภายนอกได้รู้ถึงสาเหตุที่เจ้าหนี้จะร้องขอให้เพิกถอนได้ แต่ต้องไม่เกิน 10 ปี นับแต่ได้ทำานิติกรรม
นัน้ (ข) ต้องฟ้องภายใน 10 ปี นับแต่ได้ทำานิติกรรมนั้น
9. การรับช่วงสิทธิคือ การซึ่งบุคคลเข้าเป็นเจ้าหนี้แทนเจ้าหนี้เดิมโดยเข้ามาเป็นเจ้าหนี้คนใหม่หนี้เดิมยัง
คงมีอยู่
10. ช่วงทรัพย์เกิดขึ้นโดย บทบัญญัติของกฎหมาย

หน่วยที่ 5 สิทธิยึดหน่วงและบุริมสิทธิ

1. สิทธิยึดหน่วงและบุริมสิทธิ เป็นทรัพย์สิทธิประเภทที่เรียกว่าเป็นอุปกรณ์สิทธิ
2. ผู้ใดเป็นผู้ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่น และมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่ง
ครองนั้นไซร้ ผู้นั้นจะยึดหน่วงทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะได้รับชำาระหนี้ก็ได้ แต่มิให้ใช้บังคับเมื่อหนี้
ยังไม่ถึงกำาหนด และมิให้ใช้บังคับ ถ้าการที่เข้าครอบครองนั้นเริ่มมาแต่การอันใดอันหนึ่งไม่ชอบด้วย
กฎหมาย
3. ผู้ทรงบุริมสิทธิทรงไว้ซึ่งสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ ในการที่จะได้รับชำาระหนี้อันค้างชำาระแก่
ตนจากทรัพย์สินนั้นก่อนเจ้าหนี้อื่นๆ โดยนัยดังบัญญัติไว้ใน ปพพ. หรือกฎหมายอื่น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
40

สิทธิยึดหน่วง
1. หลักเกณฑ์ของสิทธิยึดหน่วงต้องเป็นการที่เจ้าหนี้ครอบครองทรัพย์สินของลูกหนี้ การครอบ
ครองนั้นมิใช่เกิดจากการอันมิชอบด้วยกฎหมาย และหนี้อันเกิดด้วยทรัพย์สินที่เจ้าหนี้ครอบครอง
อยู่
2. สิทธิยึดหน่วงเป็นสิทธิที่แบ่งแยกไม่ได้ เจ้าหนี้จึงยึดทรัพย์สินทั้งชิ้นไว้ได้ แม้จะได้มีการชำาระหนี้
บางส่วนแล้วตามนัยมาตรา 244 แต่ในส่วนดอกผลของทรัพย์ที่ยึดหน่วงนั้น ผู้ทรงสิทธิยึด
หน่วงจะเก็บดอกผลแห่งทรัพย์สินที่ยึดหน่วงไว้ และจัดสรรเอาไว้เพื่อการชำาระหนี้แก่ตนก่อนเจ้า
หนี้คนอื่นก็ได้ และดอกผลเช่นว่านั้นจะต้องจัดสรรเอาชำาระดอกเบี้ยแห่งหนี้นั้นก่อน ถ้ายังมีเหลือ
จึงให้จัดสรรให้ต้นเงิน
3. กรณีที่สิทธิยึดหน่วงระงับไปมีดังนี้ คือ (1.) หนี้เดิมระงับ (2.) ลูกหนี้หาประกันให้แทน
การยึดหน่วงทรัพย์ สินไว้โดยจำา นวนที่สมควรตาม มาตรา 249 (3.) เจ้าหนี้มิได้ครอบ
ครองทรัพย์ (มาตรา 250) และ (4.) เจ้าหนี้ทำาผิดหน้าที่ของตนในการดูแลรักษาทรัพย์ที่
ยึดหน่วงไว้ (มาตรา 246)

สิทธิยึดหน่วง
มาตรา 241 ผู้ใดเป็นผู้ครองทรัพย์สินของผู้อื่น และมีหนี้อันเป็น คุณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วย
ทรัพย์สินซึ่งครองนั้นไซร้ ท่านว่าผู้นั้น จะยึดหน่วงทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะได้ชำาระหนี้ก็ได้ แต่ความที่กล่าว
มานี้ท่านมิให้ใช้บังคับ เมื่อหนี้นั้นยังไม่ถึงกำาหนด
อนึ่ง บทบัญญัติในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้ใช้บังคับ ถ้าการที่เข้าครอบครองนั้นเริ่มมาตั้งแต่ทำาการอัน
ใดอันหนึ่งซึ่งไม่ชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา 242 สิทธิยึดหน่วงอันใด ถ้าไม่สมกับลักษณะที่เจ้าหนี้รับ ภาระในมูลหนี้ก็ดี ไม่สมกับคำา
สั่งอันลูกหนี้ได้ให้ไว้ก่อน หรือให้ใน เวลาที่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นก็ดี หรือเป็นการขัดกับความสงบเรียบร้อย
ของประชาชนก็ดี สิทธิยึดหน่วงเช่นนั้นท่านให้ถือว่าหามีไม่เลย
มาตรา 243 ในกรณีที่ลูกหนี้เป็นคนสินล้นพ้นตัวไม่สามารถใช้หนี้ เจ้าหนี้มีสิทธิจะยึดหน่วง
ทรัพย์สินไว้ได้แม้ทั้งที่ยังไม่ถึงกำาหนดเรียก ร้องถ้าการที่ลูกหนี้ไม่สามารถใช้หนี้นั้นได้เกิดเป็นขึ้นหรือรู้ถึงเจ้า
หนี้ ต่อภายหลังเวลาที่ได้ส่งมอบทรัพย์สินไซร้ ถึงแม้วา่ จะไม่สมกับลักษณะ ที่เจ้าหนี้รับภาระในมูลหนี้ไว้เดิม
หรือไม่สมกับคำาสั่งอันลูกหนี้ได้ให้ ไว้ก็ดีเจ้าหนี้ก็อาจใช้สิทธิยึดหน่วงได้
มาตรา 244 ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะใช้สิทธิของตนแก่ทรัพย์สิน ทั้งหมดที่ยึดหน่วงไว้นั้นจนกว่าจะ
ชำาระหนี้สิ้นเชิงก็ได้
มาตรา 245 ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะเก็บดอกผลแห่งทรัพย์สินที่ ยึดหน่วงไว้และจัดสรรเอาไว้เพื่อ
การชำาระหนี้แก่ตนก่อนเจ้าหนี้คน อื่นก็ได้
ดอกผลเช่นว่านี้จะต้องจัดสรรเอาชำาระดอกเบี้ยแห่งหนี้นั้นก่อน ถ้ายังมีเหลือจึงให้จัดสรรใช้ต้นเงิน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
41

มาตรา 246 ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจำา ต้องจัดการดูแลรักษาทรัพย์สิน ที่ยึดหน่วงไว้นั้นตามสมควร


เช่นจะพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะ เช่นนั้น
อนึ่ง ทรัพย์สินซึ่งยึดหน่วงไว้นั้น ถ้ามิได้รับความยินยอมของลูกหนี้ ท่านว่าผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงหา
อาจจะใช้สอยหรือให้เช่า หรือเอาไปทำา เป็นหลักประกันได้ไม่ แต่ความที่กล่าวนี้ท่านมิให้ใช้บังคับไปถึงการ
ใช้สอยเช่นที่จำาเป็นเพื่อรักษาทรัพย์สินนั้นเอง
ถ้าผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงกระทำาการฝ่าฝืนบทบัญญัติใดที่กล่าวมานี้ ท่านว่าลูกหนี้จะเรียกร้องให้ระงับ
สิทธินั้นเสียก็ได้
มาตรา 247 ถ้าผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงต้องเสียค่าใช้จ่ายไปตามที่ จำาเป็นเกี่ยวด้วยทรัพย์สินอันตนยึด
หน่วงไว้นั้นเพียงใด จะเรียกให้ เจ้าทรัพย์ชดใช้ให้ก็ได้
มาตรา 248 ภายในบังคับแห่งบทบัญญัติ มาตรา 193/27 การใช้สิทธิยึดหน่วงทำา ให้อายุ
ความแห่งหนี้สะดุดหยุดลงไม่
มาตรา 249 ลูกหนี้จะเรียกร้องให้ระงับสิทธิยึดหน่วงด้วยหาประกันให้ไว้ตามสมควรก็ได้
มาตรา 250 การครองทรัพย์สินสูญสิ้นไป สิทธิยึดหน่วงก็เป็นอันระงับสิ้นไปด้วยแต่ความที่กล่าว
นี้ท่านมิให้ใช้บังคับแก่กรณีที่ทรัพย์สิน อันยึดหน่วงไว้นั้นได้ให้เช่าไปหรือจำานำาไว้ด้วยความยินยอมของลูก
หนี้

หลักเกณฑ์ของสิทธิยึดหน่วง
ก. ต้องการได้สร้อยคอของ ข. เพื่อใส่ไปในงานแต่งงาน จึงบอก ข. ว่าบิดาของ ข. ให้ฝากสร้อย
คอนั้นแก่ ก. ไว้ และบิดาของ ข. จะเอามาคืนจาก ก. ทีหลัง ซึ่งเป็นความเท็จ ข. หลงเชื่อจึงมอบสร้อยคอ
นัน้ แก่ ก. วันรุ่งขึ้น ข. มีความจำาเป็นต้องใช้เงินจำานวนหนึ่ง จึงขอกู้จาก ก. ก. ตกลงให้กู้เงิน 20,000
บาท กำาหนดเวลาชำาระเงินในวันที่ 5 มีนาคม 2525 ครั้งถึงกำาหนดเวลาชำาระเงิน ก. ไม่สามารถชำาระ
เงินแก่ ข. ได้ และ ข. รู้ว่าสร้อยคอที่ฝากไว้ยังคงอยู่ที่ ก. ข. จึงขอสร้อยคอคืนดังนี้ ก. จะมีสิทธิยึดหน่วง
สร้อยนั้นได้หรือไม่ เพียงใดเพราะเหตุใด
ก. จะใช้สิทธิยึดหน่วงสร้อยนั้นไม่ได้ ต้องส่งมอบคืนแก่ ข. เพราะการเข้าครอบครองถือเอาสร้อย
คอของ ก. เกิดจาก ก. ใช้กลฉ้อฉล หลอก ข. ให้ส่งมอบให้ เป็นการครอบครองทรัพย์โดยไม่ชอบด้วย
กฎหมายมาแต่เริ่มแรก ตาม มาตรา 241 วรรคท้าย
มาตรา 241 ผู้ใดเป็นผู้ครองทรัพย์สินของผู้อื่น และมีหนี้อันเป็น คุณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วย
ทรัพย์สินซึ่งครองนั้นไซร้ ท่านว่าผู้นั้น จะยึดหน่วงทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะได้ชำาระหนี้ก็ได้ แต่ความที่กล่าว
มานี้ท่านมิให้ใช้บังคับ เมื่อหนี้นั้นยังไม่ถึงกำาหนด
อนึ่ง บทบัญญัติในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้ใช้บังคับ ถ้าการที่เข้าครอบครองนั้นเริ่มมาตั้งแต่ทำาการอัน
ใดอันหนึ่งซึ่งไม่ชอบด้วยกฎหมาย

ผลของสิทธิยึดหน่วง
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
42

เมื่อเจ้าหนี้ใช้สิทธิยึดหน่วงทรัพย์สินของลูกหนี้แล้ว เจ้าหนี้ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงมีสิทธิและหน้าที่
อย่างไรบ้างเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ยึดหน่วง
เมื่อเจ้าหนี้ใช้สิทธิยึดหน่วงทรัพย์สินของลูกหนี้แล้ว เจ้าหนี้ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงมีสิทธิและหน้าที่เกี่ยว
กับทรัพย์ที่ยึดหน่วงดังนี้
สิทธิ
1.)นำาเอาทรัพย์ที่ยึดถือไว้มาชำาระหนี้แก่ตนจนสิ้นเชิง ตามมาตรา 244
2.)เก็บดอกผลแห่งทรัพย์สินที่ยึดหน่วง และจัดสรรเอาไว้เพื่อการชำาระหนี้แก่ตนก่อนเจ้าหนี้คนอื่น
ตามมาตรา 245
3.)เจ้าหนี้สามารถใช้สิทธิบังคับจากทรัพย์สินที่ยึดถือไว้ได้ แม้สิทธิเรียกร้องที่เจ้าหนี้มีต่อลูกหนี้จะ
ขาดอายุความแล้วก็ตาม เว้นแต่จะเรียกดอกเบี้ยที่ค้างชำาระเกินกว่า 5 ปี ขึ้นไป ทั้งนี้เป็นไปตาม
มาตรา 189
หน้าที่
1.)ดูแลรักษาทรัพย์ที่ยึดหน่วง
2.)ห้ามใช้สอย ให้เช่า หรือนำาไปเป็นหลักประกัน
ทั้งข้อ 1 และ 2 ตามมาตรา 246
มาตรา 189 นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับก่อนและเงื่อนไขนั้นเป็น การพ้นวิสัย นิติกรรมนั้นเป็น
โมฆะ
มาตรา 244 ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะใช้สิทธิของตนแก่ทรัพย์สิน ทั้งหมดที่ยึดหน่วงไว้นั้นจนกว่าจะ
ชำาระหนี้สิ้นเชิงก็ได้
มาตรา 245 ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะเก็บดอกผลแห่งทรัพย์สินที่ ยึดหน่วงไว้และจัดสรรเอาไว้เพื่อ
การชำาระหนี้แก่ตนก่อนเจ้าหนี้คน อื่นก็ได้
มาตรา 246 ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจำา ต้องจัดการดูแลรักษาทรัพย์สิน ที่ยึดหน่วงไว้นั้นตามสมควร
เช่นจะพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะ เช่นนั้น
อนึ่ง ทรัพย์สินซึ่งยึดหน่วงไว้นั้น ถ้ามิได้รับความยินยอมของลูกหนี้ ท่านว่าผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงหา
อาจจะใช้สอยหรือให้เช่า หรือเอาไปทำา เป็นหลักประกันได้ไม่ แต่ความที่กล่าวนี้ท่านมิให้ใช้บังคับไปถึงการ
ใช้สอยเช่นที่จำาเป็นเพื่อรักษาทรัพย์สินนั้นเอง
ถ้าผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงกระทำาการฝ่าฝืนบทบัญญัติใดที่กล่าวมานี้ ท่านว่าลูกหนี้จะเรียกร้องให้ระงับ
สิทธินั้นเสียก็ได้

ความระงับแห่งสิทธิยึดหน่วง
ก. นำารถยนต์มาซ่อมที่อู่ของ ข. และไม่มีเงินชำาระค่าซ่อม ข. จึงยึดรถยนต์ของ ก. ไว้ก่อนจนกว่า
ก. จะมาชำาระค่าซ่อมครบถ้วน แต่ ข. เห็นว่าอู่ซ่อมรถของตนไม่มีที่จอดเพียงพอ จึงบอกแก่ ก. ว่าจะนำารถ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
43

ของ ก. ไปฝากไว้กับ ค. ซึ่งมีที่สำาหรับฝากรถ ก. ตกลงด้วยตามนั้น ต่อมา ก. ไปเอารถยนต์ของตนจาก ค.


โดยไม่ได้บอกแก่ ข. ข. รู้เข้าจึงไปยึดรถยนต์ของ ก. คันดังกล่าวเพื่อมาไว้ในความครอบครองของตน ก.
ปฏิเสธโดยอ้างว่า การครอบครองรถดังกล่าวของ ข. สูญสิ้นไปแล้ว สิทธิยึดหน่วงเป็นอันระงับสิ้นไป ข.
อ้างว่าเมื่อ ก. อนุญาตยินยอมให้นำารถไปฝากไว้กับ ค. แล้ว ถือว่าการครอบครองของ ข. ยังไม่สิ้นสูญ สิทธิ
ยึดหน่วงยังไม่ระงับ หาก ก. และ ข. มาปรึกษาท่าน ท่านจะให้คำาแนะนำาอย่างไร
เมื่อ ข. นำา รถยนต์ไปฝาก ค. ไว้ การครอบครองรถยนต์ของ ข. สูญสิ้นไปแล้ว แม้จะเป็นความ
ยินยอมของ ก. ลูกหนี้ที่ให้ ข. นำารถยนต์ไปฝาก ค. ก็ตาม กรณีหาต้องด้วยบทบัญญัติของ ปพพ. มาตรา
250 ไม่ สิทธิยึดหน่วงจึงระงับไป ข. จะยึดรถยนต์ดังกล่าวจาก ก. ไม่ได้ ก. มีสิทธิปฏิเสธการคืนการ
ครอบครองรถยนต์ให้ ข.

บุรมิ สิทธิ
1. ผู้ทรงบุริมสิทธิย่อมทรงไว้ซึ่งสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในการที่จะได้รับชำา ระหนี้อันค้าง
ชำาระแก่ตนจากทรัพย์สินนั้นก่อนเจ้าหนี้อื่นๆ โดยนับดังบัญญัติไว้ใน ปพพ. หรือบทกฎหมายอื่น
2. บุริมสิทธิ ไม่ว่าจะเป็นบุริมสิทธิสามัญ หรือบุริมสิทธิพิเศษ เป็นทรัพย์สิทธิและเป็นทรัพย์สิทธิ
ประเภทที่เรียกว่าอุปกรณ์สิทธิ บุริมสิทธินั้นแบ่งแยกไม่ได้
3. บุริมสิทธิสามัญนั้น ตามมาตรา 253 มีดังนี้
(1)ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน
(2)ค่าปลงศพ
(3)ค่าภาษีอากร
(4)ค่าจ้างเสมียน คนใช้ และคนงาน
(5)ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำาเป็นประจำาวัน
บุรมิ สิทธิ
มาตรา 251 ผู้ทรงบุริมสิทธิย่อมทรงไว้ซึ่งสิทธิเหนือทรัพย์สิน ของลูกหนี้ในการที่จะได้รับชำาระ
หนี้อนั ค้างชำาระแก่ตน จากทรัพย์สิน นัน้ ก่อนเจ้าหนี้อื่น ๆ โดยนัยดังบทบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี้ หรือ
บทกฎหมายอื่น
มาตรา 252 บทบัญญัติแห่ง มาตรา 244 นัน้ ท่านให้ใช้บังคับ ตลอดถึงบุริมสิทธิด้วยตามแต่
กรณี
บุรมิ สิทธิสามัญ
มาตรา 253 ถ้าหนี้มีอยู่เป็นคุณแก่บุคคลผู้ใดในมูลอย่างหนึ่ง อย่างใดดังจะกล่าวต่อไปนี้ บุคคลผู้
นัน้ ย่อมมีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สิน ทั้งหมดของลูกหนี้ คือ
1)ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน
2)ค่าปลงศพ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
44

3) ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ ทำาให้แก่ ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง


4)ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำาเป็นประจำาวัน
มาตรา 254 บุริมสิทธิในมูลค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกันนั้น ใช้สำาหรับเอาค่าใช้จ่ายอันได้
เสีย ไป เพื่ อ ประโยชน์ ข องเจ้ า หนี้ ห มด ทุ ก คนร่ ว มกั น เกี่ ย วด้ ว ยการรั ก ษา การชำา ระบั ญ ชี หรื อ การเฉลี่ ย
ทรัพย์สินของลูกหนี้
ถ้าค่าใช้จ่ายนั้นมิได้เสียไป เพื่อประโยชน์ของเจ้าหนี้หมดทุกคน ไซร้บุริมะสิทธิย่อมจะใช้ได้แต่
เฉพาะต่อเจ้าหนี้ผู้ที่ได้รับประโยชน์ จากการนั้น
มาตรา 255 บุริมสิทธิในมูลค่าปลงศพนั้น ใช้สำา หรับเอาค่าใช้จ่าย ในการปลงศพตามควรแก่
ฐานานุรูปของลูกหนี้
มาตรา 256 บุริมสิทธิในมูลค่าภาษีอากรนั้น ใช้สำาหรับเอาบรรดา ค่าภาษีอากรในที่ดิน ทรัพย์สิน
หรือค่าภาษีอากรอย่างอื่นที่ลูกหนี้ยัง ค้างชำาระอยู่ในปีปัจจุบันและก่อนนั้นขึ้นไปอีกปีหนึ่ง
มาตรา 257 บุริมสิทธิในเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ ได้ทำาให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง
นั้น ให้ใช้สำาหรับค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำางานในวันหยุด ค่าชดเชย ค่าชดเชยพิเศษ และเงินอื่นใดที่ ลูกจ้างมี
สิทธิได้รับเพื่อการงานที่ทำาให้ นับถอยหลังขึ้นไปสี่เดือน แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกินหนึ่งแสนบาทต่อลูกจ้าง
คนหนึ่ง
มาตรา 258 บุริมสิทธิในมูลค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำา เป็น ประจำา วันนั้น ใช้สำา หรับเอาค่า
เครื่องอุปโภคบริโภค ซึ่งยังค้างชำาระ อยู่นับถอยหลังขึ้นไปหกเดือน เช่นค่าอาหาร เครื่องดื่ม โคมไฟ ฟืน ถ่าน
อันจำาเป็นเพื่อการทรงชีพของลูกหนี้และบุคคลในสกุล ซึ่งอยู่ กับลูกหนี้ และซึ่งลูกหนี้จำาต้องอุปการะกับทั้งคน
ใช้ของลูกหนี้ด้วย

ความหมายและลักษณะสำาคัญของบุริมสิทธิ
ให้อธิบายความหมายคำาว่าบุริมสิทธิ
บุริมสิทธิเป็นสิทธิประเภทหนึ่ง ซึ่งเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิมีสิทธิที่จะบังคับชำาระหนี้เอาจากทรัพย์สิน
ของลูกหนี้ที่ตกอยู่ภายใต้บังคับของบุริมสิทธิได้ก่อนเจ้าหนี้อื่นๆ ตามมาตรา 251 เช่น ก. ติดค้างชำาระค่า
ภาษีอากรกับกรมสรรพกร และเป็นหนี้ ข. ซึ่งได้กู้ยืมมา ดังนี้ เมื่อจะบังคับเอาจากทรัพย์สินของ ก. กรม
สรรพกรมีสิทธิยึดทรัพย์มาบังคับเพื่อชำาระหนี้แก่กรมฯ ก่อน ข. ซึ่งเป็นเจ้าหนี้อีกคน เพราะกรมฯ เป็นผู้ทรง
บุริมสิทธิ (ค่าภาษีอากร) ดูมาตรา 253 ประกอบ

บุริมสิทธิมีลักษณะสำาคัญอย่างไร
(1) เป็นทรัพย์สิทธิอาจใช้ยันบุคคลอื่น นอกจากตัวเจ้าหนี้ ลูกหนี้เฉพาะรายซึ่งเรียกว่าบุคคล
สิทธิ เจ้าหนี้ผู้ทรงบุริมสิทธิอาจอ้างบุริมสิทธิยันเจ้าหนี้อื่นที่ไม่มีบุริมสิทธิเท่าเทียมกัน
ได้ตามที่กฎหมายกำาหนดลำาดับบุริมสิทธิไว้ (มาตรา 253 มาตรา 277-280)

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
45

และผู้ ท รงบุ ริ ม สิ ท ธิ ยั ง อาจติ ด ตามเอาทรั พ ย์ สิ น ที่ ต กอยู่ ใ ต้ บุ ริ ม สิ ท ธิ คื น จากบุ ค คล


ภายนอกได้อีกด้วย (มาตรา 268 วรรค 2)
(2) บุริมสิทธิแบ่งแยกไม่ได้ เจ้าหนี้ผู้ทรงบุริมสิทธิบังคับแก่ทรัพย์สินที่อยู่ภายใต้บังคับแห่ง
บุริมสิทธิได้เต็มทั้งชิ้นโดยไม่คำานึงว่าได้มีการชำาระหนี้บางส่วนหรือไม่
(3) เป็นทรัพย์สิทธิที่เรียกว่า เป็นอุปกรณ์สิทธิในเรื่องหนี้ คือมีความสมบูรณ์และคงอยู่โดย
อาศัยหนี้เดิมเป็นมูลให้เกิดทรัพย์สิทธินั้นเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ จะมีบุริมสิทธิอยู่โดย
ไม่มีหนี้เดิมไม่ได้นั่นเอง
ลำาดับแห่งบุริมสิทธิ
มาตรา 277 เมื่อมีบุริมสิทธิสามัญหลายรายแย้งกัน ท่านให้ถือว่า บุริมสิทธิทั้งหลายนั้นมีลำาดับที่
จะให้ผลก่อนหลัง ดังที่ได้เรียงลำาดับ ไว้ใน มาตรา 253
เมื่อมีบุริมสิทธิสามัญแย้งกับบุริมสิทธิพิเศษ ท่านว่าบุริมสิทธิพิเศษ ย่อมอยู่ในลำาดับก่อน แต่บุริมสิทธิ
ในมูลค่า ใช้จ่ ายเพื่อ ประโยชน์ ร่วมกัน นั้นย่อมอยู่ในลำา ดับ ก่อ น ในฐานที่จ ะใช้สิทธิ นั้นต่ อเจ้าหนี้ผู้ ได้รั บ
ประโยชน์จากการนั้นหมดทุกคนด้วยกัน
มาตรา 278 เมื่อมีบุริมสิทธิแย้งกันหลายรายเหนือสังหาริมทรัพย์ อันหนึ่งอันเดียวกัน ท่านให้ถือ
ลำาดับก่อนหลังดังที่เรียงไว้ต่อไปนี้ คือ
(1) บุริมสิทธิในมูลเช่าอสังหาริมทรัพย์ พักอาศัยในโรงแรมและ รับขน
(2) บุริมสิทธิในมูลรักษาสังหาริมทรัพย์ แต่ถ้ามีบุคคลหลายคน เป็นผู้รักษา ท่านว่าผู้ที่รักษาภายหลัง
อยู่ในลำาดับก่อนผู้ที่ได้รักษามาก่อน
(3) บุริมสิทธิในมูลซื้อขายสังหาริมทรัพย์ ค่าเมล็ดพันธุ์ ไม้พันธุ์ หรือปุ๋ย และค่าแรงงานกสิกรรม
และอุตสาหกรรม
ถ้าบุคคลผู้ใดมีบุริมะสิทธิอยู่ในลำาดับเป็นที่หนึ่งและรู้อยู่ในขณะ ที่ตนได้ประโยชน์แห่งหนี้มานั้นว่า
ยังมีบุคคลอื่นซึ่งมีบุริมสิทธิอยู่ใน ลำาดับที่สองหรือที่สามไซร้ ท่านห้ามมิให้บุคคลผู้นั้นใช้สิทธิในการที่ตน อยู่
ในลำาดับก่อนนั้นต่อบุคคลอื่นเช่นว่ามา และท่านห้ามมิให้ใช้สิทธิ นี้ต่อผู้ที่ได้รักษาทรัพย์ไว้ เพื่อประโยชน์แก่
บุคคลผู้มีบุริมสิทธิในลำาดับ ที่หนึ่งนั้นเองด้วย
ในส่วนดอกผล ท่านให้บุคคลผู้ได้ทำา การงานกสิกรรมอยู่ในลำา ดับ ที่หนึ่ง ผู้ส่งเมล็ดพันธุ์ ไม้พันธุ์
หรือปุ๋ย อยู่ในลำาดับที่สองและผู้ให้ เช่าที่ดินอยู่ในลำาดับที่สาม
มาตรา 279 เมื่อมีบุริมสิทธิพิเศษแย้งกันหลายรายเหนืออสังหาริมทรัพย์อันหนึ่งอันเดียวกัน ท่าน
ให้ถือลำาดับก่อนหลังดังที่ ได้เรียงลำาดับไว้ใน มาตรา 273
ถ้าได้ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์นั้นสืบต่อกันไปอีกไซร้ ลำา ดับก่อน หลังในระหว่างผู้ขายด้วยกันนั้น
ท่านให้เป็นไปตามลำาดับที่ได้ซื้อขาย ก่อนและหลัง
มาตรา 280 เมื่อบุคคลหลายคนมีบุริมสิทธิในลำาดับเสมอกันเหนือทรัพย์อันหนึ่งอันเดียวกัน ท่าน
ให้ต่างคนต่างได้รับชำาระหนี้เฉลี่ยตามส่วนมากน้อยแห่งจำานวนที่ตนเป็นเจ้าหนี้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
46

บุรมิ สิทธิสามัญ
บุริมสิทธิสามัญ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ตามบทบัญญัติมาตรา 253 บุริมสิทธิสามัญแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนีค้ ือ
1)ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน
2)ค่าปลงศพ
3)ค่าภาษีอากร
4)ค่าจ้างเสมียน คนใช้ และคนงาน
5)ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำาเป็นประจำาวัน
มาตรา 253 ถ้าหนี้มีอยู่เป็นคุณแก่บุคคลผู้ใดในมูลอย่างหนึ่ง อย่างใดดังจะกล่าวต่อไปนี้ บุคคลผู้
นัน้ ย่อมมีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สิน ทั้งหมดของลูกหนี้ คือ
(1)ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน
(2)ค่าปลงศพ
(3) ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ ทำาให้แก่ ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง
(4)ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำาเป็นประจำาวัน

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 5

1. บุริมสิทธิแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ บุริมสิทธิสามัญและบุริมสิทธิพิเศษ


2. บุริมสิทธิสามัญได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน (2) ค่าปลงศพ (3) ค่าภาษีอากร
(4) ค่าจ้างเสมียน คนใช้ และคนงาน (5) ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำาเป็นประจำาวัน
3. บุริมสิทธิ คือ สิทธิที่จะบังคับชำาระหนี้จากทรัพย์ที่อยู่ภายใต้บังคับบุริมสิทธินั้น ก่อนเจ้าหนี้รายอื่น
4. บุริมสิทธิเกิดขึ้นได้จาก บทบัญญัติของกฎหมาย
5. บุริมสิทธิมีลักษณะดังนี้คือ (ก) ทรัพย์สิทธิซึ่งอาจใช้ยันบุคคลอื่นนอกจากตัวเจ้าหนี้ ลูกหนี้เฉพาะ
ราย (ข) สิทธิซึ่งแบ่งแยกไม่ได้ (ค) อุปกรณ์สิทธิ
6. สิทธิยึดหน่วงคือ สิทธิของเจ้าหนี้ที่จะครอบครองทรัพย์สินของลูกหนี้โดยที่ทรัพย์สินนั้นเป็นมูลฐาน
ให้เกิดหนี้อันที่ตนเป็นเจ้าหนี้ โดยมีสิทธิครอบครองทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะได้รับชำาระหนี้เสร็จสิ้น
7. ก. นำาปากกาและนาฬิกามาให้ ข. ซ่อม กำาหนดว่าจะชำาระเงินค่าซ่อมปากกาและนาฬิกาในวัน
เดียวกัน แต่ ก. มารับปากกาไปก่อน พอถึงวันนัดชำาระเงินค่าซ่อมปากกาและนาฬิกา ก. ชำาระเพียง
ค่าซ่อมนาฬิกา ดังนี้ คือ ข. ไม่มีสิทธิยึดหน่วงนาฬิกาไว้ เพราะ ก. ได้จ่ายค่าซ่อมนาฬิกาแล้ว
8. สิทธิยึดหน่วงระงับลงเมื่อ (ก) หนี้เดิมระงับไป (ข) ลูกหนีห้ าประกันให้แทนการยึดหน่วง
ทรัพย์สินไว้โดยจำานวนที่สมควร (ค) เจ้าหนี้มิได้ครอบครองทรัพย์สินหรือเจ้าหนี้ทำาผิดหน้าที่ของ
ตนในการดูแลรักษาทรัพย์ที่ยึดหน่วงไว้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
47

9. สิทธิยึดหน่วงมีผลให้ (ก) เจ้าหนี้ยึดทรัพย์สินทั้งอันไว้ได้แม้จะได้มีการชำาระหนี้บางส่วนแล้ว (ข)


ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงสามารถเก็บดอกผลของทรัพย์ที่ยึดหน่วงไว้ชำาระหนี้แก่ตนก่อนเจ้าหนี้อื่น (ค)
เกิดสิทธิพิเศษทีผ่ ู้ทรงสิทธิจะยึดหน่วงจนได้รับชำาระหนี้จากทรัพย์ที่ยึดหน่วงก่อนเจ้าหนี้อื่น
10. สิทธิยึดหน่วงมีผลให้อายุความ ไม่สะดุดหยุดลงแต่แม้หนี้จะขาดอายุความผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงก็ยัง
บังคับชำาระหนี้ได้ แต่หา้ มคิดดอกเบี้ยที่ค้างเกินกว่า 5 ปี

หน่วยที่ 6 บุริมสิทธิ (ต่อ)

1. บุริมสิทธิพิเศษ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์ และบุริมสิทธิ


พิเศษเหนือ อสังหาริมทรัพย์
2. เมื่อมีเจ้าหนี้หลายรายในมูลหนี้ต่างๆกัน มีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์ทั่วไป และเหนือ สังหาริมทรัพย์
หรืออสังหาริมทรัพย์อันเดียวกันจึงต้องจัดลำาดับบุริมสิทธิซึ่งจะให้ผลก่อนหลังเรียงตามลำาดับ

บุรมิ สิทธิพิเศษ
1. บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์มาตรา 259 บัญญัติไว้ 7 ประการ คือ
(1)เช่าอสังหาริมทรัพย์
(2)พักอาศัยในโรงแรม
(3)รับขนคนโดยสาร หรือของ
(4)รักษาสังหาริมทรัพย์
(5)ซื้อขายสังหาริมทรัพย์
(6)ค่าเมล็ดพันธุ์ ไม้พันธุ์ หรือปุ๋ย
(7)ค่าแรงงานกสิกรรม หรืออุตสาหกรรม
2. บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ มาตรา 273 บัญญัติไว้ 3 ประการ คือ
(1)รักษาอสังหาริมทรัพย์
(2)จ้างทำาของเป็นการงานทำาขึ้นบนอสังหาริมทรัพย์
(3)ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์

บุรมิ สิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์
บุริมสิทธิสามัญคืออะไร มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
บุริมสิทธิสามัญคือ สิทธิที่เจ้าหนี้ผู้ทรงบุริมสิทธิสามารถบังคับเอาของทรัพย์ทั้งหมดของลูกหนี้ซึ่งตก
อยู่ภายใต้บังคับแห่งบุริมสิทธิสามัญ ซึ่งได้แก่
(1)ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
48

(2)ค่าปลงศพ
(3)ค่าภาษีอากร
(4)ค่าจ้างเสมียน คนใช้ และคนงาน
(5)ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำาเป็นประจำาวัน

บุรมิ สิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์
บุริมสิทธิพิเศษมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ยกตัวอย่างในแต่ละประเภท
บุริมสิทธิมี 2 ประเภทคือ
(1) บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์ (มาตรา 259)
(2) บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ (มาตรา 273)
บุรมิ สิทธิพิเศษ (ก) บุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย์
มาตรา 259 ถ้าหนี้มีอยู่เป็นคุณแก่บุคคลผู้ใดในมูลอย่างหนึ่ง อย่างใดดั่งจะกล่าวต่อไปนี้ บุคคลผู้
นัน้ ย่อมมีบุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย์เฉพาะอย่างของลูกหนี้ คือ
(1)เช่าอสังหาริมทรัพย์
(2)พักอาศัยในโรงแรม
(3)รับขนคนโดยสาร หรือของ
(4)รักษาสังหาริมทรัพย์
(5)ซื้อขายสังหาริมทรัพย์
(6)ค่าเมล็ดพันธุ์ ไม้พันธุ์ หรือปุ๋ย
(7)ค่าแรงงานกสิกรรม หรืออุตสาหกรรม
บุรมิ สิทธิพิเศษ (ข) บุรมิ สิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย์
มาตรา 273 ถ้าหนี้มีอยู่เป็นคุณแก่บุคคลผู้ใดในมูลอย่างหนึ่ง อย่างใดดังจะกล่าวต่อไปนี้ บุคคลผู้
นัน้ ย่อมมีบุริมสิทธิเหนือ อสังหาริมทรัพย์เฉพาะอย่างของลูกหนี้ คือ
(1)รักษาอสังหาริมทรัพย์
(2)จ้างทำาของเป็นการทำางานขึ้นบนอสังหาริมทรัพย์
(3)ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์

ลำาดับและผลแห่งบุริมสิทธิ
1. ลำาดับบุริมสิทธิสามัญด้วยกันตามมาตรา 253 ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ลำาดับ ผู้อยู่ในลำาดับก่อนมี
สิทธิดีกว่า คือจะได้รับชำาระหนี้ก่อนผู้ที่อยู่ในลำาดับถัดไป
2. ถ้าบุริมสิทธิสามัญแย้งกับบุริมสิทธิพิเศษแล้ว บุริมสิทธิพิเศษมาในลำา ดับก่อนบุริมสิทธิสามัญ
(มาตรา 277 วรรค 2) เว้ น แต่ ค่ า ใช้ จ่ า ยเพื่ อ ประโยชน์ ร่ ว มกั น อั น เป็ น บุ ริ ม สิ ท ธิ ส ามั ญ
(มาตรา 253)
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
49

3. กรณีบุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์เดียวกันแย้งกันขึ้นเอง มาตรา 278 จัดลำาดับดังนี้ คือ


1.)บุริมสิทธิในมูลเช่าอสังหาริมทรัพย์ พักอาศัยในโรงแรมและรับขน
2.)บุริมสิทธิในมูลรักษาสังหาริมทรัพย์ แต่ถ้ามีบุคคลหลายคนเป็นผู้รักษา ท่านว่าผู้รักษาภายหลัง
อยู่ในลำาดับก่อนผู้ที่ได้รักษามาก่อน
3.)บุริมสิทธิในมูลซื้อขาย สังหาริมทรัพย์ ค่าเมล็ดพันธุ์ ไม้พันธุ์หรือปุ๋ย และค่าแรงงานกสิกรรม
และอุตสาหกรรม
4. ผลแห่งบุริมสิทธิในส่วนบุริมสิทธิสามัญนั้น บุคคลผู้มีบุริมสิทธิสามัญต้องรับชำาระหนี้เอาจากสัง
หา ริ ม ทรั พ ย์ ข องลู ก หนี้ ก่ อ น ต่ อ เมื่ อ ยั งไม่ พ อจึ ง ให้ เ อาชำา ระจากอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ด้ ผลของ
บุริมสิทธิอันมีอยู่เหนือสังหาริมทรัพย์นั้น ท่านห้ามมิให้ใช้เมื่อบุคคลภายนอกได้ทรัพย์นั้นจากลูก
หนี้และได้ส่งมอบทรัพย์ให้กันไปเสร็จแล้วหากกรณีมีบุริมสิทธิแย้งกับสิทธิจำานำาสังหาริมทรัพย์
ท่านว่าผู้รับจำานำาย่อมมีสิทธิเป็นอย่างเดียวกับผู้ทรงบุริมสิทธิในลำาดับที่หนึ่งดังที่เรียงไว้ในมาตรา
278 ส่วนบุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์นั้นเจ้าหนี้ต้องไปบอกลงทะเบียนไว้ จึงจะมีผล
บังคับเป็นบุริมสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย์นั้นได้

ลำาดับแห่งบุริมสิทธิ
ให้อธิบายลำาดับแห่งบุริมสิทธิ
ลำาดับแห่งบุริมสิทธิ
(1)บุริ มสิทธิ หลายรายแย้งกั นให้ ดูลำา ดั บที่จ ะให้มี ผลก่ อ นหลั งกั น ดั่ งที่ เ รี ย งลำา ดั บ ไว้ ใ นมาตรา
253
(2)บุริมสิทธิสามัญแย้งกับบุริมสิทธิพิเศษ ให้ถือว่าบุริมสิทธิพิเศษอยู่ในลำาดับก่อน แต่บุริมสิทธิใน
มูลค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกันตามมาตรา 253 (1) ย่อมอยู่ในลำาดับก่อน ในฐานะ
ที่จะใช้สิทธินั้นต่อเจ้าหนี้ผู้ได้รับประโยชน์จากการนั้นหมดทุกคนด้วยกัน ตามมาตรา 277
วรรค 2
(3)บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์อันเดียวกัน กฎหมายจัดอันดับไว้ในมาตรา 278
(4)บุริมสิทธิพิเศษแย้งกันหลายรายเหนืออสังหาริมทรัพย์อันหนึ่งอันเดียวกัน กฎหมายถือว่าให้ต่าง
คนต่างได้รับชำาระหนี้เฉลี่ยตามส่วนมากน้อยแห่งจำานวนที่ตนเป็นเจ้าหนี้ตามมาตรา 280
มาตรา 277 เมื่อมีบุริมสิทธิสามัญหลายรายแย้งกัน ท่านให้ถือว่า บุริมสิทธิทั้งหลายนั้นมีลำาดับที่
จะให้ผลก่อนหลัง ดังที่ได้เรียงลำาดับ ไว้ใน มาตรา 253
เมื่อมีบุริมสิทธิสามัญแย้งกับบุริมสิทธิพิเศษ ท่านว่าบุริมสิทธิพิเศษ ย่อมอยู่ในลำาดับก่อน แต่บุริมสิทธิ
ในมูลค่า ใช้จ่ ายเพื่อ ประโยชน์ ร่วมกัน นั้นย่อมอยู่ในลำา ดับ ก่อ น ในฐานที่จ ะใช้สิทธิ นั้นต่ อเจ้าหนี้ผู้ ได้รั บ
ประโยชน์จากการนั้นหมดทุกคนด้วยกัน
มาตรา 278 เมื่อมีบุริมสิทธิแย้งกันหลายรายเหนือสังหาริมทรัพย์ อันหนึ่งอันเดียวกัน ท่านให้ถือ
ลำาดับก่อนหลังดังที่เรียงไว้ต่อไปนี้ คือ
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
50

(1) บุริมสิทธิในมูลเช่าอสังหาริมทรัพย์ พักอาศัยในโรงแรมและ รับขน


(2) บุริมสิทธิในมูลรักษาสังหาริมทรัพย์ แต่ถ้ามีบุคคลหลายคน เป็นผู้รักษา ท่านว่าผู้ที่รักษาภายหลัง
อยู่ในลำาดับก่อนผู้ที่ได้รักษามาก่อน
(3) บุริมสิทธิในมูลซื้อขายสังหาริมทรัพย์ ค่าเมล็ดพันธุ์ ไม้พันธุ์ หรือปุ๋ย และค่าแรงงานกสิกรรม
และอุตสาหกรรม
ถ้าบุคคลผู้ใดมีบุริมะสิทธิอยู่ในลำาดับเป็นที่หนึ่งและรู้อยู่ในขณะ ที่ตนได้ประโยชน์แห่งหนี้มานั้นว่า
ยังมีบุคคลอื่นซึ่งมีบุริมสิทธิอยู่ใน ลำาดับที่สองหรือที่สามไซร้ ท่านห้ามมิให้บุคคลผู้นั้นใช้สิทธิในการที่ตน อยู่
ในลำาดับก่อนนั้นต่อบุคคลอื่นเช่นว่ามา และท่านห้ามมิให้ใช้สิทธิ นี้ต่อผู้ที่ได้รักษาทรัพย์ไว้ เพื่อประโยชน์แก่
บุคคลผู้มีบุริมสิทธิในลำาดับ ที่หนึ่งนั้นเองด้วย
ในส่วนดอกผล ท่านให้บุคคลผู้ได้ทำา การงานกสิกรรมอยู่ในลำา ดับ ที่หนึ่ง ผู้ส่งเมล็ดพันธุ์ ไม้พันธุ์
หรือปุ๋ย อยู่ในลำาดับที่สองและผู้ให้ เช่าที่ดินอยู่ในลำาดับที่สาม
มาตรา 280 เมื่อบุคคลหลายคนมีบุริมสิทธิในลำา ดับเสมอกันเหนือ ทรัพย์อันหนึ่งอันเดียวกัน
ท่านให้ต่างคนต่างได้รับชำาระหนี้เฉลี่ยตาม ส่วนมากน้อยแห่งจำานวนที่ตนเป็นเจ้าหนี้

ผลแห่งบุริมสิทธิ
เจ้าหนี้ผู้ทรงบุริมสิทธิสามัญ บุริมสิทธิพิเศษ เมื่อจะบังคับเอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้มีผลหรือหลัก
เกณฑ์อย่างไรบ้าง อธิบาย
บุริมสิทธิสามัญ
(1) ต้ อ งบั ง คั บ เอาจากสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ก่ อ น ต่ อ เมื่ อ ยั ง ไม่ พ อจึ ง ให้ เ อาชำา ระหนี้ จ าก
อสังหาริมทรัพย์ได้ และอสังหาริมทรัพย์นั้นก็ต้องบังคับเอาจากอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่ได้
ตกอยู่ในฐานเป็นหลักประกันพิเศษ ตามมาตรา 283
(2) แม้จะไม่ได้ไปลงทะเบียนเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ ย่อมมีสิทธิดีกว่าเจ้าหนี้ใดๆ ที่ไม่มี
หลักประกันพิเศษ เว้นแต่บุคคลภายนอกผู้ได้ไปลงทะเบียนสิทธิไว้ ตามมาตรา 284

บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์
(1)ตามมาตรา 273 (1) 274 เจ้าหนี้ต้องจดทะเบียนจำานวนหนี้ค่ารักษาอสังหาริมทรัพย์จึง
จะมีผลบังคับเป็นบุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา 285
(2)สิทธิจำานองมาหลังบุริมสิทธิตามมาตรา 285-286
(3)ให้นำา บทบัญญัติในลักษณะจำา นองมาใช้เกี่ยวกับผลแห่งบุริมสิทธิด้วยตามแต่กรณี (มาตรา
289)
(4)ผู้ขายอสังหาริมทรัพย์มีบุริมสิทธิในราคาทรัพย์สินและดอกเบี้ยที่ค้างชำาระตาม มาตรา 273
(3) มาตรา 276 ผู้ ข ายต้ อ งจดทะเบี ย นหนี้ ที่ ค้ า งชำา ระในเวลาจดทะเบี ย นการโอนขาย
อสังหาริมทรัพย์ จึงจะมีบุริมสิทธินี้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
51

(5)บุริ มสิทธิ ในมู ลจ้ างทำา ของเป็ นการงานทำา ขึ้นบนอสังหาริ มทรัพย์ ต ามมาตรา 273 (2)
275 ต้องทำา รายการประมาณการราคาชั่วคราวไปบอกลงทะเบียนไว้ก่อนเริมลงมือทำา การ
บุริมสิทธิจึงจะมีผลบังคับ
ผลแห่งบุริมสิทธิ
มาตรา 281 บุริมสิทธิอันมีอยู่เหนือสังหาริมทรัพย์นั้น ท่านห้ามมิ ให้ใช้ เมื่อบุคคลภายนอกได้
ทรัพย์นนั้ จากลูกหนี้และได้ส่งมอบทรัพย์ ให้กันไปเสร็จแล้ว
มาตรา 282 เมื่อมีบุริมสิทธิแย้งกับสิทธิจำานำาสังหาริมทรัพย์ ท่านว่าผู้รับจำานำาย่อมมีสิทธิเป็นอย่าง
เดียวกันกับผู้ทรงบุริมสิทธิใน ลำาดับทีห่ นึ่งดังที่เรียงไว้ใน มาตรา 278 นัน้
มาตรา 283 บุคคลผู้มีบุริมสิทธิสามัญต้องรับชำาระหนี้เอาจาก สังหาริมทรัพย์ของลูกหนี้ก่อน ต่อ
เมื่อยังไม่พอจึงให้เอาชำาระหนี้จาก อสังหาริมทรัพย์ได้
ในส่วนอสังหาริมทรัพย์นั้น ก็ต้องรับชำาระหนี้เอาจากอสังหาริมทรัพย์อันมิได้ตกอยู่ในฐานเป็นหลัก
ประกันพิเศษเสียก่อน
ถ้าบุคคลใดมีบุริมสิทธิสามัญและละเลยด้วยความประมาทเลินเล่อ ไม่สอดเข้าแย้งขัดในการแบ่งเฉลี่ย
ทรัพย์ ตามความที่ ก ล่าวมาใน วรรคทั้งสองข้า งบนนี้ไ ซร้ อัน บุคคลนั้นจะใช้บุริ มสิทธิ ของตนต่ อ บุค คล
ภายนอกผู้ได้จดทะเบียนสิทธิไว้แล้วเพื่อจะเอาใช้จนถึงขนาด เช่นที่ตนจะหากได้รับเพราะได้สอดเข้าแย้งขัด
นัน้ ท่านว่าหาอาจ จะใช้ได้ไม่
อนึ่งบทบัญญัติที่กล่าวมาในวรรคทั้งสามข้างต้นนี้ ท่านมิให้ใช้บังคับหากว่าเงินที่ขายอสังหาริมทรัพย์
ได้นั้น จะพึงต้องเอามาแบ่งเฉลี่ยก่อนเงินที่ขายทรัพย์สินอย่างอื่นก็ดีหรือหากว่าเงินที่ขาย อสังหาริมทรัพย์
อันตกอยู่ในฐานเป็นหลักประกันพิเศษนั้นจะพึงต้องเอามาแบ่งเฉลี่ยก่อนเงินที่ขายอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นก็
ดุจกัน
มาตรา 284 บุริมสิทธิสามัญนั้น ถึงแม้จะมิได้ไปลงทะเบียนเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ก็ดี ย่อมจะ
ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้เจ้าหนี้ใด ๆ ที่ ไม่มีหลักประกันพิเศษนั้นได้ แต่ความที่กล่าวนี้ท่านมิให้ใช้ไปถึงการ ต่อสู้
บุคคลภายนอกผู้ได้ไปลงทะเบียนสิทธิไว้
มาตรา 285 บุริมสิทธิในมูลรักษาอสังหาริมทรัพย์นั้น ถ้าหากว่า เมื่อทำา การเพื่อบำา รุงรักษานั้น
สำาเร็จแล้ว ไปบอกลงทะเบียนไว้โดย พลันไซร้ บุริมะสิทธิก็คงให้ผลต่อไป
มาตรา 286 บุริมสิทธิในมูลจ้างทำาของเป็นการงานทำาขึ้นบน อสังหาริมทรัพย์นั้น หากทำารายการ
ประมาณราคาชั่วคราวไปบอก ลงทะเบียนไว้ก่อนเริ่มลงมือการทำาไซร้ บุริมสิทธิก็คงให้ผลต่อไป แต่ถ้าราคาที่
ทำาจริงนั้นลำ้าราคาที่ได้ประมาณไว้ชั่วคราว ท่านว่า บุริมสิทธิในส่วนจำานวนที่ลำ้าอยู่นั้นหามีไม่
ส่วนการที่จะวินิจฉัยว่าอสังหาริมทรัพย์นั้นมีราคาเพิ่มขึ้น เพราะ การอันได้ทำาขึ้นบนอสังหาริมทรัพย์
มากน้อยเพียงใดนั้น ท่านให้ศาล ตั้งแต่งผู้เชี่ยวชาญขึ้นเป็นผู้กะประมาณ ในเวลาที่มีแย้งขัดในการ แบ่งเฉลี่ย
มาตรา 287 บุริมสิทธิใดได้ไปจดลงทะเบียนแล้วตามบทบัญญัติ แห่ง มาตรา ทั้งสองข้างบนนี้
บุริมสิทธินั้นท่านว่าอาจจะใช้ได้ก่อนสิทธิจำานอง

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
52

มาตรา 288 บุริมสิทธิในมูลซื้อขายอสังหาริมทรัพย์นั้นหากว่า เมื่อไปลงทะเบียนสัญญาซื้อขาย


นัน้ บอกลงทะเบียนไว้ด้วยว่าราคา หรือดอกเบี้ยในราคานั้นยังมิได้ชำาระไซร้ บุริมสิทธินั้นก็คงให้ผลต่อไป
มาตรา 289 ว่าถึงผลแห่งบุริมสิทธินอกจากที่ได้บัญญัติไว้ใน มาตรา 281 ถึง 288 นี้แล้ว
ท่านให้นำาบทบัญญัติทั้งหลายแห่งลักษณะจำานอง มาใช้บังคับด้วยตามแต่กรณี
บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์
(1) หากสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ นั้ น ลู ก หนี้ ไ ด้ ส่ ง มอบให้ บุ ค คลภายนอกแล้ ว บุ ริ ม สิ ท ธิ เ หนื อ
สังหาริมทรัพย์ ย่อมระงับไปเหนือสังหาริมทรัพย์นั้นตามมาตรา 281
(2) เมื่อแย้งกับสิทธิจำานำาสังหาริมทรัพย์ ผู้รับจำานำาย่อมมีสิทธิเป็นอย่างเดียวกันกับผู้ทรง
บุริมสิทธิในลำาดับที่หนึ่ง ดังที่เรียงไว้ในมาตรา 278

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 6

1. บุริมสิทธิพิเศษได้แก่ บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์และเหนืออสังหาริมทรัพย์
2. บุริมสิทธิในมูลซื้อขายสังหาริมทรัพย์หมายถึง กรณีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ต้องซื้อขายโอนไปเป็น
ของผู้ซื้อแล้ว แต่ผู้ซื้อยังต้องชำาระราคาซื้อและดอกเบี้ย
3. บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์ได้แก่ ค่าเช่าสังหาริมทรัพย์ ค่าพักอาศัยในโรงแรม
4. บุ ริม สิ ท ธิ พิ เ ศษเหนื อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ด้ แ ก่ ค่าจ้ า งทำา ของเป็ น การงานทำา ขึ้ น บนอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์
ค่ารักษาอสังหาริมทรัพย์
5. บุริมสิทธิพิเศษเหนืออสังหาริมทรัพย์ได้แก่ ค่ารักษาอสังหาริมทรัพย์ จ้างทำา ของเป็นการงานทำา ขึ้น
บนอสังหาริมทรัพย์
6. เมื่อมีบุริมสิทธิสามัญหลายรายแย้งกัน เรียงลำา ดับได้ดังนี้คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน ค่า
ปลงศพ ค่าภาษีอากร ค่าจ้างเสมียน ค่าคนใช้คนงาน และค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำาเป็นประจำาวัน
7. ถ้าบุริมสิทธิสามัญแย้งกับบุริมสิทธิพิเศษ กฎหมายบัญญัติว่า ให้บุริมสิทธิพิเศษมาเป็นลำาดับก่อน เว้น
แต่ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์ร่วมกันอันเป็นบุริมสิทธิสามัญได้รับยกเว้นให้มาก่อนบุริมสิทธิพิเศษ
8. เจ้าหนี้บุริมสิทธิสามัญจะบังคับชำา ระหนี้จากทรัพย์สินของลูกหนี้ได้โดย ต้องเข้าขอเฉลี่ยทรัพย์สิน
ของลูกหนี้ก่อนที่จะถูกแบ่งชำาระเจ้าหนี้อื่น
9. บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์ ระงับ สิ้นไปเมื่อ สังหาริมทรัพย์อน ั เป็นวัตถุแห่งบุริมสิทธิถูกโอน
และส่งมอบให้แก่บุคคลภายนอก
10. ผู้รับจำานำาสังหาริมทรัพย์กับผู้มีบุริมสิทธิ พิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์นั้น ผูร้ ับจำานำามีสิทธิดีกว่า
11. เจ้าหนีจ้ ำานองนั้นมีสิทธิ ดีกว่าเจ้าหนี้สามัญ
12. ผู้มีสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย์ กับผู้รับจำานำาสังหาริมทรัพย์ ผูร้ ับจำานำามีสิทธิดีกว่า

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
53

หน่วยที่ 7 ลูกหนี้เจ้าหนี้หลายคน

1. เกี่ยวกับการชำาระหนี้ หนี้แบ่งออกเป็นสองประเภทคือ หนี้ที่การชำาระหนี้ แบ่งชำาระได้และแบ่งชำาระ


ไม่ได้
2. หนี้ที่การชำาระหนี้แบ่งชำาระได้ ถ้ามีลูกหนี้หลายคนและเจ้าหนี้หลายคน ลูกหนี้แต่ละคนจะต้องรับผิด
เพียงเป็นส่วนเท่าๆกัน และเจ้าหนี้แต่ละคนก็มีสิทธิที่จะได้รับแต่เพียงเป็นส่วนเท่าๆกัน
3. ถ้าบุคคลหลายคนเป็นหนี้อันจะแบ่งกันชำาระมิได้บุคคลเหล่านั้นต้องรับผิดเช่นอย่างลูกหนี้ร่วมกัน
4. ถ้าการชำารับหนี้เป็นการอันจะแบ่งกันชำาระมิได้ และมีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าหนี้ ถ้าบุคคลเหล่านั้น
มิได้เป็นเจ้าหนี้ร่วมลูกหนี้ได้แก่จะชำาระหนี้ไว้ได้ประโยชน์แก่บุคคลเหล่านั้นทั้งหมดด้วยกัน และเจ้า
หนี้แต่ละคนจะเรียกชำาระหนี้ได้ก็แต่เพื่อได้ประโยชน์ด้วยกันหมดทุกคนเท่านั้น
5. ลูกหนี้ร่วม คือบุคคลหลายคนซึ่งมีหน้าที่ร่วมกันที่จะต้องรับผิดชำา ระหนี้ต่อเจ้าหนี้จนกว่าจะได้รับ
ชำาระหนี้โดยสิ้นเชิง
6. ในระหว่างลูกหนี้ร่วมกัน ต่างคนต่างต้องรับผิดชอบเป็นส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่จะได้กำา หนดไว้เป็น
อย่างอื่น
7. เจ้าหนี้ร่วมคือบุคคลหลายคนซึ่งมีสิทธิเรียกร้องการชำา ระหนี้โดยทำา นอง ซึ่งแต่ละคนอาจเรียกให้
ชำาระหนี้สิ้นเชิงได้
8. ในระหว่างเจ้าหนี้ร่วมกัน ต่างคนย่อมที่จะได้รับชำาระหนี้เป็นส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่จะได้กำาหนดไว้
เป็นอย่างอื่น
9. ลูกหนี้ร่วมและเจ้าหนี้ร่วมเกิดขึ้นได้โดยผลของนิติกรรมและโดยบัญญัติของกฎหมาย

7.1 หนีท้ ี่การชำาระหนี้แบ่งชำาระได้และแบ่งชำาระไม่ได้


1. หนี้ที่การชำาระหนี้แบ่งชำาระได้หมายถึงหนี้ที่สามารถแบ่งชำา ระได้เป็นสัดส่วน โดยในที่สุดเมื่อ
รวมกันเข้าแล้วก็จะเป็นการใช้หนี้ครบถ้วนบริบูรณ์หนี้ที่การชำาระหนี้แบ่งชำาระไม่ได้ คือหนี้ซึ่งไม่
สามารถแยกชำาระเป็นสัดส่วนได้ โดยพิจารณาจากสภาพแห่งหนี้นั้น โดยบทบัญญัติกฎหมาย หรือ
โดยเจตนาของคู่กรณี
2. ถ้าการชำาระหนี้เป็นการอันจะแบ่งชำาระได้ และมีบุคคลหลายคนเป็นลูกหนี้หรือมีบุคคลหลายคน
เป็นเจ้าหนี้ เมื่อกรณีเป็นที่สงสัย ลูกหนี้แต่ละคนจะต้องรับผิดเพียงเป็นส่วนเท่า ๆ กัน และเจ้าหนี้
แต่ละคนก็ชอบที่จะได้รับเพียงเป็นส่วนเท่า ๆ กัน
3. ถ้าบุคคลหลายคนเป็นหนี้อันจะแบ่งกันชำาระไม่ได้ บุคคลเหล่านั้นต้องรับผิดเช่นอย่างลูกหนี้ร่วม
กัน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
54

4. ถ้าการชำาระหนี้เป็นการอันจะแบ่งกันชำาระมิได้ และมีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าหนี้ ถ้าบุคคลเหล่านั้น


มิได้เป็นเจ้าหนี้ร่วมกัน ลูกหนี้ได้แต่จะชำาระหนี้ให้ได้ประโยชน์แก่บุคคลเหล่านั้นทั้งหมดด้วยกัน
และเจ้า หนี้ แ ต่ ล ะคนจะเรี ย กชำา ระหนี้ ไ ด้ ก็ แ ต่ เ พื่อ ได้ ป ระโยชน์ ด้ว ยกั น หมดทุ ก คนเท่ า นั้ น วิ ธี
เดียวกันนี้ใช้กับการที่ลูกหนี้วางทรัพย์เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ด้วย
5. ข้อความจริงใดที่เท้าถึงเจ้าหนี้คนหนึ่งเท่านั้น หาเป็นไปเพื่อคุณหรือโทษแก่เจ้าหนี้คนอื่นๆด้วยไม่

7.1.1 หนีท้ ี่การชำาระหนี้แบ่งชำาระได้


ในหนี้ที่แบ่งกันชำาระได้นั้น ถ้ามีลูกหนีห้ ลายคนหรือมีเจ้าหนี้หลายคน ลูกหนีห้ รือเจ้าหนี้หลายคน
เหล่านี้มีความรับผิดซึ่งกันและกันอย่างไรบ้าง
มาตรา 290 บัญญัติว่าถ้าหนี้เป็นอันจะแบ่งกันชำา ระได้ และมีบุคคลหลายคนเป็นลูกหนี้ หรือมี
บุคคลหลายคนเป็นเจ้าหนี้ เมื่อกรณีเป็นที่สงสัย ลูกหนี้แต่ละคนจะต้องรับผิดเพียงเป็นส่วนเท่าๆ กัน และเจ้า
หนี้แต่ละคนก็มีสิทธิที่จะได้รับชำา ระหนี้เพียงเป็นส่วนเท่าๆ กัน ที่กฎหมายบัญญัติว่าเมื่อกรณีเป็นที่สงสัย
เพราะเหตุว่าการที่หนี้มีลูกหนี้หลายคนหรือเจ้าหนี้หลายคนนั้น มีความหมายได้สองประการ คืออาจเป็นลูก
หนี้หรือเจ้าหนี้ธรรมดา หรืออาจเป็นลูกหนี้ร่วมหรือเจ้าหนี้ร่วมก็ได้ ซึ่งมีผลในทางกฎหมายแตกต่างกันมาก
เพราะการเป็นลูกหนี้ร่วมนั้นลูกหนี้ร่วมอาจถูกเรียกให้ชำาระโดยสิ้นเชิง และการเป็นเจ้าหนี้ร่วมก็เช่นกันคือเจ้า
หนี้มีสิทธิที่จะเรียกให้ลูกหนี้คนใดคนหนึ่งชำา ระหนี้โดยสิ้นเชิง ฉะนั้นเมื่อไม่มีพฤติการณ์แน่ชัดว่าลูกหนี้
หลายคนหรือเจ้าหนี้หลายคนนั้นเป็นลูกหนี้ร่วมหรือเจ้าหนี้ร่วมแล้ว ให้ถือว่าเป็นลูกหนี้หรือเจ้าหนี้ธรรมดา มี
ผลให้ลูกหนี้แต่ละคนมีส่วนรับผิดชอบในหนี้เพียงเป็นส่วนเท่าๆ กัน ส่วนเจ้าหนี้ก็มีสิทธิที่จะได้รับชำาระหนี้
เพียงเป็นส่วนเท่าๆ กัน ที่กฎหมายให้รับผิดชอบและรับชำาระหนี้เพียงเป็นส่วนเท่าๆ กัน เฉพาะสิทธิระหว่าง
ลูกหนี้และเจ้าหนี้เท่านั้น ส่วนข้อตกลงระหว่างลูกหนี้หรือเจ้าหนี้มีไว้อย่างไร ก็ย่อมเป็นไปตามข้อตกลงการ
แบ่งส่วนกันก็ต้องเป็นไปตามข้อตกลงระหว่างกัน

7.1.2 หนีท้ ี่การชำาระหนี้แบ่งชำาระไม่ได้


การชำาระหนี้ที่แบ่งกันชำาระไม่ได้หมายความว่าอย่างไร กฎหมายบัญญัติเกี่ยวกับการชำาระหนี้ที่แบ่ง
ชำาระไม่ได้และมีบุคคลหลายคนเป็นเจ้าหนี้แต่มิใช่เจ้าหนี้ร่วมไว้อย่างไรบ้าง
การชำาระหนี้ที่แบ่งชำาระกันไม่ได้หมายถึงหนี้สินที่ไม่สามารถแบ่งกันได้เป็นส่วน หากแบ่งออกเป็น
สัดส่วนแล้วจะไม่ทำาให้การชำาระหนี้ถูกต้องสมบูรณ์หรือทำาให้สภาพแห่งหนีเ้ ปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
หนี้ที่การชำาระหนี้แบ่งชำาระไม่ได้นั้น มาตรา 302 บัญญัติว่าถ้ามีลูกหนี้หลายคนหรือเจ้าหนี้หลาย
คนแต่ไม่ได้เป็นลูกหนี้ร่วมหรือเจ้าหนี้ร่วมลูกหนี้จะชำาระหนี้ได้ก็แต่เฉพาะแต่ให้ได้ประโยชน์ แก่เจ้าหนี้ด้วย
กันหมดทุกคนและเจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ชำาระหนี้ได้ก็เฉพาะแต่ให้ได้ประโยชน์แก่เจ้าหนี้ด้วยกันหมดทุก
คนเท่านั้น นอกจากนี้ถ้าหากมีความจำา เป็ น เจ้า หนี้จะเรี ยกให้ ลูก หนี้วางทรัพย์ไ ว้ ณ สำา นัก งานวางทรั พย์
กระทรวงยุติธรรมเพื่อให้ได้ประโยชน์แก่เจ้าหนี้ด้วยกันหมดทุกคน หรือถ้าทรัพย์ไม่สมควรแก่การจะวางขอ
ให้ศาลตั้งผู้พิทักษ์ทรัพย์เพื่อรักษาทรัพย์นั้นก็ได้
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
55

7.2 ลูกหนี้ร่วม
1. ลูกหนี้ร่วมคือ บุคคลหลายคนซึ่งมีหน้าที่ร่วมกันที่จะต้องรับผิดชำาระหนี้ต่อเจ้าหนี้จนกว่าเจ้าหนี้
จะได้รับชำาระหนี้โดยสิ้นเชิงและเกิดขึ้นได้โดยนิติกรรมสัญญาและโดยบทบัญญัติของกฎหมาย
2. ลูกหนี้คนหนึ่งชำาระหนี้ย่อมเป็นประโยชน์แก่ลูกหนี้คนอื่นด้วยการชำาระหนี้ให้รวมถึงการใดๆ
อันพึงกระทำาแทนชำาระหนี้ วางทรัพย์สินแทนชำาระหนี้และหักกลบลบหนี้ดว้ ย
3. ลูกหนี้ร่วมกันคนหนึ่งมีสิทธิเรียกร้องอะไรลูกหนี้คนอื่นๆ จะเอาสิทธินั้นไปใช้หักกลบลบหนี้ไม่
ได้
4. การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ร่วมกันคนหนึ่งนั้นย่อมเป็นประโยชน์แก่ลูกหนี้คนอื่นๆ เพียงเท่าส่วน
ของลูกหนี้ที่ได้ปลดให้ เว้นแต่จะได้ตกลงกันเป็นอย่างอื่น
5. การผิดนัดของเจ้าหนี้ต่อลุกหนี้ร่วมคนหนึ่งย่อมเป็นคุณแก่ลูกหนี้คนอื่นๆ ด้วย
6. ข้อความจริงใด เมื่อเท้าถึงตัวลูกหนี้ร่วมกับคนใดๆ ย่อมเป็นไปเพื่อคุณและโทษแต่เฉพาะแก่ลูก
หนีค้ นนั้น เว้นแต่จะปรากฏว่าขัดกับสภาพแห่งหนี้นั้นเอง
7. ในระหว่างลูกหนี้ร่วมกัน ต่างคนต่างต้องรับผิดเป็นส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่จะได้กำา หนดไว้เป็น
อย่างอื่น
8. ถ้ าส่วนที่ ลูก หนี้ร่ว มกั บคนใดคนหนึ่ งจะพึงชำา ระเป็น อันจะเรีย กเอาจากคนนั้น ไม่ ไ ด้ ยั งขาด
จำานวนอยู่เท่าไร ลูกหนี้คนอื่นๆ ก็ต้องรับใช้ แต่ถ้าลูกหนี้ร่วมกันคนใดเจ้าหนี้ได้ปลดให้หลุดพ้น
จากหนี้อันร่วมกันนั้น ส่วนที่ลูกหนี้คนนั้นจะพึงต้องชำาระหนี้ตกเป็นพับแก่เจ้าหนี้ไป

7.2.1 ลักษณะของลูกหนี้รว่ ม
ลูกหนี้ร่วมมีลักษณะสำาคัญอย่างไร อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ลักษณะสำาคัญของลูกหนี้ร่วมตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 291 นั้นมีลักษณะสำาคัญดังนี้คือ ลูกหนี้
ร่วมแต่ละคนอาจถูกเรียกร้องให้ชำาระหนี้โดยสิ้นเชิง ทั้งนี้สุดแล้วแต่เจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้ร่วมคนใดชำาระ
ถ้าลูกหนี้ร่วมชำาระหนี้โดยสิ้นเชิงแล้ว เจ้าหนี้จะเรียกให้ลูกหนี้คนอื่นชำาระหนี้อีกไม่ได้ เพราะลูกหนี้มีหน้าที่
ชำาระหนี้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ถ้าหากเจ้าหนี้เรียกถ้าหากเจ้าหนี้เรียกให้ลูกหนี้คนใดชำาระหนี้แล้วแต่ยังได้ไม่
ครบ ลูกหนี้ร่วมทุกคนก็ยังคงต้องผูกพันที่จะถูกเรียกชำาระหนี้อยู่ จนกว่าเจ้าหนี้จะได้รับชำาระหนี้โดยสิ้นเชิง
เช่น ก. ข. ค. เป็นลูกหนี้ร่วมเงินกู้ ง. ไป 3,000 บาท เมื่อหนี้ครบกำาหนดชำาระ ง. จะเรียกเก็บให้ ก.
หรือ ข. หรือ ค. คนใดคนหนึ่งหรือทุกคนชำาระหนี้ให้แก่ ง. จนสิ้นเชิงได้ หากเรียกจากคนใดคนหนึ่งได้
เพียง 1,000 บาท ส่วนที่เหลืออีก 2,000 บาท ก. ข. ค. ทั้งสามคนก็ยังคงต้องรับผิดร่วมกันชำาระ
หนี้ให้แก่ ง. อยู่จนกว่า ง. จะได้รับชำาระหนี้ทั้งหมด

7.2.2 ผลแห่งการเป็นลูกหนี้ร่วม
ผลประโยชน์ที่ได้จากการเป็นลูกหนี้ร่วมนั้นมีอะไรบ้าง

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
56

การเป็นลูกหนี้ร่วมนั้น ลูกหนี้แต่ละคนย่อมมีผลประโยชน์ได้เสียร่วมกัน ผลประโยชน์ที่ลูกหนี้ร่วม


ได้ร่วมกันนั้นคือ
1) ความไม่สมบูรณ์แห่งหนี้ ไม่ว่าหนี้นั้นจะไม่สมบูรณ์ด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม ย่อมทำาให้หนี้นั้นเกิดไม่
ได้ เมื่อไม่มีหนี้เกิดขึ้น ลูกหนี้ทุกคนก็ไม่ต้องรับผิดในหนี้เช่นหนี้ที่เกิดจากการเล่นการพนัน ซึ่งกฎหมาย
บัญญัติไว้ชัดแจ้งว่าเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ถ้ามีหนี้ประเภทนี้เกิด
ขึ้นก็เป็นหนี้ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบในหนี้ดังกล่าว
2) ความระงับแห่งหนี้ หนี้นั้นไม่ว่าจะระงับไปด้วยประการใดๆ เช่น ลูกหนี้ชำา ระหนี้ให้เจ้าหนี้
ทั้งหมด หนีก้ ็ระงับทั้งหมดหรือชำาระหนี้ไปบางส่วนหนีก็ระงับไปบางส่วน หรือมีการกระทำาอย่างอื่นเทียบได้
กับการชำาระหนี้เช่นการยอมรับเอาทรัพย์สินอื่นแทนการชำาระหนี้ การวางทรัพย์การกลบในหนี้ การปลดหนี้
เป็นต้น เมื่อหนี้ระงับไปด้วยเหตุต่างๆ ดังกล่าว ลูกหนี้ทุกคนย่อมได้ประโยชน์ด้วยกันหมดทุกคน
3) การผิดนัดของเจ้าหนี้ ตามมาตรา 294 นั้น หากเจ้าหนี้ผิดนัดต่อลูกหนี้คนหนึ่งย่อมถือว่าเจ้า
หนี้อื่นผิดนัดด้วย คือลูกหนี้ได้ประโยชน์ด้วยกันในการที่เจ้าหนี้ผิดนัดต่อลูกหนี้ร่วมกันคนใดคนหนึ่ง ทั้งนี้ก็
เพราะการเป็นลูกหนี้ร่วมนั้น เจ้าหนี้มีสิทธิที่จะเรียกให้ลูกหนี้ชำาระได้โดยสิ้นเชิง และลูกหนี้จะเลือกชำาระหนี้
ให้แก่เจ้าหนี้คนใดก็ได้ เมื่อลูกหนี้เลือกชำาระหนี้ให้เจ้าหนี้แล้ว เจ้าหนี้ผิดนัดลูกหนี้อื่นก็ย่อมได้ประโยชน์ด้วย
เพราะลูกหนี้มีหน้าที่จะต้องชำาระหนี้โดยสิ้นเชิงให้แก่เจ้าหนี้แต่เพียงครั้งเดียว

นายมั่นกับนายเหมาะได้กู้เงินนายหมายไป 6,000 บาท โดยยอมตนผูกพันเป็นลูกหนี้ร่วมต่อมา


เมื่อหนี้เงินกู้นี้ขาดอายุความแล้ว นายมั่นได้ชำา ระหนี้ให้แก่นายหมายไป 3,000 บาท แต่นายเหมาะไม่
ยอมชำาระหนี้ เช่นนี้ในหมายจะเรียกให้นายมั่นกับนายเหมาะชำาระหนี้ที่เหลือให้แก่ตนได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
เมื่อหนี้ขาดอายุความแล้วลูกหนี้ไม่จำาเป็นต้องชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ แต่เมื่อลูกหนี้ชำาระหนี้ให้แก่เจ้า
หนี้แล้วลูกหนี้จะเรียกคืนไม่ได้ตามอุทาหรณ์ หนี้ขาดอายุความแล้ว นายหมายจะเรียกให้นายมั่นนายเหมาะ
ชำาระหนี้ร่วมที่เหลือไม่ได้ หากนายหมายนำาคดีขึ้นฟ้องศาล ทั้งนายมั่นกับนายเหมาะมีสิทธิที่จะยกอายุความ
ขึ้นต่อสู้เพื่อไม่รับผิดได้ แต่ถ้าหากผู้หนึ่งผู้ใดยกอายุความขึ้นต่อสู้แต่อีกคนไม่ยกเช่นนี้ การยกไม่ยกอายุความ
ขึ้นต่อสู้นี้ย่อมเป็นไปเพื่อคุณและโทษแก่ลูกหนี้ร่วมคนนั้นโดยเฉพาะ

7.2.3 ความสัมพันธ์ระหว่างลูกหนี้รว่ ม
นายมิ่ง นายมีและนายมา กู้เงินนายแมนไป 9,000 บาท โดยยอมผูกพันตนเป็นลูกหนี้ร่วม เมื่อ
หนี้ถึงกำาหนดชำาระ นายมิ่งไม่ชำาระหนี้และได้รับอุบัติเหตุจากรถชนกันจนแขนขาขาดทั้งหมดประกอบอาชีพ
ไม่ได้ ไม่มีทรัพย์สินอะไรเลยที่จะนำาไปชำาระหนี้ได้ นายมีเองมีทรัพย์สินพอจะชำาระหนี้แต่ก็ไม่ยอมชำาระหนี้
นายมาจึงได้ชำาระหนี้ให้แก่นายแมนไปทั้งหมด 9,000 บาท เช่นนี้ นายมามีสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาจากนาย
มิ่งและนายมีได้เพียงใดหรือไม่

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
57

มาตรา 296 บัญญัติว่าในระหว่างลูกหนี้ร่วมกันทั้งหลายนั้น ต่างคนต่างรับผิดเป็นส่วนเท่าๆ กัน


เว้นแต่จะได้กำาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ถ้าส่วนที่ลูกหนี้ร่วมกันคนใดคนหนึ่งจะพึงชำา ระนั้นเป็นอันจะเรียกเอา
จากคนนั้นไม่ได้ ยังขาดจำานวนอยู่เท่าไร ลูกหนี้คนอื่นๆ ซึ่งจำาต้องออกส่วนด้วยนั้นก็ต้องรับใช้
ฉะนั้นตามอุทาหรณ์นายมิ่งไม่มีทรัพย์สินอะไรจะชำาระหนี้ นายมาจึงไม่สามารถจะเรียกให้นายมิ่ง
ชำาระได้ แต่นายมามีสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาส่วนที่จ่ายเกินไปจากนายมีได้โดยนายมีต้องรับผิดในส่วนของตน
3,000 บาท และเนื่องจากไม่สามารถเรียกให้นายมิ่งชำาระหนี้ได้ นายมีกับนายมาจะต้องเฉลี่ยกันรับผิด
ชอบในส่ ว นของนายมิ่ ง อี ก คนละ 1,500 บาท ฉะนั้ น นายมามี สิ ท ธิ ไ ล่ เ บี้ ย เอาจากนายมี ไ ด้ จำา นวน
4,500 บาท

7.3 เจ้าหนี้ร่วม
1. เจ้าหนี้ร่วมคือ ในหนี้รายเดียวกันแต่มีบุคคลหลายคนมีสิทธิเรียกร้องการชำาระหนี้โดยทำานองซึ่ง
แต่ละคนอาจจะเรียกให้ชำาระหนี้สิ้นเชิง ถึงแม้วา่ ลูกหนี้จำาต้องชำาระหนี้สิ้นเชิงแต่ผู้เดียว
2. ในหนี้ที่มีเจ้าหนี้ร่วม ลูกหนี้จะชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้คนใดคนหนึ่งก็ได้ตามแต่จะเลือก แม้เจ้าหนี้
คนหนึ่งจะได้ยื่นฟ้องเรียกชำาระหนี้ไว้แล้ว
3. เจ้าหนี้ร่วมเกิดขึ้นโดยนิติกรรมสัญญาและโดยบทบัญญัติของกฎหมาย
4. เจ้าหนี้ร่วมคนหนึ่งผิดนัดย่อมเป็นโทษแก่เจ้าหนี้คนอื่นๆด้วย
5. ถ้าสิทธิเรียกร้องและหนี้สินเป็นอันเกลื่อนกลืนกันไปในเจ้าหนี้ร่วมกันคนหนึ่ง สิทธิของเจ้าหนี้
คนอื่นๆ อันมีต่อลูกหนีย้ ่อมระงับไป
6. เจ้าหนี้ร่วมกันคนหนึ่งรับชำา ระหนี้แล้ว เจ้าหนี้คนอื่นๆจะเรียกให้ชำา ระหนี้นั้นอีกไม่ได้ การรับ
ชำาระหนี้ให้รวมถึงการรับทรัพย์สินอย่างอื่นแทนการชำาระหนี้และการหักลบหนี้ด้วย
7. การที่เจ้าหนี้ร่วมกันคนหนึ่งโอนสิทธิเรียกร้องให้แก่บุคคลอื่นๆไป หากระทบกระทั่งถึงสิทธิของ
เจ้าหนี้คนอื่นๆ ด้วยไม่
8. ถ้าเจ้าหนี้ร่วมกันคนใดคนหนึ่งปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้แล้ว มีผลให้หนี้นั้นระงับไปตามส่วนที่เจ้าหนี้
ได้ปลดให้ ถ้าปลดหนี้ให้สิ้นเชิง เจ้าหนี้คนอื่นๆก็หมดสิทธิที่จะเรียกให้ลูกหนี้ชำาระหนี้อีก
9. ถ้าข้อความจริงใดเท้าถึงเจ้าหนี้ร่วมกันคนใด ย่อมเป็นคุณและโทษแก่เจ้าหนี้คนนั้นโดยเฉพาะ ไม่
กระทบกระทั่งถึงสิทธิของเจ้าหนี้ร่วมคนอื่นๆ

7.3.1 ลักษณะของเจ้าหนี้ร่วม
เจ้าหนี้ร่วมมีลักษณะสำาคัญอย่างไร และความรับผิดในฐานะเจ้าหนี้ร่วมจะเกิดขึ้นได้ในกรณีใดบ้าง
เจ้าหนี้ร่วมมีลักษณะสำาคัญตามที่บัญญัติในมาตรา 298 ดังนี้
1. ในหนี้รายเดียว แต่มีเจ้าหนี้หลายคน
2. เจ้าหนี้คนใดคนหนึ่งมีสิทธิที่จะเรียกให้ลูกหนี้ชำาระหนี้ได้โดยสิ้นเชิง

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
58

3. ลูกหนี้จะชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้คนใดคนหนึ่งก็ได้ตามแต่จะเลือก แม้ทั้งที่เจ้าหนี้ร่วมคนหนึ่ง
ได้ฟ้องเรียกหนี้จากลูกหนี้แล้ว ลูกหนี้ดังกล่าวก็ยังมีสิทธิที่จะเลือกชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ร่วม
คนอื่นได้
ความรับผิดในฐานะเจ้าหนี้ร่วมนั้นเกิดขึ้นได้ 2 ประการคือ
1. โดยนิติกรรมสัญญา
2. โดยบทบัญญัติของกฎหมาย

7.3.2 ผลแห่งการเป็นเจ้าหนี้ร่วม
นายเด็ด นายดวง นายดำา เป็นเจ้าหนี้ร่วมให้นายเด๋อ กู้เงินไป 12,000 บาท ต่อมานายเด็ดตาย
และได้ทำาพินัยกรรมยกทรัพย์สินมรดกทั้งหมดของตนให้แก่นายเด๋อดังนี้ นายดวง กับนายดำาจะเรียกให้นาย
เด๋อชำาระเงินให้แก่ตนได้หรือไม่เพียงใด
มาตรา 299 วรรคสอง บัญญัติว่า ถ้าสิทธิเรียกร้องและหนี้สินนั้นเป็นอันเกลื่อนกลืนกันไปในเจ้า
หนีร้ ่วมกันคนหนึ่ง สิทธิของเจ้าหนี้คนอื่นๆ อันมีต่อลูกหนี้ย่อมเป็นอันระงับสิ้นไป
ฉะนั้นตามอุทาหรณ์ เมื่อนายเด็ดตาย และนายเด๋อได้รับมรดกของนายเด็ด สิทธิเรียกร้องและหนี้สิน
จึงตกแก่นายเด๋อคนเดียว เมื่อเป็นเช่นนี้หนี้รายนี้จึงเป็นอันระงับไป นายดวงกับนายดำาจึงไม่มีสิทธิเรียกให้นาย
เด๋อชำาระหนี้รายนี้ให้แก่ตนได้อีกเพราะสิทธิเรียกร้องของนายดวงกับนายดำา ที่มีต่อนายเด๋อเป็นอันระงับไป
ด้วย

7.3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหนี้ร่วม
ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 300 บัญญัติว่า “ในระหว่างเจ้าหนี้ร่วมกันนั้นเห็นว่า
ต่างคนต่างชอบที่จะได้รับชำาระหนี้เป็นส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่จะได้กำาหนดไว้เป็นอย่างอื่นนั้น” หมายความว่า
อย่างไร
หมายความว่า ถ้าเจ้าหนี้คนใดคนหนึ่งได้รับชำาระหนี้จากลูกหนี้ หรือทำา การอย่างใดๆ ให้หนี้ระงับ
เช่น รับทรัพย์อื่นแทนการชำาระหนี้ ปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ หรือหนี้เกลื่อนกลืนกันไปในเจ้าหนี้ร่วมคนใดก็ตาม
เจ้าหนี้ร่วมคนอื่นไม่มีสิทธิที่จะเรียกให้ลูกหนี้ชำาระหนี้อีกซำ้า สอง คงมีสิทธิที่จะเรียกเอาส่วนของตนจากลูก
หนี้ที่รับชำาระหนี้หรือกระทำาการเสมือนการรับชำาระหนี้ส่วนที่ว่านี้ถ้าไม่ได้ตกลงกันไว้ เจ้าหนี้ก็มีส่วนเท่าๆ
กัน ถ้ามีข้อตกลงกันไว้วา่ เจ้าหนี้คนใดมีส่วนเท่าใดก็ให้เป็นไปตามที่ตกลง

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 7

1. หนี้อันจะแบ่งกันชำา ระมิได้นั้นเกิดขึ้นได้จาก (ก) สภาพแห่งทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งการชำา ระหนี้


(ข) โดยผลของกฎหมาย (ค) โดยเจตนาของคู่กรณี

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
59

2. ก. ข. และ ค. เป็นลูกหนี้ร่วมกันกู้เงิน ง. ไป 3,000 บาท ต่อมา ก. ล้มละลายไม่มีทรัพย์สิน


อะไรที่จะชำา ระหนี้ให้ ง. ได้ และ ข. ได้ชำา ระเงิน 3,000 บาทให้แก่ ง. ไปแล้วดังนี้ ข. จะ
เรียกเงินจาก ก. และ ค. ได้หรือไม่ คำาตอบ ข. เรียกจาก ก. ไม่ได้แต่เรียกจาก ค. ได้ 1,500
บาท
3. ก. ข. ค. เป็นลูกหนี้ร่วมกันกู้เงิน ง. ไป 6,000 บาท มีข้อตกลงระหว่าง ก. ข. และ ค. ว่า
ให้ ก. รับผิดชอบ 1,000 บาท ข. รับผิดชอบ 2,000 บาท และ ค. รับผิดชอบ 3,000
บาท ดังนี้ ง. จะเรียกร้อง ก. ข. หรือ ค. ชำาระหนี้ให้แก่ตนได้เพียงใด คำาตอบ ง. เรียกร้องให้ ก.
ข. ค. ร่วมกันหรือเรียกให้คนใดคนหนึ่งชำาระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ได้
4. นายถวิลกับนายณรงค์ รับจ้างสร้างบ้านให้นายวิชัย ต่อมานายถวิลได้ขับรถบรรทุกไม้เพื่อจะนำา ไป
สร้างบ้านไปชนกับรถยนต์บุคคลอื่นโดยประมาท ไฟไหม้รถและไม้ที่บรรทุกมาทั้งหมด เช่นนี้ นาย
ถวิล นายณรงค์หรือนายวิชัย จะต้องรับผิดชอบที่ไม้เสียหายไปดังกล่าวหรือไม่ คำาตอบ นายถวิลต้อง
รับผิดเพียงผู้เดียว นายณรงค์ไม่ต้องร่วมรับผิดด้วยเพราะความเสียหายเกิดแก่ความผิดของนายถวิล
5. นายขาว นายเขียวและนายขม ทำา สัญญากู้เงินนายขามไป 9,000 บาท ต่อมาปรากฏว่านายขาว
เป็นผู้เยาว์ และนายขาวได้บอกล้างสัญญากู้แล้ว เช่นนี้ นายขาว นายเขียว และนายขม จะต้องรับผิด
ชำา ระหนี้ตามสัญญากู้หรือไม่เพียงใด คำา ตอบ นายขาวไม่ต้องรับผิด แต่นายเขียวกับนายขมรับผิด
คนละ 3,000 บาท
6. นายม้า นายแมว นายหมู เป็นลูกหนี้ร่วมกันกู้เงินนายเม่นไป 60,000 บาท ต่อมานายเม่นปลด
หนี้ให้แก่นายม้า 20,000 บาท เช่นนี้ นายเม่นจะเรียกให้นายม้า นายแมว นายหมูชำาระหนี้ให้แก่
ตนได้มากน้อยเพียงใด คำา ตอบ นายเม่นเรียกให้นายม้าชำา ระหนี้ไม่ได้ แต่เรียกให้นายแมว นายหมู
ชำาระหนี้ 40,000 บาทได้
7. นายชอบ นายชัย ทำาสัญญารับจ้างสร้างเรือยนต์ให้แก่นายชิต ต่อมานายชอบตาย นายชัยจะต้องรับผิด
สร้างเรือให้นายชิตต่อไปหรือไม่ เพราะเหตุใด คำาตอบ นายชัยจะต้องรับผิดสร้างเรือต่อไปจนเสร็จ
เพราะโดยสัญญาแล้ว นายชอบ นายชั ย จะต้อ งร่ว มกั นรับ ผิด สร้า งเรือ ให้ เสร็จ แม้ ว่าอี กคนจะไม่
สามารถร่วมสร้างให้ได้
8. ก. ข. ค. เป็นเจ้าหนี้ร่วมกันให้ ง. กู้เงินไป 900 บาท โดยไม่มีกำาหนดเวลาชำาระ ต่อมา ง. ได้
นำาเงิน 900 บาท ไปชำาระให้แก่ ก. แต่ ก. ไม่ยอมรับชำาระ อ้างว่ากำาลังจะเดินทางไปต่างจังหวัด
ไม่อยากเอาเงินไปจำานวนมากๆ ติดตัวไป เช่นนี้ ก. ข. ค. ตกเป็นผู้ผิดนัดหรือไม่ เพราะเหตุใด คำา
ตอบ ก. ข. ค. ตกเป็นผู้ผิดนัดทุกคน เพราะ ก. ข. ค. เป็นเจ้าหนี้ร่วม
9. ก. ข. ค. กู้เงิน ง. จ. ฉ. ไป 900 บาท กำาหนดชำาระคืนในวันที่ 10 มกราคม 2526 ถึง
กำาหนดชำาระ ก. ข. ค. ไม่ชำาระหนี้ ง. จ. ฉ. จะเรียกให้ ก. ข. ค. ชำาระหนี้อย่างไรจึงจะชอบ
ด้วยกฎหมาย คำาตอบ ง. จ. หรือ ฉ. คนใดคนหนึ่งเรียกให้ ก. ข. ค. ชำาระเงิน 900 บาท ได้
เพราะเป็นเจ้าหนี้ร่วมกัน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
60

10.ก. ข. ค. ซื้อม้า 1 ตัว จาก ง. ถึงกำาหนดส่งมอบม้าให้ ดังนี้ ก. ข. ค. จะมีสิทธิเรียกให้ ง. ส่ง


มอบม้าให้ได้หรือไม่เพราะเหตุใด คำาตอบ ก. ข. หรือ ค. คนใดคนหนึ่งหรือทุกคนเรียกให้ ง. ส่ง
มอบม้าให้ได้หากทุกคนยินยอม
11. นายเขียว นายเหลือง กู้เงินนายขาวไป 5,000 บาท โดยมีข้อตกลงระหว่างนายเขียว นายเหลืองว่า
นายเขียวจะรับผิดชอบ 2,000 บาท ส่วนนายเหลืองจะรับผิดชอบ 3,000 บาท ต่อมาหนี้ถึง
กำาหนดชำาระ นายเขียวนายเหลืองไม่ชำาระหนี้ นายขาวจะเรียกให้นายเขียวและนายเหลืองชำาระหนี้ให้
แก่ตนได้หรือไม่เพียงใด คำาตอบ นายขาวเรียกให้นายเขียวหรือนายเหลืองชำาระหนี้คนละ 2,500
บาท
12. ก. ข. ค. เป็นเจ้าของรถยนต์ ได้ขายรถยนต์ให้แก่ ง. ในราคา 50,000 บาท ง.ชำาระเงินแล้ว
แต่ ก. ข. ค. ไม่ยอมรับมอบรถยนต์ ให้ ง. เช่นนี้ ง. จะดำาเนินการอย่างไรจึงจะได้รับมอบรถยนต์
มาโดยชอบด้วยกฎหมาย คำาตอบ ง.เรียกให้ ก. ข. หรือ ค. คนใดคนหนึ่งส่งมอบรถยนต์ให้แก่ตน
ได้
13. ลูกหนี้ร่วมมีคุณลักษณะสำาคัญอย่างไร คำาตอบ ลูกหนีร้ ่วมนั้นลูกหนี้แต่ละคนอาจถูกเจ้าหนี้เรียกชำาระ
หนี้ได้โดยสิ้นเชิง
14. ก. ข. ค. ได้ว่าจ้างให้ ง. ไปฆ่า จ. ในราคาค่าจ้าง 12,000 บาท โดยทำาเป็นหนังสือสัญญากู้
ว่า ก. ข. ค. ได้ร่วมกันกู้เงิน จ. ไป 12,000 บาท เมื่อ ง. ฆ่า จ. ตายแล้ว ก. ข. ค. ไม่
ยอมชำา ระเงิ น ค่ า จ้ า ง ง. จึ ง ได้ นำา สั ญ ญาเงิ น กู้ ดั ง กล่ า วมาฟ้ อ งศาลเรี ย กเงิ น ตามสั ญ ญาเงิ น กู้
12,000 บาท ดังนี้ ก. ข. ค. จะต้องรับผิดเงินตามสัญญาเงินกู้หรือไม่เพียงใด คำาตอบ ก. ข.
ค. ไม่ต้องรับผิดชำาระเงินตามสัญญากู้ เพราะวัตถุประสงค์ตามสัญญาเงินกู้เป็นการขัดต่อกฎหมาย
โดยชัดแจ้ง สัญญากู้เป็นโมฆะ หนี้ตามสัญญาไม่เกิดขึ้น ลูกหนีทุกคนได้รับผลประโยชน์เหมือนกัน
หมดคือไม่ต้องชำาระหนี้ตามสัญญา
15. ก. ข. ค. เป็นเจ้าหนี้ ร่ว มกั น ให้ ง. กู้เ งิน ไป 15,000 บาท โดยลั ก ษณะที่ ใ ห้ ง. ชำา ระหนี้
ทั้งหมดให้แก่ผู้ใดก็ได้ เมื่อหนี้ถึงกำาหนดชำาระ ง. นำาเงิน 15,000 บาทไปชำาระหนี้ให้แก่ ก.
คนเดียว โดย ข. ก็รู้ แต่ ค. ไม่รู้ แต่ ก. ไม่ยอมรับชำาระหนี้โดยไม่มีมูลที่อ้างกฎหมายได้ เช่นนี้ ก.
ข. ค. ผู้ใดตกเป็นผู้ผิดนัด เพราะเหตุใด คำาตอบ ก. ข. ค. ตกเป็นผู้ผิดนัดทุกคนเพราะการผิดนัด
ของเจ้าหนี้ร่วมคนอื่นด้วย
16. นายดำา นายแดง นายดี ร่วมกันว่าจ้างนายดื่มให้สร้างเรือยนต์ให้ 1 ลำา ในราคา 100,000 บาท
นายดื่มสร้างเรือให้แล้วเสร็จ แต่นายดำา นายแดง นายดีไม่ยอมชำา ระค่าจ้างให้แก่นายดื่มตามสัญญา
สิทธิเรียกร้องเงินเช่นนี้มีอายุความ 2 ปี ต่อมาอีก 3 เดือน จะขาดอายุความ นายดำาชำาระเงินค่าจ้าง
30,000 บาท และหลังขาดอายุความแล้ว 3 เดือน แดงชำาระเงินให้ดื่มอีก 20,000 บาท
จากนั้นก็ไม่มีผู้ใดชำาระเงินให้แก่นายดื่มอีก นายดื่มจึงฟ้องเรียกเงินส่วนที่เหลือ 50,000 บาท
จากนายดำา นายแดง และนายดีหลังจากคดีขาดอายุความแล้ว 6 เดือน ทั้งสามคนได้อ้างอายุความขึ้น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
61

ต่อสู้ว่าคดีขาดอายุความแล้ว นายดื่มจะเรียกเงิน 50,000 บาท จากลูกหนี้ทั้งสามคนไม่ได้ ข้อ


ต่อสู้ของนายดำา นายแดง และนายดี จะรับฟังได้หรือไม่ เพราะเหตุใด คำาตอบ (ก) ข้อต่อสู้ของนาย
ดำารับฟังไม่ได้เพราะนายดำาชำาระหนี้บางส่วนทำาให้อายุความสะดุดหยุดลง เป็นเหตุให้อายุความเริ่ม
นับใหม่ ฟ้องสำาหรับนายดำายังไม่ขาดอายุความ (ข) ข้อต่อสู้ของนายแดงว่าคดีขาดอายุความนั้นฟัง
ขึ้น เพราะการชำาระหนี้บางส่วนของนายแดงภายหลังที่คดีขาดอายุความนั้น ไม่ทำาให้อายุความสะดุด
หยุดลง (ค) ข้อต่อสู้ของนายดีว่าขาดอายุความนั้นฟังขึ้น เพราะนายดื่มฟ้องคดีเมื่อเลยเวลา 2 ปี
แล้ว โดยนายดีไม่ได้ทำาให้อายุความสะดุดหยุดลง
17. นายเอ นายบี และนายซี ได้ร่วมกันกู้เงินของนายดีไป 9,000 บาท โดยยอมเป็นลูกหนี้ร่วมกัน
ต่อมาปรากฏว่าในขณะทำาสัญญา นายเอเป็นผู้เยาว์ นายบีถูกนายซี่ ข่มขู่ให้ทำาสัญญาเพื่อช่วยนายซี แต่
นายบีไม่กลัวคำาขู่และได้ทำาสัญญาเพื่อช่วยนายซี ภายหลังทำาสัญญากู้แล้ว นายเอ นายบี ได้บอกล้าง
สัญญากู้โดยอ้างว่าเป็นผู้เยาว์และถูกข่มขู่ตามลำาดับ เช่นนี้นายเอ นายบี นายซี จะต้องรับผิดต่อนายดี
หรือไม่เพียงใด คำาตอบ นายเอไม่ต้องรับผิด ส่วนนายบีและนายซีจะต้องรับผิดในส่วนของตนรวม
6,000 บาท
18. นายวินิจ นายวิชิต นายวิรัชเป็นเจ้าหนี้ของนายวินัยเป็นเงิน 6,000 บาท ต่อมาปรากฏว่านายวินิจ
ตาย ก่อนตายนายวินิจได้ทำาพินัยกรรมยกทรัพย์มรดกของตนทั้งหมดรวมทั้งหนี้เงินรายนี้ด้วยให้แก่
นายวินัย เช่นนี้ นายวิชิตและนายวิรัชจะมีสิทธิเรียกให้นายวินัยชำาระเงินให้แก่ตนได้เพียงใดหรือไม่
คำาตอบ นายวิชิต นายวิรัชมีสิทธิเรียกให้นายวินัยชำาระเงินให้แก่ตนได้คนละ 2,000 บาท
19. ณ สำานักงานวางทรัพย์ได้ในกรณี ที่มีเจ้าหนี้ร่วมหลายคนลูกหนี้จะชำาระหนี้ให้เจ้าหนี้คนใดคนหนึ่ง
แต่เจ้าหนี้อื่นไม่ยินยอม
20. ก. ข. ค. เป็ น เจ้ า หนี้ ร่ ว มของ ง. เป็ น เงิ น 15,000 บาท ต่ อ มา ก. ได้ ป ลดหนี้ ใ ห้ แ ก่ ง.
จำา นวน 5,000 บาท ดังนี้ ก. ข. ค. มีสิทธิที่จะเรียกให้ ง. ชำา ระได้เพียงใดหรือไม่ คำา ตอบ
ชำาระคนละ 5,000 บาท

หน่วยที่ 8 การโอนสิทธิเรียกร้อง

1. การโอนสิทธิเรียกร้องคือ นิติกรรมระหว่างเจ้าหนี้กับบุคคลภายนอก อันทำาให้สิทธิเปลี่ยนแปลงจาก


เจ้าหนี้ผู้โอนไปยังบุคคลภายนอกผู้รับโอน หนี้เดิมยังคงอยู่
2. การโอนสิทธิเรียกร้องอันจะพึงชำาระแก่เจ้าหนี้โดยเฉพาะเจาะจงจะต้องทำาเป็นหนังสือมิฉะนั้นจะไม่
สมบูรณ์ ส่วนการโอนสิทธิเรียกร้องในหนี้อันพึงชำาระตามเขาสั่ง ทำาโดยสลักหลังไว้ในตราสารและ
ส่งมอบให้แก่ผู้รับโอน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
62

3. ผลโดยทัว่ ไปของการโอนสิทธิเรียกร้อง คือผูร้ ับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน คือรับไปเพียงเท่าที่ผู้โอนมี


สิทธิอยู่ แต่ในบางกรณี ผูร้ ับโอนก็อาจมีสิทธิดีกว่าผู้โอน

8.1 หลักเกณฑ์การโอนสิทธิเรียกร้อง
สิทธิเรียกร้องที่สามารถโอนกันได้ไม่ว่าสิทธิเรียกร้องนั้น จะเกิดจากมูลหนี้อะไรและมีวัตถุแห่งหนี้
เป็นอย่างไร แต่มีข้อยกเว้น 3 ประการ ซึ่งกฎหมายบัญญัติถึงสิทธิเรียกร้องที่โอนกันไม่ได้คือ
1. สิทธิเรียกร้องซึ่งมีสภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องว่าง
2. สิทธิเรียกร้องซึ่งคู่กรณีแสดงเจตนาห้ามโอน
3. สิทธิเรียกร้องที่ศาลยึดไม่ได้

8.1.1 ลักษณะทัว่ ไปของการโอนสิทธิเรียกร้อง


การโอนสิทธิเรียกร้องมีหลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
การโอนสิทธิเรียกร้อง เป็นนิติกรรมระหว่างเจ้าหนี้กับบุคคลภายนอก อันทำา ให้สิทธิเปลี่ยนจากเจ้า
หนีผ้ ู้โอนไปยังบุคคลภายนอกผู้รับโอน หนี้เดิมยังคงอยู่ การโอนสิทธิเรียกร้องใดๆ ย่อมมี ไม่ว่าสิทธิเรียกร้อง
จะเกิดจากมูลหนี้อะไร เว้นแต่ที่กฎหมายบัญญัติห้ามโอนไว้

8.1.2 สิทธิเรียกร้องที่โอนกันไม่ได้
ข้อยกเว้นของการโอนสิทธิเรียกร้องมีอย่างไร อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
ข้อยกเว้นสิทธิเรียกร้องที่กฎหมายห้ามโอน คือ
1. สิทธิเรียกร้องซึ่งสภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่อง
2. สิทธิเรียกร้องซึ่งคู่กรณีมีเจตนาห้ามโอน
3. สิทธิเรียกร้องที่ศาลยึดไม่ได้

8.2 แบบของการโอนสิทธิเรียกร้อง
1. การโอนสิทธิเรียกร้องในหนี้อันพึงต้องชำาระแก่เจ้าหนี้คนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง ถ้ามิได้ทำา
เป็นหนังสือ ไม่สมบูรณ์ การโอนนั้นจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได้แต่
เมื่อได้บอกกล่าวการโอนไปยังลูกหนี้ หรือลูกหนี้จะได้ยินยอมด้วย ในการโอนนั้น คำาบอก
กล่าวหรือคำายินยอมเช่นว่านี้ ต้องทำาเป็นหนังสือ
2. การโอนสิทธิเรียกร้องในหนี้อันพึงต้องชำา ระตามเขาสั่ง จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้หรือ
บุคคล ภายนอกได้ เมื่อการโอนนั้นได้สลักหลังไว้ในตราสารและได้ส่งมอบตัวตราสารนั้น
ให้แก่ผรู้ ับโอนไปด้วย

8.2.1 การโอนสิทธิเรียกร้องในหนี้อันพึงต้องชำาระแก่เจ้าหนี้คนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
63

ก. เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ ข. 20,000 บาท ต่อมา ก. โอนสิทธิเรียกร้องให้ ค. โดยทำาเป็นหนังสือ


และ ค. ได้ส่งจดหมายบอกกล่าวการโอนไปยัง ข. โดยโทรศัพท์ไปบอก ข. แต่ ข. ไม่อยู่ จึงบอกลูกจ้าง
ของ ข. ไว้ แต่ ข. ได้ชำาระหนี้ให้แก่ ก. ก่อนที่ ข. จะกลับบ้าน ดังนี้ ค. จะเรียกให้ ข. ชำาระหนี้ตามสิทธิ
เรียกร้องซึ่งตนได้รับโอนมาจาก ก. ได้อย่างไร หรือไม่
ตามมาตรา 306 การโอนสิทธิเรียกร้องที่จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้ได้เมื่อได้บอกกล่าวการโอน
ไปยังลูกหนี้เป็นหนังสือ แต่ ค. มิได้ทำาตามมาตรา 306 และ ข. ได้ชำาระหนี้แก่ ก. ผู้โอนไปแล้ว ก. ไม่
ต้องรับผิดชดใช้เงินจำานวนนั้นต่อ ค. อีก
มาตรา 306 การโอนหนี้อันจะพึงต้องชำาระแก่เจ้าหนี้คนหนึ่งโดย เฉพาะเจาะจงนั้น ถ้าไม่ทำาเป็น
หนังสือ ท่านว่าไม่สมบูรณ์ อนึ่งการ โอนหนี้นั้นท่านว่าจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได้ แต่
เมื่อได้บอกกล่าวการโอนไปยังลูกหนี้ หรือลูกหนี้จะได้ยินยอมด้วย ในการโอนนั้น คำา บอกกล่าวหรือความ
ยินยอมเช่นว่านี้ท่านว่าต้องทำา เป็นหนังสือ
ถ้าลูกหนี้ทำาให้พอแก่ใจผู้โอนด้วยการใช้เงิน หรือด้วยประการอื่น เสียแต่ก่อนได้รับบอกกล่าว หรือ
ก่อนได้ตกลงให้โอนไซร้ ลูกหนี้นั้น ก็เป็นอันหลุดพ้นจากหนี้

8.2.2 การโอนสิทธิเรียกร้องในหนี้อันพึงต้องชำาระตามเขาสั่ง
ก. เขียนเช็คสั่งจ่ายให้ ข. ข. สลักหลังโอนเช็คให้แก่ ง. แต่ยังไม่ได้ส่งมอบให้ ง. ดังนี้ ง. จะ
เป็นผู้รับโอนโดยมีสิทธิเรียกให้ธนาคารจ่ายเงินแก่ตนได้หรือไม่
ตามมาตรา 309 ผู้รับโอนจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้ได้แต่เฉพาะเมื่อการโอนนั้นได้สลักหลังไว้
ในตราสาร และตัวตราสารนั้นได้ส่งมอบให้แก่ผู้รับโอนไปด้วย แต่ ง. ยังไม่ได้รับโอนเช็ค ง. ยังไม่มีสิทธิ
เรียกร้องให้ธนาคารจ่ายเงินให้ตน
มาตรา 309 การโอนหนี้อันพึงต้องชำาระตามเขาสั่งนั้น ท่านว่า จะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้ หรือ
บุคคลภายนอกคนอื่นได้แต่เฉพาะ เมื่อการโอนนั้นได้สลักหลังไว้ในตราสาร และตัวตราสารนั้นได้ส่งมอบ ให้
แก่ผู้รับโอนไปด้วย

8.3 ผลของการโอนสิทธิเรียกร้อง
1. ถ้าพิพาทอ้างสิทธิในการโอนต่างราย โอนรายใดได้บอกกล่าวหรือตกลงก่อนโอนรายนั้นมีสิทธิดี
กว่าโอนรายอื่นๆ
2. เมื่อมีการโอนสิทธิเรียกร้อง สิทธิเรียกร้องจากผู้โอนย่อมตกได้แก่ผู้รับโอน หากสิทธิเรียกร้องนั้น
มีทั้งหนี้ประธานและหนี้อุปกรณ์ เมื่อหนี้ประธานโอนไปยังผู้รับโอนแล้ว หนี้อุปกรณ์คือจำานอง
จำานำา คำ้าประกันย่อมโอนไปแก่ผู้รับโอนด้วย
3. เมื่อโอนสิทธิเรียกร้องแล้ว ผู้รับโอนกลายมาเป็นเจ้าหนี้ใหม่ ลูกหนี้ต้องรับชำาระหนี้แก่ผู้รับโอน
โดยตรง

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
64

4. เมื่อลูกหนี้ให้ความยินยอมในการโอนสิทธิเรียกร้องโดยไม่อิดเอื้อน ลูกหนี้จะยกข้อต่อสู้ผู้รับโอน
ไม่ได้ แต่ถ้าลูกหนี้มิได้ยินยอมด้วยแล้วเป็นแต่ได้รับคำาบอกกล่าวการโอน ลูกหนี้มีข้อต่อสู้ผู้โอน
อย่างไรก็ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ผู้รับโอนได้
5. ในกรณีการโอนสิทธิเรียกร้องในมูลหนี้อันพึงต้องชำาระตามเขาสั่ง ลูกหนี้จะยกข้อต่อสู้ซึ่งมีต่อเจ้า
หนี้เดิมมาเป็นข้อต่อสู้ผู้รับโอนโดยสุจริตนั้นไม่ได้ เว้นแต่ที่ปรากฏในตัวตราสารนั้นเอง หรือที่มี
ขึ้นเป็นธรรมดาสืบจากลักษณะแห่งตราสารนั้น

8.3.1 ผลระหว่างผู้รับโอนต่างรายและผลระหว่างผู้โอนกับผู้รับโอน
ผลในกฎหมายระหว่างผู้โอนสิทธิเรียกร้อง และผู้รับโอนสิทธิเรียกร้องนั้นมีอย่างไรบ้าง
ผลในกฎหมายระหว่างผู้โอนกับผู้รับโอนสิทธิเรียกร้อง คือ สิทธิเรียกร้องจากผู้โอนย่อมตกได้แก่ผู้รับ
โอน โดยทำาให้ผู้รับโอนเข้ามาเป็นเจ้าหนี้แทนผู้โอน และหนี้อุปกรณ์ทั้งหลายซึ่งเกี่ยวข้องกับสิทธิเรียกร้อง
คือจำานอง จำานำา คำ้าประกัน ย่อมโอนไปแก่ผู้รับโอนด้วย

8.3.2 ผลระหว่างผู้รับโอนกับลูกหนี้
ก. เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ ข. อยู่ 5,000 บาท ข. ได้ชำาระหนี้ให้แก่ ก. ไปแล้ว 3,000 บาท ต่อ
มาภายหลัง ก. โอนสิทธิเรียกร้องซึ่งมีอยู่เหนือ ข. ให้ ค. ค.จึงบอกกล่าวการโอนแก่ ข. เป็นหนังสือโดย
ข. มิได้ยินยอมด้วย ค. จะเรียกให้ ข. ชำาระหนี้แก่ตนทั้ง 5,000 บาท ได้หรือไม่
ตามมาตรา 308 วรรคสอง ลูกหนี้มีสิทธิยกข้อต่อสู้ทุกอย่างที่ตนมีอยู่ต่อผู้โอนมาต่อสู้กับผู้รับโอน
ได้ ดังนั้น เมื่อ ข. ชำาระหนี้ให้ ก. ไปแล้ว 3,000 บาท ก็ชอบที่จะยกข้อต่อสู้นี้มาสู้กับ ค. ผลคือ ข.
ต้องชำาระหนี้ที่ค้างอยู่เพียง 2,000 บาทให้แก่ ค.

มาตรา 308 ถ้าลูกหนี้ได้ให้ความยินยอมดังกล่าวมาใน มาตรา 306 โดยมิได้อิดเอื้อน ท่านว่า


จะยกข้อต่อสู้ที่มีต่อผู้โอนขึ้นต่อสู้ผู้รับ โอนนั้นหาได้ไม่ แต่ถ้าเพื่อจะระงับหนี้นั้นลูกหนี้ได้ใช้เงินให้แก่ผโู้ อน
ไปไซร้ลูกหนี้จะเรียกคืนเงินนั้นก็ได้ หรือถ้าเพื่อการเช่นกล่าวมานั้น ลูกหนี้รับภาระเป็นหนี้อย่างใดอย่างหนึ่ง
ขึ้นใหม่ต่อผู้โอน จะถือเสมือน หนึ่งว่าหนี้นั้นมิได้ก่อขึ้นเลยก็ได้
ถ้าลูกหนี้เป็นแต่ได้รับคำาบอกกล่าวการโอน ท่านว่าลูกหนี้มีข้อ ต่อสู้ผู้โอนก่อนเวลาที่ได้รับคำาบอก
กล่าวนั้นฉันใด ก็จะยกขึ้นเป็น ข้อต่อสู้แก่ผู้รับโอนได้ฉันนั้น ถ้าลูกหนี้มีสิทธิเรียกร้องจากผู้โอน แต่สิทธินั้น
ยังไม่ถึงกำาหนดในเวลาบอกกล่าวไซร้ ท่านว่าจะเอา สิทธิเรียกร้องนั้นมาหักกลบลบกันก็ได้ หากว่าสิทธินั้นจะ
ได้ถึงกำาหนด ไม่ชา้ กว่าเวลาถึงกำาหนดแห่งสิทธิเรียกร้องอันได้โอนไปนั้น

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 8

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
65

1. การโอนสิทธิเรียกร้อง คือนิติกรรมระหว่างเจ้าหนี้กับบุคคลภายนอก อันทำาให้สิทธิเปลี่ยนจากเจ้าหนี้


ผู้โอนไปยังบุคคลภายนอกผู้รับโอน โดยหนี้เดิมยังคงอยู่
2. การโอนสิทธิเรียกร้องอันจะพึงชำาระแก่เจ้าหนี้โดยเฉพาะเจาะจงจะต้องทำาเป็นหนังสือ
3. การโอนสิทธิเรียกร้องในหนี้อันพึงชำาระตามเขาสั่ง ต้องทำาโดยสลักหลังในตราสารและส่งมอบให้แก่
ผู้รับโอน
4. สิทธิเรียกร้องดังต่อไปนี้ โอนกันไม่ได้ คือ (ก) สิทธิเรียกร้องซึ่งสภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่อง (ข)
สิทธิเรียกร้องซึ่งคู่กรณีแสดงเจตนาห้ามโอน (ค) สิทธิเรียกร้องซึ่งศาลยึดไม่ได้
5. การโอนสิทธิเรียกร้องโดยไม่บอกกล่าวลูกหนี้ หรือลูกหนี้ไม่ยินยอมด้วยมีผลทำา ให้ ยกขึ้นเป็นข้อ
ต่อสู้ลูกหนี้ไม่ได้
6. ก. เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ ข. อยู่ 30,000 บาท แต่ว่าหนีน้ ั้นขาดอายุความแล้วต่อมา ก. ได้โอนสิทธิ
เรียกร้องในหนี้นี้ให้ ค. โดย ข. ก็ให้ความยินยอมโดยไม่อิดเอื้อน ค. จะเรียกให้ ข. ชำาระหนี้เงิน
จำานวน 30,000 บาท แก่ตน ได้เพราะ ข. ยินยอมจึงต้องชำาระเต็มทั้ง 30,000 บาท
7. สิทธิเรียกร้องที่โอนกันได้คือ สิทธิในหนี้เงินกู้
8. ก. กู้เงิน ข. ไป 5,000 บาท และตกลงกันว่า ข. จะไม่โอนสิทธิเรียกร้องไปยังผู้อื่น ต่อมา ข.
โอนสิทธิเรียกร้องในหนี้รายนี้ให้ ค. บุคคลภายนอกผู้สุจริตซึ่งเป็นการฝ่าฝืนข้อตกลง ดังนี้ ก. จะ
ปฏิเสธไม่ยอมชำาระหนี้แก่ ค. ได้หรือไม่ ไม่ได้เพราะ ค. เป็นบุคคลภายนอกซึ่งสุจริตและต้องเสีย
หายจากข้อตกลงดังกล่าว
9. การโอนสิทธิเรียกร้องเป็นการเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้ แต่หนี้เดิมไม่ระงับ

หน่วยที่ 9 ความระงับแห่งหนี้

1. หนี้เมื่อเกิดขึ้นและมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมายแล้ว อาจระงับลงได้ในหลายๆ กรณีต่างๆ กัน การชำาระ


หนี้เป็นวิธีการหนึ่งซึ่งมีผลทำาให้หนี้ระงับ คือ ความผูกพันระหว่างเจ้าหนี้ ลูกหนี้ที่มีอยู่ในมูลหนี้นั้น
เป็นอันสิ้นสุดลง แต่การชำาระหนี้ที่จะมีผลทำาให้หนี้ระงับลงได้นั้นต้องเป็นการชำาระหนี้โดยชอบ
2. การปลดหนี้ก็เป็นวิธีการระงับหนี้อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเจ้าหนี้สละสิทธิเรียกร้องที่ตนมีอยู่ในมูลหนี้ให้แก่ลูก
หนีโ้ ดยเสน่หา ไม่คิดค่าตอบแทนใดๆ

การชำาระหนี้
1. บุคคลที่จะมีอำานาจชำาระหนี้ได้โดยชอบนั้น ปกติได้แก่ ตัวลูกหนี้ แต่บุคคลภายนอกก็อาจเข้ามา
ชำาระหนี้แก่เจ้าหนี้แทนลูกหนี้ได้ หากสภาพแห่งหนี้เปิดช่องให้และไม่เป็นการขัดกับเจตนาอันคู่
กรณีได้แสดงไว้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
66

2. การชำาระหนี้โดยชอบต้องชำาระแก่บุคคลผู้มีอำานาจรับชำาระหนี้ อันได้แก่ตัวเจ้าหนี้เองและบุคคล
อื่นๆ ซึ่งกฎหมายบัญญัติให้มีการให้มีอำานาจรับชำาระหนี้
3. การชำาระหนี้ให้ถูกต้องตามความประสงค์ที่แท้จริงของมูลหนี้ ซึ่งเป็นการชำาระหนี้โดยชอบนั้น
นอกจากจะต้องพิจารณาในเรื่องผู้ชำาระหนี้และผู้รับชำาระหนี้แล้ว การชำาระหนี้นั้นต้องชอบด้วย
วัตถุแห่งการชำาระหนี้ สถานที่ชำาระหนี้ และค่าใช้จ่ายในการชำาระหนี้ด้วย
4. หลักฐานแห่งการชำาระหนี้มีไว้เพื่อประโยชน์ของผู้ชำาระหนี้ในการที่จะพิสูจน์ในเบื้องต้นว่า หนี้
ได้ระงับลงแล้วด้วยการชำาระหนี้
5. การจัดสรรชำาระหนี้เป็นความจำา เป็นในกรณีที่ลูกหนี้มีหนี้อยู่หลายราย หรือหนี้รายเดียวซึ่งต้อง
ชำาระหลายอย่าง แล้วลูกหนี้ไม่สามารถชำาระได้ครบหมดทุกรายหรือทุกอย่างในการชำาระหนี้ครั้ง
หนึ่งๆ
6. เมื่อใดมีการขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบแล้ว ย่อมมีผลทำาให้บรรดาความรับผิดชอบของลูกหนี้
อันจะเกิดจากการไม่ชำาระหนี้ เป็นอันได้ปลดเปลื้องไป นับแต่เวลาที่ขอปฏิบัติการชำาระหนี้นั้น

ผู้ชำาระหนี้
หลักเกณฑ์สำาหรับบุคคลภายนอกที่จะเข้าชำาระหนี้แทนลูกหนี้ได้โดยชอบนั้น มีสาระสำาคัญอย่างไร
อธิบาย
ผู้ทชี่ ำาระหนี้ได้โดยชอบได้แก่บุคคลต่อไปนี้
(1)ตัวลูกหนี้เอง
(2)บุคคลภายนอกซึ่งเข้าชำาระหนี้แทนลูกหนี้ได้
ตาม มาตรา 14 วางข้อยกเว้นมิให้บุคคลภายนอกชำาระหนี้แทนลูกหนี้ได้มี 3 ประการ คือ
1. เมื่อสภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้บุคคลภายนอกชำาระหนี้แทนได้ เพราะเป็นกรณีที่
วัตถุแห่งหนี้เป็นการกระทำาหรืองดเว้นการกระทำา ซึ่งโดยสภาพของหนี้เป็นเรื่องที่
เกี่ยวกับความสามารถเฉพาะตัวของลูกหนี้ หรือเป็นการที่ลูกหนี้จะต้องปฏิบัติการ
ชำาระหนี้ด้วยตนเอง การชำา ระหนี้นั้นจึงจะสำา เร็จผลตามความประสงค์อันแท้จริง
ของมูลหนี้
2. ถ้าคู่กรณีแสดงเจตนาไว้ว่าบุคคลภายนอกจะทำา การชำา ระหนี้ไม่ได้เช่นนี้ บุคคล
ภายนอกก็ จ ะเข้ า ทำา การชำา ระหนี้ ไ ม่ ไ ด้ การแสดงเจตนาต้ อ งเป็ น เรื่ อ งตกลงกั น
ระหว่างเจ้าหนี้และลูกหนี้
3. บุคคลภายนอกซึ่งไม่มีส่วนได้เสียในการชำาระหนี้ จะเข้าชำาระหนี้โดยขืนใจลูกหนี้
ไม่ได้ เพราะอาจเป็นเรื่องเกี่ยวกับเกียรติยศชื่อเสียงของลูกหนี้

มาตรา 314 อันการชำาระหนี้นั้นท่านว่าบุคคลภายนอกจะเป็นผู้ชำาระก็ได้ เว้นแต่สภาพแห่งหนี้


จะไม่เปิดช่องให้บุคคลภายนอกชำาระ หรือจะขัดกับเจตนาอันคู่กรณีได้แสดงไว้
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
67

บุคคลผู้ไม่มีส่วนได้เสียด้วยในการชำาระหนี้นั้น จะเข้าชำาระหนี้โดย ขืนใจลูกหนี้หาได้ไม่

ก. และ ข. ร่วมกันกู้เงินจาก ค. มา 1,000 บาท เมื่อถึงกำา หนดชำา ระ ก. นำา เงิน 1,000


บาท พร้อมดอกเบี้ยไปชำาระให้แก่ ค. โดย ข. ไม่ยินยอม ค. รับชำาระหนี้ไว้ หนี้รายนี้ระงับหรือไม่ เพราะ
เหตุใด
กรณีตามอุทาหรณ์ นี้ไม่เข้าตามมาตรา 314 ก. เป็นลูกหนี้ร่วมกับ ข. จึงเข้าชำาระหนี้โดยขืนใจ
ข. ได้ เพราะมีส่วนได้เสียตามบทบัญญัติในเรื่องลูกหนี้ร่วม (มาตรา 291 และ มาตรา 292) ก. ไม่ใช่
บุคคลภายนอกตามมาตรา 314

มาตรา 291 ถ้าบุคคลหลายคนจะต้องทำา การชำาระหนี้โดยทำานอง ซึ่งแต่ละคนจำา ต้องชำา ระหนี้


สิ้นเชิงไซร้ แม้ถึงว่าเจ้าหนี้ชอบที่จะได้รับ ชำาระหนี้สิ้นเชิงได้แต่เพียงครั้งเดียว (กล่าวคือลูกหนี้ร่วมกัน) ก็ดี
เจ้าหนี้จะเรียกชำาระหนี้จากลูกหนี้แต่คนใดคนหนึ่งสิ้นเชิง หรือแต่ โดยส่วนก็ได้ตามแต่จะเลือกแต่ลูกหนี้ทั้ง
ปวงก็ยังคงต้องผูกพันอยู่ ทั่วทุกคนจนกว่าหนีน้ ั้นจะได้ชำาระเสร็จสิ้นเชิง
มาตรา 292 การที่ลูกหนี้ร่วมกันคนหนึ่งชำาระหนี้นั้นย่อมได้เป็น ประโยชน์แก่ลูกหนี้คนอื่น ๆ
ด้วย วิธีเดียวกันนี้ท่านให้ใช้บังคับแก่ การใด ๆ อันพึงกระทำาแทนชำาระหนี้ วางทรัพย์สินแทนชำาระหนี้ และ
หักกลบลบหนี้ด้วย
ลูกหนี้ร่วมกันคนหนึ่งมีสิทธิเรียกร้องอย่างไร ลูกหนี้คนอื่น ๆ จะเอาสิทธิอันนั้นไปใช้หักกลบลบ
หนีห้ าได้ไม่

ผู้รับชำาระหนี้
บุคคลผู้มีอำานาจรับชำาระหนี้ ได้แก่ บุคคลประเภทใดบ้าง อธิบาย
บุคคลผู้มีอำานาจรับชำาระหนี้ได้โดยชอบได้แก่
1) เจ้าหนี้กับผู้มีอำานาจรับชำาระหนี้ ตามมาตรา 315
2) ผู้ครองตามปรากฏแห่งสิทธิ ตามมาตรา 316
3) ผู้ไม่มีสิทธิรับชำาระหนี้ได้รับชำาระหนี้ ตามมาตรา 317
4) ผู้ถือใบเสร็จ ตามมาตรา 318
5) กรณีลูกหนี้ได้รับคำาสั่งอายัดจากศาล ตามมาตรา 319

มาตรา 315 อันการชำา ระหนี้นั้น ต้องทำา ให้แก่ตัวเจ้าหนี้หรือแก่ บุคคลผู้มีอำา นาจรับชำา ระหนี้


แทนเจ้าหนี้ การชำาระหนี้ให้แก่บุคคลผู้ ไม่มีอำานาจรับชำาระหนี้นั้น ถ้าเจ้าหนี้ให้สัตยาบันก็นับว่าสมบูรณ์
มาตรา 316 ถ้าการชำาระหนี้นั้นได้ทำา ให้แก่ผู้ครองตามปรากฏ แห่งสิทธิในมูลหนี้ ท่านว่าการ
ชำาระหนี้นั้นจะสมบูรณ์ก็แต่เมื่อบุคคล ผูช้ ำาระหนี้ได้กระทำาการโดยสุจริต

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
68

มาตรา 317 นอกจากกรณีที่กล่าวไว้ใน มาตรา ก่อน การชำาระหนี้ แก่บุคคลผู้ไม่มีสิทธิจะได้รับ


นัน้ ท่านว่าย่อมสมบูรณ์เพียงเท่าที่ตัว เจ้าหนี้ได้ลาภงอกขึ้นแต่การนั้น
มาตรา 318 บุคคลผู้ถือใบเสร็จเป็นสำาคัญ ท่านนับว่าเป็นผู้มีสิทธิจะได้ชำาระหนี้ แต่ความที่กล่าว
นี้ท่านมิให้ใช้ ถ้าบุคคลผู้ชำาระหนี้รู้ว่าสิทธินั้น หามีไม่ หรือไม่รู้เท่าถึงสิทธินั้นเพราะความประมาทเลินเล่อ
ของตน
มาตรา 319 ถ้าศาลสั่งให้ลูกหนี้คนที่สามงดเว้นทำาการชำาระหนี้แล้ว ยังขืนชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้
ของตนเองไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ผู้ที่ร้องขอ ให้ยึดทรัพย์จะเรียกให้ลูกหนี้คนที่สามนั้นทำาการชำาระหนี้อีกให้คุ้ม
กับ ความเสียหายอันตนได้รับก็ได้
อนึ่ง ข้อความซึ่งกล่าวมาในวรรคข้างต้นนี้หาเป็นข้อขัดขวางใน การที่ลูกหนี้คนที่สามจะใช้สิทธิไล่
เบี้ยเอาแก่เจ้าหนี้ของตนเองนั้นไม่

ดำา ขับรถไปชนกับรถของแดงซึ่งเอาประกันไว้กับบริษัทประกันภัย รถของแดงเสียหายต้องเสียค่า


ซ่อม 3,000 บาท ซึ่งบริษัทประกันภัยชำาระให้แก่แดงไปตามสัญญาประกัน แล้วเรียกร้องให้ดำาชดใช้เงิน
จำานวนดังกล่าว ดำาเห็นว่าบริษัทประกันภัยไม่ใช่เจ้าของรถที่ถูกรถของตนชน จึงชำาระให้แก่แดงไป การชำาระ
หนีข้ องดำาเป็นการชำาระหนี้โดยชอบหรือไม่ เพราะเหตุใด
กรณีตามอุทาหรณ์ บริษัทประกันภัยเข้ารับช่วงสิทธิของแดงตามกฎหมาย มาตรา 226 มาตรา
227 จึงชอบที่จะใช้สิทธิที่แดงมีอยู่ ต่อดำาผู้กระทำาละเมิดได้ ในนามของตนเอง บริษัทประกันภัยจึงเป็นผู้มี
อำานาจ รับชำาระหนี้โดยชอบ เพราะอำานาจรับชำาระหนี้ของแดงหมดไปแล้ว การที่ดำาชำาระหนี้ให้แก่แดงไป จึง
เป็นการกระทำาโดยมิชอบ บริษัทประกันภัยมีสิทธิเรียกร้องให้ดำาชำาระเงินดังกล่าวซำ้าสองได้

มาตรา 226 บุคคลผู้รับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ ชอบที่จะใช้สิทธิ ทั้งหลายบรรดาที่เจ้าหนี้มีอยู่โดย


มูลหนี้ รวมทั้งประกันแห่งหนี้นั้น ได้ในนามของตนเอง
ช่วงทรัพย์ ได้แก่เอาทรัพย์สินอันหนึ่งเข้าแทนที่ทรัพย์สินอีก อันหนึ่งในฐานะนิตินัยอย่างเดียวกัน
กั บ ท รั พ ย์ สิ น อั น ก่ อ น
มาตรา 227 เมื่อเจ้าหนี้ได้รับค่าสินไหมทดแทนความเสียหายเต็ม ตามราคาทรัพย์หรือสิทธิซึ่ง
เป็นวัตถุแห่งหนี้นั้นแล้ว ท่านว่าลูกหนี้ย่อม เข้าสู่ฐานะเป็นผู้รับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้อันเกี่ยวกับทรัพย์หรือ
สิทธิ นัน้ ๆ ด้วยอำานาจกฎหมาย

หลักเกณฑ์ทั่วไปในการชำาระหนี้
การชำาระหนี้ให้ถูกต้องตามความประสงค์ที่แท้จริงของมูลหนี้ นอกเหนือจากเรื่องกำาหนดเวลาชำาระ
และตัวบุคคลผู้มีอำานาจชำาระหนี้และรับชำาระหนี้แล้ว ยังควรต้องคำานึงถึงกรณีใดอีกบ้าง อธิบายพอสังเขป
ต้องชอบด้วยวัตถุแห่งการชำาระหนี้ สถานทีใ่ นการชำาระหนี้ และค่าใช้จ่ายในการชำาระหนี้ ตามมาตรา
320 –มาตรา 325

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
69

มาตรา 320 อันจะบังคับให้เจ้าหนี้รับชำาระหนี้แต่เพียงบางส่วน หรือให้รับชำาระหนี้เป็นอย่างอื่น


ผิดไปจากที่จะต้องชำาระแก่เจ้าหนี้นั้น ท่านว่าหาอาจจะบังคับได้ไม่
มาตรา 321 ถ้าเจ้าหนี้ยอมรับการชำาระหนี้อย่างอื่นแทนการ ชำาระหนี้ที่ได้ตกลงกันไว้ ท่านว่า
หนีน้ ั้นก็เป็นอันระงับ สิ้นไป
ถ้าเพื่อที่จะทำาให้พอแก่ใจเจ้าหนี้นั้น ลูกหนีร้ ับภาระเป็นหนี้อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นใหม่ ต่อเจ้าหนี้ไซร้
เมื่อกรณีเป็นที่สงสัย ท่านมิให้สันนิษฐานว่าลูกหนี้ได้ก่อหนี้นั้นขึ้นแทนการชำาระหนี้
ถ้าชำา ระหนี้ด้วยออก-ด้วยโอน-หรือด้วยสลักหลังตั๋วเงิน หรือประทวนสินค้า ท่านว่าหนี้นั้นจะ
ระงับสิ้นไปต่อเมื่อตั๋วเงินหรือประทวน สินค้านั้นได้ใช้เงินแล้ว
มาตรา 322 ถ้าเอาทรัพย์ก็ดี สิทธิเรียกร้องจากบุคคลภายนอกก็ดี หรือสิทธิอย่างอื่นก็ดี ให้แทน
การชำาระหนี้ ท่านว่าลูกหนี้จะต้องรับ ผิดเพื่อชำารุดบกพร่องและเพื่อการรอนสิทธิทำานองเดียวกับผู้ขาย
มาตรา 323 ถ้าวัตถุแห่งหนี้เป็นอันให้ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง ท่านว่าบุคคลผู้ชำาระหนี้จะต้องส่ง
มอบทรัพย์ตามสภาพที่เป็นอยู่ใน เวลาที่จะพึงส่งมอบ
ลูกหนี้จำาต้องรักษาทรัพย์นั้นไว้ด้วยความระมัดระวัง เช่นอย่าง วิญญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สินของ
ตนเอง จนกว่าจะได้ส่งมอบทรัพย์นั้น
มาตรา 324 เมื่อมิได้มีแสดงเจตนาไว้โดยเฉพาะเจาะจงว่าจะ พึงชำาระหนี้ ณ สถานทีใ่ ดไซร้ หาก
จะต้องส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง ท่านว่าต้องส่งมอบกัน ณ สถานที่ซึ่งทรัพย์นั้นได้อยู่ในเวลาเมื่อก่อ ให้เกิดหนี้
นัน้ ส่วนการชำาระหนี้โดยประการอื่น ท่านว่าต้องชำาระ ณ สถานที่ซึ่งเป็นภูมิลำาเนาปัจจุบันของเจ้าหนี้
มาตรา 325 เมื่อมิได้มีแสดงเจตนาไว้ในข้อค่าใช้จ่ายในการชำาระ หนี้ท่านว่าฝ่ายลูกหนี้พึงเป็นผู้
ออกค่าใช้จ่าย แต่ถ้าค่าใช้จ่ายนั้นมี จำานวนเพิ่มขึ้นเพราะเจ้าหนี้ย้ายภูมิลำาเนาก็ดี หรือเพราะการอื่นใด อันเจ้า
หนี้ได้กระทำาก็ดี ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเท่าใดเจ้าหนี้ต้องเป็นผู้ออก

หลักฐานแห่งการชำาระหนี้
หลักฐานแห่งการชำาระหนี้มีประโยชน์อย่างไรสำาหรับผู้ชำาระหนี้ ให้เหตุผลตามมาตรา 326 และ
มาตรา 327
หลักฐานแห่งการชำา ระหนี้มีประโยชน์ต่อลูกหนี้ สำา หรับการพิสูจน์ข้อเท็จจริงว่าหนี้ได้มีการชำา ระ
แล้ว ซึ่งหลักฐานดังกล่าว เช่น ใบเสร็จรับเงิน หรือการเวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งหนี้นั้นเป็นสิ่งที่จะ
สามารถนำามาพิสูจน์ได้ดีกว่าพยานบุคคลซึ่งอาจมีการหลงลืมหรือเบิกความเท็จได้

การจัดสรรชำาระหนี้
หลักเกณฑ์ในเรื่องการจัดสรรชำาระหนี้เกิดขึ้นโดยอาศัยเหตุผลอย่างไร และมีสาระสำาคัญอย่างไรบ้าง
อธิบาย

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
70

เหตุผลในเรื่องการจัดสรรชำาระหนี้เป็นลำาดับก่อนหลังก็เพื่อขจัดปัญหาข้อโต้ถียงที่อาจเกิดขึ้นได้ใน
กรณีลูกหนี้เป็นหนี้ต่อเจ้าหนี้คนเดียวกันในมูลหนี้หลายราย เช่น เป็นหนี้เงินกู้บ้าง หนี้ค่าเช่าบ้าง หรือหนี้ราย
เดียวกันแต่มีการต้องชำาระหนี้หลายอย่าง เช่น เป็นหนี้เงินกู้ ต้องชำาระทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย เป็นต้น แต่ลูกหนี้
ไม่สามารถชำาระหนี้เหล่านี้ได้หมดทุกราย (ในกรณีมีมูลหนี้หลายราย) หรือหมดทุกอย่าง (ในกรณีมูลหนี้
รายเดียวแต่ต้องชำาระหลายอย่าง) ในการชำาระหนี้ครั้งหนึ่งๆ หากไม่มีกฎหมายบัญญัติจัดลำาดับแห่งการชำาระ
หนี้ก่อนหลังไว้ ก็จะเป็นปัญหาโต้เถียงได้ส่วนจะเอาชำาระหนี้รายใดก่อน จึงจะผ่อนคลายภาระของลูกหนี้ไป
ได้

มาตรา 328 ถ้ า ลู ก หนี้ ต้ อ งผู ก พัน ต่ อ เจ้ า หนี้ ใ นอั น จะกระทำา การเพื่ อ ชำา ระหนี้ เ ป็ น การอย่ า ง
เดียวกันโดยมูลหนี้หลายราย และถ้าการที่ ลูกหนี้ชำาระหนี้นั้นไม่เพียงพอจะเปลื้องหนี้สินได้หมดทุกรายไซร้
เมื่อ ทำาการชำาระหนี้ ลูกหนี้ระบุว่าชำาระหนี้สินรายใด ก็ให้หนี้สินรายนั้น เป็นอันได้เปลื้องไป
ถ้ า ลู ก หนี้ ไ ม่ ร ะบุ ท่ า นว่ า หนี้ สิน รายไหนถึ ง กำา หนด ก็ ใ ห้ ร ายนั้ น เป็ น อั น ได้ เ ปลื้ อ งไปก่ อ น ใน
ระหว่างหนี้สินหลายรายที่ถึงกำาหนดนั้น รายใดเจ้าหนี้มีประกันน้อยที่สุดก็ให้รายนั้นเป็นอันได้เปลื้องไปก่อน
ในระหว่างหนี้สินหลายรายที่มีประกันเท่า ๆ กัน ให้รายที่ตกหนัก ที่สุดแก่ลูกหนี้เป็นอันได้เปลื้องไปก่อนใน
ระหว่างหนี้สินหลายรายที่ ตกหนักแก่ลูกหนี้เท่าๆกัน ให้หนี้สินรายเก่าที่สุดเป็นอันได้เปลื้องไป ก่อน และถ้า
มี ห นี้ สิ น หลายรายเก่ า เท่ า ๆ กั น ก็ ใ ห้ ห นี้ สิ น ทุ ก รายเป็ น อั น ได้ เ ปลื้ อ งไปตามส่ ว นมากและน้ อ ย
มาตรา 329 ถ้านอกจากการชำาระหนี้อันเป็นประธาน ลูกหนี้ยัง จะต้องชำาระดอกเบี้ยและเสียค่า
ฤชาธรรมเนียมอีกด้วยไซร้ หากการ ชำาระหนี้ในครั้งหนึ่งๆ ไม่ได้ราคาเพียงพอจะเปลื้องหนี้สินได้ทั้งหมด
ท่านให้เอาจัดใช้เป็นค่าฤชาธรรมเนียมเสียก่อนแล้วจึงใช้ดอกเบี้ยและ ในที่สุดจึงให้ใช้ในการชำาระหนี้อันเป็น
ประธาน
ถ้าลูกหนี้ระบุให้จัดใช้เป็นประการอื่น ท่านว่าเจ้าหนี้จะบอกปัดไม่ ยอมรับชำาระหนี้ก็ได้

ผลของการขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบ
การขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบ คืออย่างไร มีผลตามกฎหมายอย่างไร อธิบาย
ถ้าได้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบแล้ว บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแต่การไม่ชำาระหนี้ก็เป็นอัน
ได้ปลดเปลื้องไปนับแต่เวลาที่ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบ เพื่อความเป็นธรรมแก่ลูกหนี้ เนื่องจากมีกรณีที่
ลูกหนี้ได้พยายามอย่างที่สุดแล้วที่จะปฏิบัติหน้าที่ของตนในการชำาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ แต่เจ้าหนี้ก็บ่ายเบี่ยงไม่
ยอมรับชำาระหนี้ แม้ว่าจะเป็นการขอปฏิบัติการชำา ระหนี้โดยชอบแล้ว เช่น เป็นหนี้เงินกู้เขาก็เอาทั้งต้นและ
ดอกตามจำานวนที่จะต้องใช้จนครบถ้วนมาชำาระโดยถูกต้อง เจ้าหนี้ก็ยังหาทางบ่ายเบี่ยงจะเอาประโยชน์อย่าง
อื่นโดยมิชอบ เหตุขัดข้องที่ยังไม่มีการชำาระหนี้เกิดแก่ฝ่ายเจ้าหนี้เอง

มาตรา 330 เมื่อขอปฏิบัติการชำา ระหนี้โดยชอบแล้ว บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแต่การไม่


ชำาระหนี้ก็เป็นอันปลดเปลื้องไป นับแต่เวลาที่ขอปฏิบัติการชำาระหนี้นั้น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
71

ดำาเป็นหนี้เงินกู้แดงอยู่ 500 บาท เมื่อถึงกำาหนดชำาระดำาขอชำาระให้แดงเพียง 350 บาท ก่อน


แดงไม่ยอมรับชำาระ ดังนี้ ดำาจะถือว่าแดงผิดนัด เพราะตนได้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้ชำาระหนี้โดยชอบแล้ว ได้
หรือไม่
ตามมาตรา 320 จะบังคับให้เจ้าหนี้รับชำาระแต่เพียงบางส่วนจะกระทำาไม่ได้ เว้นแต่ลูกหนี้จะขอ
ปฏิบัติการชำาระหนี้ต่อเจ้าหนี้เสียก่อนตามมาตรา 208
แดงไม่ผิดนัด ยังไม่ถือได้ว่าดำาได้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบ เว้นเสียแต่ว่าดำาจะได้ขอปฏิบัติการ
ชำาระหนี้ต่อแดงเป็นอย่างนั้นโดยตรง

มาตรา 207 ถ้าลูกหนี้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้ และเจ้าหนี้ไม่รับชำาระหนี้นั้นโดยปราศจากมูลเหตุ


อันจะอ้างกฎหมายได้ไซร้ ท่านว่าเจ้าหนี้ตกเป็นผู้ผิดนัด
มาตรา 208 การชำาระหนี้จะให้สำาเร็จผลเป็นอย่างใด ลูกหนี้จะต้องขอปฏิบัติการชำาระหนี้ต่อ
เจ้าหนี้ เป็นอย่างนั้นโดยตรง
มาตรา 320 อันจะบังคับให้เจ้าหนี้รับชำาระหนี้แต่เพียงบางส่วน หรือให้รับชำาระหนี้เป็นอย่างอื่น
ผิดไปจากที่จะต้องชำาระแก่เจ้าหนี้นั้น ท่านว่าหาอาจจะบังคับได้ไม่
มาตรา 330 เมื่อขอปฏิบัติการชำา ระหนี้โดยชอบแล้ว บรรดาความรับผิดชอบอันเกิดแต่การไม่
ชำาระหนี้ก็เป็นอันปลดเปลื้องไป นับแต่ เวลาที่ขอปฏิบัติการชำาระหนี้นั้น

การวางทรัพย์
การวางทรัพย์ คืออะไร มีเหตุผลอย่างไร มีหลักเกณฑ์ที่ควรคำานึงถึงอย่างไรบ้าง อธิบายโดยสังเขป
การวางทรัพย์เป็นทางออกของลูกหนี้ที่จะทำา ให้หลุดพ้นจากหนี้ได้ หลักเกณฑ์ที่ผู้ชำา ระหนี้จะวาง
ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ไว้เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ มีได้ 3 ประการคือ
1) เจ้าหนี้บอกปัดไม่ยอมชำาระหนี้ ทั้งๆ ที่ผู้ชำาระหนี้ได้ขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยชอบแล้ว
ถ้าเป็นการขอปฏิบัติการชำาระหนี้โดยไม่ชอบ เจ้าหนี้ย่อมมีสิทธิบอกปัดได้
2) เจ้าหนี้ไม่สามารถรับชำา ระหนี้ได้ เช่น เจ้าหนี้ถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ
หรือมีเหตุขัดข้องอย่างอื่น
3) ผู้ชำาระหนี้ไม่สามารถจะหยั่งรู้ถึงสิทธิหรือไม่รู้ตัวเจ้าหนี้โดยแน่นอน โดยมิใช่ความผิด
ของตน เช่น เจ้าหนี้ตายและมีบุคคลอื่นหลายคนมาอ้างเป็นผู้มีสิทธิได้รับชำาระหนี้เพราะ
เป็นทายาทโดยธรรม

มาตรา 331 ถ้าเจ้าหนี้บอกปัดไม่ยอมรับชำาระหนี้ก็ดี หรือไม่ สามารถจะรับชำาระหนี้ได้ก็ดี หาก


บุคคลผู้ชำาระหนี้วางทรัพย์อันเป็น วัตถุแห่งหนี้ไว้เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้แล้ว ก็ย่อมจะเป็นอันหลุดพ้นจาก

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
72

หนี้ได้ความข้อนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึงกรณีที่บุคคลผู้ชำาระหนี้ไม่สามารถจะหยั่งรู้ถึงสิทธิ หรือไม่รู้ตัวเจ้าหนี้ได้
แน่นอนโดยมิใช่เป็น ความผิดของตน
มาตรา 332 ถ้าลูกหนี้จำา ต้องชำาระหนี้ต่อเมื่อเจ้าหนี้จะต้องชำา ระหนี้ ตอบแทนด้วยไซร้ ท่านว่า
ลูกหนี้จะกำาหนดว่าต่อเมื่อเจ้าหนี้ชำาระหนี้ ตอบแทนจึงให้มีสิทธิรับเอาทรัพย์ที่วางไว้นั้นก็ได้
มาตรา 333 การวางทรัพย์นั้นต้องวาง ณ สำานักงานวางทรัพย์ ประจำาตำาบลที่จะต้องชำาระหนี้
ถ้าไม่มีบทบัญญัติแห่งกฎหมาย หรือกฎข้อบังคับเฉพาะการใน เรื่องสำานักงานวางทรัพย์ เมื่อบุคคล
ผูช้ ำาระหนี้ร้องขอ ศาลจะต้อง กำาหนดสำานักงานวางทรัพย์ และตั้งแต่งผู้พิทักษ์ทวี่ างนั้นขึ้น
ผู้ ว า ง ต้ อ ง บ อ ก ก ล่ า ว ใ ห้ เ จ้ า ห นี้ ท ร า บ ก า ร ที่ ไ ด้ ว า ง ท รั พ ย์ นั้ น โ ด ย พ ลั น
มาตรา 334 ลูกหนี้มีสิทธิจะถอนทรัพย์ที่วางนั้นได้ ถ้าลูกหนี้ถอน ทรัพย์นั้นท่านให้ถือเสมือนว่า
มิได้วางทรัพย์ไว้เลย สิทธิถอนทรัพย์นี้เป็นอันขาดในกรณีต่อไปนี้
(1) ถ้าลูกหนี้แสดงต่อสำานักงานวางทรัพย์ว่าตนยอมละสิทธิที่ จะถอน
(2) ถ้าเจ้าหนี้แสดงต่อสำานักงานวางทรัพย์ว่าจะรับเอาทรัพย์นั้น
(3) ถ้าการวางทรัพย์นั้นได้เป็นไปโดยคำาสั่งหรืออนุมัติของศาล และได้บอกกล่าวความนั้น
แก่สำานักงานวางทรัพย์
มาตรา 335 สิทธิถอนทรัพย์นั้น ตามกฎหมาย ศาลจะสั่งยึดหา ได้ไม่
เมื่อได้ฟ้องคดีล้มละลายเกี่ ยวกับ ทรั พย์ สิน ของลู ก หนี้แ ล้ว ท่าน ห้ามมิให้ใช้ สิท ธิถ อนทรั พย์ ใน
ร ะ ห ว่ า ง พิ จ า ร ณ า ค ดี ล้ ม ล ะ ล า ย
มาตรา 336 ถ้าทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งการชำาระหนี้ไม่ควรแก่การ จะวางไว้ก็ดี หรือเป็นที่พึงวิตก
ว่าทรัพย์นั้นเกลือกจะเสื่อมเสียหรือ ทำาลาย หรือบุบสลายได้ก็ดี เมื่อได้รับอนุญาตจากศาล บุคคลผู้ ชำาระหนี้จะ
เอาทรัพย์นั้นออกขายทอดตลาด แล้วเอาเงินที่ได้แต่ การขายวางแทนทรัพย์นั้นก็ได้ ความข้อนี้ท่านให้ใช้ตลอด
ถึงกรณี ทีค่ ่ารักษาทรัพย์จะแพงเกินควรนั้นด้วย
มาตรา 337 ท่านไม่อนุญาตให้เอาทรัพย์ออกขายทอดตลาด จนกว่าจะได้บอกให้เจ้าหนี้รู้ตัวก่อน
การบอกนี้จะงดเสียก็ได้ ถ้า ทรัพย์นนั้ อาจเสื่อมทรามลงหรือภัยมีอยู่ในการที่จะหน่วงการขาย ทอดตลาดไว้
ในการที่จะขายทอดตลาดนั้น ท่านให้ลูกหนี้บอกกล่าวแก่เจ้าหนี้ โดยไม่ชักช้า ถ้าละเลยเสียไม่บอก
กล่าว ลูกหนีจ้ ะต้องรับผิดใช้ค่า สินไหมทดแทน
การบอกให้รู้ตัวและบอกกล่าวนี้ ถ้าไม่เป็นอันจะทำาได้ จะงดเสียก็ได้
เวลาและสถานที่ ที่จะขายทอดตลาดกั บ ทั้ งคำา พรรณนาลั ก ษณะแห่ งทรั พย์ นั้ น ท่านให้ ประกาศ
โฆษณาให้ประชาชนทราบ
มาตรา 338 ค่าฤชาธรรมเนียมในการวางทรัพย์หรือขายทอดตลาด นั้นให้ฝ่ายเจ้าหนี้เป็นผู้ออก
เ ว้ น แ ต่ ลู ก ห นี้ จ ะ ไ ด้ ถ อ น ท รั พ ย์ ที่ ว า ง
มาตรา 339 สิทธิของเจ้าหนี้เหนือทรัพย์ที่วางไว้นั้นเป็นอันระงับ สิ้นไปเมื่อพ้นเวลาสิบปี นับแต่
ไ ด้ รั บ คำา บ อ ก ก ล่ า ว ก า ร ว า ง ท รั พ ย์

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
73

อนึ่ง เมื่อสิทธิของเจ้าหนี้ระงับสิ้นไปแล้ว ถึงแม้ลูกหนี้จะได้ละสิทธิ ถอนทรัพย์ ก็ยังชอบที่จะถอน


ทรัพย์นนั้ ได้

ปลดหนี้
1. การปลดหนี้เป็นวิธีการระงับหนี้อีกวิธีหนึ่ง กระทำาได้โดยเจ้าหนี้แสดงเจตนาที่แจ้งชัดแต่เพียงฝ่าย
เดียวต่อลูกหนี้โดยไม่จำาเป็นต้องได้รับความยินยอมจากลูกหนี้ว่าปลดหนี้ให้โดยเสน่หา ไม่คิดค่า
ตอบแทนใดๆทั้งสิ้น
2. โดยปกติการปลดหนี้กระทำาโดยวาจาก็เพียงพอแล้ว และจะปลดหนี้ให้ทั้งหมดหรือแต่เพียงบาง
ส่วนก็ได้
3. การปลดหนี้มีผลให้หนี้ระงับลงเท่าส่วนที่เจ้าหนี้ได้ปลดให้

หลักเกณฑ์ในการปลดหนี้
ผลของการปลดหนี้
การปลดหนี้มีหลักเกณฑ์ที่เป็นสาระสำาคัญอย่างไรบ้าง และมีผลตามกฎหมายอย่างไร อธิบาย
นายโตเป็นหนี้เงินกู้นายเล็กอยู่ 1,000 บาท ต่อมานายโตกลายเป็นบุคคลที่มีหนี้สินล้นพ้นตัว
นายเล็กเกิดความเบื่อหน่ายในการติดตามทวงให้นายโตชำาระหนี้รายนี้แก่ตน จึงมีจดหมายแจ้งไปยังนายโตว่า
ยกหนี้ 1,000 บาท นี้ให้นายโตทั้งหมดพร้อมดอกเบี้ย ต่อมานายเล็กตาย และนายโตได้ทราบข่าวการตาย
ของนายเล็กก่อนที่นายโตจะเปิดจดหมายของนายเล็กออกอ่าน ถ้าทายาทของนายเล็กมาเรียกร้องให้นายโต
ชำาระหนี้ 1,000 บาท นี้ นายโตจะอ้างว่าตนหลุดพ้นจากหนี้เพราะนายเล็กปลดหนี้ให้แล้วได้หรือไม่
การปลดหนี้วางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการปลดหนี้ได้ดังต่อไปนี้
1. การปลดหนี้เป็นนิติกรรมที่เจ้าหนี้ แสดงเจตนาสละสิทธิเรียกร้องในหนี้ที่มีต้อลูก
หนี้ให้โดยเสน่หา คือไม่คิดค่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น
2. การปลดหนี้ทำาให้สำาเร็จผลได้ก็โดยการที่เจ้าหนี้แสดงเจตนาต่อลูกหนี้แต่เพียงฝ่าย
เดียวว่าจะปลดหนี้ให้ก็เป็นการเพียงพอแล้วไม่จำา เป็นต้องรับความยินยอมจากลูก
หนี้ หลักสำาคัญคือการแสดงเจตนานั้นต้องเป็นการชัดแจ้งโดยปราศจากข้อเคลือบ
แคลงสงสัย การแสดงเจตนานี้ต้องกระทำา ต่อลูกหนี้ด้วย ถ้าเพียงแต่บอกกล่าวคน
อื่นโดยยังไม่ได้บอกกล่าวแสดงเจตนาต่อลูกหนี้ จะถือว่าเป็นการปลดหนี้ยังไม่ได้
3. การปลดหนี้นั้นเจ้าหนี้จะปลดหนี้ให้ทั้งหมด หรื อแต่เ พียงบางส่ว นก็ ได้ แล้ วแต่
ความสมัครใจของเจ้าหนี้ หนี้ที่จะปลดให้เพียงบางส่วนได้นั้น จะต้องเป็นหนี้ที่มี
ลักษณะแบ่งชำาระได้ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นหนี้เงิน
4. การปลดหนี้นั้นโดยปกติกระทำาโดยทางวาจาก็เป็นการเพียงพอแล้ว แต่ถ้าเป็นหนี้ที่
มีหนังสือเป็นหลักฐาน มาตรา 340 วรรค 2 กล่าวว่า การปลดหนี้ต้องทำาเป็น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
74

หนังสือด้วย หรือเวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งหนี้ให้แก่ลูกหนี้ไป มิฉะนั้น


การปลดหนี้จะตกเป็นโมฆะ มีผลทำาให้หนี้ยังไม่ระงับ

มาตรา 340 ถ้าเจ้าหนี้แสดงเจตนาต่อลูกหนีว้ ่าจะปลดหนี้ให้ ท่าน ว่าหนีน้ ั้นก็เป็นอันระงับสิ้นไป


ถ้าหนี้มีหนังสือเป็นหลักฐาน การปลดหนี้ก็ต้องทำาเป็นหนังสือด้วย หรือต้องเวนคืนเอกสารอันเป็น
หลักฐานแห่งหนี้ให้แก่ลูกหนี้ หรือขีดฆ่า เอกสารนั้นเสีย

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 9

1. ขาวเป็นหนี้เงินกู้เขียวอยู่ 200 บาท หนี้รายนี้อาจระงับหรือสิ้นสุดลงได้ในกรณี หนี้ถึงกำา หนด


ชำาระแล้วเขียวไม่เรียกร้องให้ขาวชำาระจนเวลาล่วงพ้น 10 ปี
2. ในกรณีต่อไปนี้ บุคคลผู้มีอำา นาจชำา ระหนี้ได้โดยชอบด้วยกฎหมาย แม้ ทั้ งเจ้าหนี้ และลู กหนี้ จะไม่
ยินยอมด้วยคือ ผูค้ ำาประกันลูกหนี้
3. ผู้จัดการมรดกของเจ้าหนี้ เป็นบุคคลผู้มีอำานาจรับชำาระหนี้โดยชอบ
4. ในกรณีที่มิได้มีการตกลงกันไว้ในเรื่องค่าใช้จ่ายในการชำาระหนี้ตามปกติ ลูกหนี้เป็นผู้ต้องออกค่าใช้
จ่ายนั้น
5. กรณีที่เป็นหนี้เงินกู้ ถ้าเจ้าหนี้ออกใบเสร็จให้เพื่อการชำาระเงินต้นแล้ว ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าหนี้
ได้รับดอกเบี้ยแล้ว
6. ดำาเป็นหนี้แดงในมูลหนี้ 2 รายคือ เป็นหนี้เงินกู้ 800 บาท โดยไม่มีกำาหนดชำาระ และเป็นหนี้ค่า
เช่ า บ้า นอี ก 800 บาท ถึ งกำา หนดชำา ระในวั น ที่ 31 มี น าคม 2526 ในวั น ที่ 5 เมษายน
2526 ดำานำา เงิน 800 บาท มาชำาระให้แก่แดงโดยไม่ได้บอกว่าจะชำาระรายใดก่อน เช่นนี้จะ
ต้องจัดสรรเงินจำานวน 800 บาทนี้ ชำาระให้แก่แดงอย่างไรจึงจะเป็นการชอบด้วยกฎหมาย ต้อง
ชำาระเงิน 800 บาทให้แก่แดงสำาหรับหนี้ค่าเช่าบ้านก่อน
7. กรณีต่อไปนี้ เป็นการขอปฏิบัติการชำา ระหนี้โดยชอบ ซึ่งจะมีผลทำา ให้ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบใน
ความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะเหตุที่ไม่มีการชำาระหนี้ คือ นัดไปทำาสัญญาซื้อขายที่ดินที่กรมที่ดิน เมื่อ
ถึงวันที่กำาหนดผู้ขายไปตามนัดหมาย แต่ผู้ซื้อไม่มา
8. ในกรณีที่ลูกหนี้จะวางทรัพย์ไว้ ณ สำานักงานวางทรัพย์เพื่อประโยชน์ของเจ้าหนี้ซึ่งจะมีผลให้ตนหลุด
พ้นจากหนี้ได้คือ เจ้าหนี้เกิดตายลงในเวลาที่ลูกหนี้มาชำาระหนี้ตามกำาหนด และมีบุคคลหลายคนอ้าง
ว่ามีสิทธิรับชำาระหนี้ดีกว่าคนอื่น
9. การปลดหนี้ ไ ด้ แ ก่ ก รณี ดั ง ต่ อ ไปนี้ (ก) นายมั่ ง มี ซึ่ ง เป็ น เจ้ า หนี้ พู ด กั บ นางสาวโสภายกหนี้ สิ น ที่
นางสาวโสภามีอยู่ต่อตนให้เพราะเกิดความรักใคร่ในตัวนางสาวโสภาในภายหลัง แต่นางสาวโสภา
ไม่ยินยอมรับ ยืนยันจะชำาระหนี้ให้ดังเดิม (ข) นายมั่งมีพูดกับนางสาวโสภาว่ายกหนี้ให้เพราะเกิด
ความเบื่อหน่ายรำาคาญในการติดตามทวงให้นางสาวโสภาชำาระหนี้แก่ตน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
75

10. การปลดหนี้มีผลทำาให้หนี้ระงับลงเท่าส่วนที่เจ้าหนี้ปลดให้ ส่วนที่ไม่ได้ปลดหนี้ให้ลูกหนี้ยังคงต้อง


ผูกพันอยู่ ดังนัน้ จึงมีการปลดหนี้ให้บางส่วนได้

หน่วยที่ 10 ความระงับแห่งหนี้ (ต่อ)

1. เมื่อ บุ คคลสองคนต่า งเป็ น เจ้ าหนี้ ลูก หนี้ ซึ่งกั น และกั น ในมู ล หนี้ สองรายอั น มีวั ต ถุ เ ป็ น การอย่ า ง
เดียวกัน และหนี้ทั้งสองรายนั้นถึงกำาหนดชำาระแล้ว หนี้นั้นอาจระงับลงได้ด้วยการหักกลบลบหนี้เท่า
จำานวนที่ตรงกัน
2. การแปลงหนี้ใหม่ก็เป็นการระงับหนี้อีกวิธีหนึ่ง โดยคู่กรณีตกลงกันเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญใน
หนี้ อันมีผลทำาให้หนี้เดิมระงับไปแล้วเกิดหนี้ใหม่ขึ้นมาแทน
3. เมื่อมีเหตุที่ทำาให้สิทธิเรียกร้องและความรับผิดในหนี้รายใดตกไปอยู่กับบุคคลคนเดียวกัน ย่อมเป็น
ผลให้หนี้นั้นระงับสิ้นไปเพราะหนี้เกลื่อนกลืนกัน

หักกลบลบหนี้
1. การหักกลบลบหนี้กระทำาได้เมื่อบุคคลสองคนต่างเป็นเจ้าหนี้ลูกหนี้ซึ่งกันและกัน ในมูลหนี้สอง
รายซึ่งถึงกำาหนดชำาระ โดยฝ่ายที่ต้องการให้มีการหักกลบลบหนี้แสดงเจตนาเพียงฝ่ายเดียวไปยังคู่
กรณี โดยไม่จำาต้องได้รับความยินยอมจากอีกฝ่ายนั้น
2. การหักกลบลบหนี้อาจกระทำาไม่ได้แม้จะเข้าหลักเกณฑ์ทั่วไปของการหักกลบลบหนี้ เนื่องจากมี
กรณีที่กฎหมายบัญญัติห้ามไว้หลายกรณีด้วยกัน
3. การหักกลบลบหนี้มีผลทำาให้หนี้ระงับไปเท่าส่วนที่ตรงกันในมูลหนี้

หลักเกณฑ์และวิธีการในการหักกลบลบหนี้
การหักกลบลบหนี้มีลักษณะทั่วไปและวิธีการที่จะต้องพิจารณาอย่างไรบ้าง อธิบาย และเหตุใดจึงมี
การหักกลบลบหนี้กันได้แม้จะเป็นการขืนใจคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง
สรุปหลักเกณฑ์ที่จะต้องพิจารณาคือ (มาตรา 341 342 343)
1) เป็นกรณีที่บุคคล 2 คน มีความผูกพันเป็นเจ้าหนี้ลูกหนี้ซึ่งกันและกันในหนี้สองราย
และหนี้ดังกล่าวนั้นฟ้องร้องบังคับกันได้ตามกฎหมาย
2) หนี้ทั้งสองรายนั้นมีวัตถุเป็นอย่างเดียวกัน
3) หนี้ทั้งสองรายนั้นต่างถึงกำาหนดชำาระในเวลาที่มีการขอหักกลบลบหนี้
4) สภาพแห่งหนี้เปิดช่องให้กระทำาได้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
76

วิธหี ักกลบลบหนีค้ ือ
(1) ผู้ขอหักกลบลบหนี้แสดงเจตนาฝ่ายเดียวต่อคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง โดยไม่จำาต้องได้
รับความยินยอมจากคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งนั้น เพราะเป็นวิธีการที่จะทำาให้หนี้ระงับ
สิ้นไป คู่กรณีหมดความผูกพัน กฎหมายจึงบัญญัติให้กระทำา ได้โดยไม่จำา เป็น
ต้องให้คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งยินยอม ทั้งนี้การแสดงเจตนาขอหักกลบลบหนี้ก็ต้อง
เป็นไปตามหลักเรื่องการแสดงเจตนาในลักษณะนิติกรรมด้วย
(2) การแสดงเจตนาหักกลบลบหนี้จะมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไม่ได้
(3) การหักกลบลบหนี้กระทำาได้ แม้สถานที่ซึ่งจะต้องชำาระหนี้ทั้งสองรายจะต่างกัน
แต่ฝ่ายที่ขอหักกลบลบหนี้ต้องใช้ค่าเสียหายให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งหากเกิดความเสีย
หายอย่างใดๆ ขึ้น

มาตรา 341 ถ้าบุคคลสองคนต่างมีความผูกพันซึ่งกัน และกัน โดย มูลหนี้อันมีวัตถุเป็น อย่า ง


เดียวกัน และหนี้ทั้งสองรายนั้นถึงกำาหนด จะชำาระไซร้ ท่านว่าลูกหนี้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ย่อมจะหลุดพ้นจากหนี้
ของตนด้วยหักกลบลบกันได้เพียงเท่าจำานวนที่ตรงกันในมูลหนี้ทั้งสอง ฝ่ายนั้น เว้นแต่สภาพแห่งหนีฝ้ ่ายหนึ่ง
จะไม่เปิดช่องให้หักกลบลบกันได้
บทบัญญัติดั่งกล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้ใช้บังคับ หากเป็น การขัดกับเจตนาอันคู่กรณีได้
แสดงไว้ แต่เจตนาเช่นนี้ท่านห้ามมิให้ ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้กระทำาการโดยสุจริต
มาตรา 342 หักกลบลบหนี้นั้น ทำาได้ด้วยคู่กรณีฝ่ายหนึ่งแสดง เจตนาแก่อีกฝ่ายหนึ่ง การแสดง
เจตนาเช่นนี้ท่านว่าจะมีเงื่อนไขหรือ เงื่อนเวลาเริ่มต้นหรือเวลาสิ้นสุดอีกด้วยหาได้ไม่
การแสดงเจตนาดั่งกล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านว่ามีผลย้อนหลัง ขึ้นไปจนถึงเวลาซึ่งหนี้ทั้งสองฝ่าย
นัน้ จะอาจหักกลบลบกันได้เป็น ครั้งแรก
มาตรา 343 การหักกลบลบหนี้นั้น ถึงแม้ว่าสถานที่ซึ่งจะต้อง ชำาระหนี้ทั้งสองจะต่างกัน ก็หัก
กันได้ แต่ฝา่ ยผู้ขอหักหนี้จะต้องใช้ ค่าเสียหายให้แก่อีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อความเสียหายอย่างหนึ่งอย่างใด อันเกิดแต่
การนั้น

กรณีที่หักกลบลบหนี้กันไม่ได้
ข้อห้ามมิให้มีการหักกลบลบหนี้มีกี่กรณี อย่างไรบ้าง อธิบายพอเป็นสังเขป
จากมาตรา 341 และมาตรา 344-347 สรุปได้คือ จะหักลบกลบหนี้กันไม่ได้ถ้า
1) สภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้กระทำาได้

2) คู่กรณีแสดงเจตนาไม่ให้มีการหักกลบลบหนี้

3) สิทธิเรียกร้องนั้นเป็นสิทธิเรียกร้องที่ยังมีข้อต่อสู้

4) หนีน ้ ั้นเกิดจากการอันมิชอบด้วยกฎหมาย
5) หากเป็นสิทธิเรียกร้องที่ศาลสั่งยึดไม่ได้ก็ขอหักกลบลบหนี้ไม่ได้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
77

6) เป็นกรณีซึ่งศาลสั่งห้ามลูกหนี้ใช้เงินแก่ลูกหนี้แล้ว

มาตรา 341 ถ้าบุคคลสองคนต่างมีความผูกพันซึ่งกัน และกัน โดย มูลหนี้อันมีวัตถุเป็น อย่า ง


เดียวกัน และหนี้ทั้งสองรายนั้นถึงกำาหนด จะชำาระไซร้ ท่านว่าลูกหนี้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ย่อมจะหลุดพ้นจากหนี้
ของตนด้วยหักกลบลบกันได้เพียงเท่าจำานวนที่ตรงกันในมูลหนี้ทั้งสอง ฝ่ายนั้น เว้นแต่สภาพแห่งหนีฝ้ ่ายหนึ่ง
จะไม่เปิดช่องให้หักกลบลบกันได้
บทบัญญัติดั่งกล่าวมาในวรรคก่อนนี้ ท่านมิให้ใช้บังคับ หากเป็น การขัดกับเจตนาอันคู่กรณีได้
แสดงไว้ แต่เจตนาเช่นนี้ท่านห้ามมิให้ ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้กระทำาการโดยสุจริต
มาตรา 344 สิทธิเรียกร้องใดยังมีข้อต่อสู้อยู่ สิทธิเรียกร้องนั้น ท่านว่าหาอาจจะเอามาหักกลบลบ
หนี้ได้ไม่ อนึ่ง อายุความย่อมไม่ ตัดรอนการหักกลบลบหนี้ แม้สิทธิเรียกร้องขาดอายุความแล้ว แต่ว่าในเวลาที่
อาจจะหักกลบลบกับสิทธิเรียกร้องฝ่ายอื่นได้นั้น สิทธิยังไม่ขาด
มาตรา 345 หนี้รายใดเกิดแต่การอันมิชอบด้ว ยกฎหมายเป็น มูล ท่านห้ามมิให้ลูก หนี้ ถือ เอา
ประโยชน์แห่งหนี้รายนั้น เพื่อหักกลบ ลบหนี้กับเจ้าหนี้
มาตรา 346 สิทธิเรียกร้องรายใด ตามกฎหมาย ศาลจะสั่งยึด มิได้ สิทธิเรียกร้องรายนั้นหาอาจจะ
เ อ า ไ ป หั ก ก ล บ ล บ ห นี้ ไ ด้ ไ ม่
มาตรา 347 ลูกหนี้คนที่สามหากได้รับคำา สั่งศาลห้ามมิให้ใช้เงิน แล้ว จะยกเอาหนี้ซึ่งตนได้มา
ภายหลังแต่นั้นขึ้นเป็นข้อต่อสู้เจ้าหนี้ ผู้ที่ขอให้ยึดทรัพย์นั้น ท่านว่าหาอาจจะยกได้ไม่

ผลของการหักกลบลบหนี้
การหักกลบลบหนี้ทำาให้เกิดผลทางกฎหมายอย่างไรบ้าง อธิบาย
การหักกลบลบหนี้มี 4 ประการ
1) ผลโดยตรงตามมาตรา 341 คือ เมื่อมีการหักกลบลบหนี้แล้ว หนี้ของทั้งสองฝ่ายก็ได้ระงับ
สิ้นไปเท่าส่วนจำานวนที่ตรงกัน เช่น ถ้าต่างเป็นเจ้าหนี้ลูกหนี้ด้วยเงิน 100 บาทเท่ากัน เมื่อมี
การหักกลบลบหนี้ ก็มีผลทำาให้หนี้ระงับไปโดยสิ้นเชิงทั้งคู่ แต่ถ้าทั้งสองรายมีจำา นวนไม่เท่า
กันเมื่อมีการหักกลบลบหนี้ ผลก็จะเป็นไปตามมาตรา 341 ที่ว่าลูกหนี้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหลุด
พ้นจากหนี้ของตนด้วยหักกลบลบกันได้เพียงที่จำานวนที่ตรงกัน
2) ผลของการหักกลบลบหนี้ย้อนไปถึงเวลาซึ่งหนี้ทั้งสองฝ่ายนั้น อาจจะหักกลบลบกันได้เป็น
ครั้งแรก มิใช่มีผลในวันแสดงเจตนา ตามหลักเกณฑ์ในมาตรา 342
3) การหักกลบลบหนี้ในกรณีที่สถานที่ซึ่งจะต้องชำาระหนี้ทั้งสองนั้นต่างกัน หากเป็นผลทำาให้เกิด
ความเสียหายแก่อีกฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายที่ขอหักกลบลบหนี้จะต้องใช้ค่าเสียหายให้แก่ฝ่ายหนึ่งนั้น ตาม
มาตรา 343
4) ในกรณีที่บุคคลซึ่งต่างเป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกันอยู่มีหนี้ที่จะหักกลบลบหนี้กันนั้นอยู่
หลายราย ปัญหาว่าจะเอาหนี้รายใดมาหักกลบลบกันก่อน นั้นมีบัญญัติไว้ในมาตรา 348
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
78

ก. เป็นลูกหนี้เงินกู้ของ ข. อยู่ 500 บาท กำาหนดชำาระในวันที่ 2 มิถุนายน 2520 ต่อมา


วันที่ 10 กรกฎาคม ปีเดียวกัน ข. เป็นหนี้ค่าซื้อสินค้าจาก ก. 300 บาท และยังไม่ได้ชำาระเรื่อยมา จน
กระทั่งวันที่ 10 มิถุนายน 2521 ข. เรียกให้ ก. ชำาระหนี้เงินกู้ 500 บาท แก่ตน ก. จะมีทางขอหัก
กลบลบหนี้กับ ข. ในหนี้ค่าซื้อสินค้าซึ่ง ข. มีต่อตนอยู่ได้เพียงใดหรือไม่
ตามอุทาหรณ์ ก. ขอหักกลบลบหนี้กับ ข. ได้ในจำานวนหนี้ที่ตรงกัน คือ 300 บาท และผลของ
การหักกลบลบหนี้ย้อนหลังไปถึงวันที่ 10 กรกฎาคม 2520

แปลงหนี้ใหม่
1. การแปลงหนี้ใหม่มีสาระสำาคัญซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของตัวมันเอง ซึ่งแตกต่างจากหลักเกณฑ์ใน
เรื่องความระงับหนี้อื่นๆ และหลักเกณฑ์ในลักษณะอื่นทีค่ ล้ายคลึงกัน
2. การแปลงหนี้ใหม่กระทำาได้โดยคู่กรณีตกลงทำาสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญในหนี้นั้น
3. ผลของการแปลงหนี้ใหม่ทำาให้หนี้เดิมรวมทั้งประกันของหนี้เดิมระงับสิ้นไปโดยมีหนี้ใหม่เกิดขึ้น
มาแทนผูกพันคู่กรณีต่อไป

บทนำา
การแปลงหนี้ใหม่มีลักษณะแตกต่างจากเรื่องต่อไปนี้อย่างไร
1. การชำาระหนี้อย่างอื่นตามมาตรา 321
2. การโอนสิทธิเรียกร้อง
3. การรับช่วงสิทธิ
หลักเกณฑ์ตามมาตรา 321 306 และมาตรา 226 และ 229
มาตรา 321 ถ้าเจ้าหนี้ยอมรับการชำาระหนี้อย่างอื่นแทนการชำาระหนี้ที่ได้ตกลงกันไว้ท่านว่าหนี้
นั้ น ก็ เ ป็ น อั น ร ะ งั บ สิ้ น ไ ป
ถ้าเพื่อที่จะทำาให้พอแก่ใจเจ้าหนี้นั้น ลูกหนี้รับภาระเป็นหนี้อย่างใด อย่างหนึ่งขึ้นใหม่ต่อเจ้าหนี้ไซร้
เมื่อกรณีเป็นที่สงสัย ท่านมิให้ สันนิษฐานว่าลูกหนี้ได้ก่อหนี้นั้นขึ้นแทนการชำาระหนี้
ถ้าชำา ระหนี้ด้วยออก-ด้วยโอน-หรือด้วยสลักหลังตั๋วเงิน หรือ ประทวนสินค้า ท่านว่าหนี้นั้นจะ
ระงับสิ้นไปต่อเมื่อตั๋วเงินหรือประทวน สินค้านั้นได้ใช้เงินแล้ว
มาตรา 306 การโอนหนี้อันจะพึงต้องชำาระแก่เจ้าหนี้คนหนึ่งโดย เฉพาะเจาะจงนั้น ถ้าไม่ทำาเป็น
หนังสือ ท่านว่าไม่สมบูรณ์ อนึ่งการ โอนหนี้นั้นท่านว่าจะยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้ลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได้ แต่
เมื่อได้บอกกล่าวการโอนไปยังลูกหนี้ หรือลูกหนี้จะได้ยินยอมด้วย ในการโอนนั้น คำา บอกกล่าวหรือความ
ยินยอมเช่นว่านี้ท่านว่าต้องทำา เป็นหนังสือ
ถ้าลูกหนี้ทำาให้พอแก่ใจผู้โอนด้วยการใช้เงิน หรือด้วยประการอื่น เสียแต่ก่อนได้รับบอกกล่าว หรือ
ก่อนได้ตกลงให้โอนไซร้ ลูกหนี้นั้น ก็เป็นอันหลุดพ้นจากหนี้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
79

มาตรา 226 บุคคลผู้รับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ ชอบที่จะใช้สิทธิ ทั้งหลายบรรดาที่เจ้าหนี้มีอยู่โดย


มูลหนี้ รวมทั้งประกันแห่งหนี้นั้น ได้ในนามของตนเอง
ช่วงทรัพย์ ได้แก่เอาทรัพย์สินอันหนึ่งเข้าแทนที่ทรัพย์สินอีก อันหนึ่งในฐานะนิตินัยอย่างเดียวกัน
กับทรัพย์สินอันก่อน
มาตรา 229 การรับช่วงสิทธิย่อมมีขึ้นด้วยอำานาจกฎหมายและย่อมสำาเร็จเป็นประโยชน์แก่บุคคล
ดังจะกล่าวต่อไปนี้ คือ
(1) บุคคลซึ่งเป็นเจ้าหนี้อยู่เอง และมาใช้หนี้ให้แก่เจ้าหนี้อีก คนหนึ่งผู้มีสิทธิจะได้รับใช้หนี้
ก่อนตน เพราะเขามีบุริมสิทธิ หรือมี สิทธิจำานำา จำานอง
(2) บุคคลผู้ได้ไปซึ่งอสังหาริมทรัพย์ใด และเอาเงินราคาค่าชื้อ ใช้ให้แก่ผู้รับจำานองทรัพย์นั้น
เสร็จไป
(3) บุคคลผู้มีความผูกพันร่วมกับผู้อื่น หรือเพื่อผู้อนื่ ในอันจะต้อง ใช้หนี้ มีส่วนได้เสียด้วยใน
การใช้หนี้นั้น และเข้าใช้หนี้นั้น

หลักเกณฑ์ของการแปลงหนี้ใหม่
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการแปลงหนี้ใหม่ มีสาระสำาคัญอย่างไรบ้าง อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
หลักเกณฑ์สำาคัญตามมาตรา 349-351

มาตรา 349 เมื่อคู่กรณีที่เกี่ยวข้องได้ทำาสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญแห่งหนี้ไซร้ ท่านว่า


หนีน้ ั้นเป็นอันระงับสิ้นไปด้วยแปลงหนี้ใหม่
ถ้าทำา หนี้มีเงื่อนไขให้กลายเป็นหนี้ปราศจากเงื่อนไขก็ดี เพิ่มเติมเงื่อนไขเข้าในหนี้อันปราศจาก
เงื่อนไขก็ดี เปลี่ยนเงื่อนไขก็ดี ท่านถือว่าเป็นอันเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญแห่งหนี้นั้น
ถ้าแปลงหนี้ใหม่ด้วยเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้ ท่านให้บังคับด้วยบทบัญญัติ ทั้งหลายแห่งประมวลกฎหมาย
นี้ ว่ า ด้ ว ย โ อ น สิ ท ธิ เ รี ย ก ร้ อ ง
มาตรา 350 แปลงหนี้ใหม่ด้วยเปลี่ยนตัวลูกหนี้นั้น จะทำาเป็น สัญญาระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้
คนใหม่ก็ได้ แต่จะทำาโดยขืนใจลูกหนี้ เดิมหาได้ไม่
มาตรา 351 ถ้าหนี้อันจะพึงเกิดขึ้นเพราะแปลงหนี้ใหม่นั้นมิได้เกิด มีขึ้นก็ดี ได้ยกเลิกเสียเพราะ
มูลแห่งหนี้ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือ เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันมิรู้ถึงคู่กรณีก็ดี ท่านว่าหนี้เดิมนั้น ก็ยัง
หาระงับสิ้นไปไม่

ก. เป็นหนี้ ข. อยู่ 3,000 บาท แล้วไม่มีเงินชำาระ จึงตกลงกับ ข. ด้วยวาจาขายม้าให้ ข. 1


ตัว โดยเอาหนี้เงินกู้ 3,000 บาท เป็นราคาม้า กรณีนี้ เป็นการแปลงหนี้ใหม่ที่มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย
หรือไม่

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
80

ตามอุ ท าหรณ์ หนี้ใ หม่ คื อ การซื้อ ขายถ้ า ไม่ เ กิ ด เพราะไม่ ไ ด้ ทำา เป็ น หนั ง สือ และจดทะเบี ย นต่ อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 456 หนี้เงินกู้ไม่ระงับ ข. ยังมีสิทธิฟ้องร้องให้ชำาระหนี้เงินกู้อยู่
มาตรา 456 การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ถ้ามิได้ทำาเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้า
หน้าที่ไซร้ ท่านว่าเป็นโมฆะวิธนี ี้ให้ ใช้ถึงซื้อขายเรือกำาปั่นหรือเรือมีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือ
เรือยนต์มีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป ทั้งซื้อขายแพและสัตว์พาหนะ ด้วย

ผลของการแปลงหนี้ใหม่
การแปลงหนี้ใหม่ทำาให้เกิดผลในทางกฎหมายในหนี้นั้น แตกต่างจากความระงับหนี้ในประการอื่น
ที่ได้ศึกษามาแล้ว เช่นการชำาระหนี้ การปลดหนี้ การหักกลบลบหนี้อย่างไร อธิบายให้เหตุผลประกอบ
หลักในมาตรา 349 ซึ่งมีผลเกี่ยวเนื่องไปถึงมาตรา 352
การแปลงหนี้ใหม่ทำาให้เกิดผลโดยตรงตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 349 วรรค 1 ซึ่งบัญญัติไว้
ชัดแจ้งว่า หนี้เก่าเป็นอันระงับสิ้นไปโดยมีหนี้ใหม่เข้าผูกพันแทนที่

มาตรา 349 เมื่อคู่กรณีที่เกี่ยวข้องได้ทำาสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญแห่งหนี้ไซร้ ท่านว่า


หนีน้ ั้นเป็นอันระงับสิ้นไปด้วยแปลงหนี้ใหม่
ถ้าทำา หนี้มีเงื่อนไขให้กลายเป็นหนี้ปราศจากเงื่อนไขก็ดี เพิ่มเติมเงื่อนไขเข้าในหนี้อันปราศจาก
เงื่อนไขก็ดี เปลี่ยนเงื่อนไขก็ดี ท่านถือว่าเป็นอันเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญแห่งหนี้นั้น
ถ้าแปลงหนี้ใหม่ด้วยเปลี่ยนตัวเจ้าหนี้ ท่านให้บังคับด้วยบทบัญญัติทั้งหลายแห่งประมวลกฎหมายนี้
ว่ า ด้ ว ย โ อ น สิ ท ธิ เ รี ย ก ร้ อ ง
มาตรา 350 แปลงหนีใ้ หม่ด้วยเปลี่ยนตัวลูกหนี้นั้น จะทำาเป็นสัญญาระหว่างเจ้าหนี้กับลูกหนี้คน
ใหม่ก็ได้ แต่จะทำาโดยขืนใจลูกหนี้ เดิมหาได้ไม่
มาตรา 351 ถ้าหนี้อันจะพึงเกิดขึ้นเพราะแปลงหนี้ใหม่นั้นมิได้เกิด มีขึ้นก็ดี ได้ยกเลิกเสียเพราะ
มูลแห่งหนี้ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือ เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันมิรู้ถึงคู่กรณีก็ดี ท่านว่าหนี้เดิมนั้น ก็ยัง
หาระงับสิ้นไปไม่
มาตรา 352 คู่กรณีในการแปลงหนี้ใหม่อาจโอนสิทธิจำา นำา หรือ จำานองที่ได้ให้ไว้เป็นประกัน
หนี้เดิมนั้นไปเป็นประกันหนี้รายใหม่ได้ เพียงเท่าที่เป็นประกันวัตถุแห่งหนี้เดิม แต่หลักประกันเช่นว่านี้ ถ้า
บุคคลภายนอกเป็นผู้ให้ไว้ไซร้ ท่านว่าจำาต้องได้รับความยินยอม ของบุคคลภายนอกนั้นด้วยจึงโอนได้

หนี้เกลื่อนกลืนกัน
1. หนี้โดยทั่วๆ ไปอาจเกลื่อนกลืนกันได้ถ้าสิทธิและความรับผิดในหนี้รายใดรายหนึ่ง มาตกอยู่ใน
บุคคลคนเดียวกัน
2. การที่ หนี้เ กลื่ อนกลื นกั นไปในบุคคลคนเดีย วกั น มี ผ ลทำา ให้ห นี้ นั้น ระงับ สิ้น ไปตลอดถึ งหนี้
อุปกรณ์ด้วย
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
81

3. มีกรณีที่บุคคลจะอ้างว่าหนี้ระงับสิ้นไปเพราะเหตุที่มีการเกลื่อนกลืนกันไม่ได้ หากหนี้นั้นตกไป
อยู่บังคับแห่งสิทธิของบุคคลภายนอก หรือเมื่อมีการสลักหลังตั๋วเงินกลับคืนตามข้อบัญญัติใน
เรื่องตั๋วเงิน

หลักเกณฑ์ในเรื่องหนี้เกลื่อนกลืนกัน
ผลของการที่หนี้เกลื่อนกลืนกัน
การที่หนี้เกลื่อนกลืนกันได้มีหลักเกณฑ์อย่างไร และทำาให้เกิดผลอย่างไร อธิบาย
หลักเกณฑ์ตาม มาตรา 353

มาตรา 353 ถ้าสิทธิและความรับผิดในหนี้รายใดตกอยู่แก่บุคคล คนเดียวกัน ท่านว่าหนี้รายนั้น


เป็นอันระงับสิ้นไป เว้นแต่ เมื่อหนี้นั้นตกไปอยู่ในบังคับแห่งสิทธิของบุคคลภายนอก หรือเมื่อสลักหลังตั๋ว
เงินกลับคืนตามความใน มาตรา 917 วรรค 3
มาตรา 917 อันตั๋วแลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่สั่งจ่ายให้แก่ บุคคลเพื่อเขาสั่งก็ตาม ท่านว่า
ย่ อ ม โ อ น ใ ห้ กั น ไ ด้ ด้ ว ย ส ลั ก ห ลั ง แ ล ะ ส่ ง ม อ บ
เมื่อผู้สั่งจ่ายเขียนลงในด้านหน้าแห่งตั๋วแลกเงินว่า "เปลี่ยนมือไม่ได้" ดั่งนี้ก็ดี หรือเขียนคำาอื่นอัน
ได้ความเป็นทำานองเช่นเดียวกันนั้นก็ดี ท่านว่าตั๋วเงินนั้นย่อมจะโอนให้กันได้แต่โดยรูปการและด้วยผลอย่าง
การ โอนสามัญ
อนึ่ง ตั๋วเงินจะสลักหลังให้แก่ผู้จ่ายก็ได้ ไม่ว่าผู้จ่ายจะได้รับรองตั๋ว นั้นหรือไม่ หรือจะสลักหลังให้
แก่ผู้สั่งจ่าย หรือให้แก่คู่สัญญาฝ่ายใด แห่งตั๋วเงินนั้นก็ได้ ส่วนบุคคลทั้งหลายเหล่านี้ก็ย่อมจะสลักหลังตั๋วเงิน
นัน้ ต่อไปอีกได้

ก. เป็นหนี้ ข. โดยมี ค. เป็นผู้คำ้าประกัน ต่อมา ข. ตายโดย ค. ได้รับมรดกของ ข. แต่เพียงผู้


เดียว ถ้า ค. จะใช้สิทธิในฐานะเป็นทายาทของ ข. ฟ้อง ก. ให้ชำาระหนี้รายนี้ จะกระทำาได้หรือไม่
กรณี ต ามอุ ท าหรณ์ ค. ฟ้ อ ง ก. ให้ ชำา ระหนี้ ไ ด้ กรณีนี้ เ ป็ น เรื่ อ งหนี้ เ กลื่ อ นกลื น กั น เฉพาะหนี้
อุปกรณ์ซึ่งกระทบถึงหนี้ประธาน หนี้ประธานยังไม่ระงับ

กรณีที่หนี้เกลื่อนกลืนกันไม่ได้
มีกรณีใดบ้างที่หนี้ไม่ระงับเพราะเหตุที่จะอ้างที่หนี้เกลื่อนกลืนกันไม่ได้ อธิบายและยกตัวอย่าง
ประกอบ
อ้างตามมาตรา 353 ตอนท้าย ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือ
1) เมื่อหนี้นั้นตกอยู่ในบังคับแห่งสิทธิของบุคคลภายนอก

2) เมื่อสลักหลังตั๋วเงินกลับคืนตามความใน มาตรา 917 วรรค 3

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
82

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 10

1. การหักกลบลบหนี้จะกระทำามิได้ ถ้า (ก) คู่กรณีตกลงกันไว้ไม่ให้มีการหักกลบลบหนี้ (ข) หนี้ที่


จะขอให้มีการหักกลบลบกับหนี้อีกรายหนึ่งนั้นเป็นหนี้ละเมิด (ค) สภาพแห่งหนี้ไม่เปิดช่องให้หัก
กลบลบหนี้ได้
2. การหักกลบลบหนี้มีผลตั้งแต่ เวลาที่หนี้ทั้งสองฝ่ายจะหักกลบลบกันได้เป็นครั้งแรก
3. การแปลงหนี้ใหม่ เป็นสัญญาระหว่างคู่กรณีที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญแห่งหนี้ เพื่อเลิก
หรือระงับหนี้เดิมแล้วก่อหนี้ใหม่ขึ้นมาแทน
4. การเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำาคัญแห่งหนี้ในการแปลงหนี้ใหม่เช่น เปลี่ยนหนี้เงินกู้เป็นขายฝากที่ดิน
5. การเปลี่ยนแปลงหนี้ใหม่โดยเปลี่ยนตัวลูกหนี้ กระทำาได้โดย เจ้าหนี้ทำาสัญญากับลูกหนี้คนใหม่ได้เลย
โดยลูกหนี้คนเดิมไม่ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องในการทำาสัญญาด้วย แต่จะทำาโดยขืนใจลูกหนี้เดิมไม่ได้
6. การที่หนี้เกลื่อนกลืนกันได้แก่กรณีดังต่อไปนี้ ดำาเป็นหนี้แดง แดงตาย ดำาได้รับมรดกจากแดงแต่เพียง
ผู้เดียว ดำาจึงกลับมาเป็นเจ้าหนี้ตนเองในฐานะทายาทผู้มีสิทธิรับชำาระหนี้ของแดง
7. การที่หนี้เกลื่อนกลืนกันมีผลทำาให้ หนี้นั้นระงับสิ้นไปโดนสิ้นเชิงทั้งหนี้ประธานและหนี้อุปกรณ์
8. ในกรณีต่อไปนี้บุคคลจะยกข้ออ้างว่าหนี้เกลื่อนกลืนกันไม่ได้ เมื่อหนี้นั้นตกอยู่ในบังคับแห่งสิทธิ
ของบุคคลภายนอก

หน่วยที่ 11 ความรับผิดเพื่อละเมิดในการกระทำาของตนเอง

1. ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลในการกระทำาของตน ต้องมีการกระทำา โดยจงใจหรือประมาท


เลินเล่อ โดยผิดกฎหมายและมีความเสียหายแก่บุคคลอื่น และความเสียหายนั้นเป็นผลมาจากการก
ระทำาของผู้กระทำาความเสียหาย
2. ผู้เยาว์และบุคคลวิกลจริตอาจกระทำาละเมิดและมีความรับผิดได้ ซึ่งแล้วแต่ข้อเท็จจริงเป็นกรณีไป
3. การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนความจริงและการร่วมกันกระทำาละเมิดก็เป็น
ความรับผิดของบุคคลในการกระทำาของตนเอง

11.1 ลักษณะทัว่ ไปของความรับผิดของบุคคลในการกระทำาของตนเอง


1. การกระทำาหมายถึงความเคลื่อนไหวของบุคคลโดยรู้สึกในความเคลื่อนไหวของตน และหมายถึง
การงดเว้นหรือละเว้นไม่กระทำาการตามหน้าที่ที่ต้องกระทำา
2. จงใจ หมายถึงการกระทำาโดยรู้สำานึกถึงผลเสียหายที่จะเกิดจากการกระทำาของตน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
83

3. ประมาทเลินเล่อ หมายถึงไม่จงใจ แต่ไม่ใช้ความระมัดระวังตามควรที่จะใช้รวมถึงในลักษณะที่


บุคคลผู้มีความระมัดระวังจะไม่กระทำาด้วย
4. การกระทำาโดยผิดกฎหมายมีความหมายกว้าง มิใช่หมายแต่เพียงฝ่าฝืนกฎหมายที่บัญญัติไว้โดยชัด
แจ้ง แต่หมายรวมถึงการกระทำาโดยไม่มีสิทธิหรือขอแก้ตัวตามกฎหมาย
5. ความเสียหายแก่ผู้อื่น หมายถึงความเสียหายที่เกิดแก่สิทธิของบุคคลอื่น
6. ความเสียหายอันเป็นผลมาจากการกระทำาความเสียหายนั้น ตามกฎหมายไทยเห็นว่าควรใช้ทฤษฎี
ความเท่ากันแห่งเหตุ หรือทฤษฎีเงื่อนไขบังคับ แต่ศาลอาจให้จำาเลยรับผิดทั้งหมดหรือแต่เพียงบาง
ส่วนหรือยกเว้นความผิดเสียเลยก็ได้

11.1.1 ความหมายของการกระทำา
ความเคลื่อนไหวของบุคคลในเวลาหลับ ถือว่าเป็นการกระทำาหรือไม่
ความเคลื่อนไหวของบุคคลในเวลาหลับ ไม่ถือว่าเป็นการกระทำา เพราะแม้ว่าจะมีความเคลื่อนไหว
ในอิริยาบถ แต่ก็ถือไม่ได้ว่าบุคคลที่หลับรู้สำานึกในความเคลื่อนไหวในอิริยาบถของตน

ที่เรียกว่า “การกระทำา” นัน้ ท่านเข้าใจว่าอย่างไร


การกระทำาหมายถึงความเคลื่อนไหวในอิริยาบถโดยรู้สำานึกในความเคลื่อนไหวนั้น

ความเคลื่อนไหวของผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริต จะถือว่าเป็นการกระทำาได้เสมอไปหรือไม่
ความเคลื่อนไหวของผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริต จะถือว่าเป็นการกระทำาไม่ได้เสมอไป ถ้าผู้เยาว์หรือ
บุคคลวิกลจริตรู้สำานึกในความเคลื่อนไหวในอิริยาบถของตน ก็เป็นการกระทำา ถ้าไม่รู้สำานึกก็ไม่เป็น ซึ่งเป็น
ปัญหาข้อเท็จจริงแต่ละเรื่องๆ ไป

การงดเว้นไม่กระทำา จะเป็นการกระทำาเสมอไปหรือไม่
การงดเว้นไม่กระทำา ไม่เป็นการกระทำา เสมอไป ที่จะถือว่าเป็นการกระทำา ต้องเป็นการงดเว้นไม่
กระทำาการที่มีหน้าที่ต้องกระทำา หน้าที่นี้อาจเกิดจากกฎหมายก็ได้ หรือเกิดจากสัญญาหรือความสัมพันธ์ทาง
ข้อเท็จจริงที่มีอยู่ระหว่างผู้งดเว้นกับผู้เสียหายก็ได้ หรือเป็นผลมาจากฐานะทางข้อเท็จจริงซึ่งผู้งดเว้นได้ก่อขึ้น
ก็ได้

ให้ยกตัวอย่างการงดเว้นไม่กระทำา ตามสัญญาอันมีผลเสียหายแก่บุคคลอื่น นอกจากตัวอย่างตาม


เอกสารการสอนนี้ มา 2 ตัวอย่าง

ยกตัวอย่างการงดเว้นไม่กระทำาตามหน้าที่อันเกิดจากความสัมพันธ์ทางข้อเท็จจริง

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
84

11.1.2 การกระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
ความเข้าใจผิดในข้อเท็จจริง จะถือว่าเป็นจงใจได้หรือไม่ ก. เห็นร่มของ ข. วางไว้บนโต๊ะทำางาน
ของตน คิดว่าเป็นร่มของตนที่หายไปแล้วและได้คืนมาแล้ว เพราะมีลักษณะเหมือนกันทุกอย่าง จึงหยิบเอาไป
เป็นของตน ดังนี้ ก. ได้กระทำาต่อ ข. โดยจงใจหรือไม่
จงใจหมายถึงความรู้สำา นึกว่าจะเกิดผลเสียหายแก่บุคคลอื่นจากการกระทำา ของตน ฉะนั้นความ
เข้าใจผิดในข้อเท็จจริงจะถือว่าเป็นจงใจหาได้ไม่
ที่ ก. คิดว่าร่มของ ข. เป็นของตน จึงมีความเข้าใจผิดในข้อเท็จจริง ก. มิได้กระทำา ต่อ ข. โดย
จงใจ หรือประมาทเลินเล่อ

แมวของ จ. เข้ามาลักอาหารกินในครัว จ. เห็นเข้า จึงเอาไม้ไล่ตีบังเอิญไม้พลาดไปถูกศีรษะของ


ส. เพื่อนบ้านของ จ. ที่มาหาและโผล่เข้ามาทางประตูครัวพอดี โดยที่ จ. ไม่ทันเห็น ดังนี้ จ. กระทำาต่อ ส.
โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อหรือไม่
ก. มิได้กระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อข่อ ข. แต่เป็นความเสียหายที่เกิดแต่เหตุสุดวิสัย

11.1.3 การกระทำาโดยผิดกฎหมาย
ที่ว่า “โดยผิดกฎหมาย” ตามมาตรา 420 นัน้ เข้าใจว่าอย่างไร
คำาว่า “โดยผิดกฎหมาย” ตามมาตรา 420 มีความหมายแต่เพียงว่า “มิชอบด้วยกฎหมาย” ดังเช่นที่
บัญญัติไว้ในมาตรา 421 เท่านั้น ถ้าได้กระทำาโดยไม่มีสิทธิหรือข้อแก้ตัวตามกฎหมายให้ทำาแล้ว ก็ถือว่า
เป็นการกระทำาโดยผิดกฎหมาย
มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่
ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิด
จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 421 การใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้น ท่านว่าเป็นการอันมิชอบด้วย
กฎหมาย

ที่ว่า “การใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น” นัน้ ท่านเข้าใจว่าอย่างไร


หมายถึงกรณีที่ผู้ทำาความเสียหายมีสิทธิตามกฎหมายเสียก่อน มิใช่กระทำาโดยไม่มีสิทธิหรือทำาเกิน
ไปกว่าสิทธิที่มีอยู่ตามกฎหมายแล้ว ซึ่งต้องพิจารณากันตามมาตรา 420 อันเป็นหลักทั่วไป ข้อสำาคัญอยู่ที่
ว่าสิทธินั้นมีอยู่แล้ว แต่การใช้หรือวิธีใช้นั้นดำาเนินไม่ถูกต้อง ตามวิธีการที่เหมาะสมหรือผิดกาลเทศะ จึงเกิด
ความเสียหายแก่บุคคลอื่น และต้องเป็นการกระทำาที่มุ่งต่อผลคือความเสียหายแก่ผู้อื่นแต่ถ่ายเดียว ไม่ใช่โดย
ประสงค์ต่อผลอันเป็นธรรมดาแห่งการใช้สิทธิ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
85

ที่ว่ า “ลำา พังแต่ เพีย งบทบั ญญัติ ม าตรา 421 จะเป็น หลั กเกณฑ์ อัน ก่อ ให้ เกิ ดความรั บ ผิ ด ทาง
ละเมิดไม่ได้” ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
มาตรา 421 เป็นบทขยายของคำา ว่า “โดยผิดกฎหมาย” ในมาตรา 420 ฉะนั้น หลักเกณฑ์
ประการอื่นที่จะก่อให้เกิดความรับผิดตามมาตรา 420 นั้นยังคงต้องพิจารณาให้ครบถ้วน กล่าวคือ ต้องมี
การกระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อให้คนอื่นเสียหายอยู่ด้วย

การที่เจ้าหน้าที่ตำารวจเข้าจับกุมผู้ต้องหาว่ากระทำาความผิดตามหน้าที่จะเป็นการใช้สิทธิที่มีแต่จะให้
เกิดความเสียหายแก่ผู้ต้องหาเสมอไปหรือไม่
เกิดความเสียหายแก่ผู้ต้องหา ไม่เสมอไป ถ้าเป็นการจับตามหน้าที่ เว้นแต่เป็นการใช้สิทธิที่มุ่งต่อผล
คือความเสียหายแก่ผู้ถูกจับแต่ถ่ายเดียว หรือเป็นการจับที่ไม่ถูกต้องตามวิธีการที่เหมาะสมหรือผิดกาลเทศะ
เช่น จับผู้ต้องหาว่ากระทำาผิดโดยแกล้งไปจับขณะที่เข้าพิธีสมรสเป็นต้น

ก. เป็นหนี้เงินกู้ ข. อยู่จำานวน 10,000 บาท ขณะที่ ก. กำาลังพูดคุยกับนางสาว ค. ซึ่งเป็น


คู่รักกันอยู่ตามลำาพัง ข. เห็นนึกหมั่นไส้ต้องการจะแกล้ง ก. ให้ขายหน้า จึงพูดทวงหนี้ต่อหน้านางสาว ค.
ดังนี้ ท่านเห็นว่า ข. ใช้สิทธิมีแต่จะให้เกิดความเสียหายแก่ ก. หรือไม่
ข. เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ของ ก. จึงมีสิทธิทวงถามจาก ก. ได้ แต่การที่ไปทวงถามต่อหน้านางสาว ค.
ย่อมเป็นการใช้สิทธิที่มีแต่จะให้ความเสียหายแก่ ก. ลูกหนี้ของตน

หลักที่ว่า “ความยินยอมไม่ทำาให้เป็นละเมิด” มีบัญญัติไว้ในลักษณะละเมิดหรือไม่ เข้าใจหลักนี้กัน


อย่างไร
ไม่มีบัญญัติไว้ในลักษณะละเมิด เพียงแต่บัญญัติเป็นหลักเกณฑ์ที่จะถือว่าเป็นการกระทำาละเมิดหรือ
ความรับผิดเพื่อละเมิดเท่านั้น ที่ว่า “ความยินยอมไม่ทำา ให้เป็นละเมิด” นั้นเป็นหลักกฎหมายทั่วไป มีความ
หมายที่บุคคลซึ่งยอมต่อการกระทำาอย่างหนึ่ง หรือบุคคลที่เข้าเสี่ยงภัยยอมรับความเสียหาย จะฟ้องคดีเกี่ยวกับ
การกระทำาหรือความเสียนั้นมิได้ และความยินยอมทำาให้ผู้กระทำาความเสียหายไม่ต้องรับผิดสำาหรับความเสีย
หายที่เกิดขึ้น และถือว่าไม่มีการละเมิดเกิดขึ้นเลยทีเดียว

ก. ยอมให้ ข. ชกต่อยที่บริเวณใบหน้า เพื่อแสดงความแข็งแรงของ ก. ปรากฏว่าฟันของ ก. หัก


หลุดออกมา 1 ซี่ ก. จะเรียกค่าเสียหายจาก ข. อ้างว่าไม่รู้ว่าการให้ ข. ชก ฟันจะหลุดออกมา จะเรียกค่า
เสียหายได้หรือไม่
ก. ยอมให้ ข. ชกต่อยแล้ว เป็นความยินยอมของ ก. ก. จะอ้างว่าไม่รู้ว่าการให้ ข. ชกต่อย จะ
ทำาให้ฟนั หักหลุดออกมาไม่ได้ การที่ ข. ชก ก. ไม่เป็นละเมิด

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
86

ค. ยอมให้ ง. ใช้ไม้เรียวเฆี่ยน 3 ที แต่ ง. หาไม้ไม่ได้ จึงเตะ ค. 3 ที ค. ได้รับบาดเจ็บดังนี้


ค. จะเรียกค่าเสียหายจาก ง. ได้หรือไม่
ค. ยอมให้ ง. เอาไม้เรียวเฆี่ยน จึงเป็นความยินยอมของ ค. แต่ ง. กับเตะ ค. ซึ่ง ค. ไม่ได้ยิน
ยอม จึงเป็นการกระทำาละเมิดต่อ ค. ค. ย่อมเรียกค่าเสียหายจาก ง. ได้

การกระทำาการฝ่าฝืนกฎหมายใดจนเกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น จะสันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้กระทำา


การฝ่าฝืนเป็นผู้กระทำาผิดเสมอไปหรือไม่
จะสันนิษฐานว่าผู้กระทำาการฝ่าฝืนกระทำาผิด ไม่เสมอไป ที่ถือว่ากระทำาการฝ่าฝืนกฎหมายใดจนเกิด
ความเสียหายแก่บุคคลอื่น จะสันนิษฐานไว้ก่ อนว่า ผู้ก ระทำา การฝ่าฝืน เป็น ผู้ผิดนั้น จะต้อ งเป็น การฝ่าฝืน
กฎหมายอันมีที่ประสงค์เพื่อปกป้องบุคคลอื่นๆ เท่านั้น

ตามบทบัญญัติมาตรา 422 นั้น รวมถึงหลักเกณฑ์ที่ว่าความเสียหายเป็นผลเนื่องจากการกระทำา


ฝ่าฝืนกฎหมายนั้นด้วยหรือไม่
ไม่รวมถึง หลักเกณฑ์ที่ว่าความเสียหายเป็นผลเนื่องจากการกระทำาฝ่าฝืนกฎหมายด้วย หลักเกณฑ์
ประการอื่นคือได้มีความเสียหายเป็นผลเนื่องจากการกระทำาการฝ่าฝืนกฎหมายนั้น ยังต้องพิสูจน์ให้ได้ความ
ต่อไป

11.1.4 การกระทำาที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น
ที่เรียกว่า “สิทธินั้น” เข้าใจว่าอย่างไร ยกตัวอย่าง

ในบทบั ญ ญั ติ ม าตรา 420 มี ค วามจำา เป็ น ต้ อ งบั ญ ญั ติ คำา ว่ า “ชี วิ ต ร่ า งกาย อนามั ย เสรี ภ าพ
ทรัพย์สิน” ไว้อย่างไร หรือไม่ เพราะเหตุใด
ไม่มีความจำาเป็นต้องบัญญัติ เพราะสิ่งเหล่านี้ย่อมอยู่ในความหมายของคำาว่า “สิทธิ” อย่างหนึ่งอย่าง
ใด ดังที่ได้บัญญัติในมาตรา 420
มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่
ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิด
จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 421 การใช้สิทธิซึ่งมีแต่จะให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นนั้น ท่านว่าเป็นการอันมิชอบด้วย
กฎหมาย

ที่ว่า “ทำาต่อบุคคล” ในมาตรา 420 นัน้ ท่านเข้าใจว่าอย่างไร


ที่ว่า “ทำาต่อบุคคล” นัน้ หมายความว่าทำาต่อสิทธิของบุคคลนั่นเอง

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
87

ก. จองตั๋วไปดูภาพยนตร์ ณ โรงภาพยนตร์แห่งหนึ่ง แต่ยังไม่ทันเข้าไปนั่ง ณ ที่จองไว้ ข. ก็เข้าไป


นั่งที่ ก. จองไว้เสียก่อน โดย ก. ไม่อนุญาต โดยที่ ข. ก็รู้ว่าเป็นที่นั่งที่ ก. จองไว้แล้วดังนี้ ข. กระทำา
ละเมิดต่อ ก. หรือไม่
การที่ ก. จองตั๋วเข้าดูภาพยนตร์ เป็นการได้สิทธิในที่นั่งที่จองไว้ การที่ ข. เข้าไปนั่ง โดย ก. ไม่
อนุญาต และรู้วา่ เป็นที่ของ ก. จองไว้ เป็นการที่ ข. กระทำาละเมิดต่อ ก.

ที่เรียกว่า “ความเสียหายในอนาคต” นั้น ท่านเข้าใจว่าอย่างไร ยกตัวอย่างประกอบ

11.1.5 ความเสียหายนั้นเป็นผลมาจากการกระทำาของผู้ทำาความเสียหาย
ที่เรียกว่าทฤษฎีความเท่ากันแห่งเหตุหรือทฤษฎีเงื่อนไขกับทฤษฎีมูลเหตุเหมาะสมนั้น ท่านเข้ใจว่า
อย่างไร ยกตัวอย่างประกอบ

เด็กชาย ก. เล่นเตะลูกฟูตบอลในสนามหญ้าหน้าบ้าน บังเอิญลูกฟูตบอลไปถูกกระจกหน้าต่างบ้าน


ของ ข. แล้วกระดอนไปถูกหน้าต่างบ้านของ ค. ซึ่งอยู่ใกล้เคียงกันเสียหายโดยประมาทเลินเล่อ โดยที่เด็ก
ชาย ก. ก็ไม่คาดเห็นว่าจะเป็นดังนี้ เด็กชาย ก. ต้องรับผิดต่อ ข. และ ค. หรือไม่
เด็กชาย ก. ต้องรับผิดต่อ ข. และ ค. เพราะความเสียหายเป็นผลโดยตรงจากการที่เด็กชาย ก. เตะ
ลูกฟุตบอล แม้ตนจะไม่คาดเห็นว่าจะเป็นเช่นนั้น

ส. ขโมยรถยนต์เก๋งของ บ. ที่จอดอยู่หน้าที่ทำาการของ บ. ไป ปรากฏว่าที่ท้ายรถซึ่งที่เก็บของมี


เครื่องรับโทรทัศน์สีของ บ. เก็บไว้ด้วย ซึ่งขณะที่เอารถไป ส. ไม่คิดว่าจะมีเครื่องรับโทรทัศน์ และระหว่าง
ที่เอารถไปนั้น ส. ไม่เคยเปิดท้ายรถดู บ. จึงไม่มีเครื่องรับโทรทัศน์ดู ต้องไปเช่าของผู้อื่นใช้ ดังนี้ ส. ต้อง
รับผิดต่อ บ. ที่ไปเช่าเครื่องรับโทรทัศน์ดูหรือไม่
ส. ต้องรับผิดต่อ บ. แม้จะไม่รวู้ ่าเครื่องรับโทรทัศน์ของ บ. อยู่ท้ายรถ

11.2 หมิน่ ประมาททางแพ่ง การพิพากษาคดี และการร่วมกันทำาละเมิด


1. หมิ่นประมาททางแพ่งคือการกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความเป็นจริงอัน
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น
2. การวินิจฉัยความรับผิดเพื่อละเมิดในทางแพ่ง ต้องเป็นไปตามกฎหมายส่วนแพ่งไม่จำา เป็นต้อง
พิเคราะห์ถึงการทีผ่ ู้กระทำาผิดต้องคำาพิพากษาลงโทษทางอาญาหรือไม่
3. การร่วมกันทำาละเมิดเป็นเรื่องที่บุคคลหลายคนร่วมกันกระทำาผิด จะต้องมีการกระทำาร่วมกันโดยมี
เจตนาหรือความมุ่งหมายร่วมกันหรือการยุยงส่งเสริมหรือช่วยเหลือในการทำาละเมิด

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
88

11.2.1 หมิน่ ประมาททางแพ่ง


ก. กล่าวหาว่า ข. ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานกินสินบน ค. ก็นำาความที่ ก. กล่าวหานั้นเที่ยวพูดแก่บุคคล
ทั่วไปว่า ข. กินสินบน โดยบอกว่ารู้จาก ก. อีกทีหนึ่ง เท็จจริงอย่างไรอยู่ที่ ก. ทั้งๆที่ ค. ก็รู้ว่าตามที่กล่าว
หานั้น ไม่เป็นความจริงแต่ประการใด ดังนี้ ค. ต้องรับผิดต่อ ข. หรือไม่
การไขข่าว คือการพูดข่าวจากคนอื่น ซึ่งข้อความอันฝ่าฝืนต่อความเป็นจริงก็เป็นละเมิดได้ ข้อความ
ที่ ค. ไขข่าวว่า ข. กินสินบน ทั้งๆ ที่รู้ว่าตามที่กล่าวหานั้นไม่เป็นความจริง ย่อมเป็นสิ่งเสียหายแก่ชื่อเสียง
หรือเกียรติคุณของ ค. จึงต้องรับผิดต่อ ข. ด้วย

11.2.2 การพิพากษาคดี
ในคดีอาญาเรื่องหนึ่ง ก. ฟ้อง ข. ว่า ข. บุกรุกเข้ามาในที่ดินของ ก. ศาลพิพากษายกฟ้องอ้างว่า
ข. ไม่มีเจตนาบุกรุก คดีถึงที่สุด ดังนี้ ก. จะฟ้อง ข. เป็นคดีแพ่งว่า ข. บุกรุกเข้าไปในที่ดินของ ก. อัน
เป็นการกระทำาละเมิดโดยประมาทเลินเล่อและเรียกค่าเสียหาย จะได้หรือไม่
ตามมาตรา 424 ดังนั้น ก. จึงฟ้อง ข. เพื่อเรียกค่าเสียหายในมูลละเมิดได้
มาตรา 422 ถ้าความเสียหายเกิดแต่การฝ่าฝืนบทบังคับแห่งกฎหมายใดอันมีที่ประสงค์เพื่อจะ
ปกป้องบุคคลอื่น ๆ ผู้ใดทำาการ ฝ่าฝืนเช่นนั้น ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นเป็นผู้ผิด

11.2.3 การร่วมกันทำาละเมิด
ที่ว่าร่วมกันกระทำาละเมิด หมายความว่าอย่างไร
การร่วมกันทำาละเมิดจะต้องมีเจตนาหรือความมุ่งหมายร่วมกัน และมีการกระทำาร่วมกันเพื่อความมุ่ง
หมายร่วมกันนั้น

ก. เข้าไปลักทรัพย์ในบ้านของ ข. ได้มาหลายสิ่ง ค. ทราบดังนั้น ก็เข้าไปลักบ้าง ขณะกำาลังเก็บ


ทรัพย์อยู่ในบ้านของ ข. ง. เพื่อนกันผ่านมาพอดีก็ช่วยกันรับทรัพย์จาก ค. ออกจากประตูบ้านได้ทรัพย์ออก
มาหลายสิ่งด้วยกัน ดังนี้ ก. ค. และ ง. ต้องร่วมกันรับผิดต่อ ข. หรือไม่
ก. ค. ต่างคนต่างกระทำาละเมิดต่อ ข. มิได้กระทำาละเมิดร่วมกัน จึงไม่ต้องร่วมกันรับผิดต่อ ข.
ส่วน ค. ง. ร่วมกันกระทำาละเมิดต่อ ข. จึงต้องร่วมกันรับผิดต่อ ข.

ก. ขับรถจักรยานยนต์ชน ข. โดยประมาทเลินเล่อ ข. นอนเจ็บอยู่กลางถนน ขณะนั้นพอดี ค.


ขับรถยนต์ผ่านมาและเฉี่ยวถูก ข. ซึ่งนอนเจ็บอยู่โดยประมาทเลินเล่อ ค. สลบไป ดังนี้ ก. ค. ต้องร่วมกัน
รับผิดต่อ ข. หรือไม่
ก. ค. ต่างกระทำาละเมิดต่อ ข. ไม่ได้รว่ มกันกระทำาละเมิด จึงไม่ต้องร่วมกันรับผิดต่อ ข.

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 11

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
89

1. ก. ใช้ไม้ตี ข. โดยไม่ต้องการให้ ข. ถึงตาย แต่ ข. บาดเจ็บและถึงแก่ความตายในเวลาต่อมา ดังนี้


ก. กระทำาต่อ ข. โดยจงใจหรือไม่ เป็นการกระทำาโดยจงใจ เพราะรู้สำานึกในผลเสียหาย
2. แดงกับดำาเป็นเพื่อนกัน แดงยอมให้ดำาชกต่อยที่หน้า ดำาก็ชกต่อย แดงได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย ดังนี้แดง
จะเรียกค่าเสียหายจากดำาได้หรือไม่ เรียกไม่ได้ เพราะแดงยินยอมให้ทำา ไม่เป็นกระทำาละเมิด
3. ก. บุกรุกเข้าไปในตึกแถวที่ ข. เช่าจาก ค. แต่ไม่มีสิ่งของอื่นใดของ ข. เสียหาย ดังนี้ ข. จะได้รับ
ความเสียหายหรือไม่ ถือว่า ข. ได้รับความเสียหายแล้ว แม้ไม่ใช่เจ้าของตึกแถว
4. ก. ขุดหลุมในถนนสาธารณะซึ่งเป็นทางเข้าบ้านของ ข. ข. จึงเอารถเข้าบ้านไม่ได้ ดังนี้ ข. ได้รับ
ความเสียหายหรือไม่ ข. ได้รับความเสียหายแล้วเพราะ ข. เอารถเข้าบ้านไม่ได้
5. ส. ขับรถชน น. ส. หนีไป ส่วน น. บาดเจ็บและสลบอยู่ริมถนน คนร้ายฉวยโอกาสขโมยนาฬิกา
ข้อมือของ น. ไป ดังนี้ ส. ต้องรับผิดต่อ น. ในการที่นาฬิกาถูกคนร้ายรักไปหรือไม่ ต้องรับผิด
เพราะเป็นผลมาจากการกระทำาของ ส.
6. จ. ยืมรถของ ส. ไปใช้ แล้วถูก บ. ลักไป ดังนี้ จ. ได้รับความเสียหายหรือไม่ ได้รับความเสียหาย
แล้ว เพราะ จ. มีสิทธิที่จะขอใช้รถ
7. ความเสียหายต่อไปนี้ที่คำานวณเป็นตัวเงินไม่ได้เช่น ค่าที่เสียแขนขาทุพพลภาพพิการตลอดชีวิต
8. ด. กับ ส. เจ้าพนักงานที่ดินสนทนากันต่อหน้า อ. ด. ถาม ส. ว่า “นายรับสินบนจากผู้ขายเท่าไร
แล้ว” ซึ่ง ส. ไม่เคยรับสินบนจากผู้ขายและ ด. ก็รู้ ดังนี้ถือว่า ด. กล่าวหมิ่นประมาท ส. หรือไม่
เป็นหมิ่นประมาท แม้เป็นคำาถามของ ด.
9. ในคดีอาญาเรื่องหนึ่ง ศาลพิพากษายกฟ้ อ งโดยฟั งข้ อเท็จจริง ว่าจำา เลยมิ ได้ มีเ จตนาเอารถยนต์ข อง
โจทย์ไป โจทย์จะฟ้องทางแพ่งเรียกคืนรถจากจำาเลยได้หรือไม่ ฟ้องได้ เพราะเป็นการฟ้องทางแพ่ง
ให้คนื รถ
10. จ. กับ อ. เกิดทะเลาะวิ วาทกัน จ. ใช้มีด แทง อ. บาดเจ็บ ล้ม ลง ต. เห็นเข้าก็ ใช้ ปืนยิ ง อ. อ.
ถึงแก่ความตาย ดังนี้ จ. กับ ต. ร่วมกันกระทำาละเมิดต่อ อ. หรือไม่ ไม่เป็นการร่วมกันทำา ละเมิด
เพราะมิได้มีเจตนาและการกระทำาร่วมกัน

หน่วยที่ 12 ความรับผิดในการกระทำาของบุคคลอื่น

1. ความรับผิดในการกระทำาของตนเอง บุคคลผู้รับผิดจะต้องกระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อโดย
ผิดกฎหมาย มีความเสียหายแก่บุคคลอื่น และความเสียหายนั้นเป็นผลมาจากการกระทำาของผู้ทำาความ
เสียหาย ส่วนความรับผิดในการกระทำาของบุคคลอื่นเป็นความรับผิดของบุคคลหนึ่งในการกระทำา

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
90

ละเมิดของบุคคลอีกคนหนึ่ง โดยที่บุคคลก่อนที่ต้องรับผิดนั้นมิได้กระทำาละเมิดเอง ซึ่งความรับผิดใน


การกระทำาของบุคคลอื่นเกิดขึ้นโดยบทบัญญัติของกฎหมาย
2. บุคคลผู้ต้องรับผิดในการกระทำาของบุคคลอื่นคือ นายจ้าง ตัวการ บิดามารดา ผู้อนุบาล และครูบา
อาจารย์ แต่ไม่รวมถึงความรับผิดของผู้ว่าจ้างทำาของ
3. บุคคลที่ต้องรับผิด เมื่อใช้ค่าสินไหมทดแทนไปแล้ว มีสิทธิเรียกร้องชดใช้เอาจากผู้ก่อการละเมิดตาม
ที่กฎหมายบัญญัติไว้

ความรับผิดในผลแห่งการละเมิดของลูกจ้างในทางการที่จ้าง
1. ที่ว่า “นายจ้าง” “ลูกจ้าง” หมายถึงความสัมพันธ์ตามสัญญาจ้างแรงงาน
2. ความรับผิดในผลแห่งการละเมิดของลูกจ้างในทางการที่จ้าง เป็นความรับผิดในการกระทำาของบุคคล
อื่น
3. ความหมายของ “ในทางการที่จ้าง” ไม่ใช่เรื่องมอบอำานาจให้กระทำา แต่เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับงานที่
จ้าง
4. เมื่อเป็นเหตุละเมิดที่เกิดขึ้นในทางการที่จ้างแล้ว วิธีปฏิบัติของลูกจ้างหรือกรณีที่นายจ้างมีคำาสั่งห้าม
ไม่เป็นข้อต่อสู้ของนายจ้าง
5. โดยเหตุที่ตัวแทนมิใช่ลูกจ้าง จึงไม่อยู่ในบังคับแห่งสิทธิของตัวการที่จะควบคุมตัวแทน โดยปกติ
ตัวแทนย่อมมีความรับผิดแต่ผู้เดียว ตัวการไม่ต้องรับผิดในผลแห่งการละเมิดที่ตัวแทนก่อขึ้น

ลักษณะของนายจ้างลูกจ้างและในทางการที่จ้าง
ที่เรียกว่าเป็นนายจ้างลูกจ้างกันนั้นเกิดจากสัญญาอะไร
เกิดจากสัญญาจ้างแรงงานตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 575 มิใช่
สัญญาจ้างทำาของ

ที่เรียกว่า “ในทางการจ้าง” นัน้ จะเข้าใจว่าอย่างไร


เข้าใจว่าเป็นกรณีที่ลูกจ้างได้ปฏิบัติงานตามที่จ้างมาหรือเกี่ยวข้องกับงานที่จ้าง ไม่ใช่เรื่องที่นายจ้าง
สั่งให้ลูกจ้างกระทำาการ

สั่งให้ ข. ลูกจ้างตีศีรษะ จ. ลูกค้าของ ก. ข. ก็ทำาตามคำาสั่งนี้ การกระทำาของ ข. เกิดขึ้นใน


ทางการที่จ้างหรือไม่
ตามตัวอย่างไม่ถือว่าเป็นการกระทำาของ ข. เกิดขึ้นในทางการที่จ้าง แต่เป็นกรณีที่นายจ้างกระทำา
ละเมิดโดยนายจ้างเป็นผู้ยุยงส่งเสริมให้ลูกจ้างกระทำา จึงเป็นการกระทำา ละเมิดร่วมกันตามที่บัญญัติไว้ใน
มาตรา 432

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
91

มาตรา 432 ถ้าบุคคลหลายคนก่ อให้เ กิด เสียหายแก่ บุค คลอื่นโดย ร่วมกันทำา ละเมิด ท่านว่า
บุคคลเหล่านั้นจะต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น ความข้อนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึง
กรณี ที่ไม่สามารถสืบรู้ตัวได้แน่ว่าในจำาพวกที่ทำาละเมิดร่วมกันนั้น คนไหน เป็นผู้ก่อให้เกิดเสียหายนั้นด้วย
อนึ่ง บุคคลผู้ยุยงส่งเสริมหรือช่วยเหลือในการทำาละเมิด ท่านก็ ให้ถือว่าเป็นผู้กระทำาละเมิดร่วมกัน
ด้วย
ในระหว่างบุคคลทั้งหลายซึ่งต้องรับผิดร่วมกันใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้น ท่านว่าต่างต้องรับผิดเป็น
ส่วนเท่าๆ กัน เว้นแต่โดยพฤติการณ์ ศาลจะวินิจฉัยเป็นประการอื่น

การละเมิดโดยประมาทเลินเล่อ
ข. ลูก จ้า ง ก. มีหน้า ที่ขั บรถไปส่งบุ ตรของ ก. ไปโรงเรี ยน ขณะขับ รถอยู่ ได้ จุด บุหรี่ สูบ โดย
ประมาทเลินเล่อ ข. จึงขับรถชน ค. ที่เดินอยู่ริมถนนดังนี้ ก. ต้องร่วมกับ ข. รับผิดต่อ ค. หรือไม่
เป็นเหตุที่เกิดขึ้นในทางการที่จ้าง ก. ต้องร่วมกับ ข. รับผิดต่อ ค.

ข. เป็นลูกจ้างของ ก. เจ้าของร้านขายหนังสือกฎหมายแห่งหนึ่ง มีหน้าที่ขายและรับเงินค่าหนังสือ


จากลูกค้า ค. มาซื้อหนังสือกฎหมายเล่มหนึ่ง ข. ก็ทอนเงินเป็นธนบัตรปลอมให้ ค. ดังนี้ ก. ต้องร่วมกับ
ข. รับผิดต่อ ค. ได้หรือไม่
เป็นเหตุที่เกิดขึ้นในทางการที่จ้าง ก. ข. ต้องร่วมกันรับผิดต่อ ค.

การละเมิดโดยจงใจ
ยกตัวอย่างเหตุละเมิดที่เกิดขึ้นโดยจงใจ นอกจากตัวอย่างในเอกสาร

ลักษณะตัวการตัวแทนและความรับผิดของตัวการ
ก. เป็นตัวแทนขายรถยนต์ของบริษัท ข. ก. ในฐานะตัวแทนตกลงขายรถยนต์คันหนึ่งให้แก่ ส.
โดยตกลงกันว่าเครื่องอะไหล่ทุกชิ้นต้องเป็นของแท้ กรรมสิทธิ์ในรถได้โอนมาเป็นของ ส . แล้ว ก่อนที่จะนำา
รถไปส่งมอบแก่ ส. ก. ได้ถอดเครื่องอะไหล่แท้ของรถออกเป็นประโยชน์แก่ตน แล้วเอาเครื่องอะไหล่เทียม
ใส่แทน แล้วนำารถมาส่งมอบแก่ ส. โดยที่ ส. ลูกค้าไม่ทราบถึงความจริงดังกล่าว ดังนี้ บริษัท ข. ต้องร่วม
รับผิดต่อ ส. หรือไม่
การที่ ก. ถอดเอาเครื่องอะไหล่แท้ออก แล้วเอาของเทียมใส่ไว้แทนนั้นเป็นเหตุละเมิดที่เกิดขึ้นใน
ขอบเขตของการปฏิบัติตามหน้าที่หรือโดยฐานได้ทำาการแทนบริษัท ข. ข. จึงต้องร่วมรับผิดต่อ ส. ด้วย

ความรับผิดของผู้ว่าจ้างทำาของ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
92

1. ความรับผิดชอบของผู้ว่าจ้างทำาของมิใช่เรื่องความรับผิดในการกระทำาของบุคคลอื่น ความรับผิด
ของผู้ว่าจ้างทำาของเป็นความรับผิดของผู้ว่าจ้าง ในการกระทำาของตนตามกฎเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ใน
มาตรา 420
2. ผู้ว่าจ้างทำาของไม่ต้องรับผิดเพื่อความเสียหายอันผู้รับจ้างได้ก่อให้เกิดขึ้นแก่บุคคลภายนอกใน
ระหว่างทำาการงานที่ว่าจ้าง เว้นแต่ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ผิดในส่วนการงานที่สั่งให้ทำา หรือในคำาสั่งที่
ตนให้ไว้ หรือในการเลือกหาผู้รับจ้าง

ความรับผิดของผู้ว่าจ้างทำาของไม่เป็นความรับผิดในการกระทำาของบุคคลอื่น
ที่ว่าบทบัญญัติว่าด้วยความรับผิดของผู้ว่าจ้างทำาของ ไม่ใช่บทบัญญัติว่าด้วยความรับผิดในการกระ
ทำาของบุคคลอื่นนั้น ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
มาตรา 428 ผู้ว่าจ้างทำาของไม่ต้องรับผิดเพื่อความเสียหายอันผู้ รับจ้างได้ก่อให้เกิดขึ้นแก่บุคคล
ภายนอกในระหว่างทำาการงานที่ว่าจ้าง เว้นแต่ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ผิดในส่วนการงานที่สั่งให้ทำา หรือในคำาสั่งที่ตน
ให้ไว้หรือในการเลือกหาผู้รับจ้าง

ความรับผิดของผู้ว่าจ้างทำาของ
ที่ว่าผู้วา่ จ้างเป็นผู้ผิดตามมาตรา 428 นัน้ จะเข้าใจว่าอย่างไร
ที่ว่าผู้ว่าจ้างเป็นผู้ติดตามมาตรา 428 นั้น หมายความว่าผู้ว่าจ้างกระทำาโดยจงใจหรือประมาท
เลินเล่อตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในมาตรา 420
มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่
ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิด
จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

ก. จ้าง ข. ทำาโต๊ะเก้าอี้ชุดรับแขก ข. ก็ลักเอาไม้ของ ค. มาเป็นสัมภาระจัดทำา โดยที่ ข. ก็รู้ว่า


เป็นไม้ของ ค. แต่ ก. ไม่รู้เห็นด้วย ก. และ ข. ต้องรับผิดต่อ ค. หรือไม่
ก. ไม่ต้องรับผิดต่อ ค. เพราะมิได้รู้เห็นในการที่ ข. เอาไม้ของ ค. มาทำาชุดรับแขก ก. จึงมิได้
กระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ

ความรับผิดของบิดาหรือผู้อนุบาลในการกระทำา ละเมิด ของผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตและความรับผิด


ชอบของครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอื่นในการกระทำาละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
1. หลักเกณฑ์ความรับผิดทางละเมิดของผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตย่อมเป็นไปตามมาตรา 420
แต่มิได้หมายความว่าถ้าผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตก่ อความเสียหายขึ้นแล้วจะต้องรับผิดฐาน
ละเมิดทุกกรณีไป

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
93

2. บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์หรื อวิ กลจริ ตก็ ยั งต้ อ งรั บผิ ดในผลที่ ตนทำา


ละเมิด บิดามารดาหรือผู้อนุบาล หรือครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่นที่รับดูแล ย่อมต้องรับ
ผิดร่วมกับเขาด้วย
3. บิดามารดาหรือผู้อนุบาลที่มีหน้าที่ดูแล อาจต้องรับผิดละเมิดเป็นส่วนตัวโดยการกระทำาผิดตาม
มาตรา 420

ความรับผิดของผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตทางละเมิด
ผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริต จะต้องรับผิดในความเสียหายที่ตนก่อขึ้นเสมอไปหรือไม่
ไม่เสมอไป กรณีที่ผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตทำาความเสียหาย ถ้ามิได้กระทำาโดยจงใจหรือประมาท
เลินเล่อ ก็ย่อมไม่เป็นละเมิด ถ้าเป็นเด็กไร้เดียงสา ไม่รู้สำานึกในการกระทำาของตนหรือบุคคลวิกลจริตที่ไม่รู้
สภาพของการกระทำาของตน ย่อมจะถือว่าทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อไม่ได้ แต่ถ้ารู้ได้ว่าทำาอะไรลงไป
เพียงแต่ไม่รู้สึกผิดชอบหรือยับยั้งไม่ได้ อาจเป็นการกระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อได้ เพราะผู้เยาว์หรือ
บุคคลวิกลจริตย่อมมีฐานะทางจิตใจอยู่หลายระดับต่างกันไป

ความรับผิดของบิดามารดาหรือผู้อนุบาล
ก. มาเยี่ยม ข. เพื่อนกัน โดยอุ้ม น. บุตร ซึ่งเป็นทารกอายุ 6 เดือน มาด้วย ก. นึกสนุกคิดจะ
แกล้ง ข. เล่น โดยรู้ว่าบุตรของตนจวนจะได้เวลาปัสสาวะออกมาแล้ว จึงส่งเด็กให้ ข. อุ้ม เด็กปัสสาวะรด
ข. จนเปียกโชก ดังนี้ ก. และ น. จะต้องรับผิดต่อ ข. หรือไม่
ก. ต้องรับผิดต่อ ข. เพราะได้กระทำาโดยจงใจโดยใช้เด็กชาย น. บุตรของตนเป็นเครื่องมือ ส่วน
เด็กชาย น. ไม่ต้องรับผิดต่อ ข. เพราะเป็นเด็กทารกอายุเพียง 6 เดือน ไม่มีการกระทำาโดยจงใจหรือ
ประมาทเลินเล่อ

ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแล
น้อยอายุ 5 ขวบ ขณะที่อยู่กับนิดซึ่งเป็นมารดา เกิดทะเลาะกับปูซึ่งเป็นเพื่อนเด็กด้วยกัน ได้ใช้
ไม้ไล่ตีปูบาดเจ็บดังนี้ นิดและน้อยต้องรับผิดต่อปูหรือไม่
เด็กชายน้อยต้องรับผิดต่อเด็กชายปู เพราะการใช้ไม้ไล่ตีเป็นการกระทำา ละเมิดตามมาตรา 420
429 นิด ซึ่งเป็น มารดาจึ งต้ อ งร่ ว มรั บ ผิ ด ด้ว ยตามมาตรา 429 เว้นแต่จ ะพิสูจ น์ไ ด้ว่ า ตนได้ ใช้ ค วาม
ระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลซึ่งทำาอยูน่ ั้น
มาตรา 429 บุคคลใดแม้ไร้ความสามารถเพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตก็ยังต้องรับผิดในผล
ที่ตนทำาละเมิด บิดามารดาหรือผู้ อนุบาลของบุคคลเช่นว่านี้ย่อมต้องรับผิดร่วมกับเขาด้วย เว้นแต่จะพิสูจน์ได้
ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแล ซึ่งทำาอยูน่ ั้น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
94

ก. ไม่ถูกกับ ข. เพื่อนบ้าน และรู้ว่า ค. บุตรชายของตนซึ่งมีอายุ 10 ขวบชอบเล่นปืนอาจเอา


ปืนไปยิงกระจกบ้านของ ข. เล่น ได้อย่างที่ ค. เคยพูดให้ฟัง ก. จึงส่งปืนให้ ค. เล่น ค. ใช้ปืนยิงกระจก
บ้านของ ข. แตกเสียหาย ต่อมา ก. ได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ ค. ไปแล้ว จึงไล่เบี้ยเรียกคืนจากเด็กชาย
ค. ทั้งหมด ดังนี้จะทำาได้หรือไม่
การที่ ก. ส่งปืนให้ ค. เล่น ค. จึงเอาปืนไปยิงกระจกบ้านของ ข. แตก เป็นการที่ ก. กระทำา
ละเมิดต่อ ข. โดยจงใจ มิใช่ความรับผิดของบิดาในการกระทำา ละเมิดของบุตร เมื่อ ก. ชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทนให้ ค. ไปแล้ว จึงไล่เบี้ยเรียกคืนจากเด็กชาย ค. ไม่ได้ทั้งหมด

ก. เป็นบุตรของ ข. ก. ออกจากบ้านไปโรงเรียนโดยรถยนต์โดยสารประจำาทาง ระหว่างเดินทาง


อยู่บนรถ เกิดชกต่อย ค. ผู้โดยสารด้วยกันโดยละเมิด ดังนี้ ข. ต้องร่วมกับ ก. รับผิดต่อ ค. หรือไม่
ข. ไม่ต้องร่วมรับผิดกับเด็กชาย ก. เพราะขณะเกิดเหตุละเมิดนั้นอยู่ในระหว่างเวลาที่เด็กชาย ก.
เดินทางอยู่ เด็กชาย ก. มิได้อยู่ในความดูแลของ ข. เป็นเรื่องที่เด็กชาย ก. ผูเ้ ดียวจะต้องรับผิดต่อ ค. ตาม
มาตรา 420 และ 429 ตอนแรก

ความรับผิดของครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอื่นในการทำาละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ


ความรับผิดตามมาตรา 429 และ 430 มีหลักเกณฑ์เหมือนกันและแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
มีหลักเกณฑ์เหมือนกัน ในข้อที่ว่าต่างก็เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับความรับผิดในการกระทำาของบุคคล
อื่นอันเนื่องมาจากความบกพร่องในการดูแลบุคคลผู้ไร้ความสามารถ ต่างกันในข้อที่ว่าตามมาตรา 429
กฎหมายบัญญัติให้บิดามารดาหรือผู้อนุบาลผู้ทำาหน้าที่ดูแลรับผิดก่อน เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความ
ระมัดระวังตามสมควรแก่หน้าที่ดูแลซึ่งทำาอยู่นั้น ส่วนมาตรา 430 ครูบาอาจารย์นายจ้าง หรือบุคคลอื่นซึ่ง
รับดูแลนั้น จะต้องรับผิดก็ต่อเมื่อพิสูจน์ได้ว่าบุคคลดังกล่าวมานี้มิได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร

ที่ว่า “บุคคลผู้ไร้ความสามารถ” ตามมาตรา 430 นัน้ หมายความถึงบุคคลเช่นไร


หมายถึงผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริต เพราะบทบัญญัติมาตรา 430 เป็นบทบัญญัติต่อจากมาตรา
429 ในเรื่องบุคคลผู้ไร้ความสามารถกระทำาละเมิดด้วยกัน
มาตรา 430 ครูบาอาจารย์ นายจ้าง หรือบุคคลอื่นซึ่งรับดูแล บุคคลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์
ก็ดี ชั่วคราวก็ดี จำาต้องรับผิด ร่วมกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด ซึ่งเขาได้กระทำาลงในระหว่าง ที่อยู่ใน
ความดูแลของตน ถ้าหากพิสูจน์ได้ว่าบุคคลนั้น ๆ มิได้ใช้ ความระมัดระวังตามสมควร

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 12

1. ผู้ต้องรับผิดต้องมิได้กระทำาละเมิด แต่บุคคลอื่นต้องกระทำาละเมิด ถือว่าเป็นความรับผิดในการกระทำา


ของบุคคลอื่น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
95

2. นายแสงส่งปืนให้ลูกจ้างยิงคนร้ายที่เข้ามาขโมยสินค้าในโกดังของนายแสง ดังนี้ เป็นความผิดของ


นายแสงนายจ้างในการกระทำาของบุคคลอื่นหรือไม่ ไม่เป็นความรับผิดในการกระทำาของบุคคลอื่น
แต่เป็นความรับผิดในการกระทำาของตนเอง
3. ส. เป็นลูกจ้างของ จ. มีหน้าที่ซ่อมรถที่ลูกค้ามาจ้าง จ. ซ่อม โดยประมาทเลินเล่อ ขณะทำาการซ่อม
ตามหน้าที่ ส. ทำาให้รถลูกค้าเสียหาย ดังนี้ จ. ต้องรับผิดต่อลูกค้าด้วยหรือไม่ ต้องรับผิด เพราะเป็น
เหตุละเมิดที่เกิดขึ้นในทางการที่จ้าง
4. ม. ลูกจ้าง ว. มีหน้าที่เติมนำ้ามันใส่รถให้ลูกค้าที่ปั้ม ว. ออกระเบียบเป็นคำาสั่งไว้ว่าห้ามมิให้ลูกจ้าง
สูบบุหรี่ขณะทำางาน โดยประมาทเลินเล่อ ม. สูบบุหรี่ทำาให้เกิดไฟลุกไหม้รถลูกค้าเสียหายดังนี้ ว.
ต้องรับผิดต่อลูกค้าด้วยหรือไม่ ต้องรับผิด เพราะเหตุละเมิดเกิดขึ้นในทางการทีจ่ ้าง
5. ความรับผิดของผู้ว่าจ้างทำาของเป็นความรับผิดในการกระทำา ของบุคคลอื่นหรือไม่ ไม่ใช่ความรับผิด
ในการกระทำาของบุคคลอื่น
6. ส. จ้ า ง น. ทำา ถนนเข้ า บ้ า นของ ส. ปรากฏว่ า น. ทำา ถนนรุ ก ลำ้า เข้ า ไปในที่ ดิ น ของ ถ. โดย
ประมาทเลินเล่อ ซึ่ง ส. ไม่ทราบว่าเป็นที่ดินของ ก. ดังนี้ ส. ต้องรับผิดต่อการกระทำาของ น. หรือ
ไม่ ไม่ต้องรับผิด เพราะไม่อาจมีการกระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อได้
7. เด็กไร้เดียงสาต้องรับผิดในความเสียหายที่ตนก่อขึ้นหรือไม่ ไม่ต้องรับผิด เพราะไม่อาจมีการกระทำา
โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อได้
8. ม. ส่งระเบิดขวดให้ อ. บุตรชายผู้เยาว์ซึ่งอยู่ในความดูแลของตนโดยรู้ว่า อ. อาจนำาไปก่อความเสีย
หายแก่บุคคลอื่นได้ อ. นำา ระเบิดขวดไปขว้างปาใส่บ้าน ส. เสียหาย ดังนี้ ม. ต้องรับผิดต่อ ส.
หรือไม่ ต้องรับผิด เพราะเป็นความรับผิดในการกระทำาของตนเอง
9. เกี่ยวกับความรับผิดในการกระทำา ของตนเอง ผู้เยาว์หรือบุคคลวิกลจริตกระทำา ละเมิด จะต้องมีการก
ระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อหรือไม่ ต้องมีการกระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
10. น. เป็นบุตรผู้เยาว์ของ ส. และ ม. ส. และ ม. แยกกันอยู่ โดย ส. รับราชการอยู่ที่เชียงใหม่ ม.
อยู่ที่กรุงเทพฯ ระหว่างที่อยู่ในความดูแลของ ม. น. ทำาร้าย ค. โดยละเมิด ดังนี้ ส. จะต้องรับผิด
ด้วยหรือไม่ ไม่ต้องรับผิดเพราะขณะเกิดเหตุละเมิด ส. ไม่มีหน้าที่ดูแล น.

หน่วยที่ 13 ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากทรัพย์

1. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากทรัพย์เป็นความรับผิดที่ไม่ต้องมีการกระทำาโดยจงใจหรือ
ประมาทเลินเล่อ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
96

2. ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว์ เจ้าของหรือบุคคลผู้รับเลี้ยงรับรักษาไว้แทนเจ้าของสัตว์ต้องชดใช้
ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย
3. ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะเหตุโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นก่อสร้างไว้ชำารุดบกพร่องหรือ
บำารุงรักษาไม่เพียงพอ ผูค้ รองโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างนัน้ ๆ จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
4. บุคคลผู้อยู่ในโรงเรือนต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดเพราะของตกหล่นจากโรงเรือนหรือเพราะ
ทิ้งขว้างของไปตกในที่อันมิควร
5. ผู้ครอบครองหรือควบคุมยานพาหนะอันเดินด้วยกำาลังเครื่องจักรกลจะต้องรับผิดเพื่อความเสียหาย
อันเกิดแต่ยานพาหนะนั้น ผู้ครอบครองทรัพย์อันตรายก็จะต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดจาก
ทรัพย์นนั้ ด้วย

13.1 ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์
1. บุคคลอาจใช้สัตว์เป็นเครื่องมือก่อการละเมิดได้ตามมาตรา 420 ซึ่งต้องกระทำา โดยจงใจหรือ
ประมาทเลินเล่อ ไม่ใช่เรื่องความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์ เป็นความรับผิดของ
บุคคลในการกระทำาของตนเอง
2. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์เป็นเรื่องที่บุคคลที่ต้องรับผิด มีความบกพร่องใน
การดูแล มิได้กระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ กฎหมายจึงได้จำากัดตัวบุคคลที่ต้องรับผิดเอาไว้
คื อ เจ้ า ของสั ต ว์ แ ละบุ ค คลผู้ รั บ เลี้ ย งรั บ รั ก ษาไว้ แ ทนเจ้ า ของ แต่ มี ข้ อ ยกเว้ น ว่ า ถ้ า ได้ ใ ช้ ค วาม
ระมัดระวังอันสมควรแก่การเลี้ยงการรักษาตามชนิดและวิสัยของสัตว์หรือตามพฤติการณ์อย่างอื่น
หรือพิสูจน์ได้ว่าความเสียหายย่อมจะเกิดขึ้นทั้งที่ได้ใช้ความระมัดระวังถึงเพียงนัน้ ก็พ้นความรับผิด
3. บุคคลที่ต้องรับผิดจะใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่บุคคลที่เร้าหรือยั่วสัตว์โดยละเมิด หรือเอาแก่เจ้าของสัตว์
อื่นอันมาเร้าหรือยั่วสัตว์ก็ได้
4. คำาว่า “โดยละเมิด” ตามมาตรา 433 วรรค 2 มิได้หมายความว่าเป็นการกระทำา โดยละเมิดดังที่
ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 420 ซึ่งเป็นแม่บทอันเป็นบทบัญญัติว่าด้วยความรับผิดของบุคคลใน
การกระทำาของตนเอง แต่เป็นเรื่องที่บุคคลที่เร้าหรือยั่วสัตว์กระทำาไปโดยไม่มีสิทธิ

มาตรา 420 ผูใ้ ดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่


ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิด
จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 433 ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว์ ท่านว่าเจ้าของ สัตว์หรือบุคคลผู้รับเลี้ยงรับรักษา
ไว้แทนเจ้าของ จำาต้องใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่ฝ่ายที่ต้องเสียหายเพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิด แต่
สัตว์นั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวัง อันสมควร แก่การเลี้ยงการรักษาตามชนิดและวิสัย
ของสัตว์หรือตามพฤติการณ์ อย่างอื่นหรือพิสูจน์ได้ว่าความเสียหายนั้นย่อมจะต้องเกิดมีขึ้นทั้งที่ ได้ใช้ความ
ระมัดระวังถึงเพียงนั้น
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
97

อนึ่ง บุคคลผู้ต้องรับผิดชอบดั่งกล่าวมาในวรรคต้นนั้น จะใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่บุคคลผู้ที่เร้าหรือยั่ว


สัตว์นั้นโดยละเมิด หรือเอาแก่ เจ้าของสัตว์อื่นอันมาเร้าหรือยั่วสัตว์นั้น ๆ ก็ได้

13.1.1 การกระทำาละเมิดโดยใช้สัตว์เป็นเครื่องมือ
ก. โดยประมาทเลินเล่อ จูงกระบือของตนผ่านเข้าไปในนาข้าวของ ข. ทำาให้ต้นข้าวในนาที่กำาลัง
แตกรวงเสียหาย ดังนี้ ก. จะต้องรับผิดต่อ ข. ตามมาตรา 420 หรือ 433
ก. ต้องรับผิดต่อ ข. ตามมาตรา 420 เพราะได้กระทำาโดยประมาทเลินเล่อจูงกระบือของตน
ผ่านเข้าไปในนาข้าวของ ข. ไม่ใช่ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์ตามมาตรา 433

13.1.2 ความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์
ความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์ ต้องมีการกระทำาของสัตว์หรือไม่
ต้องมีการกระทำาของสัตว์

13.1.3 บุคคลที่ต้องรับผิดและข้อยกเว้นความรับผิด
ก. ยืมสุนัขตัวผู้ของ ข. มาผสมพันธ์กับสุนัขของ ก. ที่บ้าน ต่อมา ก. มีธุระไปต่างจังหวัดจึงเอา
สุนัขที่ยืมมานั้นไปฝาก ค. ไว้ระหว่างนั้นสุนัขแอบหนี ค. ไปขโมยของของแม่ค้าที่ตลาดสด ดังนี้ ท่านเห็น
ว่า ก. ข. และ ค. ผู้ใดต้องรับผิดต่อแม่ค้า
แม้สุนัขจะเป็นของ ข. แต่ก็อยู่ในการเลี้ยงรักษาของ ค. ผู้รับฝาก ค. จึงต้องรับผิดต่อแม่ค้า ข.
เจ้าของสุนขั และ ก. ผู้ยืมไม่ต้องรับผิด

ก. ข. มีบ้านพักอยู่ติดกัน ข. เลี้ยงนกแก้วไว้ตัวหนึ่งซึ่งเป็นนกช่างพูดช่างจำา ก. ด่าคนใช้ของ ก.


ด้วยถ้อยคำาหยาบคายบ่อยๆ นกแก้วของ ข. ก็จำามาด่า ค. บ้าง ดังนี้ ก. หรือ ข. ต้องรับผิดต่อ ค. และรับผิด
ตามมาตรา 420 หรือ 433
ข. เจ้าของนกแก้วต้องรับผิดต่อ ค. ตามมาตรา 433 ก. ไม่ต้องรับผิด ไม่ว่าตามมาตรา 420
หรือ 433 เพราะมิได้สอนนกให้ด่า ค. ก. มิได้เป็นเจ้าของนกหรือรับเลี้ยงรับรักษานกไว้แทนเจ้าของ

สุนัขของ ก. เห็นแมวของ ข. ก็เห่ากรรโชก แมวกลัวจึงหนี้ขึ้นไปบนต้นมะม่วงของ ค. มะม่วง


ตกหล่นลงมา ดังนี้ ก. หรือ ข. ต้องรับผิดต่อ ค. และ ก. ต้องรับผิดต่อ ข. หรือไม่
ข. เจ้าของแมว ต้องรับผิดต่อ ค. แต่การที่สุนัขของ ก. เห่ากรรโชกแมวของ ข. เป็นการที่สัตว์อนื่
มาเร้าหรือยั่วสัตว์ที่ก่อความเสียหายแม้ ก. ไม่ต้องรับผิดต่อ ค. เมื่อ ข. ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ ค. ไป
แล้ว ข. จึงใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาจาก ก. เจ้าของสุนขั ได้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
98

เด็กชาย ก. นึกสนุก จึงเอาประทัดผูกที่หางสุนัขของ ข. แล้วจุดประทัดๆ ระเบิดดังสนั่น สุนัข


ตกใจวิ่งหนี้เข้าไปในสวนของ ค. ต้นผลไม้เสียหาย ดังนี้ ถ้า
(1) เด็กชาย ก. รู้ดีว่าการที่ตนทำา ดังนั้นสุนัขจะวิ่งเข้าไปทำา ความเสียหายแก่ต้นไม้ใน
สวนของ ค.
(2) เด็กชาย ก. ไม่รู้สำานึกว่าสุนัขจะวิ่งเข้าไปทำาความเสียหายแก่ต้นไม้ในสวนของ ค.
และไม่ประมาทเลินเล่อ
ดังนี้เด็กชาย ก. หรือ ข. ต้องรับผิดต่อ ค. และเด็กชาย ก. ต้องรับต่อ ข. หรือไม่
แยกตอบได้ดังนี้
1. เด็กชาย ก. กระทำาละเมิดต่อ ค. ตามมาตรา 420 โดยใช้สุนัขของ ข. เป็นเครื่อง
มือจึงต้องรับผิดต่อ ค. โดยตรง ข. ไม่ต้องรับผิดต่อ ค.
2. เด็กชาย ก. มิได้จงใจหรือประมาทเลินเล่อกระทำาต่อ ค. ข. เจ้าของสุนัขจึงต้องรับ
ผิดต่อ ค. ตามมาตรา 433 แต่เด็กชาย ก. เป็นผู้เร้าหรือยั่วสุนัขโดยละเมิดตาม
มาตรา 433 วรรค 2 เมื่อ ข. ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ ค. ไปแล้ว ย่อมใช้
สิทธิไล่เบี้ยเอาจากเด็กชาย ก. ได้

13.1.4 การใช้สิทธิไล่เบี้ย
ตามมาตรา 433 วรรคสอง ที่ว่าใช้สิทธิไล่เบี้ยนั้น ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
ตามมาตรา 433 วรรคสอง หมายความว่าผู้ต้องรับผิดตามมาตรา 433 วรรคแรก ต้องชดใช้คา่
สินไหมทดแทนให้ผู้ต้องเสียหายไปก่อน แล้วจึงจะมาไล่เบี้ยเอาจากผู้ที่เล้าหรือยั่วสัตว์โดยละเมิดหรือเอาจาก
เจ้าของสัตว์อื่นอันมาเร้าหรือยั่วสัตว์นั้นๆ

13.2 ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น และของตกหล่นหรือทิ้ง


ขว้างจากโรงเรือน
1. บุคคลอาจใช้โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นเป็นเครื่องมือก่อการละเมิดได้ตามมาตรา 420
ซึ่งมิใช่เรื่องความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างไว้ชำา รุดหรือบำา รุง
รักษาไม่เพียงพอ แต่เป็นความรับผิดบุคคลในการกระทำาของตนเอง
2. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากโรงเรือน หรือสิ่งปลุกสร้างอย่างอื่นก่อสร้างไว้ชำารุดบกพร่อง
หรือบำารุงรักษาไม่เพียงพอเป็นเรื่องที่บุคคลที่ต้องรับผิดมีความบกพร่องในการดูแล มิได้กระทำาโดย
จงใจหรือประมาทเลินเล่อ กฎหมายจึงได้จำากัดตัวบุคคลที่ต้องรับผิดเอาไว้คือผู้ครอง แต่มีข้อยกเว้น
ความรับผิดว่าถ้าผู้ครองได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรเพื่อปัดป้องมิให้เกิดความเสียหายแล้ว ผู้
เป็นเจ้าของจำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
3. ผู้ครองหรือเจ้าของจะใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้อนื่ ที่ต้องรับผิดในการก่อให้เกิดความเสียหายก็ได้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
99

4. บุคคลผู้อยู่ในโรงเรือนต้องรับผิดชอบในความเสียหายอันเกิดเพราะของตกหล่นจากโรงเรือนนั้น
หรือเพราะทิ้งขว้างของไปตกในอันที่มิควร

13.2.1 ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรัางอย่างอื่นก่อสร้างไว้ชำารุด
บกพร่องหรือบำารุงรักษาไม่เพียงพอ
ก. พักอาศัยอยู่กับ ข. ที่บ้านของ ข. ซึ่งเป็นบ้านเก่าแก่ทรุดโทรมที่ ข. ครอบครอง ก. เห็นฝา
บ้านแผ่นหนึ่งกำาลังจะหลุดตกลงมาอยู่แล้วและเห็น ค. เดินผ่านมา คิดจะแกล้ง ค. เล่น จึงใช้ไม้เคาะฝาบ้าน
ตกลงไปถูก ค. บาดเจ็บ ดังนี้ ก. หรือ ข. ต้องรับผิดต่อ ค.
แม้จะเป็นผู้อยู่อาศัยอยู่กับ ข. ก. ก็ต้องรับผิดต่อ ค. เพราะได้กระทำาละเมิดต่อ ค. โดยจงใจโดย
ใช้ฝาบ้านเป็นเครื่องมือตามมาตรา 420 ส่วน ข. แม้จะเป็นเจ้าของและผู้ครอบครองบ้านก็ไม่ต้องรับผิด
ต่อ ค. ตามมาตรา 434
มาตรา 420 ผูใ้ ดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่
ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิด
จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 434 ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะเหตุที่โรงเรือน หรือ สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นก่อสร้างไว้
ชำารุดบกพร่องก็ดี หรือบำารุงรักษาไม่ เพียงพอก็ดีท่านว่าผู้ครองโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ จำาต้องใช้ ค่า
สินไหมทดแทนแต่ถ้าผู้ครองได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควร เพื่อปัดป้องมิให้เกิดเสียหายฉะนั้นแล้ว ท่าน
ว่าผู้เป็นเจ้าของจำาต้อง ใช้ค่าสินไหมทดแทน
บทบัญญัติที่กล่าวมาในวรรคก่อนนั้น ให้ใช้บังคับได้ตลอดถึงความบกพร่องในการปลูกหรือคำ้าจุน
ต้นไม้หรือกอไผ่ด้วย
ในกรณีที่กล่าวมาในสองวรรคข้างต้นนั้น ถ้ายังมีผู้อื่นอีกที่ต้องรับผิดชอบในการก่อให้เกิดเสียหาย
นัน้ ด้วยไซร้ ท่านว่าผู้ครองหรือเจ้าของจะใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผนู้ ั้นก็ได้

จ. เช่าบ้านของ ส. อยู่อาศัย ปรากฏว่ากระจกส่องแสงของบ้านแผ่นหนึ่งแตกร้าวกำาลังจะหลุดลง


มาอยู่แล้ว จ. จึงเอากระดาษปิดไว้ แล้วบอกให้ ส. จัดการซ่อมแซมตามสัญญา แต่ ส. ไม่จัดการซ่อม อ้างว่า
ยังไม่มีเงิน ไม่มีเวลาไปตามช่างมาซ่อม ขอให้รอไปก่อน ต่อมากระจกหลุดตกลงมาถูก ว. ที่มาเยี่ยม จ. บาด
เจ็บ ดังนี้ จ. หรือ ส. ต้องรับผิดต่อ ว.
กระจกส่องแสงเป็นส่วนประกอบของโรงเรือน การที่กระจกแตกและ จ . ได้เอากระดาษปิดไว้ เป็น
กรณีที่ปัดป้องมิให้เกิดความเสียหาย จ. จึงไม่ต้องรับผิด แต่ ส. เจ้าของบ้านต้องรับผิดตาม มาตรา 434
วรรคแรกตอนท้าย การที่อ้างว่าไม่มีเงิน ไม่มีเวลาตามช่างมาซ่อม ไม่เป็นข้อแก้ตัว

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
100

ค. มาเยี่ยม ต. ที่บ้านซึ่ง ต. เช่าจาก ถ. และ ต. ครอบครองอยู่ เมื่อ ค. ขึ้นมาชั้นบนซึ่งมีพื้น


ชำารุดอยู่ โดยที่ ค. ไม่ได้สังเกตหรือรู้มาก่อน ค. เหยียบกระดานแผ่นหนึ่งจนหล่นไปถูก ม. บาดเจ็บ ดังนี้
ค. หรือ ต. หรือ ถ. ต้องรับผิดต่อ ม.
ค. ไม่ได้กระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ไม่ต้องรับผิดต่อ ม. ตาม มาตรา 420 ต. ผูเ้ ช่า
ซึ่งครองบ้านอยู่ต้องรับผิดต่อ ม. ถ. เจ้าของบ้านไม่ต้องรับผิด แต่แม้ ค. ไม่ต้องรับผิดต่อ ม. ก็ต้องรับผิด
ต่อ ต. เมื่อ ต. ชดใช้สินไหมทดแทนให้ ม. ไปแล้ว ก็ย่อมใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาจาก ค. ได้

13.2.2 ความรับผิดในความเสียหายเพราะของตกหล่นหรือทิ้งขว้างจากโรงเรือนไปในที่อันมิควร
บ้านของ ส. อยู่ริมซอยแห่งหนึ่ง ซึ่งแต่ละครอบครัวอยู่ในบ้านหลังนั้น วันหนึ่ง อ. มาเยี่ยม ส. ที่
บ้าน ขณะที่พูดกันอยู่โดยไม่จงใจหรือประมาทเลินเล่อ อ. ทิ้งก้นบุหรี่ลงไปในซอยซึ่งขณะนั้น บ. เดินผ่าน
มาพอดี บุหรี่ถูกเสื้อของ บ. มีรอยไหม้ ดังนี้ ส. หรือ อ. ต้องรับผิดต่อ บ.
อ. ไม่ได้กระทำาต่อ บ. โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ไม่ต้องรับผิดต่อ บ. ตามมาตรา 420
แต่การที่ อ. ทิ้งก้นบุหรี่ไปในซอยที่อาจมีคนเดินมานั้น เป็นการทิ้งไปในอันที่อันมิควร ส. เป็นผู้อยู่ในบ้าน
หลังนั้น แม้จะไม่เป็นผู้กระทำา ก็ต้องรับผิดต่อ บ. ตาม มาตรา 436
มาตรา 435 บุคคลใดจะประสบความเสียหายอันพึงเกิดจาก โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น
ของผู้อื่น บุคคลผู้นั้นชอบที่จะเรียก ให้จัดการตามที่จำาเป็นเพื่อบำาบัดปัดป้องภยันตรายนั้นเสียได้
มาตรา 436 บุคคลผู้อยู่ในโรงเรือนต้องรับผิดชอบในความเสียหาย อันเกิดเพราะของตกหล่น
จากโรงเรือนนั้น หรือเพราะทิ้งขว้างของไป ตกในที่อนั มิควร

13.3 ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากยานพาหนะหรือทรัพย์อันตราย
1. บุคคลอาจใช้ยานพาหนะอย่างใดๆ อันเดินด้วยกำาลังเครื่องจักรกลหรือทรัพย์อันตรายเป็นเครื่อง
มือก่อนการละเมิดได้ตามมาตรา 420 ดังนี้ มิใช่ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากยาน
พาหนะหรือทรัพย์อันตราย แต่เป็นความรับผิดของบุคคลในการกระทำาของตนเอง
2. ความรั บผิด ในความเสีย หายที่เ กิด จากยานพาหนะอันเดินด้ วยกำา ลั งเครื่ อ งจั ก รกลหรื อ ทรั พย์
อัน ตรายเป็นเรื่อ งที่ บุคคลที่ ต้อ งรับ ผิด มีความบกพร่อ งในการดูแ ลมิ ไ ด้ ก ระทำา โดยจงใจหรื อ
ประมาทเลินเล่อ
3. กฎหมายกำา หนดตัวบุคคลที่ต้องรับผิดไว้ สำา หรับยานพาหนะได้แก่ผู้ครอบครองหรือควบคุม
สำาหรับทรัพย์อันตรายได้แก่ผู้ครอบครอง
4. กฎหมายได้บัญญัติข้อยกเว้นความรับผิดเอาไว้ คือพิสูจน์ว่าความเสียหายเกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือ
ความผิดของผู้ต้องเสียหายนั้นเอง

13.3.1 การกระทำาละเมิดโดยใช้ยานพาหนะหรือทรัพย์อันตรายเป็นเครื่องมือ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
101

ขณะที่ ว. กำา ลังจุดไม้ขีดไฟเพื่อ สูบบุหรี่ ค. แกล้งเอานำ้า มันเบ็นซินซึ่งใส่อยู่ในถาดล้างเครื่อ ง


อะไหล่รถเข้าไปใกล้ๆ เกิดลุกลวกร่างกาย ว. บาดเจ็บหลายแห่ง ค. ต้องรับผิดต่อ ว. ตามบทมาตราใด
ค. กระทำาละเมิดต่อ ว. โดยใช้นำ้ามันเบนซีนเป็นเครื่องมือ แม้ ว. กำาลังจุดไม้ขีดเพื่อสูบบุหรี่ ค.
ต้องรับผิดต่อ ว. ตาม มาตรา 420

ต. จอดรถเก๋งอยู่ริมเนินแห่งหนึ่ง โดยใส่ห้ามล้อมือเอาไว้ แล้วนั่งเล่นอยู่ใกล้ๆ รถ ว. ต้องการจะ


แกล้ง ข. ซึ่งอยู่ข้างหน้ารถของ ต. ที่จอดไว้ จึงปล่อยห้ามล้อมือ รถจึงไหลไปถูก ข. บาดเจ็บดังนี้ ต. หรือ
ว. ต้องรับผิดต่อ ข.
แม้ ต. จะเป็นผู้ครอบครองรถซึ่งมิได้วิ่งอยู่ แต่จอดไว้ริมเนินโดย ต. ใส่ห้ามล้อมือไว้ การที่ ว.
ปล่อยห้ามล้อมือ รถไหลไปถูก ข. บาดเจ็บจึงเป็นการกระทำาละเมิดต่อ ข. ตาม มาตรา 420 ไม่ใช่ มาตรา
437 วรรคแรก
มาตรา 420 ผูใ้ ดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่
ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิด
จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 437 บุคคลใดครอบครองหรือควบคุ มดู แลยานพาหนะอย่ า งใด ๆ อั น เดิน ด้ ว ยกำา ลัง
เครื่องจักรกล บุคคลนั้นจะต้องรับผิดชอบเพื่อการเสียหายอันเกิดแต่ยานพาหนะนั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้
ว่าการเสียหายนั้นเกิดแต่เหตุสุดวิสัยหรือเกิดเพราะความผิดของผู้ต้องเสียหาย นัน้ เอง
ความข้อนี้ให้ใช้บังคับได้ ตลอดถึงผู้มีไว้ในครอบครองของตนซึ่งทรัพย์อันเป็นของเกิดอันตรายได้
โดยสภาพหรือโดยความมุ่งหมายที่จะใช้ หรือโดยอาการกลไกของทรัพย์นั้นด้วย

13.3.2 ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำา ลังเครื่องจักรกล หรือ


ทรัพย์อันตราย
ก. นำาเอาเสาเข็มคอนกรีตขนาดใหญ่ บรรทุกรถซึ่งยืมมาจากบริษัท ข. ไปส่งลูกค้า โดย ก. เป็นผู้
ขับไปด้วยความระมัดระวังเพราะรู้ดีว่าบรรทุกของหนัก อาจเกิดความเสียหายแก่บุคคลใดก็ได้ แต่บังเอิญโซ่
เหล็กที่ผูกมัดเกิดขาด เสาหลุดลงมาถูกหลังคารถเก็งของ ค . ที่จอดอยู่ข้างทางพอดีรถเสียหาย ก. และ บริษัท
ข. เจ้าของรถต้องรับผิดต่อ ค. หรือไม่
ก. ต้องรับผิดต่อ ค. ตาม มาตรา 437 วรรคแรก ไม่ใช่ มาตรา 420 ส่วนบริษัท ข. แม้จะ
เป็นเจ้าของรถ แต่ไม่ได้ครอบครอง จึงไม่ต้องรับผิด

ขณะที่ ก. ขับรถไปตามถนนขรุขระอย่างช้าๆ โดยมี ข. นัง่ ไปข้างๆ รถสั่นสะเทือนกระจกสำาหรับ


ดูด้านหลังรถหลุดตกลงมาถูกศีรษะ ข. บาดเจ็บ ก. ต้องรับผิดต่อ ข. หรือไม่
ก. ต้องรับผิดต่อ ข. ตาม มาตรา 437 วรรคแรก ไม่ใช่ มาตรา 420

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
102

น. เช่ารถของ อ. มาใช้เป็นส่วนตัว หลังจากที่ น. ขับรถมาเป็นเวลานาน รู้สึกเมื่อยล้าจึงเปลี่ยนให้


ส. ลูกจ้างขับต่อไป ส่วน น. เข้าไปนอนหลับอยู่ด้านหลังภายในรถ บังเอิญฝนตกหนัก ส. ขับรถช้าๆ อย่าง
ระมัดระวัง แม้กระนั้น รถก็ยังลุยนำ้าฝนในท้องถนนกระเซ็นไปถูก บ. ที่ยืนรอรถโดยสารประจำา ทางอยู่ข้าง
ถนน น. หรือ อ. หรือ ส. ต้องรับผิดต่อ บ. หรือไม่
อ. เป็นเจ้าของรถ ไม่ใช่ผู้ครอบครอง ไม่ต้องรับผิดต่อ บ. น. เป็นผู้ครอบครอง แม้นอนหลับอยู่
ในรถขณะเกิดเหตุ ก็ต้องรับผิดต่อ บ. ส. เป็นผู้ควบคุมรถ แม้จะขับอย่างระมัดระวังก็ต้องรับผิดต่อ บ. เช่น
เดียวกัน ทั้งนี้ตามมาตรา 437 วรรคแรก

จ. ขับรถตามรถยนต์ของ ส. ไปอย่างช้าๆ โดยมี ร. นั่งไปกับ จ. ด้วย บังเอิญมีเด็กวิ่งตัดหน้ารถ


ส. ในระยะกระชั้นชิด ส. จึงหยุดรถโดยกะทันหัน จ. จึงรีบห้ามล้อให้รถหยุดทันทีทำาให้ ร. หน้ากระแทก
กับหน้ารถบาดเจ็บ จ. ต้องรับผิดต่อ ร. หรือไม่
แม้ จ. จะขับรถตามหลัง ส. ไปอย่างช้าๆ และห้ามล้อให้รถหยุด เพราะรถของ ส. ได้หยุดโดย
กะทันหัน ก็เนื่องจากรถ จ. ได้วิ่งอยู่ จ. ต้องรับผิดต่อ ร. ตามมาตรา 437 วรรคแรก

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 13

1. จ. คุ้นเคยกับสุนัขของ ล. ได้สอนให้สุนัขขโมยปลาสดของแม่ค้าในตลาด สุนัขทำาตามที่


จ. สอน ดังนี้ จ. หรือ ล. ต้องรับผิดต่อแม่คา้ ปลา จ. ต้องรับผิด เพราะเป็นผู้ใช้สุนัขเป็น
เครื่องมือกระทำาละเมิด
2. ว. ยืมลิงจาก ด. เพื่อให้ขึ้นมะพร้าว ระหว่างที่อยู่ในการเลี้ยงดูรักษาของ ว. ซึ่งพักผ่อน
นอนหลับอยู่ ลิงเข้าไปขโมยมะพร้าวจากสวนของ ม. ดังนี้ ว. ต้องรับผิดต่อ ม. หรือไม่
ต้องรับผิด เพราะเป็นผู้รับเลี้ยงรักษาไว้แทน ด. เจ้าของลิง
3. เด็ ก ชายนิ ด ซึ่ ง เป็ น เด็ ก ซุ ก ซนเอาก้ อ นหิ น ขว้ า งหยอกสุ นั ข ของนายดี เ ล่ น ด้ ว ยความ
สนุกสนานสุนัขวิ่งหนีเข้าไปในสวนไม้ดอกของนายมาเสียหาย โดยที่เด็กชายนิดไม่รู้สำานึก
ว่าสุนัขจะวิ่งเข้าไปในสวนไม้ดอกนั้นและไม่ประมาทเลินเล่อ ดังนี้ นายดีต้องรับผิดต่อนาย
มาหรือไม่ ต้องรับผิด เพราะเป็นเจ้าของสุนัข แล้วไล่เบี้ยเอาจากเด็กชายนิด
4. คำา ว่ า “โดยละเมิ ด ” ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 433 วรรค 2
หมายความว่า โดยไม่มีสิทธิ
มาตรา 433 ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว์
ท่านว่าเจ้าของสัตว์หรือบุคคลผู้รับเลี้ยงรับรักษาไว้แทนเจ้าของ
จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ฝ่ายที่ต้องเสียหายเพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิดแต่สัตว์นนั้
เว้นแต่จะพิสูจน์ได้วา่ ตนได้ใช้ความระมัดระวังอันสมควรแก่การเลี้ยงการรักษาตามชนิด

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
103

และวิสัยของสัตว์หรือตามพฤติการณ์อย่างอื่น หรือพิสูจน์ได้ว่าความเสียหายนั้นย่อมจะต้องเกิดมีขึ้นทั้งที่
ได้ใช้ความระมัดระวังถึงเพียงนั้น
อนึ่ง บุคคลผู้ต้องรับผิดชอบดั่งกล่าวมาในวรรคต้นนั้น
จะใช้สิทธิไล่เบี้ยเอาแก่บุคคลผู้ที่เร้าหรือยั่วสัตว์นั้น โดยละเมิด
หรือเอาแก่เจ้าของสัตว์อื่นอันมาเร้าหรือยั่วสัตว์นั้น ๆ ก็ได้
5. กระเบื้องหลังคาบ้าน ส. แผ่นหนึ่งเผยออก จะหลุดตกลงมาอยู่แล้ว จ. มาเยี่ยม ส. ที่บา้ น
เห็น ม. ทอดกล้วยแขกอยู่ข้างล่างริมซอยข้างบ้าน จึงใช้ไม้เขี่ยกระเบื้องให้หลุดตกลงมา
ถูก ม. บาดเจ็บ ดังนี้ จ. ต้องรับผิดต่อ ม. หรือไม่ ต้องรับผิด เพราะได้กระทำาละเมิดโดย
จงใจต่อ ม.
6. ป้ายโฆษณาตั้งอยู่บนดาดฟ้าตึกอย่างไม่แน่นหนา ถูกพายุที่มีได้ตามธรรมดาพัดพังลงถูก
บุคคลข้างร่างเสียหาย ดังนี้ ผู้ครอบครองป้ายต้องรับผิดหรือไม่ ต้องรับผิด เพราะเป็นผู้
ครอบครองป้ายอันเป็นสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น
7. ล. มาเยี่ยม อ. ที่บ้านพักซึ่ง อ. เป็นเจ้าของและอยู่อาศัย เมื่อ ล.กินกล้วยหอมแล้ว จึง
ขว้างเปลือกออกไปทางหน้าต่าง บังเอิญเปลือกกล้วยไปถูก ป. ขณะนั่งเล่นอยู่ที่สนามข้าง
บ้าน โดยที่ ล. ไม่ทันเห็นมาก่อน อ. ต้องรับผิดต่อ ป. หรือไม่ ต้องรับผิด เพราะเป็นผู้อยู่
ในโรงเรือน
8. ศ. เช่ารถยนต์นั่งมาจากบุคคลอื่น แล้วให้ ม. ลูกจ้างขับไป ธุระโดย ศ. นัง่ ไปด้วย ขณะที่
ม. ขับรถลุยนำ้าไปอย่างช้าๆ ด้วยความระมัดระวัง นำ้ากระเซนไปถูก ท. ที่ยืนรอรถประจำา
ทางอยู่ริมถนนเปียกโชก โดยที่ ม. คนขับ และ ศ. เองก็มองไม่เห็น ดังนี้ ศ. ต้องรับผิด
ต่อ ท. หรือไม่ ต้องรับผิด เพราะเป็นผู้ครอบครองยานพาหนะที่เดินด้วยกำาลังเครื่องจักร
กล
9. ท. เกิดทะเลาะวิวาทกับ ม. จึงคว้าระเบิดขวดที่อยู่ในครอบครองของ ช. ขว้างไปที่ ม.
บาดเจ็บ ดังนี้ ท. หรือ ช. ต้องรับผิดต่อ ม. ท. กระทำาละเมิดโดยใช้ระเบิดขวดที่อยู่ใน
ครอบครองของ ช. เป็นเครื่องมือ ต้องรับผิดต่อ ม.
10. นายสายซึ่งเป็นเจ้าของบ้านและครอบครองแก๊สบรรจุอยู่ในถังและใช้หุงต้มในครัว ขณะที่
นางสายนอนหลับ ถังแก๊สระเบิด ไฟไหม้รุกลามไปยังบ้านของนางสุดที่อยู่ใกล้เคียงกันเสีย
หาย ดังนี้ นางสายต้องรับผิดต่อนางสุดหรือไม่ ต้องรับผิด เพราะเป็นผู้ครอบครองแก๊สอัน
เป็นทรัพย์อันตรายโดยสภาพ

หน่วยที่ 14 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิดและนิรโทษกรรม

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
104

1. ความมุ่งหมายในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน อันเป็นหลักการพื้นฐานก็คือให้ผู้เสียหาย กลับคืนสู่


ฐานะเดิมเมื่อยังไม่มีการกระทำาละเมิด ศาลเป็นผู้วินิจฉัยว่าค่าสินไหมทดแทนจะพึงใช้โดยสถานใด
เพียงใดตามสมควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด
2. กรณีทรัพย์ทำา ลายลงหรือการคืนตกเป็นพ้นวิสัย หรือเสื่อมเสียลงโดยอุบัติเหตุบุคคลผู้ต้องคืน
ทรัพย์ก็ต้องรับผิด และผู้ต้องเสียหายมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในราคาทรัพย์ด้วย
3. เมื่อบุคคลผู้ทำาละเมิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผคู้ รองทรัพย์ ก็หลุดพ้นจากหนี้
4. ในกรณีทำาให้ตาย ต้องชดใช้ค่าปลงศพ ค่าใช้จ่ายอันจำาเป็นอย่างอื่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าที่ต้องขาด
ประโยชน์ ค่าขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย
5. ในกรณีทำาให้เสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ต้องชดใช้คา่ ใช้จ่ายอันได้เสียไป และค่าเสียหายเพื่อการ
ที่เสียความสามารถประกอบการงาน
6. ในกรณีทำาให้ตายหรือเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัยหรือเสรีภาพ บุคคลผู้ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อการที่เขาขาดแรงงาน
7. ในกรณีทำา ให้เสียหายแก่ร่างกายหรืออนาคตหรือเสรีภาพ ผู้เสียหายย่อมเรียกร้อ งเอาค่าสินไหม
ทดแทนเพื่อความเสียหายอย่างอื่นอันมิใช่ตัวเงินได้อีก ศาลมีอำานาจสั่งให้บุคคลที่ทำาให้เขาต้องเสีย
หายแก่ชื่อเสียงจัดการตามควรเพื่อทำาให้ชื่อเสียงกลับคืนดี
8. การฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายต้องฟ้องเสียภายในกำาหนดอายุความ ตามแต่กรณีที่กฎหมายกำาหนด
9. นิรโทษกรรมคือข้อแก้ตัวซึ่งทำาให้ผู้กระทำาไม่ต้องรับผิดฐานละเมิด

ค่าสินไหมทดแทน
1. การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่ใช่เพียงการคืนทรัพย์สิน การใช้ราคาหรือค่าเสียหายเท่านั้น
แต่เป็นเรื่องให้ผู้เสียหายกลับคืนสู่ฐานะเดิม หรือใกล้เคียงกับฐานะเดิมมากที่สุดที่จะทำาได้
2. การใช้ค่าสินไหมทดแทนรวมถึงการที่ต้องขาดผลประโยชน์และกำาไรทีค่ วรจะได้ด้วย
3. การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอันเป็นค่าเสียหายรวมทั้งค่าเสียหายในความเสียหายที่คำานวณ
เป็นตัวเงินได้หรือไม่อาจคำานวณเป็นตัวเงินได้ด้วย
4. การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต้องเสียดอกเบี้ยในหนี้เงินในระหว่างผิดนัดด้วย
5. ศาลเป็ น ผู้ วิ นิ จ ฉั ย ว่ า จะพึ ง ชดใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทนกั น สถานใด เพี ย งใด ตามควรแก่
พฤติการณ์ และความร้ายแรงแห่งละเมิด

ลักษณะค่าสินไหมทดแทน
การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้น ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหมายความว่า ให้ผู้เสียหายกลับคืนสู่ฐานะเดิมเมื่อยังไม่มีการกระทำา
ละเมิด ให้ผู้เสียหายได้กลับคืนใกล้เคียงกับฐานะเดิมมากที่สุดที่จะทำาได้ ถ้าไม่มีทางอื่นก็ต้องใช้กันเป็นเงินอัน
เป็นวิธีชดใช้กันโดยทั่วไป ในเมื่อไม่สามารถหาวิธีอื่นใดให้ดีกว่านี้ได้
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
105

ก. ปลูกสร้างโรงเรือนรุกลำ้าเข้าไปในที่ดินของ ข. โดยละเมิด ดังนี้ ข. จะให้ ก. รื้อโรงเรือนออก


ไปได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ข. ให้ ก. รื้อโรงเรือนออกไปได้ เพราะเป็นการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอย่างหนึ่ง โดยให้ผู้เสีย
หายกลับคืนสู่ฐานะเดิมเมื่อยังไม่มีการกระทำาละเมิด

การวินิจฉัยในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2525 ค. ขับรถยนต์ชนรถของ ง. โดยประมาทเลินเล่อ รถของ ง. เสีย
หายต้องเสียค่าซ่อม 15,000 บาท ต้องใช้เวลาซ่อมประมาณ 20 วัน ระหว่างนั้น ง. จะต้องเสียค่าเช่า
รถผู้อื่นขับใช้งานอีกวันละ 200 บาท รวมเป็นเงิน 4,000 บาท แต่ ง. ยังไม่ทันซ่อมรถ ยังไม่ทันได้
เช่ารถ พอวันที่ 5 ตุลาคม 2525 ก็มาฟ้องเรียกค่าเสียหายดังกล่าวจาก ค. รวม 19,000 บาท พร้อม
ด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี นับแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2525 จนกว่า ค. จะใช้เงินเสร็จ ท่าน
เห็นว่า ง. มีสิทธิเรียกร้องเงินจำานวนต่างๆ ดังกล่าวหรือไม่
ง. มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายในค่าซ่อมรถ ค่าเช่ารถได้ แม้เป็นค่าซ่อม ค่าเช่าก็ยังมิได้จ่ายไป ซึ่งเป็น
ความเสียหายในอนาคต ก็เรียกร้องเอาได้ พร้อ มด้ วยดอกเบี้ย ร้อ ยละเจ็ด ครึ่งต่อ ปีนั บแต่ วันที่ 1 ตุลาคม
2525 อันเป็นวันละเมิดตามมาตรา 206 224
มาตรา 206 ในกรณีหนี้อันเกิดแต่มูลละเมิด ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด มาแต่เวลาที่ทำาละเมิด
มาตรา 224 หนี้เงินนั้น ท่านให้คิดดอกเบี้ยในระหว่างเวลาผิดนัด ร้อยละเจ็ดกึ่งต่อปี
ถ้าเจ้าหนี้อาจจะเรียกดอกเบี้ยได้สูงกว่านั้น โดย อาศัยเหตุอย่างอื่นอันชอบด้วยกฎหมาย
ก็ให้คงส่งดอกเบี้ยต่อไปตามนั้น
ท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัด
การพิสูจน์ค่าเสียหายอย่างอื่นนอกกว่านั้น ท่านอนุญาตให้พิสูจน์ได้

กรณีทรัพย์ทำาลายลงหรือการคืนตกเป็นพ้นวิสัยหรือเสื่อมเสียลงโดยอุบัติเหตุและดอกเบี้ยในราคาทรัพย์
1. บุคคลผู้จำาต้องคืนทรัพย์ต้องรับผิดตลอดถึงการที่ทรัพย์ทำาลายลงโดยอุบัติเหตุ หรือการคืนทรัพย์ตก
เป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุอย่างอื่นโดยอุบัติเหตุ หรือทรัพย์นั้นเสื่อมเสียลงโดยอุบัติเหตุ
2. ผู้ต้องเสียหายมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในราคาทรัพย์คิดตั้งแต่เวลาอันเป็นฐานที่ตั้ง แห่งการประมาณราคา
3. เวลาอันเป็นฐานที่ตั้งแห่งการประมาณราคา จะเป็นเวลาใดในเวลาใดก็ได้ระหว่างผิดนัด

กรณีทรัพย์ทำาลายลงหรือการคืนตกเป็นพ้นวิสัยหรือเสื่อมเสียลงโดยอุบัติเหตุ
ตามมาตรา 439 ที่ว่าด้วยทรัพย์ทำาลายลงหรือเสื่อมเสียลง ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
ทรัพย์ทำาลายลงหมายความว่า ทรัพย์เสียหายทั้งหมด ส่วนทรัพย์เสื่อมเสียลงนั้น หมายความว่ายัง
เป็นวิสัยที่จะคืนได้อยู่ แต่ได้รับความเสียหาย

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
106

มาตรา 439 บุคคลผู้จำาต้องคืนทรัพย์อันผู้อื่นต้องเสียไปเพราะละเมิดแห่งตนนั้น ยังต้องรับผิด


ชอบตลอดถึงการที่ทรัพย์นั้นทำาลายลง โดยอุบัติเหตุหรือการคืนทรัพย์ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะเหตุอย่างอื่นโดย
อุบัติเหตุ หรือทรัพย์นั้นเสื่อมเสียลงโดยอุบัติเหตุนั้นด้วย เว้นแต่เมื่อ การที่ทรัพย์สินทำา ลาย หรือตกเป็นพ้น
วิสัยจะคืนหรือเสื่อมเสียนัน้ ถึงแม้ว่าจะมิได้มีการทำาละเมิด ก็คงจะต้องตกไปเป็นอย่างนั้นอยู่เอง

การเรียกดอกเบี้ยในราคาทรัพย์กรณีทรัพย์บุบสลาย
ที่ว่ามาตรา 225 440 ใช้เฉพาะกรณีที่เป็นดอกเบี้ยในราคาทรัพย์นั้น ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
เข้าใจว่าไม่เกี่ยวกับราคาทรัพย์ที่จะต้องใช้เป็นค่าสินไหมทดแทนแก่กัน ซึ่งแม้ตอนหลังราคาทรัพย์
จะลดลงหรือเพิ่มขึ้นก็ต้องใช้ราคาเดิมอยู่นั่นเอง แต่สำา หรับดอกเบี้ยที่จะคิดกันนั้น มาตรา 225 440
เป็นข้อยกเว้นมาตรา 224 ที่ว่าคิดดอกเบี้ยในระหว่างเวลาผิดนัด เป็นให้คิดดอกเบี้ยตั้งแต่เวลาอันเป็นฐาน
ที่ตั้งแห่งการประมาณราคากัน

คำาว่า “เสื่อมเสียไป” และ “เสื่อมเสียลง” ตามมาตรา 225 นัน้ ท่านเข้าใจว่าอย่างไร


คำา ว่า “เสื่อมเสียไป” ในมาตรา 225 ตอนแรกหมายถึงสูญเสียหรือหลุดมือไป ต่างกับคำา ว่า “
เสื่อมเสียลง” ในมาตรา 225 ตอนหลังซึ่งหมายถึงวัตถุหรือทรัพย์เสื่อมลงเลวลง จึงทำาให้ราคาตกตำ่า

ที่ว่า “เวลาอันเป็นฐานที่ตั้งแห่งการประมาณราคา” ท่านเข้าใจว่าอย่างไร


เข้าใจว่าจะคิดเอาราคาทรัพย์ที่ขึ้นลงอยู่ในระหว่างผิดนัดในเวลาไหนก็ได้ เป็นฐานที่ตั้งแห่งการ
ประมาณราคา

ที่กล่าวว่า “เวลาอันเป็นฐานที่ตั้งแห่งการกะประมาณราคาก็คือ เวลาที่ทำาละเมิดนั่นเอง” ท่านเห็น


ด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด
มาตรา 225 ถ้าลูกหนี้จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อราคาวัตถุ
อันได้เสื่อมเสียไประหว่างผิดนัดก็ดี หรือวัตถุอันไม่อาจส่งมอบได้
เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันเกิดขึ้นระหว่างผิดนัดก็ดี
ท่านว่าเจ้าหนี้จะเรียกดอกเบี้ยในจำานวนที่จะต้องใช้เป็นค่าสินไหมทดแทน คิดตั้งแต่
เวลาอันเป็นฐานที่ตั้งแห่งการกะประมาณราคานัน้ ก็ได้
วิธีเดียวกันนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึงการที่ลูกหนี้จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
เพื่อการที่ราคาวัตถุตกตำ่าเพราะวัตถุนั้นเสื่อมเสียลงในระหว่างเวลาที่ผิดนัดนั้นด้วย

เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2524 ก. ลักเครื่องรับโทรทัศน์ไปจาก ข. เครื่องหนึ่ง ขณะนั้นมีราคา


15,000 บาท ต่อมาเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2524 ระหว่างที่ ก. ครอบครองอยู่นั้น ราคาเครื่องรับ
โทรทัศน์ได้ขึ้นไปถึง 24,000 บาท เครื่องรับโทรทัศน์ได้เกิดเพลิงไหม้โดยอุบัติเหตุเมื่อ 1 พฤษภาคม

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
107

2524 เมื่ อ วั น ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2524 ข. จึ ง มาเรี ย กร้ อ งให้ ก. ชดใช้ ร าคาโดยคิ ด จากราคา
20,000 บาท ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2524 เป็นเกณฑ์ และเรียกดอกเบี้ยร้อยละเจ็ด ครึ่ งต่ อปี ใน
จำานวนเงินดังกล่าวตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2524 ดังนี้ ท่านเห็นว่า ข. จะเรียกเอาได้หรือไม่
ข. ย่อมเรียกร้องให้ ก. ใช้ราคาเครื่องรับโทรทัศน์ได้เพียง 15,000 บาท ไม่ใช่ 20,000
บาท เพราะขณะลักไปเครื่องรับโทรทัศน์มีราคาเพียง 15,000 บาท แต่ ข. อาจเรียกดอกเบี้ยในราคา
20,000 บาท ได้ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2524 เป็นต้นไป

การใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ครองทรัพย์และความผิดของผู้ต้องเสียหาย
1. เมื่อบุคคลผู้ทำาละเมิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ครองทรัพย์ในการทำาละเมิด บุคคลนั้นเป็นอัน
หลุดพ้นไป เพราะการที่ได้ใช้ให้นั้น
2. ถ้าผู้เสียหายได้มีส่วนทำาความผิดด้วย หนี้อันจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนต้องอาศัยพฤติการณ์
เป็นประมาณ ข้อสำา คัญก็คือความเสียหายได้เกิดขึ้นเพราะฝ่ายไหนเป็นผู้ก่อยิ่งหย่อนกว่ากัน
เพียงใด

การใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ครองทรัพย์
ก. รับฝากรถยนต์ไว้จาก ข. ค. ขับรถยนต์ชนรถของ ข. ที่ ก. ขับโดยประมาทเลินเล่อ ค.
ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ ก. เรียบร้อยไปแล้ว ดังนี้ ค. จะหลุดพ้นจากความรับผิดในการชดใช้ค่าเสียหายให้แก่
ข. หรือไม่
ก. ผู้ครองรถยนต์ของ ข. ในขณะที่ขับ เมื่อ ค. ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ ก. ไปแล้ว ค. จึง
หลุดพ้นไม่ต้องชำาระให้แก่ ข. อีก

ความผิดของผู้ต้องเสียหาย
บทบัญญัติตามมาตรา 442 223 มีความสัมพันธ์กับบทบัญญัติมาตรา 438 ประการใด
บ้าง
ตามมาตรา 438 ศาลมีอำานาจกำาหนดค่าสินไหมทดแทนตามพฤติการณ์และความร้ายแรงแห่ง
ละเมิด กรณีผู้เสียหายมีส่วนทำา ผิดก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นด้วย ศาลย่อมกำา หนดให้ลดลงได้ตามส่วน ซึ่ง
มาตรา 442 ได้บัญญัติให้นำามาตรา 223 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ย่อมเป็นไปตามหลักการตามมาตรา
438 นัน่ เอง
มาตรา 223 ถ้าฝ่ายผู้เสียหายได้มีส่วนทำาความผิดอย่างใด
อย่างหนึ่งก่อให้เกิดความเสียหายด้วยไซร้ ท่านว่าหนี้อันจะต้องใช้
ค่าสินไหมทดแทนแก่ฝา่ ยผู้เสียหายมากน้อยเพียงใดนั้น ต้องอาศัย พฤติการณ์เป็นประมาณ
ข้อสำาคัญก็คือว่าความเสียหายนั้นได้เกิดขึ้น เพราะฝ่ายไหนเป็นผู้ก่อยิ่งหย่อนกว่ากันเพียงไร

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
108

วิธีเดียวกันนี้
ท่านให้ใช้แม้ทั้งที่ความผิดของฝ่ายผู้ที่เสียหายจะมีแต่เพียงละเลยไม่เตือนลูกหนี้ให้รู้สึกถึงอันตราย
แห่งการเสียหาย อันเป็นอย่างร้ายแรงผิดปกติ ซึ่งลูกหนี้ไม่รู้หรือไม่อาจจะรู้ได้
หรือเพียงแต่ละเลยไม่บำาบัดปัดป้อง หรือบรรเทาความเสียหายนั้นด้วย อนึ่งบทบัญญัติแห่ง มาตรา 220
นัน้ ท่านให้นำามาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม
มาตรา 438 ค่าสินไหมทดแทนจะพึงใช้โดยสถานใดเพียงใดนั้น
ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด
อนึ่ง ค่าสินไหมทดแทนนั้นได้แก่การคืนทรัพย์สินอันผู้เสียหายต้องเสียไปเพราะละเมิด
หรือใช้ราคาทรัพย์สินนั้นรวมทั้งค่าเสียหาย อันจะพึงบังคับให้ใช้เพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ
อันได้ก่อขึ้นนั้นด้วย
มาตรา 442 ถ้าความเสียหายได้เกิดขึ้นเพราะความผิดอย่างหนึ่ง
อย่างใดของผู้ต้องเสียหายประกอบด้วยไซร้ ท่านให้นำาบทบัญญัติ แห่ง มาตรา 223 มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม

ตามมาตรา 442 223 ศาลจะไม่ให้จำาเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเสียเลยจะได้หรือไม่


ตัวอย่างเช่น ก. ต้องการที่จะหยอกล้อกับ ข. หญิงสาวที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน จึงจับแก้มของ ข.
เล่น ข. เกิดโทสะจึงตบหน้า ก. ดังนี้ ก. มาฟ้อง ข. เป็นจำาเลยต่อศาลเรียกค่าเสียหาย ถ้าท่านเป็นศาลจะ
พิจารณาพิพากษาให้ ข. ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ ก. หรือไม่ เพราะเหตุใด
ตามมาตรา 442 และ 223 ศาลจะไม่ให้จำาเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเสียเลยก็ย่อมได้ ตาม
ตัวอย่าง ข้าพเจ้าเป็นศาลจะไม่พิพากษาให้ ข. ต้องชดใช้ค่าเสียกายแก่ ก. เพราะ ก. มีส่วนผิดอยู่ด้วย โดย
เหตุที่ไปจับแก้มของ ข. ทำาให้ ข. บันดาลโทสะ จึงตบหน้า ก.

ค่าสินไหมทดแทนในกรณีทำาให้ตายเพราะการขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย
1. ในกรณีทำา ให้เขาตาย ค่าสินไหมทดแทนได้แก่ค่าปลงศพ รวมทั้งค่าใช้จ่ายอันจำา เป็นอย่า
งอื่นๆ
2. ถ้ามิได้ตายทันที ค่าสินไหมทดแทนได้แก่ค่ารักษาพยาบาล รวมทั้งค่าเสียหายที่ต้องขาด
ประโยชน์ทำามาหาได้ เพราะไม่สามารถประกอบการงานด้วย
3. บุคคลภายนอกที่ต้องขาดไร้ผู้อุปการะตามกฎหมายชอบที่จะได้ค่าสินไหมทดแทนด้วย

ค่าสินไหมทดแทนกรณีทำาให้ตาย
ก. ตายเพราะถูก ก. ยิงโดยละเมิด ข. ซึ่งเป็นทายาทของ ก. ได้พิมพ์หนังสือแจกในงานศพของ
ก. หมดเงินไป 10,000 บาท ดังนี้ ข. จะเรียกให้ ค. ชดใช้ให้แก่ตนได้หรือไม่

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
109

ถ้าหากเป็นค่าใช้จ่ายตามสมควรแก่ฐานะของ ก. ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายอันจำาเป็นอย่างอื่นตามมาตรา
443 วรรคแรก
มาตรา 443 ในกรณีทำาให้เขาถึงตายนั้น ค่าสินไหมทดแทนได้แก่ ค่าปลงศพ รวมทั้งค่าใช้จ่าย
อันจำาเป็นอย่างอื่น ๆ อีกด้วย
ถ้ า มิ ไ ด้ ต ายในทั น ที ค่ า สิ น ไหมทดแทนได้ แ ก่ ค่ า รั ก ษาพยาบาล รวมทั้ ง ค่ า เสี ย หายที่ ต้ อ งขาด
ประโยชน์ทำามาหาได้เพราะไม่สามารถประกอบการงานนั้นด้วย
ถ้าว่าเหตุที่ตายลงนั้นทำา ให้บุคคลหนึ่งคนใดต้องขาดไร้อุปการะตามกฏหมายไปด้วยไซร้ ท่านว่า
บุคคลคนนั้นชอบที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย
ที่ว่า “การขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย” นัน้ ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
เข้าใจว่ามีตัวบทกฎหมายให้จำาต้องอุปการะเลี้ยงดูกัน เช่นบุตรจำาต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดา
(มาตรา 1563) เป็นต้น

ก. ข. เป็นเพื่อนกัน ก. เคยขอเงิน ข. ใช้บ่อยๆ ต่อมา ข. ถูก ค. ฆ่าตายโดยละเมิด ทำาให้ ก. ไม่


อาจได้รับเงินจาก ข. อีก ดังนี้ ก. จะเรียกค่าสินไหมทดแทนจาก ค. เนื่องจากตนไม่อาจขอเงินจาก ข. ได้
อีก จะได้หรือไม่
ก. กับ ข. เป็นเพียงเพื่อนกัน การที่ ก. เคยขอเงิน ข. ใช้บ่อยๆ ไม่ใช่การอุปการะเลี้ยงดูตาม
กฎหมาย ก. จะเรียกค่าสินไหมทดแทนจาก ค. ไม่ได้

น. เป็นบุตรผู้เยาว์ของ จ. โดย น. ได้รับมรดกเป็นบ้านเช่าจากย่าของ น. เป็นจำานวนหลายหลัง


น. ใช้คา่ เช่าที่ได้รับใช้จ่ายในการกินอยู่และการศึกษาเล่าเรียน จนไม่ต้องขอเงินจาก จ. ใช้จ่ายแต่ประการใด
จ. ถูก ส. ยิงตายโดยละเมิด ดังนี้ จะเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนในการที่ตนต้องขาดไร้อุปการะจาก จ. บิดา
จาก ส. ได้หรือไม่
น. เรียกค่าสินไหมทดแทนจาก ส. ในการที่ตนต้องขาดไร้อุปการะจาก จ. บิดาได้ แม้ น. ไม่จำา
ต้องได้รับเงินจาก จ. เป็นค่าใช้จ่ายก็ตาม

ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัยหรือการที่ขาดแรงงาน
1. ในกรณีทำาให้เสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ผู้ต้องเสียหายชอบที่จะได้รับชดใช้ค่าใช้จ่ายอัน
ตนต้องเสียไปและค่าเสียหายเพื่อการที่เสียความสามารถประกอบการงานสิ้นเชิง หรือแต่
บางส่วนทั้งในเวลาปัจจุบันและในอนาคต
2. ในกรณีที่ทำาให้เขาตาย หรือเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย หรือเสียหายแก่เสรีภาพ ถ้าผู้ต้อง
เสียหายมีความผูกพันตามกฎหมาย ต้องทำา งานให้เป็นคุณแก่บุคคลภายในครัวเรือนหรือ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
110

อุตสาหกรรมของบุคคลภายนอก บุคคลผู้ต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้นจะต้องใช้ค่าสินไหม
ทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อการที่เขาขาดแรงงานอันนั้นไปด้วย

ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย
ก. ถูก ข ทำาร้ายร่างกายได้รับอันตรายสาหัสโดยละเมิด ก. นอนป่วยอยู่ที่บ้าน จึงจ้าง ค. เป็นคน
ครัวปรงอาหารให้กินชั่วคราว เพราะ ก. ไม่อาจทำาได้เองตามปกติ ดังนี้ ก. จะเรียกค่าใช้จ่ายในการที่ต้องจ้าง
ค. เป็นคนครัวทำาอาหารให้กินได้หรือไม่
เรียกได้ตามมาตรา 444 วรรคแรก ผู้เสียหายชอบที่จะได้ชดใช้ค่าใช้จ่ายอันตนต้องเสียไป และค่า
เสียหายเพื่อการที่เสียความสามารถประกอบการงานสิ้นเชิง
มาตรา 444 ในกรณีทำาให้เสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัยนั้น ผู้ต้องเสียหายชอบที่จะได้ชดใช้ค่า
ใช้จา่ ยอันตนต้องเสียไปและค่าเสียหายเพื่อการที่เสียความสามารถประกอบการงานสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วนทั้ง
ใ น เ ว ล า ปั จ จุ บั น นั้ น แ ล ะ ใ น เ ว ล า อ น า ค ต ด้ ว ย
ถ้าในเวลาที่พิพากษาคดี เป็นพ้นวิสัยจะหยั่งรู้ได้แน่ว่าความ เสียหายนั้นได้มีแท้จริงเพียงใด ศาลจะ
กล่าวในคำาพิพากษาว่ายังสงวนไว้ซึ่งสิทธิที่จะแก้ไขคำาพิพากษานั้นอีกภายในระยะเวลาไม่เกินสองปีก็ได้

ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการที่ขาดแรงงาน
ส. จับ น. ซึ่งเป็นลูกจ้างของบริษัท จ. ในโรงงานอุตสาหกรรมทอผ้าของบริษัท จ. ไปกักขังไว้
โดยที่ ส. ก็ไม่ทราบว่า น. เป็นลูกจ้างของบริษัท จ. ทำาให้ น. ไปทำางานในโรงงานทอผ้าให้บริษัท จ. ไม่
ได้ ดังนี้ บริษัท จ. จะเรียกค่าสินไหมทดแทนจาก ส. ได้หรือไม่
การที่ ส. จับ น. ลูกจ้างของ จ. ไปกักขังเป็นกรณีที่ทำาให้ น. เสียเสรีภาพ โดยเหตุที่ ส. มีความ
ผูกพันตามสัญญาจ้างแรงงาน จะต้องทำาการงานให้แก่ จ. จ. จึงเรียกค่าสินไหมทดแทนได้จาก ส. ในการที่
จ. ต้องขาดแรงงานของ น. ไปตามมาตรา 445
มาตรา 445 ในกรณีทำาให้เขาถึงตาย หรือให้เสียหายแก่ร่างกาย หรืออนามัยก็ดี ในกรณีทำาให้เขา
เสียเสรีภาพก็ดีถ้าผู้ต้องเสียหายมีความผูกพันตามกฎหมาย จะต้องทำาการงานให้เป็นคุณแก่บุคคล ภายนอกใน
ครัวเรือน หรืออุตสาหกรรมของบุคคลภายนอกนั้นไซร้ ท่านว่าบุคคลผู้จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้นจะต้อง
ใช้คา่ สินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอก เพื่อที่เขาต้องขาดแรงงานอันนั้นไปด้วย

ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันมิใช่ตัวเงินและการจัดการเพื่อให้ชื่อเสียงกลับคืนดี
1. ในกรณีที่ทำาให้เขาเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย หรือเสรีภาพ ผู้ต้องเสียหายย่อมเรียกร้องเอาค่า
สินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอย่างอื่นอันมิใช่ตัวเงินได้อีกด้วย
2. ศาลมีอำานาจสั่งให้บุคคลที่ทำาให้เขาต้องเสียหายแก่ชื่อเสียงจัดการตามควรเพื่อทำาให้ชื่อเสียงกลับ
คืนดี

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
111

ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันมิใช่ตัวเงิน
กรณีดังต่อไปนี้เป็นความเสียหายที่เป็นตัวเงินหรือไม่เป็นตัวเงิน
ค่าขาดประโยชน์ทำามาหาได้ เพราะไม่สามารถประกอบการงานได้
เป็นความเสียหายที่เป็นตัวเงิน

ความเจ็บปวดทนทุกข์ทรมานระหว่างรักษาพยาบาล
เป็นความเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงิน

ค่ารักษาพยาบาลบาดแผลที่ต้องถูกตัดแขนขา
เป็นความเสียหายที่เป็นตัวเงิน

การที่เสียแขนขาทุพพลภาพพิการไปตลอดชีวิต
เป็นความเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงิน

การจัดการเพื่อให้ชื่อเสียงคืนดี
ก. กล่าวหมิ่นประมาท ข. ว่า ข. โกงเงินบริษัทที่ ข. ทำางานอยู่ ดังนี้เมื่อ ข. ฟ้อง ก. ต่อศาล ก.
จะขอให้ศาลประกาศโฆษณาทางหนังสือพิมพ์ว่า ที่ ก. กล่าวนั้นไม่เป็นความจริง จะทำาได้หรือไม่
ทำาได้ตามมาตรา 447
มาตรา 447 บุคคลใดทำา ให้เขาต้องเสียหายแก่ชื่อเสียง เมื่อผู้ต้องเสียหายร้องขอ ศาลจะสั่งให้
บุคคลนั้นจัดการตามควรเพื่อทำาให้ ชื่อเสียงของผู้นั้นกลับคืนดีแทนให้ใช้ค่าเสียหายหรือทั้งให้ใช้ค่า เสียหาย
ด้วยก็ได้

อายุความเรียกร้องค่าเสียหาย
1. สิทธิเรียกร้องของเจ้าของทรัพย์สินในการติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของตน ไม่มีกำา หนดอายุ
ความ แต่ต้องมีตัวทรัพย์สินให้ติดตามเอาคืน
2. อายุความตามมาตรา 448 ใช้เฉพาะสิทธิเรียกร้องในค่าเสียหายไม่รวมถึงการเรียกร้องทรัพย์สิน
คืน หรือเรียกร้องให้ระงับหรือเพิกถอนการกระทำาละเมิดที่ยังมีอยู่ ไม่ตกอยู่ในบังคับแห่งอายุความ
ตามมาตรา 448
3. ตามมาตรา 448 ไม่จำา กัดเฉพาะในกรณีที่ผู้เสียหายโดยตรงเรียกร้องเอาค่าเสียหายจากผู้กระทำา
ละเมิดหรือผู้ต้องรับผิดในมูลละเมิดเท่านั้น บุคคลอื่นที่กฎหมายบัญญัติให้มีสิทธิเรียกร้องเอาได้ ย่อม
มีสิทธิเรียกร้องเอาค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดตามมาตรานี้ด้วยเช่นกัน
4. ผู้จะพึงใช้ค่าสินไหมทดแทนหมายถึงบุคคลที่ต้องรับผิดในการกระทำาของบุคคลอื่น หรือในความเสีย
หายที่เกิดขึ้นจากทรัพย์ด้วย

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
112

5. ตามมาตรา 448 ใช้ตลอดถึงสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายในความเสียหายในอนาคตด้วย


6. สิทธิ เรี ยกร้อ งค่า เสียหายในมู ล ละเมิ ด อั น เป็ น ความผิ ด อาญาให้ เ ป็น ไปตามประมวลกฎหมายวิ ธี
พิจารณาความอาญา มาตรา 51

สิทธิเรียกร้องทรัพย์สินคืน
เมื่อวันที่ 1 ตุลาตม 2524 ก. เช่ารถยนต์ของ ข. ไปใช้ กำา หนดส่งคืนวันที่ 1 พฤศจิกายน
2524 ถึงกำาหนด ก. ไม่ส่งคืน ยังคงยึดถือและใช้รถอยู่ตลอดมา ข. จึงต้องไปเช่ารถยนต์ของผู้อื่นเช่ามี
กำาหนดเวลา 3 เดือน ๆ ละ 3,000 บาท ต่อมา 1 กุมภาพันธ์ 2526 ข. มาฟ้องเรียกรถคืนจาก ก.
และเรียกค่าเสียหายในค่าเช่า 3 เดือนที่ ก. ได้จ่ายไปรวมเป็นเงิน 9,000 บาท ก. ต่อสู้คดีว่าฟ้องของ
ข. ขาดอายุความแล้ว จะเรียกร้องเอาไม่ได้ ข้อต่อสู้ของ ก. ฟังขึ้นหรือไม่
สิทธิเรียกร้องให้คืนรถยนต์ไม่มีอายุความ เจ้าของทรัพย์สินย่อมฟ้องเรียกคืนได้เสมอ จึงไม่เห็นด้วย
กับข้อต่อสู้ของ ก.
เมื่อถึงกำาหนดส่งคืน ก. ไม่ส่งคืนรถ กลับยึดถือและใช้รถอยู่ตลอดมา จึงเป็นละเมิดต่อ ข. ตั้งแต่
เวลานั้น
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายในค่าเช่าที่ ข. ได้จา่ ยไปนั้น ข. มิได้ฟ้องเรียกเอาภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่
ก. ไม่ส่งคืนรถนั้น สิทธิเรียกร้องดังกล่าวจึงขาดอายุความ เห็นด้วยกับข้อต่อสู้ของ ก.

สิทธิเรียกร้องราคาทรัพย์สินหรือเงินที่เอาไปโดยละเมิด
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายในราคาทรัพย์สินคืนโดยมูลละเมิดนัน้ มีกำาหนดอายุความเท่าใด
ขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึ่งนั บแต่วัน ที่ผู้ต้ อ งเสีย หายรู้ถึ งการละเมิด และรู้ตั วผู้จ ะพึงต้อ งใช้ ค่า
สินไหมทดแทน หรือเมื่อพ้นสิบปีนับแต่วันทำาละเมิด
มาตรา 448 สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดนั้น ท่านว่าขาดอายุความเมื่อพ้นปีหนึ่ง
นับแต่วันที่ผู้ต้องเสียหายรู้ถึงการละเมิด และรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือเมื่อพ้นสิบปีนับแต่วัน
ทำาละเมิด
แต่ถ้าเรียกร้องค่าเสียหายในมูลอันเป็นความผิด มีโทษตามกฎหมาย ลักษณะอาญา และมีกำา หนด
อายุความทางอาญายาวกว่าที่กล่าวมา นั้นไซร้ ท่านให้เอาอายุความที่ยาวกว่านั้นมาบังคับ

สิทธิเรียกร้องในค่าเสียหาย
เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2524 ข. ถูก ก.ขับรถชนรถของ ข. ได้รับความเสียหาย ยังไม่ทันที่ ข.
จะเอารถไปซ่อม ได้รออยู่จนวันที่ 1 มีนาคม 2526 ทั้งๆ ทีร่ ู้ดีแล้วว่า ก. เป็นผู้ขับรถชนตั้งแต่วันนั้น ข.
มาฟ้องร้องค่าซ่อมรถจาก ก. คิดเป็นเงิน 6,000 บาท ก. ให้การต่อสู้ว่าคดีโจทก์ขาดอายุความแล้ว ท่าน
เห็นด้วยกับข้อต่อสู้ของ ก. หรือไม่

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
113

แม้ ข. จะยังไม่นำา รถไปซ่อม ข. ก็ต้องฟ้องเรียกค้าเสียหายในความเสียหายคือค่าซ่อมที่จะจ่าย


ภายในวันที่ 1 ตุลาคม 2525 แต่ ข. มาฟ้องวันที่ 1 มีนาคม 2526 ทั้งๆ ทีร่ ู้แล้วว่า ก. เป็นผุ้ขับรถ
ชนตั้งแต่วันนั้น คดีของ ข. จึงขาดอายุความแล้ว เห็นด้วยกับข้อต่อสู้ของ ก.

วันที่ 1 ตุลาคม 2524 สุนัขของ ค. กัด จ. บาดเจ็บ ต้องเสียค่ารักษาไป 1,000 บาท แต่
จ. ก็ไม่รู้ว่าเป็นสุนัขของใคร ต่อมามาวันที่ 1 พฤศจิกายน 2524 จึงสืบรู้ได้ความว่าเป็นสุนัขของ ค.
ได้เ จรจาขอค่า เสียหายจาก ค. 1,000 บาท แต่ ค. ก็ ปฏิ เสธว่า ตนมิไ ด้เ ป็นเจ้าของสุนั ข จนวั น ที่ 1
ธันวาคม 2525 จ. จึงมาฟ้อง ค. เรียกค่าเสียหายในค่ารักษาที่ตนได้เสียไปแล้ว ค. ได้ต่อสู้ว่าคดีขาดอายุ
ความแล้ว จ. โต้แย้งว่ามิใช่มูลละเมิดอันจะมีอายุครบ 1 ปี แต่เป็นเรื่องความผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น
เพราะสัตว์ ท่านเห็นด้วยกับข้อต่อสู้ของ ค. หรือข้อโต้แย้งของ จ. หรือไม่
แม้จะเป็นความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์ อายุความที่จะเรียกร้องค่าเสียหายก็ย่อม
ต้ องอยู่ในบังคับ แห่ งมาตรา 448 เช่น เดีย วกั น จ. สืบรู้ ว่าเป็นสุนัขของ ค. เมื่อ วันที่ 1 พฤศจิก ายน
2524 ก็ต้องฟ้องคดีภายในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2525 แต่ จ. มาฟ้องเรียกค่าเสียหายเมื่อวันที่ 1
ธันวาคม 2525 คดีของ จ. จึงขาดอายุความแล้ว จึงเห็นด้วยกับข้อต่อสู้ของ ค. ไม่เห็นด้วยกับข้อโต้แย้ง
ของ จ.

สิทธิเรียกร้องในค่าเสียหายในมูลละเมิดอันเป็นความผิดทางอาญา
ก. ขับรถยนต์ชนรถของ ข. โดยประมาทเลินเล่อ ดังนี้ การที่ ข. จะเรียกร้องค่าเสียหายมีกำาหนด
อายุความเมื่อไร
การทำาให้เสียทรัพย์โดยประมาทเลินเล่อ ไม่ใช่ความรับผิดทางอาญา แต่เป็นความรับผิดทางแพ่ง จึง
มีอายุความตามมาตรา 448 วรรคแรก

นิรโทษกรรม
1. นิรโทษกรรมคือข้อแก้ตัวซึ่งบุคคลผู้กระทำาไม่ต้องรับผิดฐานละเมิด
2. บุคคลใดที่กระทำาการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายหรือทำาตามคำาสั่งอันชอบด้วยกฎหมาย ไม่ต้องรับ
ผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน
3. บุ ค คลใดทำา บุ บ สลายหรื อ ทำา ลายทรั พ ย์ สิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใด เพื่ อ บำา บั ด ป้ อ งกั น ภยั น ตรายซึ่ ง มี ม าเป็ น
สาธารณะโดยฉุกเฉิน ฯลฯ ไม่ต้องใช้คา่ สินไหมทดแทน
4. บุคคลใดใช้กำาลังเพื่อป้องกันสิทธิของตน ถ้าตามพฤติการณ์จะขอให้ศาลหรือเจ้าหน้าที่ช่วยเหลือให้
ทันท่วงทีไม่ได้ ฯลฯ ไม่ต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน
5. ผู้ครองอสังหาริมทรัพย์ชอบที่จะจับสัตว์ของผู้อื่นอันเข้ามาทำาความเสียหายในอสังหาริมทรัพย์นั้น
และยึดไว้เป็นประกันค่าสินไหมทดแทน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
114

การป้องกันและการกระทำาตามคำาสั่งอันชอบด้วยกฎหมาย
ก. ข. เกิดโต้เถียงกันในร้านอาหารของ ค. ก. ชักปืนขึ้นจะยิง ข. จวนจะลั่นไกอยู่แล้ว ข. คว้า
ไม้ที่อยู่ข้างๆ ตัว แล้วตีถูกปืนของ ก. ปืนกระเด็นหลุดจากมือ ก. ไปถูกถ้วยชามของ ค. ซึ่งอยู่ด้านหลังแตก
เสียหาย ดังนี้ ค. จะเรียกค่าเสียหายในการที่ถ้วยชามแตกเสียหายจากใครได้บ้าง
เป็นกรณีที่ ข. ทำาการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ค. ย่อมเรียกค่าเสียหายในการที่ถ้วยชามแตก
จาก ก. ผู้เป็นต้นเหตุให้ต้องป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายได้ จะเรียกเอาจาก ข. ผูท้ ำาการป้องกันไม่ได้

การทำาบุบสลายหรือทำาลายทรัพย์
ก. ข. กับพวกรวม 7 คนด้วยกัน เช่าเรือใบขนาดเล็กไปเที่ยวเกาะกลางทะเล ขณะทะเลกำาลังสงบ
พอตกเย็น ขณะเรือกลับเข้าฝั่ง ห่างจากฝั่งประมาณ 500 เมตร เกิดลมพายุจัด เรือโคลงไปมา ก. กับพวก
เกรงว่าเรือจะร่ม จึงร่วมกันจับ ข. โยนลงทะเล แต่ ข. ซึ่งเป็นนักว่ายนำ้ามาก่อน ก็สามารถว่ายนำ้าเข้าฝั่งจนได้
ดังนี้ ก. กับพวกต้องร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่ ข. หรือไม่
เป็นกรณีที่ ก. กับพวกร่วมกันทำา ละเมิดต่อ ข. ตามมาตรา 420 432 ไม่ต้องด้วยมาตรา
450 ซึ่งจำา กัดเฉพาะการกระทำา ต่อทรัพย์เท่านั้นที่ไม่ต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน แต่ตามปัญหาเป็น
กรณีทำาความเสียหายต่อตัวบุคคล แม้ ข. สามารถว่ายนำ้าเข้าฝั่งได้ แต่ก็เกิดความเสียหายขึ้นแก่ ข. แล้ว ก.
กับพวกต้องร่วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่ ข.
มาตรา 420 ผูใ้ ดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่น
โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่รา่ งกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี
ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิด จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 432 ถ้าบุคคลหลายคนก่อให้เกิดเสียหายแก่บุคคลอื่นโดย ร่วมกันทำาละเมิด
ท่านว่าบุคคลเหล่านั้นจะต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสิน ไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น
ความข้อนี้ท่านให้ใช้ตลอดถึงกรณีที่ไม่สามารถสืบรู้ตัวได้แน่ว่าในจำาพวกที่ทำาละเมิดร่วมกันนั้น คนไหน
เป็นผู้ก่อให้เกิดเสียหายนั้นด้วย
อนึ่ง บุคคลผู้ยุยงส่งเสริมหรือช่วยเหลือในการทำาละเมิด ท่านก็
ให้ถือว่าเป็นผู้กระทำาละเมิดร่วมกันด้วย
ในระหว่างบุคคลทั้งหลายซึ่งต้องรับผิดร่วมกันใช้ค่าสินไหมทดแทน นัน้
ท่านว่าต่างต้องรับผิดเป็นส่วนเท่า ๆ กัน เว้นแต่โดยพฤติการณ์ ศาลจะวินจิ ฉัยเป็นประการอื่น
มาตรา 450 ถ้าบุคคลทำาบุบสลายหรือทำาลายทรัพย์สิ่งหนึ่งสิ่งใด
เพื่อจะบำาบัดปัดป้องภยันตรายซึ่งมีมาเป็นสาธารณะโดยฉุกเฉิน ท่านว่าไม่จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
หากความเสียหายนั้นไม่เกิน สมควรแก่เหตุภยันตราย ถ้าบุคคลทำาบุบสลาย หรือทำาลายทรัพย์สิ่งหนึ่งสิ่งใด
เพื่อจะบำาบัดปัดป้องภยันตรายอันมีแก่เอกชนโดยฉุกเฉิน ผูน้ ั้นจะต้องใช้คืนทรัพย์นั้น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
115

ถ้าบุคคลทำาบุบสลายหรือทำาลายทรัพย์สิ่งหนึ่งสิ่งใด
เพื่อจะป้องกันสิทธิของตนหรือของบุคคลภายนอกจากภยันตรายอันมีมาโดย
ฉุกเฉินเพราะตัวทรัพย์นั้นเองเป็นเหตุ บุคคลเช่นว่านี้หาต้องรับผิด ใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่
หากว่าความเสียหายนั้นไม่เกินสมควรแก่เหตุ
แต่ถ้าภยันตรายนั้นเกิดขึ้นเพราะความผิดของบุคคลนั้นเองแล้วท่านว่าจำาต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้

จ. เห็นสุนัขของ ส. ซึ่งเป็นสุนัขบ้า วิ่งไปตามถนนสาธารณะซึ่งมีคนผ่านไปมาอยู่มาก เกรงว่า


สุนัขจะกัดคนเหล่านั้นเข้า จึงใช้ปืนยิงสุนัขตาย ดังนี้ จ. ต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่ ส. เจ้าของสุนัขหรือ
ไม่
เป็นกรณีที่ จ. ทำาการเพื่อป้องกันสิทธิของบุคคลภายนอก เพราะสุนัขบ้าที่วิ่งไปตามถนนนั้น อาจ
จะกัดทำา ร้ายบุคคลใดก็ได้ เป็นภยันตรายอันมีมาโดยฉุกเฉินเพราะตัวทรัพย์นั้นเองเป็นเหตุต้องด้วยมาตรา
450 ข. ไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต่อ ส. เจ้าของสุนัข

การใช้กำาลังป้องกันสิทธิ
ก. เช่าห้องของ ข. อยู่อาศัย ถึงกำาหนด ก. ไม่ยอมออกจากห้องเช่า ข. จึงใช้กำาลังฉุดกระชากลาก
ก. ออกมาจากห้องเช่า ก. ได้รับบาดเจ็บ ดังนี้ ข. ต้องรับผิดต่อ ก. หรือไม่
ข. กระทำา ละเมิดต่อ ก. ตามมาตรา 420 ต้องชดใช้ค่าเสียหายแก่ ก. กรณีนี้ไม่เป็นนิรโทษ
กรรมตามมาตรา 451
มาตรา 420 ผูใ้ ดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำาต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่
ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำาละเมิด
จำาต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา 451 บุคคลใช้กำาลังเพื่อป้องกันสิทธิของตนถ้าตามพฤติการณ์จะขอให้ศาลหรือเจ้าหนี้ที่
ช่วยเหลือให้ทันท่วงทีไม่ได้ และถ้ามิได้ทำาในทันใด มีภัยอยู่ด้วยการที่ตนจะได้สมดั่งสิทธินั้น จะต้องประวิง
ไปมากหรือถึงแก่สาบสูญได้ไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้น หาต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่
การใช้กำาลังดั่งกล่าวมาในวรรคก่อนนั้น ท่านว่าต้องจำา กัดครัดเคร่งแต่เฉพาะที่จำา เป็นเพื่อจะบำาบัด
ปั ด ป้ อ ง ภ ยั น ต ร า ย เ ท่ า นั้ น
ถ้าบุคคลผู้ใดกระทำาการดั่งกล่าวมาในวรรคต้น เพราะหลงสันนิษฐานพลาดไปว่ามีเหตุอันจำาเป็นที่
จะทำาได้โดยชอบด้วย กฎหมายไซร้ ท่านว่าผู้นั้นจะต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ แก่บุคคลอื่น แม้ทั้งการ
ที่หลงพลาดไปนั้นจะมิใช่เป็นเพราะความ ประมาทเลินเล่อของตน

สิทธิของผู้ครองอสังหาริมทรัพย์ที่จะจับสัตว์ของผู้อื่น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
116

ลิงของ ช. เข้ามาขโมยมะพร้าวในสวนของ ว. โดยได้เอามะพร้าวไปหลายผลแล้ว กลับมาเอาอีก


ว. เห็นเข้าจึงเอาแหเหวี่ยงจับลิงไว้ได้ ลิงจะกัด ว. ว. จึงใช้ไม้ตีลิงสลบไป แล้วนำา ลิงไปส่งมอบคืนแก่ ช.
ดังนี้ ช. กับ ว. ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต่อกันและกันหรือไม่
การที่ ว. ใช้ไม้ตีลิงจนสลบ ก็เพราะลิงจะกัด ว. ว. จึงทำาการป้องกันตัวเองได้โดยชอบ การที่ ว.
นำาลิงส่งมอบคืนแก่ ช. แสดงว่า ว. ไม่ใช้สิทธิยึดลิงไว้เป็นประกันค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 452 แต่
การที่ลิงเข้ามาทำา ความเสียหายในสวนของ ว. เป็นกรณีต้องด้วยมาตรา 433 อันเป็นบทบัญญัติว่าด้วย
ความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว์ ช. ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ ว. เจ้าของ แต่ ว. ไม่ต้องชดใช้ค่า
สินไหมทดแทนให้แก่ ช. ตามมาตรา 449
มาตรา 433 ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว์ ท่านว่าเจ้าของ สัตว์หรือบุคคลผู้รับเลี้ยงรับรักษา
ไว้แทนเจ้าของ จำาต้องใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่ฝ่ายที่ต้องเสียหายเพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันเกิด แต่
สัตว์นั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวัง อันสมควร แก่การเลี้ยงการรักษาตามชนิดและวิสัย
ของสัตว์หรือตามพฤติการณ์ อย่างอื่นหรือพิสูจน์ได้ว่าความเสียหายนั้นย่อมจะต้องเกิดมีขึ้นทั้งที่ ได้ใช้ความ
ระมัดระวังถึงเพียงนั้น
อนึ่ง บุคคลผู้ต้องรับผิดชอบดั่งกล่าวมาในวรรคต้นนั้น จะใช้สิทธิ ไล่เบี้ยเอาแก่บุคคลผู้ที่เร้าหรือยั่ว
สัตว์นั้นโดยละเมิด หรือเอาแก่ เจ้าของสัตว์อื่นอันมาเร้าหรือยั่วสัตว์นั้น ๆ ก็ได้
มาตรา 449 บุคคลใดเมื่อกระทำาการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ก็ดีกระทำาตามคำาสั่งอันชอบ
ด้วยกฎหมายก็ดี หากก่อให้เกิดเสียหายแก่ผู้อื่นไซร้ท่านว่าบุคคลนั้นหาต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่
ผู้ต้องเสียหายอาจเรียกค่าสินไหมทดแทนจากผู้เป็นต้นเหตุให้ต้องป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือจากบุคคลผู้ให้คำาสั่งโดย ละเมิดนัน้ ก็ได้
มาตรา 452 ผู้ครองอสังหาริมทรัพย์ชอบที่จะจับสัตว์ของผู้อื่นอันเข้ามาทำา ความเสีย หายใน
อสังหาริม ทรัพย์นั้น และยึดไว้เป็นประกัน ค่าสินไหมทดแทนอันจะพึงต้องใช้แก่ตนได้ และถ้าเป็นการจำาเป็น
โดยพฤติการณ์ แม้จะฆ่าสัตว์นนั้ เสียก็ชอบที่จะทำาได้
แต่ว่าผู้นั้นต้องบอกกล่าวแก่เจ้าของสัตว์โดยไม่ชักช้า ถ้าและหาตัวเจ้าของสัตว์ไม่พบ ผู้ที่จับสัตว์ไว้
ต้องจัดการตามสมควรเพื่อสืบหาตัวเจ้าของ

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 14

1. ส. บุกรุกเข้าไปทำาการค้าในตึกแถวของ อ. ได้ชดใช้ค่าเสียหายฐานละเมิดให้ อ. แล้ว อ. ไม่ยอม


ให้ ส. อยู่ต่อไป ดังนี้ ส. ต้องออกจากตึกแถวหรือไม่ ต้องออก เพราะการออกจากตึกแถวเป็นการ
ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอย่างหนึ่งด้วย
2. จำาเลยขับรถยนต์นั่งชนรถบรรทุกของโจทก์ที่จอดอยู่เสียหายโดยละเมิด โจทก์จึงเอารถบรรทุกออก
ให้เช่าไม่ได้ ดังนี้ โจทก์จะเรียกค่าเสียหายในการที่โจทก์ขาดรายได้ที่เป็นค่าเช่าจากจำาเลย ได้หรือไม่
เรียกได้ เพราะเป็นค่าเสียหายในความเสียหายจากการกระทำาละเมิดของจำาเลย
ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
117

3. โจทก์ด่าจำาเลยด้วยถ้อยคำาหยาบคายเพราะพาดพิงไปถึงบิดามารดาของจำาเลย จำาเลยจึงชกต่อยโจทก์
บาด เจ็บดังนี้ศาลจะลดค่าเสียหายลง ได้หรือไม่ ลดได้ เพราะความเสียหายเกิดเพราะความผิดของ
โจทก์ที่ด่าว่าจำาเลย
4. ผู้เยาว์ซึ่งเป็นบุตรนอกกฎหมายของบิดา จะมีสิทธิเรียกค่าเสียหายเพราะขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย
จากผู้ทำาละเมิดให้บิดาตายหรือไม่ ไม่มีสิทธิ เพราะมิใช่การขาดไร้อุปการะตามกฎหมาย
5. ส. เป็นข้าราชการของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ถูก ป. ขับรถชนโดยละเมิดได้รับบาดเจ็บ
ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ส. ได้เบิกค่ารักษาพยาบาลจากทางราชการไปแล้วตามสิทธิ
ดังนี้ ส. จะมีสิทธิเรียกค่ารักษาพยาบาลจาก ป. ได้หรือไม่ มีสิทธิเรียกจาก ป. ได้ ตามหลักทั่วไป
6. โจทก์ถูกจำาเลยขับเรือยนต์ชนโดยประมาทเลินเล่อ ทำาให้ต้องตัดขาไปข้างหนึ่งต้องทุพพลภาพพิการ
ตลอดชีวิต ได้รับค่ารักษาพยาบาลไปจากจำาเลยแล้ว ดังนี้ โจทก์ก็จะเรียกค่าเสียหายในการที่ต้องเสีย
ขาไป ได้หรือไม่ เรียกได้ เพราะเป็นค่าเสียหายในความเสียหายอย่างอื่นอันมิใช่ตัวเงิน คนละส่วนกับ
ค่ารักษาพยาบาล
7. จำาเลยลักรถยนต์ของโจทก์ไป โจทก์จึงฟ้องเรียกรถคืน ดังนีค ้ ดีของโจทก์ ไม่มีกำาหนดอายุความ
8. เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2526 รถของ ช. ถูก ส. ขับรถชนโดยประมาทเลินเล่อ และ ช. ก็รู้ว่าถูก
ชนและรู้ตัว ส. ในวันนั้น พอวันที่ 5 ตุลาคม 2526 ช. ก็เอารถไปจ้างซ่อม พอซ่อมเสร็จ วันที่
10 ตุลาคม 2526 ก. ก็จ่ายค่าซ่อมไปในวันที่ 10 ตุลาคม นั้น ดังนี้ ช. ต้องฟ้องเรียกค่าเสีย
หายในค่าซ่อมภายใน วันที่ 1 ตุลาคม 2527
9. ร้อยตำารวจเอกกิจไม่ถูกกับนายนิติ จึงสั่งให้สิบตำารวจตรีโกยผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาไปจับกุมนายนิติใน
ข้อหาว่านายนิติมีของผิดกฎหมายไว้ในครอบครอง ซึ่งไม่เป็นความจริง สิบตำารวจตรีโกยก็ไม่ทราบ
ว่าร้อยตำารวจเอกกิจสั่งโดยมิชอบ จึงไปจับกุมตามคำาสั่ง ดังนี้ สิบตำารวจตรีโกยต้องรับผิดต่อนายนิติ
หรือไม่ ไม่ต้องรับผิด เพราะมิได้กระทำาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
10. แมวของนายจูเข้ามาขโมยกินลูกไก่ของนายดีในบริเวณบ้านหลายครั้งแล้ว ครั้งสุดท้ายนายดีเห็นเข้า
จึงจับแมวไว้ได้ นางจูขอแมวคืน นายดีไม่ยอมคืนให้ ดังนี้นายดีกระทำา ละเมิดต่อนางจูหรือไม่ ไม่
เป็นการกระทำาละเมิด เพราะนายดีมีสิทธิยึดแมวไว้เป็นประกันค่าสินไหมทดแทน

หน่วยที่ 15 จักการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้

1. จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้ เป็นบ่อเกิดแห่งหนี้ซึ่งไม่ได้อาศัยเจตนาของบุคคล คือเป็นหนี้ที่


เกิดจากนิติเหตุ
2. จัดการงานนอกสั่งคือ การที่บุคคลเข้าทำากิจการแทนผู้อื่นโดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ให้ทำา หรือเข้าทำา
โดยไม่มีสิทธิ

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
118

3. ลาภมิควรได้คือ การที่บุคคลได้มาซึ่งทรัพย์สิ่งใดจากการที่บุคคลอีกคนหนึ่งกระทำาเพื่อชำาระหนี้ หรือ


ได้มาด้วยประการอื่นโดยปราศจากมูลอันอ้างกฎหมายได้ และเป็นทางให้บุคคลอีกบุคคลหนึ่งเสีย
เปรียบ

15.1 จัดการงานนอกสั่ง
1. สาระสำาคัญของการจัดการงานนอกสั่ง มี 3 ประการ ดังนี้คือ
1. ต้องเป็นการเข้าทำากิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง
2. กิจการที่เข้าทำานั้นจะต้องเป็นการทำาแทนผู้อื่น
3. กิจการที่ทำาแทนผู้อื่นนั้น ต้องกระทำาไปโดยเขามิได้ว่าขานใช้ หรือกระทำาโดยมิได้มีสิทธิ
2. ผู้จัดการจะต้องจัดการงานไปในทางที่จะให้สมประโยชน์ของตัวการ ตามความประสงค์อันแท้จริง
ของตัวการ หรือตามที่จะพึงสันนิษฐานได้ว่าเป็นความประสงค์ของตัวการ หากการจัดการทำาถูกต้อง
ตามหน้าที่ ผูจ้ ัดการมีสิทธิเรียกให้การชดใช้เงินที่ตนออกไปคืนได้ แต่ถ้าจัดการไม่ถูกต้องตามหน้าที่
ผู้จัดการต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ตัวการเพื่อความเสียหาย
3. กรณีที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำาการงานของผู้อื่นโดยสำาคัญว่าเป็นงานของตนเอง ไม่ใช่จัดการงานนอกสั่ง

15.1.1 หลักเกณฑ์เรื่องจัดการงานนอกสั่ง
อธิบายหลักเกณฑ์เรื่องจัดการงานนอกสั่ง
ตามมาตรา 395 ซึ่งประกอบด้วยสาระสำาคัญ 3 ประการคือ
1)ต้องเป็นการเข้าทำากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
2)กิจการที่เข้าทำานั้นต้องเป็นการเข้าทำาแทนผู้อื่น
3)กระทำาโดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ หรือโดยมีได้มีสิทธิจะทำาแทนเขาได้
มาตรา 395 บุคคลใดเข้าทำากิจการแทนผู้อื่นโดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ ให้ทำาก็ดี หรือโดยมิได้มี
สิทธิที่จะทำาการงานนั้นแทนผู้อื่นด้วยประการใดก็ดี ท่านว่าบุคคลนั้นจะต้องจัดการงานไปในทางที่จะให้สม
ประโยชน์ของตัวการ ตามความประสงค์อันแท้จริงของตัวการ หรือตามที่จะพึงสันนิษฐานได้ว่าเป็น ความ
ประสงค์ของตัวการ

15.1.2 ผลของการจัดการงานนอกสั่ง
ก. มีบ้านอยู่ในกรุงเทพ แต่ ก. ต้องเดินทางไปราชการต่างจังหวัดหลายเดือน ขณะที่ ก. ไม่อยู่
บ้าน เกิดลมพายุพัดหน้าต่างและหลังคาบ้านเสียหาย ข. เพื่อนบ้าน จึงจัดการซ่อมหลังคาให้เพราะเป็นฤดูฝน
ดังนี้ ผลในกฎหมายระหว่าง ก. กับ ข. คืออย่างไร
ผลในกฎหมายระหว่าง ก. และ ข. นั้นเป็นเรื่องจัดการงานนอกสั่ง มาตรา 395 และมาตรา
401 คือ ข. เข้าจัดการซ่อมแซมหลังคาและหน้าต่างโดย ก. มิได้วา่ ขานวานใช้ และ ข. ได้เข้าจัดการโดย
สมประโยชน์ของตัวการ ข. ย่อมมีสิทธิเรียกให้ ก. ชดใช้เงินซึ่งตนได้ออกไปเป็นค่าซ่อมแซมบ้านได้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
119

มาตรา 401 ถ้าการที่เข้าจัดการงานนั้นเป็นการสมประโยชน์ ของตัวการและต้ อ งตามความ


ประสงค์อันแท้จริงของตัวการ หรือ ความประสงค์ตามที่จะพึงสันนิษฐานได้นั้นไซร้ ท่านว่าผู้จัดการจะเรียก
ให้ชดใช้เงินอันตนได้ออกไปคืนแก่ตนเช่นอย่างตัวแทนก็ได้ และ บทบัญญัติ มาตรา 816 วรรค 2 นั้น
ท่านก็ให้นำามาใช้บังคับด้วยโดย อนุโลม
อนึ่ง ในกรณีที่กล่าวมาใน มาตรา 397 นั้น แม้ถึงว่าที่เข้าจัดการงานนั้นจะเป็นการขัดกับความ
ประสงค์ของตัวการก็ดี ผู้จัดการก็ยังคงมีสิทธิเรียกร้องเช่นนั้นอยู่

15.1.3 กรณีไม่ใช่จัดการงานนอกสั่ง
อธิบายกรณีที่ไม่ใช่จัดการงานนอกสั่ง
ตามมาตรา 405 หากบุคคลเข้าทำางานของผู้อื่นโดยสำาคัญว่าเป็นการงานของตนเองไม่ถือว่าเป็น
เรื่องจัดการงานนอกสั่ง
มาตรา 405 บทบัญญัติทั้งหลายที่กล่าวมาในสิบ มาตราก่อนนั้นท่าน
มิให้ใช้บังคับแก่กรณีที่บุคคลหนึ่งเข้าทำาการงานของผู้อื่นโดยสำาคัญว่าเป็นการงานของตนเอง
ถ้าบุคคลใดถือเอากิจการของผู้อื่นว่าเป็นของตนเอง ทั้งที่รู้แล้วว่า ตนไม่มีสิทธิจะทำาเช่นนั้นไซร้
ท่านว่าตัวการจะใช้สิทธิเรียกร้องบังคับ โดยมูลดั่งบัญญัติไว้ใน มาตรา 395 , 396 , 399 และ
400 นัน้ ก็ได้ แต่เมื่อได้ใช้สิทธิดั่งว่ามานี้แล้ว ตัวการจะต้องรับผิดต่อผู้จัดการดั่ง บัญญัติไว้ใน มาตรา
402 วรรค 1

15.2 ลาภมิควรได้
1. สาระสำาคัญ 3 ประการ ของลาภมิควรได้คือ
1. บุคคลได้ทรัพย์สิ่งใดของบุคคลอีกคนหนึ่งมาด้วยประการใดๆ
2. การได้ทรัพย์นั้นมาไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้
3. การได้ทรัพย์มานั้นทำาให้บุคคลอื่นเสียเปรียบ
2. ข้อยกเว้นของสิทธิเรียกทรัพย์คืน มี 7 ประการคือ
1)การกระทำาตามอำาเภอใจเพื่อชำาระหนี้โดยผู้กระทำารู้อยู่ว่าตนไม่มีความผูกพันที่จะต้องชำาระ
2)การชำาระหนี้อันมีเงื่อนเวลาบังคับเมื่อก่อนถึงกำาหนดเวลานั้น
3)การชำาระหนี้ซึ่งขาดอายุความแล้ว
4)การชำาระหนี้ตามหน้าที่ศีลธรรมหรือตามควรแก่อัธยาศัยในสมาคม
5)การชำาระหนี้โดยบุคคลผู้สำาคัญผิดเป็นเหตุให้เจ้าหนีผ้ ู้สุจริตต้องเสียหาย
6)การชำาระหนี้โดยมุ่งต่อผลโดยผู้ชำาระรู้ว่าการที่จะเกิดผลเป็นการพ้นวิสัยหรือผู้ชำาระได้เข้าป้องปัด
ขัดขวางมิให้เกิดผลโดยไม่สุจริต
7)การชำาระหนี้ที่ฝ่าฝืนข้อห้ามตามกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
120

3. ในกรณีทรัพย์สินที่รับไว้เป็นลาภมิควรได้เป็นเงิน จะต้องคืนเต็มจำา นวนกรณีทรัพย์สินที่รับไว้เป็น


ทรัพย์สินอย่างอื่นนอกจากเงิน ทรัพย์สินมีสภาพเป็นอยู่อย่างไรก็ให้คืนไปเพียงตามสภาพที่เป็นอยู่
หากการคืนทรัพย์สินตามสภาพที่ได้รับมรดกเป็นพ้นวิสัย ให้คืนเพียงส่วนที่ยังมีอยู่ในขณะเรียกคืน
4. มิให้ฟ้องคดีเรื่องลาภมิควรได้ พ้นกำาหนด 1 ปี นับแต่เวลาที่ฝ่ายผู้เสียหายรู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืน หรือ
เมื่อพ้น 10 ปี นับแต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น

15.2.1 หลักเกณฑ์เรื่องลาภมิควรได้
อธิบายหลักเกณฑ์เรื่องลาภมิควรได้
ลาภมิควรได้ ตามมาตรา 406 ซึ่งประกอบด้วยสาระสำาคัญ 3 ประการคือ
1)บุคคลหนึ่งได้ทรัพย์สิ่งใดของบุคคลอีกคนหนึ่งมาด้วยประการใดๆ
2)การได้ทรัพย์นั้นมาไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้
3)การได้ทรัพย์นั้นมาทำาให้บุคคลอื่นเสียเปรียบ
มาตรา 406 บุคคลใดได้มาซึ่งทรัพย์สิ่งใด เพราะการที่บุคคลอีก คนหนึ่งกระทำาเพื่อชำาระหนี้ก็ดี
หรือได้มาด้วยประการอื่นก็ดี โดย ปราศจากมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ และเป็นทางให้บุคคลอีกคนหนึ่ง นั้น
เสียเปรียบไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นจำาต้องคืนทรัพย์ให้แก่เขา อนึ่งการรับสภาพหนี้สินว่ามีอยู่หรือหาไม่นั้น ท่าน
ก็ให้ถือว่าเป็นการ กระทำาเพื่อชำาระหนี้ด้วย
บทบัญญัติอันนี้ท่านให้ใช้บังคับตลอดถึงกรณีที่ได้ทรัพย์มา
เพราะเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งมิได้มีได้เป็นขึ้น หรือเป็นเหตุที่ได้ สิ้นสุดไปเสียก่อนแล้วนัน้ ด้วย

15.2.2 ข้อยกเว้นของสิทธิเรียกคืนทรัพย์
ก. ขับรถยนต์โดยประมาทเลินเล่อ ชนรถยนต์ของ ข. ในวันที่ 27 มกราคม 2525 ต่อมาใน
วันที่ 30 มกราคม 2526 ก. ไม่ต้องการให้เป็นความกันในศาล จึงได้ชำาระค่าสินไหมทดแทนให้ ข.
ไป ภายหลัง ก. จึงมาเรียกเงินที่ชำาระเป็นค่าสินไหมทดแทนนั้นคืนจาก ข. โดยอ้างว่า ก. ได้ชำาระเงินซึ่งขาด
อายุความแล้ว ดังนี้ ก. มีสิทธิเรียกคืนหรือไม่
ก. เรียกเงินที่ชำาระคืนไม่ได้ เพราะมาตรา 408(2) ประกอบด้วยมาตรา 188 วรรคสอง ตัด
สิทธิบุคคลที่ชำาระหนี้ซึ่งขาดอายุความ และถ้าชำาระไปมากน้อยเท่าใด ก็เรียกคืนไม่ได้
มาตรา 408 บุคคลดั่งจะกล่าวต่อไปนี้ไม่มีสิทธิจะได้รับคืนทรัพย์ คือ
(1) บุคคลผู้ชำาระหนี้อันมีเงื่อนเวลาบังคับเมื่อก่อนถึงกำาหนด เวลานั้น
(2) บุคคลผู้ชำาระหนี้ซึ่งขาดอายุความแล้ว
(3) บุคคลผู้ชำาระหนี้ตามหน้าที่ศีลธรรมหรือตามควรแก่อัธยาศัย ในสมาคม

15.2.3 การคืนลาภมิควรได้

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
121

ข. ได้ช้างของ ก. มาไว้เป็นลาภมิควรได้โดยสุจริต ปรากฏว่า ก. ได้ติดตามทวงช้างคืนแต่ช้างนั้น


ได้ถูกคนร้ายลักไปเสียแล้ว ข. จะต้องรับผิดหรือไม่อย่างไร
ตามมาตรา 414 ข. ได้รับช้างไว้โดยสุจริต โดยหลัก ข. ต้องคืนลาภมิควรได้เพียงส่วนที่ยังมีอยู่
ในขณะเมื่อเรียก แต่กรณีเป็นการพ้นวิสัยที่จะคืนได้ เพราะช้างถูกคนร้ายขโมยไป ข. ได้รับช้างไว้โดยสุจริต
จึงไม่ต้องรับผิดชอบในการคืนช้างซึ่งตกเป็นพ้นวิสัยนั้น
มาตรา 414 ถ้าการคืนทรัพย์ตกเป็นพ้นวิสัยเพราะสภาพแห่ง ทรัพย์สินที่ได้รับไว้นนั้ เองก็ดี
หรือเพราะเหตุอย่างอื่นก็ดี และบุคคล ได้รับทรัพย์สินไว้โดยสุจริต ท่านว่าบุคคลเช่นนั้นจำาต้องคืนลาภมิควร
ได้เพียงส่วนที่ยังมีอยู่ในขณะเมื่อเรียกคืน ถ้าบุคคลได้รับทรัพย์สินนั้นไว้โดยทุจริต ท่านว่าต้องใช้ราคา
ทรัพย์สินนั้นเต็มจำานวน

15.2.4 อายุความ
กฎหมายบัญญัติเกี่ยวกับอายุความลาภมิควรได้ไว้อย่างไร
ตามมาตรา 419 กำาหนดอายุความฟ้องคดีไว้เป็น 2 ระยะคือ ต้องฟ้องคดีภายใน 1 ปี นับแต่
เวลาที่ผู้เสียหายรู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืน หรือภายใน 10 ปี นับแต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น
มาตรา 419 ในเรื่องลาภมิควรได้นั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องคดี เมื่อพ้นกำาหนดปีหนึ่งนับแต่เวลาที่
ฝ่ายผู้เสียหายรู้วา่ ตนมีสิทธิเรียกคืน หรือเมื่อพ้นสิบปีนับแต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น

แบบประเมินผลตนเองหน่วยที่ 15

1. จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้เป็น นิติเหตุ
2. การที่บุคคลใดเข้าทำากิจการแทนผู้อื่นโดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ให้กระทำาเรียกว่า จัดการงานนอกสั่ง
3. หน้าที่ของผู้จัดการงานของผู้จัดการคือ (ก) จะต้องจัดการงานไปในทางที่สมประโยชน์ของตัวการ
(ข) ตามความประสงค์อันแท้จริงของตัวการ (ค) ตามที่จะพึงสันนิษฐานได้ว่าเป็นความประสงค์
ของตัวการ
4. ผลของการจัดการไม่ถูกต้องตามหน้าที่ของผู้จัดการคือ ผูจ้ ัดการต้อง ใช้คา่ สินไหมทดแทน
5. ในกรณีที่ผู้จัดการ จัดการงานนอกสั่งโดยไม่สมประโยชน์ของตัวการ แต่ถ้าตัวการเห็นชอบด้วยกับ
กิจการนั้น ตัวการสามารถให้สัตยาบันได้
6. การที่บุคคลใดได้มาซึ่งทรัพย์สิ่งใดของบุคคลอื่น โดยไม่มีมูลอันจะอ้างกฎหมายได้และการได้ทรัพย์
นัน้ มาทำาให้บุคคลอื่นเสียเปรียบเป็น ลาภมิควรได้ (บางคำาตอบบอกว่าเป็นจัดการงานนอกสั่ง)
7. การชำาระหนี้ซึ่งเกิดจากโมฆกรรม สามารถเรียกคืนทรัพย์ฐานลาภมิควรได้
8. ถ้าการคืนทรัพย์ตกเป็นพ้นวิสัยและบุคคลได้รับทรัพย์สินไว้โดยสุจริต บุคคลนั้น ต้องคืนเพียงส่วนที่
ยังมีอยู่ในขณะเมื่อเรียกคืน

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี
122

9. ก. ทำาสัญญาให้ ข. เช่าบ้านมีกำาหนด 3 ปี โดยกำาหนดให้ชำาระค่าเช่าในวันที่ 1 ของแต่ละเดือน


ต่อมาเมื่อวันที่ 25 ข. นำาเงินค่าเช่าบ้านของเดือนต่อไปมาชำา ระแก่ ก. ต่อมาในวันที่ 27 ของ
เดือนเดียวกันนั้น ข. ต้องการเงินจึงมาขอคืนค่าเช่าบ้านที่ชำาระแก่ ก. คืนโดยอ้างว่ายังไม่ถึงกำาหนด
ชำาระค่าเช่าบ้านเช่นนี้ ได้หรือไม่ ไม่ได้ เพราะถือว่าลูกหนี้สละประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาและกฎหมาย
ห้ามเรียกคืน
10. อายุลาภมิควรได้คือ ภายในหนึ่งปีนับแต่เวลาที่ฝ่ายผู้เสียหายรู้ว่าตนมีสิทธิเรียกคืน แต่ไม่เกินสิบปีนับ
แต่เวลาที่สิทธินั้นได้มีขึ้น

ชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดราชบุรี

You might also like