You are on page 1of 64

1

41231 กฎหมายอาญา 1 : ภาคบทบัญญัติทั่วไป

หน่วยท่ี 1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญาและปรัชญากฎหมายอาญา

1. กฎหมายอาญาจัดอยู่ในสาขากฎหมายมหาชน เป็ นเร่ ืองราวความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชน โดยบัญญัติ


ว่าการกระทำาใดๆเป็ นความผอดและกำาหนดโทษท่ีจะลงแก่ความผิดนัน ้
2. กฎหมายอาญามี ค วามมุ่ ง หมายท่จี ะรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ยของสั ง คม ให้ ส มาชิ ก ของสั ง คมมี ค วาม
ปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สิน

1.1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญาเป็ นกฎหมายท่ีว่า ด้ วยความผิ ดและโทษ โดย บั ญญั ติ การกระทำา เป็ นความผิ ด อาญา และ
กำาหนดโทษท่ีจะลงแก่ผู้กระทำาความผิดนัน

2. ในสังคมเร่ิมแรก กฎหมายให้อำา นาจแก่ บุค คลท่ีจะทำา การแก้แ ค้นต่อผู้กระทำา ผิ ด และเม่ ือรั ฐมั น
่ คงขึ้นจึง
กำาหนดให้มีการชดใช้ค่าเสียหายแทนการแก้แค้น จนในท่ีสุดรัฐก็เข้าไปจัดการลงโทษผู้กระทำาผิดเอง
3. ความผิดอาญาหมายถึง การกระทำาหรือละเว้นการกระทำาท่ีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิดและกำาหนดโทษไว้
4. ความผิดอาญาแบ่งแยกได้หลายประเภทแล้วแต่แนวความคิดและความมุ่งหมาย เช่น ตามความหนักเบา
ของโทษ ตามการกระทำา ตามเจตนา ตามศีลธรรม เป็ นต้น
5. กฎหมายอาญาเป็ นเร่ ืองระหว่างรัฐกับเอกชน และมุ่งท่ีจะลงโทษผู้กระทำาความผิด ส่วนกฎหมายแพ่งเป็ น
เร่ ืองเก่ียวกับสิทธิหน้าท่ีระหว่างเอกชนด้วยกัน การกระทำาความผิดทางแพ่งจึงไม่กระทบกระเทือนต่อสังคม
เหมือนความผิดอาญา

1.1.1 ความหมายของกฎหมายอาญา
กฎหมายอาญามีความหมายอย่างไรมีก่ีระบบ และแต่ละระบบมีความคิดในทางกฎหมายอย่างไร
กฎหมายอาญาจัดอยู่ในสาขากฎหมายมหาชน เป็ นกฎหมายท่เี ก่ียวกับการกระทำาความผิดและกำาหนดโทษ
ท่ีจะลงแก่ผู้ท่ีกระทำาความผิดนัน

กฎหมายอาญามี 2 ระบบคือ ระบบกฎหมายของประเทศท่ีใช้ประมวลกฎหมาย ซ่ึงบัญญัติความผิดอาญา
ไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร และระบบคอมมอนลอว์ ซ่ึงความผิดอาญาเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ในคำา พิพากษาของศาล
ความผิดในทางอาญาของประเทศท่ีใช้ระบบประมวลกฎหมายนัน ้ ถือว่า การกระทำา ใดๆจะเป็ นความผิดหรือไม่และ
ต้องรับโทษอย่างไร ต้องอาศัยตัวบทกฎหมายอาญาเป็ นหลัก การตีความวางหลักเกณฑ์ของความผิดจะต้องมาจากตัว
บทเหล่านัน ้ คำาพิพากษาของศาลไม่สามารถสร้างความผิดอาญาขึ้นได้ แต่ระบบคอมมอนลอว์นัน ้ การกระทำาใดๆจะ
เป็ นความผิดอาญาต้องอาศัยคำาพิพากษาท่ีได้วินิจฉัยไว้เป็ นบรรทัดฐานและนำาบรรทัดฐานนัน ้ มาเปรียบเทียบกับคดีท่ี
เกิดขึ้น

1.1.2วิวัฒนาการของกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายอาญาในปั จจุบันมีวิวัฒนาการมาอย่างไร
แต่เดิมกฎหมายอาญาของไทยมิได้จัดทำาในรูปประมวลกฎหมาย แต่มีลักษณะเป็ นกฎหมายแต่ละฉบับไป
เช่ น กฎหมายลั ก ษณะโจร ลั ก ษณะวิ ว าท เป็ น ต้ น ต่ อ มาในรั ช การพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว
เน่ ืองจากความจำาเป็ นในด้านการปกครองประเทศ และความจำาเป็ นท่ีจะต้องเลิกศาลกงสุลต่างประเทศ จึงได้มีการจัด
ทำา ประมวลกฎหมายอาญาขึ้น ทำา นองเดียวกันกับกฎหมายอาญาของประเทศทางตะวันออก และญ่ีปุ่น เรี ยกว่ า
กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ซ่ึงเป็ นประมวลกฎหมายอาญาฉบับแรกของไทย กฎหมายลักษณะอาญาได้ใช้
บัง คับมาเป็ นเวลาประมาณ 48 ปี จนถึง พ.ศ. 2500 ก็ได้ย กเลิกไป และได้ป ระกาศใช้ประมวลกฎหมายอาญา
พ.ศ. 2499 ซ่ึง เป็ นฉบับปั จจุ บั น และใช้บั ง คั บมาตั ง้ แต่ วัน ท่ี 1 มกราคม 2500 ซ่ึง ตรงกับ วาระฉลองครบ 25
พุทธศตวรรษ

ความผิดอาญาทุกอย่างได้นำามาบัญญัติรวบรวมไว้ในประมวลกฎหมายอาญาหมดหรือไม่
นำา มาบัญญัติได้ไม่หมดสิน้ ความผิดในประมวลกฎหมายอาญาเป็ นแต่เพียงส่วนหน่ึงของความผิดอาญา
เท่านัน
้ ยังมีความผิดอาญาพระราชบัญญัติต่างๆ อีกมากมาย เช่น พรบ. ป่ าไม้ พรบ. ยาเสพติดให้โทษ เป็ นต้น แต่
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญานัน ้ ๆ เป็ นความผิดท่ีมีลักษณะทัว่ไปคือ เป็ นความผิดท่ีสามัญชนย่อมกระทำาอยู่
เป็ นปกติ เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตาย ทำาร้ายร่างกาย ลักทรัพย์ เป็ นต้น ส่วนความผิดอาญาตาม พระราชบัญญัติอ่ืน
เป็ นความผิดเฉพาะเร่ ืองนัน้ ๆ เช่น ความผิดตามพระราชบัญญัติป่าไม้ก็เป็ นเร่ ืองเก่ียวกับป่ าไม้ ว่าการกระทำา เช่นไร
เป็ นความผิดและมีโทษเท่าใด

ประมวลกฎหมายอาญาฉบับปั จจุบันมีเค้าโครงอย่างไร
ประมวลกฎหมายอาญาฉบับปั จจุบัน แบ่งออกเป็ น 3 ภาค คือ ภาค 1 ว่าด้วยบทบัญญัติทัว่ไป คือ เป็ น
หลักเกณฑ์ทัว่ไปของกฎหมายอาญาทัง้ปวง ซ่ึงจะต้องนำาไปใช้บังคับในความผิดอาญาตามกฎหมายอ่ ืนด้วย ภาค 2
ว่าด้วยความผิดอาญาสามัญ และภาค 3 ว่าด้วยความผิดลหุโทษ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


2

1.1.3 ประเภทของความผิด
ความผิดอาญาหมายความว่าอย่างไร เราอาจแบ่งความผิดอาญาได้ประการใดบ้าง
ความผิดอาญาหมายถึง การกระทำาหรือละเว้นการกระทำาท่ีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิดและกำา หนดโทษ
ไว้
ความผิดอาญาอาจจำาแนกออกได้หลายประเภทแล้วแต่ข้อพิจารณาในการแบ่งประเภทนัน ้ ๆ เช่น
(1) พิจารณาตามความหนักเบาของโทษ แบ่งเป็ นความผิดอาญาสามัญและความผิดลหุโทษ
(2) พิจารณาในแง่เจตนา แบ่งเป็ นความผิดท่ีกระทำาโดยเจตนากับความผิดท่ีกระทำาโดยประมาท และความ
ผิดท่ีไม่ต้องกระทำาโดยเจตนา
(3) พิจารณาในแง่ศีลธรรม แบ่งเป็ นความผิดในตัวเอง เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตาม ข่มขืน ลักทรัพย์ และ
ความผิดเพราะกฎหมายห้าม เช่น ความผิดฐานขับรถเร็วเกินสมควร
นอกจากนีอ ้ าจแบ่งได้โดยข้อพิจารณาอ่ ืนๆ อีก เช่น ตามลักษณะอันตรายต่อสังคม ตามลักษณะการกระทำา
และตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

1.1.4กฎหมายอาญากับกฎหมายแพ่ง
กฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญาต่างกันอย่างไร
มีความต่างกันในสาระสำาคัญดังต่อไปนี้
(1) แตกต่างกันด้วยลักษณะแห่งกฎหมาย กฎหมายแพ่ง เป็ นกฎหมายท่ีว่า ด้วยสิท ธิ หน้า ท่ี และความ
สัมพันธ์ระหว่างเอชนกับเอกชน อาทิ เช่น สิทธิและหน้าท่ีของบิดามารดาท่ีมีต่อบุตร การสมรส การ
หย่า มรดก ภูมิลำาเนาของบุคคล ส่วนกฎหมายอาญานัน ้ เป็ นกฎหมายท่ีว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่าง
รัฐกับเอกชน โดยเอกชนมีหน้าท่ต ี ้องเคารพต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ซ่ึงกำาหนดให้การกระทำาอันใด
ก็ตามเป็ นความผิดถ้าหากฝ่ าฝื น โดยปกติต้องมีโทษ ตัวอย่างเช่น ความผิดฐานลักทรัพ ย์ ฐานปล้น
ทรัพย์ ฐานยักยอก และฐานหม่ินประมาท เป็ นอาทิ
(2) แตกต่างกันด้วยวัตถุประสงค์ของกฎหมาย กฎหมายแพ่งมีวัตถุประสงค์ในอันท่ีจะอำานวยและรักษาไว้
ซ่ึงความยุติธรรมในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนด้วยกันแม้บางกรณีรัฐจะเข้าไปเป็ นคู่กรณี
ในทางแพ่งก็ตาม รัฐอยู่ในฐานะเป็ นเอกชนมีสิทธิหน้าท่ีอย่างเดียวกับเอกชนอ่ ืนๆทุกประการ ส่วน
กฎหมายอาญานัน ้ มีเจตารมย์ในทางรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง มุ่งประสงค์คุ้มครองให้
ความปลอดภัยแก่สังคม เม่ ือบุคคลใดละเมิดบทบัญญัติแห่งกฎหมายอาญา กฎหมายถือว่ารัฐเป็ นผู้
เสียหายโดยตรง จริงอยู่ท่ีตามระบบกฎหมายอาญาของไทยเรานัน ้ เอกชนผู้ถูกล่วงละเมิดสิทธิก็ถือว่า
เป็ นผู้เสียหาย ฟ้ องร้องให้ศาลลงโทษผู้ล่วงละเมิดตนได้ดุจกัน แต่สิทธิของเอกชนดังกล่าว ต้องถือว่า
เป็ นเพียงข้อยกเว้นของหลักกฎหมายท่วี ่ารัฐเป็ นผู้เสียหายโดยตรงเท่านัน ้
(3) แตกต่ า งกั น ด้ ว ยการตี ค วาม ในกฎหมายแพ่ ง นั น ้ ประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 4
บัญญัติว่าการตีความกฎหมายย่อมต้องตีความตามตัวอักษร หรือตามความมุ่งหมายของบทบัญญัติ
แห่ง กฎหมายถ้าหากไม่มีบทกฎหมายท่จี ะยกขึ้นปรับแก่ค ดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนัน ้ ตามจารีต ประเพณี
แห่งท้องถ่ิน
ส่ วนในกฎหมายอาญานั น ้ จะตีค วามอย่า งกฎหมายแพ่ ง ไม่ไ ด้ หากแต่ต้ องตีค วามโดยเคร่ ง ครั ดจะถือ ว่ า
บุคคลใดมีความผิดตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายใด ต้องตีความตามตัวอักษรท่ีปรากฏในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
นัน
้ ๆ โดยตรงจะมีการขยายความในบทบัญญัติแห่งกฎหมายออกไปให้ครอบคลุมไปถึงการกระทำาอ่ ืนๆ อันใกล้เคียง
กับการกระทำาท่ีกฎหมายบัญญัติว่าเป็ นความผิดมิได้
(4) แตกต่างกันด้วยสภาพบังคับ ในกฎหมายแพ่งนัน ้ มีสภาพบังคับประเภทหน่ึง กล่าวคือถ้าหากมีการ
ล่วงละเมิดกฎหมายแพ่ง บุคคลผู้ล่วงละเมิดไม่ปฏิบัติตามคำาพิพากษาของศาล ก็อาจจะถูกยึดทรัพย์มา
ขายทอดตลาดเอาเงินท่ีขายได้มาชำาระหนีต ้ ามคำาพิพากษาของศาล หรือมิฉะนัน ้ อาจถูกกักขังจนกว่าจะ
ปฏิบัติตามคำาพิพากษาของศาลก็ได้ ส่วนในกฎหมายอาญานัน ้ มีสภาพบังคับอีกประเภทหน่ึง คือ โทษ
ทางอาญาซ่ึงกฎหมายได้บัญญัติไว้สำา หรับความผิด ซ่ึงโทษดัง กล่า วมีอยู่ 5 สถานด้วยกัน คือ โทษ
ประหารชีวิต จำาคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพย์สิน

1.2 ปรัชญาของกฎหมายอาญา
1. วัตถุประสงค์กฎหมายอาญา คือ คุ้มครองส่วนได้เสียของสังคมให้พ้นจากการประทุษร้ายต่างๆ กฎหมาย
อาญาจึงเป็ นส่ิงจำาเป็ นย่ิงต่อความสงบเรียบร้อยของสังคม
2. ทฤษฎีกฎหมายอาญา หมายถึง กลุ่มแนวความคิดหรือหลักการท่ีถือว่าเป็ นพ้ืนฐานของกฎหมายอาญา

ความมุ่งหมายของกฎหมายอาญา
1.2.1
กฎหมายอาญามีความมุ่งหมายอย่างไร และมีวิธีการใดให้บรรลุถึงความมุ่งหมายนัน

กฎหมายอาญามีความมุ่งหมายในอันท่ีจะคุ้มครองประโยชน์ของส่วนรวมให้พ้นจากการประทุษร้าย โดย
อาศัยการลงโทษเป็ นมาตรการสำาคัญ

รัฐมีเหตุผลประการใดในการใช้อำานาจลงโทษผู้กระทำาความผิด
เหตุผลหรือความชอบธรรมในการลงโทษของรัฐมีผู้ให้ความเห็นไว้ 3 ประการ คือ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


3

(1) หลักความยุติธรรม
(2) หลักป้ องกันสังคม
(3) หลักผสมระหว่างหลักความยุติธรรมและหลักป้ องกันสังคม

ข้อจำากัดอำานาจในการลงโทษของรัฐมีอย่างไร
อำานาจในการลงโทษของรัฐมีข้อจำากัดโดยบทบัญญัติในกฎหมาย กล่าวคือ
(1) โทษจะต้องเป็ นไปตามกฎหมาย
(2) ในความผิดท่ีกฎหมายกำาหนดโทษขัน ้ สูงไว้ รัฐจะลงโทษผู้กระทำาความผิดเกิดกว่านัน ้ ไม่ได้ เว้นแต่จะ
มีเหตุเพ่ิมโทษตามกฎหมาย
(3) ในความผิดท่ีกฎหมายกำา หนดโทษขัน ้ ต่ำา ไว้ รัฐลงโทษผู้กระทำา ความผิดต่ำา กว่า นัน
้ ไม่ได้ เว้นแต่จะมี
เหตุลดโทษตามกฎหมาย
(4) ในความผิดท่ีกฎหมายกำา หนดโทษขัน ้ ต่ำา ไว้และขัน
้ สูงไว้ รัฐ มีอำา นาจลงโทษได้ต ามท่ีเ ห็นสมควรใน
ระหว่างโทษขัน ้ ต่ำาและขัน
้ สูงนัน

1.2.2ทฤษฎีกฎหมายอาญา
ทฤษฎีกฎหมายอาญาในทรรศนะตามคอมมอนลอว์ เป็ นประการใด
นักทฤษฎีกฎหมายอาญาในระบบคอมมอนลอว์เห็นว่า กฎหมายอาญาแบ่งได้เป็ น 3 ส่วน คือ ภาคความ
ผิด หลักทัว่ไป และหลักพ้ืนฐาน
ภาคความผิด เป็ นส่วนท่ีบัญญัติเก่ียวกับความผิดฐานต่างๆ หรือคำาจำากัดความของความผิดแต่ละฐานและ
กำาหนดโทษสำาหรับความผิดนัน ้ นัน
้ ด้วย เป็ นส่วนท่ีมีความหมายแคบท่ีสุด แต่มจี ำานวนบทบัญญัติมากท่ีสุด
หลักทัว่ไป เป็ นส่วนท่ีมีความหมายกว้างกว่าภาคความผิดและนำา ไปใช้บังคับแก่ความผิดต่างๆ เช่น เร่ ือง
วิกลจริต ความมึนเมา เด็กกระทำา ความผิ ด ความจำา เป็ น การป้ องกั นตัว พยายามกระทำา ความผิ ด ตัวการ ผู้ใช้ ผู้
สนับสนุน เป็ นต้น
หลักพ้ืนฐาน ส่วนนีถ ้ ือว่าเป็ นหัวใจของกฎหมายอาญาและเป็ นส่วนท่ีมีความหมายกว้างท่ีสุด ซ่ึงต้องนำาไป
ใช้บังคับแก่ความผิดอาญาต่างๆ เช่นเดียวกับหลักทัว่ไป หลักพ้ืนฐานของกฎหมายอาญา ได้แก่ (1) ความยุติธรรม
(2) เจตนา (3) การกระทำา (4) เจตนาและการกระทำา ต้องเกิดร่วมกัน (5) อันตรายต่อสังคม (6) ความสัมพันธ์
ระหว่างเหตุกับผล และ (7) ลงโทษ
บทบัญญัติทัง้ 3 ส่วนนีย ้ ่อมสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ถ้าจะเข้าใจผิดฐานใดฐานหน่ึงได้ชัดแจ้งจะต้องนำา หลัก
ทัว่ไปและหลักพ้ืนฐานไปพิจารณาประกอบด้วย เพราะลำาพังแต่บทบัญญัตภ ิ าคความผิดนัน
้ มิได้ให้ความหมายหรือคำา
จำากัดความท่ีสมบูรณ์ของความผิดแต่ละฐาน จะต้องพิจารณาประกอบกับหลักทัว่ไปและหลักพ้ืนฐานเสมอ

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 1 ลักษณะทั่วไปของกฎหมายอาญาและปรัชญากฎหมายอาญา

1. กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่ว่าด้วยการกระทำาความผิดและกำาหนดโทษที่จะลงแก่ผู้กระทำาผิด


2. ความคิดทางกฎหมายอาญาของประเทศท่ีใช้ประมวลกฎหมายอาญา ความสำาคัญอยู่ท่ี ตัวบทกฎหมายที่เป็ นลาย
ลักษณ์อักษร
3. ประมวลกฎหมายอาญาฉบับแรกของไทยคือ กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127
4. โครงสร้างของประมวลกฎหมายฉบับปัจจุบันประกอบด้วย ภาคบทบัญญัติทั่วไป ภาคความผิด และความผิด
ลหุโทษ รวม 3 ภาค
5. ความผิดทางอาญาหมายถึง การกระทำา หรือละเว้นการกระทำาท่ีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิดและกำาหนดโทษ
ไว้ด้วย
6. ความผิดทางแพ่งต่างกับความผิดทางอาญาคือ ความผิดทางแพ่งเป็ นการละเมิดต่อเอกชนโดยเฉพาะ ส่วนความ
ผิดทางอาญาเป็ นการทำาความเสียหายต่อส่วนรวม
7. กฎหมายอาญามีความมุง่ หมายคือ คุ้มครองส่วนได้เสียของสังคมโดยการลงโทษผู้กระทำาผิด
8. เหตุท่ีรัฐมีเหตุผลในการแทรกแซงเข้าไปลงโทษบุคคลคือ เพ่ ือป้องกันสังคมและตอบแทนผู้กระทำาความผิด
9. กรณีความผิด ขับรถชนรัว้บ้านผูอ้ ่ ืนโดยประมาท เป็ นความผิดทางแพ่งเท่านัน ้
10. ในข้อท่ีไม่ใช่ข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญาคือ กฎหมายอาญามุ่งที่จะรักษาความสัมพันธ์
ระหว่างเอกชนด้วยกัน ส่วนกฎหมายแพ่งมุ่งที่จะรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
11. เป็ นการบอกลักษณะของกฎหมายอาญาดีท่ีสุดคือ กฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและโทษสำาหรับความผิด
12. ประเทศท่ีใช้ประมวลกฎหมายอาญา มีความคิดทางกฎหมายอาญาคือ ถือว่าตัวบทกฎหมายอาญาที่เป็ นลาย
ลักษณ์อักษรมีความสำาคัญที่สุด
13. การกระทำาท่ีจะถือว่าเป็ นความผิดอาญาคือ การกระทำาหรือละเว้นการกระทำาท่ีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิดและ
กำาหนดโทษ
14. สภาพบั ง คั บ ทางอาญาและสภาพบั ง คั บ ทางแพ่ ง ต่ า งกั น เพราะสภาพบั ง คั บ ทางอาญาเป็นการลงโทษ เช่ น
ประหารชีวิตหรือจำาคุก ส่วนสภาพบังคับทางแพ่งเป็ นการชดใช้ค่าเสียหาย
15. การกระทำาท่ีถือว่าเป็ นเฉพาะความผิดทางแพ่ง คือ ขับรถชนรถยนต์คันอ่ ืนเสียหายทัง้คัน

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


4

16. ความแตกต่างระหว่างกฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญาคือ สภาพบังคับในกฎหมายแพ่งเป็ นการชดใช้ค่าเสียหาย


ส่วนกฎหมายอาญาเป็ นการลงโทษ

หน่วยท่ี 2 : อาชญากรรมในสังคม

1. อาชญากรรมคือการกระทำาท่ีมโี ทษทางอาญา
2. ตามแนวความคิดของนักอาชญาวิทยาต่างสำานักกัน อาชญากรรมอาจเป็ นพฤติกรรมท่ีคนเลือกกระทำาเพ่ ือ
แสวงหาความสุข หรืออาจเป็ นพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ท างธรรมชาติ
อ่ ืนๆ หรืออาจเป็ นพฤติกรรมท่ีขัดต่อบรรทัดฐาน ความประพฤติของคนส่วนใหญ่ในสังคม
3. สาเหตุของอาชญากรรมมีท่ีมาจากการศึกษาของนักอาชญาวิทยาสำานักโปซิตีพ ซ่ึงต่อมาได้มีผู้ศึกษาค้นคว้า
เพ่ิมเติมจนก่อตัง้เป็ นทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยา ทางจิตวิทยาและทางสังคมวิทยา

แนวคิดทัว่ ไปเก่ียวกับอาชญากรรม
1. อาชญากรรมอาจนิยามได้หลายอย่าง อาชญากรรมตามกฎหมาย หมายถึงการกระทำา ท่ีฝ่าฝื นบทบัญญัติ
ของกฎหมายอาญา ส่วนอาชญากรรมตามนิยามทางสังคมหมายถึงการประทำา ท่ีฝ่าฝื นบรรทัดฐานความ
ประพฤติทางสังคม
2. อาชญากร เป็ นผู้กระทำาความผิดท่ีศาลได้พพ ิ ากษาแล้วว่าได้กระทำาความผิดและลงโทษตามกฎหมาย
3. เพศ อายุ การศึก ษาและฐานะทางสัง คมอ่ ืน ๆ เป็ น ปั จจั ยท่ีแสดงให้เ ห็ นสถานะของอาชญากรรมและ
อาชญากร
4. อาชญาวิทยาเป็ นวิชาท่ีศึกษาเก่ียวกับอาชญากรรมและอาชญากรโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
5. สำา นั ก อาชญาวิ ท ยาท่ีสำา คั ญ อาจแบ่ ง ออกเป็ น 2 กลุ่ ม กลุ่ ม ท่ี 1 เน้ น การศึ ก ษาทางด้ า นสาเหตุ
อาชญากรรม ซ่ึง มี สำา นัก โปซิตี พ เป็ น สำา นั กสำา คั ญ และกลุ่ ม ท่ี 2 เน้ นทางด้ า นการศึก ษาเก่ีย วกั บ การ
ลงโทษผู้กระทำาความผิดซ่ึงมีสำานักคลาสสิกเป็ นสำานักสำาคัญ
6. อาชญากรรมในสั ง คมอาจแบ่ ง ออกได้ ห ลายลั ก ษณะคื อ อาชญากรรมพ้ืน ฐาน อาชญากรรมจากการ
ประกอบอาชีพ อาชญากรรมท่ีทำา เป็ นองค์การ อาชญากรรมท่ีทำา เป็ นอาชีพ อาชญากรรมทางการเมือง
และอาชญากรรมท่ีขัดต่อความสงบเรียบร้อยของสังคม ในประเทศไทยอาชญากรรมท่ีร้ายแรงและไม่ร้าย
แรงเกิดขึ้นมาก
7. การจัดทำาสถิติอาชญากรรมทำาได้ 2 ทางด้วยกันคือ อย่างเป็ นทางราชการและไม่เป็ นทางราชการ
8. สถิติอาชญากรรมท่ีไม่ใช่ทางราชการ อาจให้ข้อมูลเพ่ม ิ เติมได้ว่าอาชญากรรมเกิดขึ้นในสังคมมีมากกว่าท่ี
ปรากฏในสถิติของทางราชการ เกณฑ์วัดการเกิดขึ้นของอาชญากรรมว่าเพ่ม ิ ขึ้นหรือลดลงในระหว่างปี ท่ี
ศึกษา อาจทำาได้โดยเปรียบเทียบสถิติอาชญากรรมต่อประชากร 100,000 คน

อาชญากรรมและอาชญากร
นิยามอาชญากรรมมีแบ่งออกเป็ นก่ีนิยาม อะไรบ้าง และสถิติอาชญากรรมของทางราชการอาศัยนิยามอะไร
เป็ นหลัก
นิยามอาชญากรรมมี 2 นิยาม คือ นิยามตามกฎหมายและนิยามทางสังคม สถิติของทางราชการใช้นิยาม
ตามกฎหมาย

ผู้กระทำาความผิดท่ีต้องโทษในเรือนจำาไทยส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มอายุใด
ผู้กระทำาความผิดท่ีต้องโทษในเรือนจำาของไทยส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มอายุ 21-25 ปี

อาชญาวิทยาและสำานักอาชญาวิทยา
สำานักคลาสสิก มีทัศนะเก่ียวกับอาชญากรรมอย่างไร
สำานักคลาสสิกเห็นว่า อาชญากรรมเกิดจากเจตน์จำานงอิสระของบุคคลท่ีแสวงหาความสุขและได้ประกอบ
กรรมอันนัน
้ โดยเจตนา เพราะฉะนัน้ จึงเน้นการศึกษาท่ีอาชญากรรม

สำานักโปซิตีพและสำานักป้ องกันสังคมมีทัศนะเก่ียวกับอาชญากรรมเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร
สำานักโปสซิตพ ี และสำานักป้ องกันสังคม เห็นพ้องกันว่าอาชญากรรมมิใช่เป็ นการกระทำาโดยเจตนาหากแต่ผู้
ถูกบังคับให้กระทำา อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ และตัวท่ีบังคับให้กระทำา นัน
้ อาจเป็ นปั จจัยทางชีววิทยา ทางจิตวิทยา หรือ
ทางสังคมวิทยาก็ได้ เพราะฉะนัน ้ จึงเน้นให้ศึกษาผู้กระทำาความผิดเพ่ ือค้นหาสาเหตุโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

ลักษณะและขอบเขตของอาชญากรรม
อาชญากรรมพ้ืนฐานได้แก่ อาชญากรรมประเภทใด
อาชญากรรมพ้ืนฐานเป็ นอาชญากรรมท่ีเกิดขึ้นในทุกสังคมตัง้แต่โบราณกาล คือ ความผิดต่อชีวิตร่างกาย
และทรัพย์สินและเพศ เช่น ทำา ร้ายร่า งกาย ลักทรัพย์ ว่ิง ราวทรัพย์ ชิงทรัพ ย์ ปล้นทรัพ ย์ และข่มขื นกระทำา ชำา เรา
เป็ นต้น

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


5

อาชญากรรมพ้ืนฐานต่างจากอาชญากรรมท่ีจัดเป็ นองค์การอย่างไร
อาชญากรรมพ้ืน ฐานแตกต่ า งจากอาชญากรรมท่ีจั ด เป็ นองค์ ก าร ตรงท่ีอ าชญากรรมพ้ืน ฐานเป็ น
อาชญากรรมท่ีทำาเป็ นส่วนบุคคล ส่วนอาชญากรรมท่ีเป็ นองค์การ มิใช่อาชญากรรมท่ท ี ำาเป็ นส่วนบุคคล แต่มีหน่วย
งานเป็ นผู้ดำาเนินการรับผิดชอบ ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็ นองค์การอาชญากรรมหรือองค์การนอกกฎหมาย เช่น การจัดให้มี
การค้าประเวณี เล่นการพนัน ค้ายาเสพติดหรือลักลอบขนของหนีภาษี เป็ นต้น

การจัดทำาสถิติและเกณฑ์วัดแนวโน้มของอาชญากรรม
สถิติอาชญากรรมของทางราชการอาจบอกอะไรแก่ผู้อ่านได้บ้าง
สถิติอาชญากรรมของทางราชการอาจบอกให้ทราบว่ามีอาชญากรรมอะไรเกิดขึ้นในสังคมในแต่ละปี และ
สะท้อนให้เห็นการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานตำารวจเก่ียวกับการปราบปรามอาชญากรรม

สถิติอาชญากรรมอย่างไม่เป็ นทางการได้มาจากการจัดทำาก่ีอย่าง อะไรบ้าง


สถิติอาชญากรรมอย่างไม่เป็ นทางการได้มาจากการทำา 5 อย่างด้วยกันคือ
(1) การสังเกตอาชญากรรม
(2) รายงานของพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชน
(3) สถานการณ์ทดสอบ
(4) การศึกษาผู้เสียหายหรือเหย่ ืออาชญากรรม
(5) คำาสารภาพของผู้ถูกสัมภาษณ์

อาชญากรรมประเภทต่างๆ ในระหว่าง 2530 ถึง 2532 ในประเทศไทยเพ่ิมขึ้นหรือลดลงอย่างไร


อาชญากรรมในประเทศไทยเกิดขึ้นมากมาย อาชญากรรมอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญมีอัตราการเกิดขึ้น
ค่อนข้างคงท่ี คือในรอบ 4 ปี ท่ีผ่านมา มีการเพ่ิมและลดไม่มากนัก แต่ถ้าว่าถึงจำา นวนความผิดฐานฆ่าผู้อ่ืนเกิดขึ้น
มากท่ีสุด ในบรรดาความผิดอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญด้วยกัน
ในด้านความผิดต่อชีวิต ร่างกายและเพศ ความผิดฐานทำา ร้ายร่างกายเกิดขึ้นมากท่ีสุด และมีแนวโน้มเพ่ิม
ขึ้น
ในด้านความผิดเก่ียวกับทรัพย์ ความผิดฐานลักทรัพย์เกิดขึ้นมากท่ีสุด แต่มีแนวโน้มลดลงเช่นเดียวกับ
ความผิดฐานฉ้อโกง ซ่ึงมีแนวโน้มลดลงเช่นเดียวกัน ส่วนความผิดท่ีเหลือค่อนข้างคงท่ี คือมีการเพ่ิมและลดค่อนข้าง
น้อยเม่ ือพิจารณาความผิดฐานลักทรัพย์บางประเภท ความผิดฐานลักรถจักร ยานยนต์และรถยนต์เกิดขึ้นมากและมี
แนวโน้มเพ่ิมขึ้น ส่วนการลักโคกระบือมีแนวโน้มลดลง
ในด้านความผิดต่อ พรบ. อาวุธปื นฯ พรบ. การพนัน และ พรบ. ยาเสพติด ความผิดต่อ พรบ. ทัง้ 3 นี้
เกิดขึ้นมากและมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้น

ทฤษฎีสาเหตุของอาชญากรรม
1. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมมีท่ีมาจากทฤษฎีของสำานักคลาสสิกและสำานักโปซิตพ ี
2. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยาบอกว่า อาชญากรรมเกิดจากความผิดปกติทางกายภาพอันมีผลสืบ
เน่ ืองมาจากพันธุกรรม
3. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยาอธิบายว่า อาชญากรรมเกิดขึ้นจากความผิดปกติทางอารมณ์ ทางจิต
และทางบุคลิกภาพ
4. ทฤษฎี ส าเหตุ อ าชญากรรมทางสั ง คมวิ ท ยาอธิ บ ายว่ า อาชญากรรมเกิ ด จากอิ ท ธิ พ ลของสั ง คมและส่ิง
แวดล้อม

ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางชีววิทยา
ทฤษฎีสาเหตุของอาชญากรรมทางชีววิทยาท่ีสำาคัญมีก่ีทฤษฎี อะไรบ้าง
มี 4 ทฤษฎีใหญ่ คือ
(1) ทฤษฎีรูปร่างลักษณะทางกาย
(2) ทฤษฎีโครโมโซม ผิดปกติ
(3) ทฤษฎีปัญญาอ่อนกับอาชญากรรม
(4) ทฤษฎีการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์

ทฤษฎีรูปร่างลักษณะทางกายเห็นว่าผู้ท่ีมีลักษณะทางกายอย่างไรจะประกอบอาชญากรรมมากท่ีสุด
ทฤษฎีรูปร่างลักษณะทางกายเห็นว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ท่ีมีร่างกายแข็งแรงแบบนักกีฬา จะกระทำาความผิดมาก
ท่ีสุด

ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยา
ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิทยามีก่ีทฤษฎี อะไรบ้าง

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


6

ทฤษฎี ส าเหตุ อ าชญากรรมทางจิ ต วิ ท ยามี 4 ทฤษฎี ด้ ว ยกั น คื อ (1) ทฤษฎี ค วามผิ ด ปกติ ท างจิ ต กั บ
อาชญากรรม (2) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (3) ทฤษฎีปัญหาทางอารมณ์กับอาชญากรรม และ (4) ทฤษฎีพยาธิสภาพ
ทางจิตกับอาชญากรรม

ทฤษฎีพยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม สามารถอธิบายอาชญากรรมได้เพียงไร
ทฤษฎีพยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม พยายามอธิบายว่าอาชญากรรมเกิดจากพยาธิสภาพทางจิตต่างๆ
นานา แต่จากการศึกษาปรากฏว่า ไม่ปรากฏว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างพยาธิสภาพทางจิตกับอาชญากรรม และการ
วิเคราะห์พยาธิสภาพทางจิต เป็ นเร่ ืองอัตตวิสัยของจิตแพทย์แต่ละคน ทำาให้ผลการวิเคราะห์แตกต่างกันมาก

ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางสังคมวิทยา
ทฤษฎีความไร้กฎเกณฑ์ของโรเบิร์ต เค เมอร์ตัน เสนอรูปแบบของการปรับตัวของชาวอเมริกันมีก่ีแบบ
อะไรบ้าง
ทฤษฎีความไร้กฎเกณฑ์เสนอรูปแบบของการปรับตัวของชาวอเมริกันไว้ 5 รูปแบบด้วยกัน คือ
(1) แบบคล้อยตาม
(2) แบบทำาขึ้นใหม่
(3) แบบพิธีการ
(4) แบบถอยหลังเข้าคลอง
(5) แบบปฏิวัติ

ทฤษฎีการควบคุมภายนอกและภายในกล่าวไว้อย่างไรเก่ียวกับสาเหตุของอาชญากรรม และท่านคิดว่าจะ
นำาทฤษฎีนีม
้ าใช้อธิบายสถานภาพอาชญากรรมในประเทศไทยได้หรือไม่ อย่างไร จงให้ความเห็น
ทฤษฎีการควบคุมภายนอกและควบคุมภายในเสนอว่าถ้าการควบคุมภายนอกเข้มแข็ง และบุคลิกมีการ
ควบคุมภายในเข้มแข็งด้วย อาชญากรรมจะไม่เกิดขึ้น แต่ถ้าการควบคุมภายนอกเข้มแข็ง แต่การควบคุมภายในอ่อน
โอกาสประกอบอาชญากรรมย่อมเกิดขึ้น ซ่ึงถ้าการควบคุมทัง้ภายนอกและภายในอ่อนแอ อาชญากรรมย่อมจะเกิด
ขึ้นมากโดยไม่จำากัดเวลาและสถานท่ี

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 2 อาชญากรรมในสังคม

1. การศึกษาอาชญากรรมอย่างเป็ นระบบเร่ิมมีขึ้นหลังจากการพิมพ์เผยแพร่ผลงานของนักอาชญาวิทยาท่ี ช่ ือ ซีซาร์


เบ็คคาเรีย
2. สถิติอาชญากรรมของทางราชการตัง้อยู่บนนิยามอาชญากรรม คือ นิยามตามกฎหมาย
3. สำานักอาชญาวิทยา สำานักคลาสสิค เกิดขึ้นก่อน
4. ซีซาร์ ลอมโบรโซ ผู้นำาแห่งสำานักโปซิตีฟ มีความคิดเก่ียวกับอาชญากรรมคือ อาชญากรรมเกิดขึ้นเพราะมีสาเหตุ
ทางด้านชีววิทยา
5. อาชญากร โดยนิยามทางวิชาการหมายถึงบุคคล ผู้ที่ได้กระทำาผิดทางอาญาและศาลมีคำาพิพากษาให้ลงโทษตาม
โทษานุโทษ
6. ความผิดฐานวางเพลิง เป็ นอาชญากรรมอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ
7. ทฤษฎีอาชญากรโดยกำาเนิด เป็ นทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมของนักอาชญาวิทยาช่ ือ ซีซาร์ ลอมโบรโช
8. ตามทฤษฎีลักษณะทางกายกับอาชญากรรม อาชญากรจะมีรูปร่าง ล่ำาสันแข็งแรงแบบนักกีฬามากที่สุด
9. ทฤษฎีสาเหตุอาชญากรรมทางจิตวิเคราะห์มีท่ีมาจากทฤษฎีของนักวิชาการท่ชี ่ ือ ซิกมัน ฟรอยด์
10. ทฤษฎีการคบหาสมาคมท่แี ตกต่างกันเร่ิมจากแนวความคิด อาชญากรรม เกิดจากการเรียนรู้
11. อาชญากรรมท่ีถือว่าเป็ น อาชญากรรมท่ีไม่มีผู้เสียหายคือ เล่นการพนัน
12. การศึกษาอาชญากรรมอย่างเป็ นระบบเร่ิมโดยสำานักอาชญาวิทยา สำานักคลาสสิก
13. นักอาชญาวิทยาผู้ท่ีเป็ นผู้นำาของสำานักโปซิตีฟ คือ ซีซาร์ ลอมโบรโซ
14. อาชญากรรมตามทัศนะของนักอาชญาวิทยา สำานักคลาสสิก เป็ นการกระทำาโดยเจตนาเพ่ ือแสวงหาความสุข
15. การปรับตัวท่นี ำาไปสู่การประกอบอาชญากรรมตามทฤษฎีโครงสร้างทางสังคมและความไร้กฎเกณฑ์คือ แบบถอย
หลังเข้าคลอง (Retreatism)
16. ข่มขืนกระทำาชำาเรา เป็ นอาชญากรรมอุกฉกรรจ์และสยองขวัญตามนิยามของกรมตำารวจ
17. อาชญากรรมท่จี ัดทำาเป็ นองค์กร คือ การค้ายาเสพติดให้โทษ
18. ทฤษฎีการคบหาสมาคมท่แี ตกต่างกันของศาสตราจารย์ซัทเทอร์แลนด์ บอกไว้ว่าคนจะลงมือกระทำา ความผิด
เพราะ ได้เรียนรู้เทคนิคการประกอบอาชญากรรม
19. สถิติอาชญากรรมของระบบงานยุติธรรมท่ีบอกสถานภาพและจำานวนอาชญากรรมได้มากท่ีสุดคือ สถิติของกรม
ตำารวจ
20. นักอาชญาวิทยาสังคมวิทยาเห็นอาชญากรรมเกิดจากสาเหตุ เกิดจากอิทธิพบของสังคมและสิ่งแวดล้อม

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


7

หน่วยท่ี 3 การใช้บังคับกฎหมายอาญา

1. กฎหมายอาญาต้องมีบทบัญญัติเป็ นลายลักษณ์อักษรท่ีชัดแจ้งปราศจากการคลุมเครือ และจะต้องตีความ


ตามตัวอักษรโดยเคร่งครัด
2. กฎหมายอาญาจะให้ผลย้อนหลังแก่ผู้กระทำามิได้ แต่ย้อนหลังเพ่ ือเป็ นคุณได้
3. กฎหมายอาญาใช้ บั ง คั บ สำา หรั บ การกระทำา ผิ ด ท่ีเ กิ ด ขึ้ น ในราชอาณาจั ก ร ส่ ว นการกระทำา ผิ ด นอกราช
อาณาจักรนัน
้ อาจใช้บัง คับ กฎหมายอาญาได้ บ างกรณี โดยคำา นึง ถึง สถานท่ี สภาพของความผิ ด และผู้
กระทำาผิด

3.1 ลักษณะการใช้กฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญาต้ องมี บ ทบั ญ ญั ติ ค วามผิ ด และบทลงโทษไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรอย่ า งชั ด แจ้ ง และ
แน่นอน
2. กฎหมายอาญาต้องตีความตามตัวอักษรโดยเคร่งครัด
3. กฎหมายอาญาจะย้อนหลังให้ผลร้ายแก่ผู้กระทำา โดยบัญญัติเป็ นความผิดหรือเพ่ิมโทษในภายหลังมิได้

3.1.1 กฎหมายอาญาต้องมีบทบัญญัติโดยชัดแจ้ง
กฎหมายอาญาต้องมีบทบัญญัติโดยชัดแจ้งนัน ้ หมายความว่าอย่างไร
กฎหมายอาญาต้องมีบทบัญญัติโดยชัดแจ้ง หมายความว่า กฎหมายอาญาจะต้องมีบทบัญญัติไว้เ ป็ นลาย
ลักษณ์อักษร โดยบัญญัตค ิ วามผิดและโทษไว้ในขณะกระทำา และบทบัญญัตินัน ้ ต้องชัดเจนปราศจากการคลุมเครือมิ
ฉะนัน
้ จะใช้บังคับมิได้ ซ่ึงประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติรับรองไว้ในมาตรา 2 ท่ีว่าบุคคลจักต้องรับโทษในทาง
อาญาต่อเม่ ือได้กระทำาการอันกฎหมายท่ีใช้ขณะกระทำาการนัน ้ บัญญัติเป็ นความผิดและกำาหนดโทษไว้ และโทษท่ีจะ
ลงแก่ผู้กระทำาผิดนัน
้ ต้องเป็ นโทษท่กี ำาหนดไว้ในกฎหมาย

การใช้บังคับกฎหมายอาญานัน ้ จะบัญญัติการกระทำาท่ีท่ีเป็ นความผิดโดยไม่มีบทกำาหนดโทษ หรือกำาหนด


บทลงโทษโดยไม่บัญญัติความผิดไว้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
การใช้บังคับกฎหมายอาญานัน ้ จะบัญญัติการกระทำา ท่ีเป็ นความผิดโดยไม่มีบทกำา หนดโทษ หรือกำา หนด
บทลงโทษโดยไม่บั ญญัติค วามผิด ไม่ได้ เพราะการลงโทษเป็ นเร่ ืองท่ีมีผลกระทบต่อสิท ธิแ ละเสรีภ าพส่วนบุค คล
โดยตรงหากให้ผู้อำา นาจผู้บังคับกฎหมายกำา หนดโทษได้เอง หรือลงโทษเสียก่อนจึงกำา หนดความผิดภายหลัง ก็จะ
เป็ นการเปิ ดช่องให้มีการใช้อำา นาจตามอำา เภอใจได้โ ดยง่า ย ซ่ึง จะเป็ นผลให้กระบวนการยุติธรรมเบ่ียงเบนไป และ
ประชาชนก็จะขาดหลักประกันในสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล เช่นนีย ้ ่อมเป็ นท่ีเสียหายต่อความสงบเรียบร้อยในบ้าน
เมืองและสังคมโดยรวม ฉะนัน ้ ลักษณะการใช้บังคับกฎหมายจึงถือหลัก “ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ไม่มีกฎหมาย”
โดยเคร่งครัด

3.1.2 กฎหมายอาญาต้องมีตีความโดยเคร่งครัด
ท่ีวากฎหมายอาญาจะต้องตีความตามตัวอักษรอย่างเคร่งครัดนัน ้ มีความหมายอย่างไร
ท่ีว่ากฎหมายอาญาจะต้องตีความตามตัวอักษรอย่างเคร่งครัดนัน ้ หมายความว่า กฎหมายบัญญัติการกระทำา
ใดเป็ นความผิดและต้องรับโทษในทางอาญาแล้ว ต้องถือว่าการกระทำา นัน ้ ๆ เท่านัน ้ ท่ีเป็ นความผิดและผูกระทำา ถูก
ลงโทษจะรวมถึงการกระทำาอ่ ืนๆด้วยไม่ได้ อย่างไรก็ดีในบางกรณีการตีความตามตัวอักษรแต่เพียงอย่างเดียว ยังไม่
อาจทำา ให้ เ ข้ า ใจความหมายท่แี ท้ จ ริ ง ของบทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง กฎหมายได้ ด้ ว ยเหตุ นี จ้ึ ง ต้ อ งคำา นึ ง ถึ ง เจตนารมณ์ ข อง
กฎหมายด้วยนอกจากนี ก ้ ารตีความตามตัวอักษรอย่างเคร่งครัดดังกล่าวมีความหม
เป็ นคุณแก่ผู้กระทำาเท่านัน
้ มิใช่ในทางท่ีจะเป็ นโทษแก่ผู้กระทำา

ในการตีความกฎหมายอาญานัน ้ จะนำา หลักการเทียบกฎหมายท่ีใกล้เ คียงอย่างย่ิง (Analogy) มาใช้ได้


หรือไม่เพียงใด
ในการตีความกฎหมายอาญานัน ้ จะนำาหลักการเทียบกฎหมายท่ีใกล้เคียงอย่างย่ิง มาใช้บังคับให้เป็ นผลร้าย
แก่ผู้กระทำา มิได้ หลักการเทียบเคียงนัน
้ ใช้เ ฉพาะในกฎหมายแพ่ง ดัง ท่ีมีบัญ ญัติไว้ใ นประมวลกฎหมายแพ่ง และ
พาณิชย์ มาตรา 4 อย่างไรก็ดีหลักการเทียบเคียงดังกล่าวอาจนำามาใช้เพ่ ือเป็ นคุณหรือประโยชน์แก่ผู้กระทำาได้

3.1.3 กฎหมายอาญาจะย้อนหลังให้ผลร้ายมิได้
กฎหมายอาญาย้อนหลังเป็ นผลร้ายมิได้นัน ้ มีความหมายครอบคลุมเพียงใด
ท่ีว่ากฎหมายอาญาย้อนหลังเป็ นผลร้ายมิได้นัน ้ มีความหมายครอบคลุมใน 2 กรณี ดังต่อไปนี้
(1) กฎหมายอาญา จะย้อนหลังเพ่ อ ื ลงโทษมิได้ กล่าวคือในเม่ ือไม่มีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิดไว้ใน
ขณะกระทำา จึง ใช้บัง คับกฎหมายท่บ ี ั ญญัติใ นภายหลัง ย้อ นหลัง กลับ ไปให้ถือว่า การกระทำา นัน ้ เป็ น
ความผิด และลงโทษบุคคลผู้กระทำานัน ้ มิได้
(2) กฎหมายอาญาจะย้อนหลัง เพ่ อ ื เพ่ิมโทษหรือเพ่ิมอายุค วามมิได้ กล่าวคือในขณะกระทำา มีกฎหมาย
บัญญัติเป็ นความผิดและกำาหนดโทษไว้ ต่อมามีกฎหมายใหม่บัญญัติเพ่ิมโทษการกระทำา ดังกล่าวนัน ้
ให้หนักขึ้น หรือเพ่ิมอายุความแห่งโทษหรืออายุความแห่งการฟ้ องร้องผู้กระทำาผิดนัน ้ ให้ยาวย่ิงขึ้น จะ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


8

นำา กฎหมายใหม่ดังกล่าวมาใช้บังคับแก่ผู้กระทำา มิได้ ในกรณีเ ช่นนีจ้ะต้องนำา กฎหมายท่ีมีอยู่เดิมใช้


บังคับแก่ผู้กระทำาผิด
อย่างไรก็ดีการใช้บังคับกฎหมายอาญาอาจย้อนหลังเป็ นผลดีได้ และวิธีการเพ่ อ ื ความปลอดภัยมิใช่โทษทาง
อาญา จึงใช้บังคับย้อนหลังได้

3.2 การใช้กฎหมายอาญาในส่วนท่ีเก่ียวกับเวลา
1. กฎหมายท่ีบัญญัติขึ้นในภายหลังแตกต่างไปจากกฎหมายท่ีใช้ในขณะกระทำาผิด ให้ใช้กฎหมายในส่วน
ท่ีเป็ นคุณแก่ผู้กระทำาผิด
2. วิธีการเพ่ ือความปลอดภัย จะใช้บัง คับแก่บุคคลใดก็ต่อเม่ ือมีบทบั ญญัติแห่ง กฎหมายให้ใ ช้บัง คับได้
เท่านัน ้ และกฎหมายท่ีจะใช้บังคับนัน
้ ให้ใช้กฎหมายในขณะท่ีศาลพิพากษา

กรณีกฎหมายใหม่เป็ นคุณแก่ผู้กระทำาผิด
3.2.1
การใช้บังคับกฎหมายอาญาย้อนหลังเป็ นผลดีแก่ผู้กระทำานัน ้ มีกรณีใดบ้าง อธิบาย
การใช้บังคับกฎหมายอาญาย้อนหลังเป็ นผลดีแก่ผู้กระทำา นัน ้ มี 2 กรณี ได้แก่กฎหมายใหม่ยกเลิกความ
ผิดตามกฎหมายเก่า และกรณีกฎหมายใหม่แตกต่างจากกฎหมายเก่า
(1) กรณีกฎหมายใหม่ยกเลิกความผิดตามกฎหมายเก่า ได้แก่กฎหมายท่ีออกมาในภายหลังบัญญัติให้การ
กระทำานัน ้ ไม่เป็ นความผิดตามกฎหมายเก่า และกรณีใหม่แตกต่างจากกฎหมายเก่า
- ผู้ ก ระทำา นั น ้ พ้ น จากการเป็ น ผู้ ก ระทำา ผิ ด กล่ า วคื อ หากมี ก ฎหมายใหม่ ย กเลิ ก ความผิ ด ตาม
กฎหมายเก่า ในขณะท่ีไม่มีคำาพิพากษาถึงท่ีสุดให้คดีนัน ้ เป็ นอันยุติ นัน
้ คือผู้กระทำา ความผิดนัน้
พ้นจากการเป็ นผู้กระทำาความผิดโดยอัตโนมัติ
- กรณี ถื อ ว่ า ผู้ ก ระทำา ไม่ เ คยต้ อ งคำา พิ พ ากษา หรื อ ให้ พ้ น จากการถู ก กล่ า วโทษกล่ า วคื อ หากมี
กฎหมายใหม่ยกเลิกความผิดตามกฎหมายเก่า ในขณะท่ีได้มีคำาพิพากษาถคงท่ีสุดให้ลงโทษแล้ว
ก็ให้ถือว่าผู้นัน
้ ไม่เคยต้องคำาพิพากษาว่าได้กระทำาความผิดนัน ้ เลย และหากเป็ นกรณีท่ีบุคคลนัน ้
ยังอยู่ในขณะรับโทษ ก็ให้การลงโทษนัน ้ สิน
้ สุดลงและปล่อยตัวบุคคลนัน ้ ไป
(2) กรณี ก ฎหมายใหม่ แ ตกต่ า งจากกฎหมายเก่ า ได้ แ ก่ ก ฎหมายท่ีใ ช้ บั ง คั บ ในภายหลั ง แตกต่ า งกั บ
กฎหมายท่ีใช้บังคับในขณะกระทำาความผิด ซ่ึงอาจแบ่งแยกได้เป็ น 2 กรณี ดังนี้
- กรณีคดียังไม่ถึงท่ีสุด กล่าวคือ หากกฎหมายท่ีใช้ภายหลังแตกต่างกับกฎหมายท่ีใช้ในขณะกระทำา
ผิด ในกรณีคดียังไม่ถึงท่ีสุดให้ใช้กฎหมายในส่วนท่ีเป็ นคุณแก่ผู้กระทำาความผิด ไม่ว่าในทางใด
- กรณี ค ดี ถึ ง ท่ีสุ ด แล้ ว และโทษท่ีกำา หนดตามคำา พิ พ ากษาหนั ก แก่ โ ทษท่ีกำา หนดตามกฎหมายท่ี
บัญญัติในภายหลัง ในเม่ ือผู้กระทำายังไม่ได้รับโทษ หรือกำาลังรับโทษอยู่อาจแยกเป็ น 2 กรณี ได้แก่
 กรณีโทษตามคำาพิพากษามิใช่โทษประหารชีวิต หากผู้กระทำาความผิดยังไม่ได้รับโทษศาลต้อง
กำาหนดโทษใหม่ตามกฎหมายท่ีใช้บัญญัติในภายหลังในเม่ ือผู้กระทำา ความผิด ผู้แทนโดยชอบ
ธรรมหรือพนักงานอัยการร้องขอและหากผู้กระทำาความผิดกำาลังรับโทษอยู่ ศาลจะต้องกำาหนด
โทษเสียใหม่ตามกฎหมายท่ีบัญญัติในภายหลัง ในกรณีท่ีศาลจะกำา หนดโทษใหม่นี ห ้ ากเห็น
เป็ นการสมควรจะกำา หนดโทษน้อยกว่า โทษขัน ้ ต่ำา ตามกฎหมายใหม่ หรื อศาลจะปล่ อ ยตั วผู้
กระทำาผิดไปก็ได้
 กรณีโทษตามคำาพิพากษาเป็ นโทษประหารชีวิต และตามกฎหมายใหม่โทษท่ีจะลงแก่ผู้กระทำา
ความผิดไม่ถึงกับประหารชีวิต กรณีเช่นนีใ้ห้งดโทษประหารชีวิตแก่ผู้กระทำา ผิด และให้ถือว่า
โทษประหารชีวิตตามคำา พิพากษาได้เปล่ียนเป็ นโทษสูงสุดท่ีจะลงได้ตามกฎหมายใหม่ โดยไม่
ต้องมีการร้องขอหรือใช้ดุลพินิจของศาล

ศาลจัง หวั ด นนทบุ รีพิพ ากษาจำา คุ กนายเขี ย ว 1 เดื อน ฐานด่ ืม สุ ราในยามวิ กาล ต่อมารั ฐ ออกกฎหมาย
ยกเลิกความผิดดังกล่าว กฎหมายใหม่จะมีผลต่อนายเขียวประการใด ถ้าปรากฏว่า
(1) นายเขียวอุทธรณ์คำาพิพากษาต่อศาลอุทธรณ์ และคดียังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาล
อุทธรณ์
(2) นายเขียวไม่อุท ธรณ์ ทำา ให้คำา พิพ ากษาศาลจัง หวัด นนทบุรี ถึง ท่ีสุดและนายเขียวกำา ลัง รั บ
โทษจำาคุกอยู่
(3) นายเขียวไม่อุทธรณ์ ทำาให้คำาพิพากษาศาลจังหวัดนนทบุรีถึงท่ีสุดโดยนายเขียวได้รับโทษจำา
คุกครบกำาหนดและพ้นโทษไปแล้ว
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 บัญญัติไว้ว่า “บุคคลจะต้องรับโทษทางอาญาต่อเม่ ือได้กระทำา การอัน
กฎหมายท่ีใช้ในขณะนัน ้ บัญญัติเป็ นความผิดและกำาหนดโทษไว้ และโทษท่ีจะลงแก่ผู้กระทำา ผิดต้องเป็ นโทษตามท่ี
บัญญัติไว้ในกฎหมาย
ถ้าตามบทบัญญัติของกฎหมายท่ีบัญญัติใ นภายหลัง การกระทำา เช่นนัน ้ ไม่เ ป็ นความผิดต่อไป ให้ผู้ท่ีได้
กระทำาการนัน ้ พ้นจากการเป็ นผู้กระทำาความผิด และถ้าได้มีคำาพิพากษาถึงท่ีสุดให้ลงโทษแล้ว ก็ให้ถือว่าผู้นัน ้ ไม่เคย
ต้องคำาพิพากษาว่าได้กระทำาความผิด ถ้ารับโทษอยู่ก็ให้การลงโทษสิน ้ สุดลง

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


9

บทบัญญัตินีไ้ด้วางหลักในการบังคับใช้กฎหมายอาญาไว้ว่า กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังไปบังคับใช้กับ
ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นก่อนวันท่ีกฎหมายอาญาใช้บังคับ แต่ก็มีข้อยกเว้นอยู่ว่าในกรณีกฎหมายภายหลัง
บัญญัติยกเลิกความผิด กฎหมายใหม่นีม ้ ีผลย้อนหลังได้ ซ่ึงจะมีผลต่อผู้การกระทำานัน้ ดังนี้
(1) ให้ผู้กระทำาพ้นความผิดทันที
(2) ถ้ามีคำาพิพากษาถึงท่ีสุดให้ลงโทษแล้ว ให้ถือว่าผู้กระทำาไม่เคยต้องคำาพิพากษาว่าได้กระทำาความผิด
(3) ถ้ารับโทษอยู่ก็ให้การลงโทษสิน ้ สุดลง
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา ศาลจังหวัดนนทบุรีพพ ิ ากษาจำาคุกนายเขียว 1 เดือน ฐานด่ ืมสุราในยามวิกาลต่อ
มามีกฎหมายยกเลิกความผิดนัน ้ เสีย กรณีนีเ้ป็ นเร่ ืองกฎหมายภายหลังออกมาการยกเลิกความผิด ฉะนัน ้ กฎหมาย
ใหม่ย่อมมีผลย้อนหลังได้ ซ่ึงย่อมทำาให้นายเขียวได้รับผลตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้ ดังต่อไปนี้
กรณีแรก นายเขียวอุทธรณ์คำาพิพากษา แสดงว่า คำาพิพากษายังไม่ถึงท่ีสุด เม่ อ ื เป็ นเช่นนีต
้ ้องถือว่า นาย
เขียวพ้นความผิดไปทันที เจ้าพนักงานจะดำาเนินคดีกับนายเขียวต่อไปอีกไม่ได้ ต้องปล่อยตัวนายเขียว
กรณีท่ีสอง นายเขียวไม่อุทธรณ์ และรับโทษตามคำาพิพากษา กรณีนีต ้ ้องระงับโทษนายเขียว และปล่อยตัว
โดยถือว่านายเขียวไม่เคยต้องคำาพิพากษาว่าได้กระทำาความผิด
กรณีท่ีสาม นายเขียว รับโทษตามคำา พิพากษาอันถึงท่ีสุดครบกำา หนด และพ้นโทษแล้ว ก็เป็ นกรณีท่ีมีคำา
พิพากษาถึงท่ีสุดให้ลงโทษ เม่ อื กฎหมายใหม่ยกเลิกความผิดท่ีนายเขียวได้กระทำาก็ต้องถือว่า นายเขียวไม่เคยต้องคำา
พิพากษาว่าได้กระทำาความผิด

กรณีวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย
3.2.2
การใช้บังคับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยมีหลักเกณฑ์ประการใดบ้าง
หลักเกณฑ์การใช้บังคับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยนัน ้ มีบทบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 12
ซ่ึงประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 2 ประการดังต่อไปนี้
(1) วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยท่ีจะใช้บังคับได้ต้องเป็ นวิธีการท่ีกฎหมายกำาหนดไว้ เพราะวิธีการเพ่ ือความ
ปลอดภัยเป็ นเร่ ืองของการจำากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ฉะนัน ้ จะใช้บังคับได้ต่อเม่ ือมีกฎหมายให้
อำานาจไว้โดยชัดแจ้งเท่านัน้ และ
(2) กฎหมายท่ีจะนำา มาใช้ บัง คับ เก่ีย วกั บ วิ ธีก ารเพ่ ือความปลอดภั ยได้ต้ องเป็ นกฎหมายในขณะท่ีศ าล
พิพากษาคดี มิใช่กฎหมายในขณะท่ีพฤติการณ์อันเป็ นเหตุให้อาจนำา วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยมาใช้
นัน
้ ได้เ กิดขึ้น เหตุผลก็คือ วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยไม่ใช่โทษ แต่เป็ นวิธีการเพ่ ือป้ องกันสัง คมให้
ปลอดภัยจากการท่ีบุคคลนัน ้ กระทำาความผิดในภายภาคหน้า

วิธีการใช้บังคับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยนัน ้ มีกรณีใดบ้าง อธิบาย


วิธีการใช้บังคับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยนัน ้ อาจแบ่งได้เป็ น 4 กรณีดังต่อไปนี้
(1) กรณี ย กเลิ ก วิ ธี ก ารเพ่ ือ ความปลอดภั ย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 13 กล่ า วคื อ เม่ ือ มี
กฎหมายใหม่ยกเลิก วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยใดแล้ ว ก็ใ ห้ ศาลระงั บการใช้ บัง คับ วิ ธีก ารเพ่ ือความ
ปลอดภัยนัน ้ เสีย
(2) กรณีเ ปล่ียนแปลงเง่ ือนไขบังคับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 14
กล่า วคือ เม่ อ ื มีกฎหมายใหม่ออกมาเปล่ีย นแปลงเง่ ือนไขท่ีจะสัง่ ให้มีการใช้บัง คับวิ ธีการเพ่ ือความ
ปลอดภัย ซ่ึงเป็ นผลอันไม่อาจนำามาใช้บังคับแต่กรณีของผู้นัน ้ ได้ หรือนำามาใช้บังคับได้แต่การใช้บังคับ
วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยตามกฎหมายใหม่เป็ นคุณแก่ผู้นัน ้ ย่ิงกว่า ศาลมีอำา นาจสัง่ให้ยกเลิกหรือไม่
ก็ได้ หรือศาลจะสัง่ให้ใช้บังคับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยตามกฎหมายใหม่ท่ีเป็ นคุณนัน ้ เพียงใดหรือไม่
ก็ได้ทัง้นีอ
้ ยู่ในดุลพินิจของศาล
(3) กรณีกฎหมายเปล่ียนโทษ มาเป็ นวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 15
กล่าวคือ กรณีกฎหมายใหม่เปล่ียนโทษทางอาญามาเป็ นวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย ก็ให้ถือว่าโทษท่ีจะ
ลงนัน ้ เป็ นวิธีการเพ่ อื ความปลอดภัย เหตุผลก็คือวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยนัน ้ เบากว่าโทษนัน ่ เอง
และหากกรณีศาลยังไม่ได้ลงโทษผู้นัน ้ หรือผู้นัน
้ ยังรับโทษอยู่ ก็ให้ใช้วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยแก่ผู้
นัน
้ ต่อไป ส่วนผลบังคับในเร่ ืองเง่ ือนไขการใช้วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยแตกต่างไปจากเง่ ือนไขเดิม ก็
ให้ใช้บังคับเช่นเดียวกับกรณีมาตรา 14
(4) กรณีเพิกถอนหรืองดใช้บังคับวิธีการเพ่ อ ื ความปลอดภัยชัว่คราวตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
16 กล่าวคือ เม่ อ ื พฤติการณ์เก่ียวกับการใช้บังคับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยนัน ้ เปล่ียนไปจากเดิม ศาล
จะสัง่เพิกถอนหรืองดการใช้บังคับวิธีการเพ่ อ ื ความปลอดภัยแก่ผู้นัน ้ ไว้ชัว่คราวหรือไม่ก็ได้ ทัง้นีอ
้ ยู่ใน
ดุลพินิจของศาล

3.3 การใช้กฎหมายอาญาในส่วนท่ีเก่ียวกับพ้ืนท่ี
1. ผู้ใดกระทำา ความผิดในราชอาณาจักรต้องรับโทษตามกฎหมาย การกระทำา ความผิดในเรื อไทย หรือ
อากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ ท่ีใด ให้ถือว่ากระทำาความผิดในราชอาณาจักร
2. รัฐมีอำา นาจลงโทษผู้กระทำา ความผิดนอกราชอาณาจักรได้ในความผิดท่ีเป็ นผลโดยตรงต่อความสงบ
เรียบร้อยและความมัน ่ คงแห่งราชอาณาจักร รวมทัง้ในระหว่างรัฐต่างๆ โดยไม่คำา นึงถึงสัญชาติของผู้
กระทำาผิด

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


10

3. รั ฐ บาลมี อำา นาจลงโทษคนในสั ญ ชาติ ท ่ีก ระทำา ความผิ ด ต่ อ บุ ค คลในสั ญ ชาติ แม้ ก ระทำา นอกราช
อาณาเขตก็ตาม ทัง้นีภ ้ ายใต้ขอบเขตท่ีจำากัด
4. การกระทำาความผิดอันเดียวอาจตกอยู่ในอำานาจของศาลหลายรัฐ ดังนัน ้ หากมีการดำาเนินคดีเดียวกัน
ซ้ำา อี ก ครั ง้ หน่ึง ก็ จ ะเกิ ด ความไม่ เ ป็ น ธรรมท่ีผู้ ก ระทำา ความผิ ด อาจถู ก ลงโทษสองครั ง้ ในความผิ ด
เดียวกัน จึงต้องอาศัยหลักการคำานึงถึงคำาพิพากษาของศาลต่างประเทศประกอบด้วย

3.3.1 หลักดินแดน
ในกรณีใดบ้างท่ีกฎหมายให้ถือว่าเป็ นการกระทำาความผิดในราชอาณาจักร จงอธิบาย
กรณีท่ีกฎหมายให้ถือว่าเป็ นการกระทำาความผิดในราชอาณาจักรมีดังต่อไปนี้
(1) กระทำา ความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทยไม่ว่าอยู่ท่ีใด(แต่ต้องอยู่นอกราชอาณาจักร)
ตามมาตรา 4 วรรค 2
(2) การกระทำาความผิดบางส่วนในราชอาณาจักร และบางส่วนนอกราชอาณาจักรตามมาตรา 5
วรรคแรก
(3) การกระทำาความผิดนอกราชอาณาจักร และผลแห่งการกระทำาเกิดขึ้นในราชอาณาจักร โดยผู้
กระทำาประสงค์ให้ผลเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก
(4) การกระทำาความผิดนอกราชอาณาจักร และผลแห่งการกระทำา ผิดเกิดในราชอาณาจักรโดย
ลักษณะแห่งการกระทำา ผลนัน ้ ควรเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก
(5) การกระทำาความผิดนอกราชอาณาจักร และผลของการกระทำา เกิดขึ้นในราชอาณาจักร โดย
ย่อมจะเล็งเห็นได้ว่า ผลนัน ้ จะเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5 วรรคแรก
(6) การตระเตรียมการนอกราชอาณาจักร ซ่ึงกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด ถ้าหากการกระทำา
นัน้ จะได้กระทำาตลอดไปจนถึงขัน ้ ความผิดสำาเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักรตามมาตรา 5
วรรค 2
(7) การพยายามกระทำาการนอกราชอาณาจักร ซ่ึงกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด ถ้าหากการกระ
ทำา นัน
้ จะได้กระทำาตลอดไปจนจนถึงขัน ้ ความผิดสำา เร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ตาม
มาตรา 5 วรรค 2
(8) ตัวการร่วม ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน ได้กระทำานอกราชอาณาจักรโดยความผิดนัน ้ ได้กระทำาใน
ราชอาณาจักรหรือกฎหมายให้ถือว่าได้กระทำาในราชอาณาจักร ตามมาตรา 6

ก วางยาพิษ ข โดยผสมกับเบียร์ให้ด่ืม ขณะโดยสารเคร่ ืองบินไทยซ่ึงบินอยู่เหนือน่านฟ้ าฟิ ลิปปิ นส์ ข ลงท่ี


ฮ่องกง และรักษาตัวในโรงพยาบาลฮ่องกง 3 วัน อาการยังไม่ดีขึ้น จึงเดินทางไปรักษาตัวท่ีญ่ีปุ่นและถึงแก่ความ
ตายในโรงพยาบาลญ่ีปุ่น ดังนี ก ้ ต้องรับโทษในประเทศไทยหรือไม่
ตาม ปอ. มาตรา 4 ผู้ใดกระทำาความผิดในราชอาณาจักร ต้องรับโทษตามกฎหมาย
การกระทำา ความผิดในเรือไทย หรืออากาศยานไทย ไม่รู้ว่าจะอยู่ ณ ท่ีใด ให้ถือว่ากระทำา ความผิดในราช
อาณาจักร
ตามปั ญหา ก วางยาพิษ ข โดยผสมกับเบียร์ให้ ข ด่ ืม ขณะโดยสารเคร่ ืองบินไทยในเม่ ือ ก ได้กระทำาความ
ผิดในอากาศยานไทย ฉะนัน ้ ไม่ว่าจะอยู่ ณ ท่ีใด กฎหมายให้ถือว่า เป็ นการกระทำา ความผิดในราชอาณาจักร ตาม
มาตรา 4 วรรค 2 สำาหรับ ข ผู้เสียหายจะไปรักษาหรือถึงแก่ความตายท่ีใดก็ไม่สำา คัญ เพราะการกระทำา ความผิดได้
เกิดขึ้นและสิน
้ สุดลงแล้ว ในอากาศยานไทย และความตายเป็ นเพียงสุดท้ายของการกระทำาเท่านัน ้ ดังนัน้ ก จึงต้อง
รับโทษในประเทศไทยตามบทบัญญัติดังกล่าว

ดำา จะฆ่าขาว จึงนำา ระเบิดมาวางท่ีบ้านขาวในเขตฝั่ งไทย โดยดำา กดรีโมทคอนโทรลจากเขตฝั่ งลาว ขาวถูก


ระเบิดถึงแก่ความตาย ดังนีถ ้ ือเป็ นการกระทำาความผิดในราชอาณาจักรหรือไม่เพราะเหตุใด
ในเร่ ือ งนี ป
้ อ. มาตรา 5 วรรค 2 วางหลั ก ได้ ว่ า การกระทำา แม้ แ ต่ ส่ ว นหน่ึง ส่ ว นใดได้ ก ระทำา ในราช
อาณาจักร ให้ถือว่าความผิดนัน ้ ได้กระทำาในราชอาณาจักร
ตามปั ญหา ดำา นำาระเบิดมาวางท่ีบ้านขาวในฝั่ งไทย โดยกดรีโมทคอนโทรลจากเขตฝั่ งลาว เห็นได้ว่าความ
ผิดบางส่วนได้กระทำานอกราชอาณาจักรและบางส่วนได้กระทำาในราชอาณาจักร จึงถือว่าดำาได้กระทำาความผิดในราช
อาณาจักร ตามมาตรา 5 วรรคแรกดังกล่าว

ก วางแผนฆ่า ข โดยใช้ขนมผสมยาพิษให้ ข กิน ในขณะท่ี ข กำาลังจะเดินทางจากมาเลเซียมาไทยเพ่ ือให้ ข


เข้ามาตายฝั่ งไทย ข กินขนมนีแ ้ ล้วเดินทางเข้ามาในประเทศไทย แต่ ข ไม่ตายเพราะแพทย์ไทยช่วยชีวิต ไว้ได้ทัน
ดังนีถ
้ ือว่า ก ได้กระทำาความผิดในประเทศไทยหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตาม ปอ. มาตรา 5 วรรค 2 ในกรณีตระเตรียมการ หรือพยายามกระทำา การใดๆซ่ึงกฎหมายบัญญัติเป็ น
ความผิดแม้การกระทำานัน ้ จะได้กระทำานอกราชอาณาจักร ถ้าหากการกระทำานัน ้ จะได้กระทำาตลอดไปจนถึงขัน้ ความ
ผิดสำาเร็จ ผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ให้ถือว่าการพยายามกระทำาความผิดนัน ้ ได้กระทำาในราชอาณาจักร
ตามปั ญหาดังกล่าว ก ใช้ขนมผสมยาพิษให้ ข กิน เพ่ อ
ื ให้ ข เข้ามาตายในประเทศไทย ข กินขนมนัน ้ แล้ว
เดินทางเข้ามาในไทย แต่ ข ไม่ตายเพราะแพทย์ไทยช่วยชีวิตไว้ได้ทัน จึงเป็ นการพยายามกระทำา ความผิดนอกราช
อาณาจักร หากความผิดสำา เร็จผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ถือว่าการพยายามกระทำา ความผิดนัน ้ ได้กระทำา ในราช
อาณาจักร ตามมาตรา 5 วรรค 2 ดังกล่าว

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


11

ทินอ่องอยู่ในพม่า วางแผนจะปล้นทรัพย์สินในประเทศไทย โดยทินอ่องกับพวกได้ตระเตรียมอาวุธพร้อม


แล้วขณะกำาลังจะเดินทางเข้ามากระทำาการในเขตประเทศไทย ก็ถูกตำารวจพม่าจับได้เสียก่อน ดังนีถ ้ ือเป็ นการกระทำา
ความผิดในราชอาณาจักรหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตาม ปอ. มาตรา 5 วรรค 2 ในกรณีตระเตรียมการ หรือพยายามกระทำา การใดๆซ่ึงกฎหมายบัญญัติเป็ น
ความผิดแม้การกระทำานัน ้ จะได้กระทำานอกราชอาณาจักร ถ้าหากการกระทำานัน ้ จะได้กระทำาตลอดไปจนถึงขัน ้ ความ
ผิดสำาเร็จผลจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร ให้ถือว่าการตระเตรียมการหรือพยายามกระทำาความผิดนัน ้ ได้กระทำาในราช
อาณาจักร
ตามปั ญหา ทินอ่องกับพวกได้ตระเตรียมอาวุธพร้อมแล้ว แต่ขณะจะเดินทางเข้าเขตไทยก็ถูกตำารวจพม่าจับ
ได้เ สียก่อนนัน
้ เห็นได้ ว่า ทินอ่องกับพวกยัง มิได้ ลงมือกระทำา การจึง เป็ นเพียงขัน
้ ตระเตรียมเท่า นัน
้ และการตระ
เตรียมการปล้นทรัพย์กฎหมายยัง ไม่ถือว่าเป็ นความผิด กรณีจึง ไม่ต้องด้วยบทบัญ ญัติแห่ง มาตรา 5 วรรค 2 ดัง
กล่าว จึงยังไม่ถือว่าเป็ นการกระทำาความผิดในราชอาณาจักร

บุคคลผู้กระทำาความผิดในราชอาณาจักรจะต้องรับโทษตามกฎหมายเสมอไปหรือไม่เพราะเหตุใด
บุคคลผู้กระทำาความผิดในราชอาณาจักร โดยหลักแล้วจะต้องรับโทษตามกฎหมาย ดังท่ี ปอ. บัญญัติไว้ใน
มาตรา 4 วรรคแรก โดยไม่คำานึงถึงว่าผู้กระทำาผิดจะเป็ นบุคคลสัญชาติใด อย่างไรก็ดีมีข้อยกเว้นบางประการดังนี้
(1) ข้อยกเว้นตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ได้แก่ องค์พระมหากษัตริย์ซ่ึงดำา รงอยู่ในฐานะอันเป็ น
ท่เี คารพสักการะผู้ใ ดจะละเมิดมิ ได้ รวมทัง้ สมาชิกสภานิ ติบั ญ ญัติ ผู้ท ่ีเ ก่ีย วข้ องแต่ภ ายใต้
ขอบเขตท่จี ำากัด
(2) ข้อยกเว้นตามกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง ได้แก่ ประมุขของรัฐต่างประเทศ ทูต
และบุ ค คลในคณะทู ต ตลอดจนครอบครั ว เรื อ รบและกองทหารของต่ า งประเทศในราช
อาณาจักร
(3) ข้ อ ยกเว้ น ตามกฎหมายพิ เ ศษ เช่ น พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยการดำา เนิ น งานขององค์ ก าร
สหประชาชาติและทบวงการชำา นาญพิเศษแห่งสหประชาชาติในประเทศไทย พ.ศ. 2495
เป็ นต้น

3.3.2 หลักอำานาจลงโทษสากล
เพราะเหตุใดกฎหมายไทยจึงรับรองหลักอำานาจโทษสากล ซ่ึงมีบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญามาตรา
7
เหตุท่ีกฎหมายไทยรับรองอำานาจลงโทษสากล โดยมีบัญญัติไว้ในมาตรา 7 เพราะการกระทำาความผิดนอก
ราชอาณาจักรตามท่ีระบุไว้ในมาตรา 7 เป็ นภัยโดยตรงต่อความสงบเรียบร้อยและความมัน ่ คงของประเทศรวมทัง้ใน
ระหว่างรัฐต่างๆ กล่าวคือ ความผิดเก่ียวกับความมัน
่ คงแห่งราชอาณาจักรตามมาตรา 7(1) เป็ นหลักป้ องกันตนเอง
ของรัฐ ความผิดเก่ียวกับการปลอมแปลงเงินตรา แสตมป์ ใบหุ้น ใบหุ้นกู้ หรือตัว๋เงิน ตามมาตรา 7(2) เป็ นหลัก
ป้ องกันทางเศรษฐกิจ และความผิดฐานชิงทรัพย์ และปล้นทรัพย์ในทะเลหลวง ตามมาตรา 7(3) เป็ นหลักป้ องกัน
สากล

ก ข และ ค คนฮ่องกง ร่วมกันปล้นทรัพย์ จ คนเกาหลี ในเรือของญ่ีปุ่นซ่ึงแล่นอยู่ในทะเลหลวงหาก ก ข


และ ค หลบหนีเข้ามาในประเทศไทยจะต้องรับโทษในประเทศไทยหรือไม่
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 7(3) มีสาระสำา คัญว่า ผู้ใดกระทำาความผิดดังระบุไว้ต่อไปนีน ้ อกราช
อาณาจักร จะต้องรับโทษในราชอาณาจักรคือ ความผิดฐานชิงทรัพย์ ตามมาตรา 339 และความผิดฐานปล้นทรัพย์
ตามมาตรา 340 ซ่ึงได้กระทำาในทะเลหลวง
ตามปั ญหา ก ข และ ค คนฮ่องกง ร่วมกันปล้นทรัพย์ จ คนเกาหลีในทะเลหลวง เป็ นความผิดตามท่ีระบุ
ไว้ในมาตรา 7(3) ดังกล่าว ซ่ึงไม่ว่าผู้กระทำาความผิดหรือผู้เสียหายจะเป็ นบุคคลสัญชาติใด หากผู้กระทำาความผิดเข้า
มาในเขตอำานาจของศาลไทย ก็จะต้องรับโทษในประเทศไทยตามบทบัญญัติดังกล่าว

3.3.3 หลักบุคคล
หม่อง คนพม่า ข่มขืน กี คนเวียตนามในเรือของมาเลเซีย ในขณะแล่นอยู่ในทะเลหลวง หากหม่องคนพม่า
หนีการจับกุมเข้ามาในประเทศไทย กี จะร้องขอให้ศาลไทยลงโทษหม่องในประเทศไทยได้หรือไม่เพราะเหตุใด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 8 (3) มีสาระสำาคัญว่า ผู้ใดกระทำาความผิดฐานกระทำาชำาเราตามมาตรา
276 นอกราชอาณาจักร จะต้องรับโทษในราชอาณาจักร ถ้า
(1) ผู้กระทำา ความผิดนัน ้ เป็ นคนไทย และรัฐ บาลแห่ง ประเทศท่ค ี วามผิดนัน
้ เกิดขึ้น หรือผู้
เสียหายได้ร้องขอ ให้ลงโทษ หรือ
(2) ผู้กระทำา ความผิดนัน ้ เป็ นคนต่างด้า ว และรัฐ บาลไทยหรือคนไทยเป็ นผู้เ สียหาย และผู้
เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ
ตามปั ญหา แม้ ค วามผิ ด ฐานข่ ม ขื น กระทำา ชำา เราจะเป็ นความผิ ด ท่ีร ะบุ ไ ว้ ใ นมาตรา 8 (3) แต่ ก ารกระ
ทำาความผิดฐานข่มขืนกระทำาชำาเรานอกราชอาณาจักรดังกล่าว หม่องผู้กระทำาความผิดและกีผู้เสียหายต่างก็เป็ นคน
ต่ า งด้ า ว กรณี ดั ง กล่ า วจึ ง ไม่ ต้ อ งด้ ว ยมาตรา 8 ทั ง้ (ก) และ (ข) กี ผู้ เ สี ย หายจึ ง ขอให้ ศ าลไทยลงโทษหม่ อ งใน
ประเทศไทยไม่ได้

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


12

อน่ึง ความผิดดังกล่าวแม้จะได้กระทำาในเรือของมาเลเซีย ซ่ึงอยู่ในทะเลหลวง แต่มใิ ช่ความผิดฐานชิงทรัพย์


หรือปล้นตามมาตรา 7 (3) หม่องผู้กระทำาผิดจึงไม่ต้องรับโทษในประเทศไทยตามบัญญัติดังกล่าว

หว่อง คนมาเลเซีย ฉ้อโกง ดี คนไทยในสิงค์โปร์ ต่อมา หว่องเข้ามาท่องเท่ียวในประเทศไทย ดังนี ด ้ ี จะ


ฟ้ องคดีขอให้ศาลไทยลงโทษ หว่องในประเทศไทยได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 8(ข) (10) มีสาระสำาคัญว่าผู้ใดกระทำาความผิดฐานฉ้อโกงตามมาตรา
341 นอกราชอาณาจักร และผู้กระทำาความผิดนัน ้ เป็ นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็ นผู้เสียหายและผู้
เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ ผู้นัน
้ จะต้องรับโทษในราชอาณาจักร
ตามปั ญหา หว่อง คนมาเลเซียฉ้อโกง ดี คนไทยในสิงค์โปร์ ซ่ึงเป็ นสถานท่ีนอกราชอาณาจักร และความ
ผิดฐานฉ้อโกงตามมาตรา 341 เป็ นความผิดตามมาตรา 8(10) ในเม่ ือหว่องผู้กระทำา ผิดเป็ นคนต่างด้าว และ ดีผู้
เสียหายเป็ นคนไทย ดังนัน
้ ดี จึงฟ้ องคดีขอให้ศาลไทยลงโทษหว่องในประเทศไทยได้ ตามมาตรา 8(ข) (10) ดัง
กล่าว

โจ คนต่างด้าวเป็ นเจ้าพนักงานของรัฐบาลไทย กระทำาความผิดฐานเจ้าพนักงานรับสินบน ตามมาตรา 149


ร่วมกับเส็งพ่อค้าคนไทย ในขณะอยู่บนเคร่ ืองบินฮ่องกง ซ่ึงบินอยู่เหนือน่านฟ้ าญ่ีปุ่น ดังนีโ้จ และเส็ง จะต้องรับ
โทษในประเทศไทยหรือไม่ เพราะเหตุใด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 9 มีสาระสำา คัญว่า เจ้าพนักงานของรัฐ บาลไทยกระทำา ความผิดตามท่ี
บัญญัติไว้ในมาตรา 147 ถึงมาตรา 166 และมาตรา 200 ถึงมาตรา 205 นอกราชอาณาจักร จะต้องรับโทษใน
ราชอาณาจักร
ตามปั ญหา โจ คนต่างด้าวเป็ นเจ้าพนักงานของรัฐบาลไทย กระทำาความผิดฐานเจ้าพนักงานรับสินบน ตาม
มาตรา 149 ซ่ึงเป็ นความผิดท่ีระบุไว้ในมาตรา 9 และได้กระทำาในเคร่ ืองบินฮ่องกง ซ่ึงบินอยู่ในเหนือน่านฟ้ าญ่ีปุ่น
อันเป็ นสถานท่ีนอกราชอาณาจักร แม้โจจะเป็ นคนต่างด้าวในเม่ ือเป็ นเจ้าพนักงานของรัฐบาลไทย ก็จะต้องรับโทษใน
ประเทศไทย ตามมาตรา 9 ดังกล่าว
สำา หรับเส็ง พ่อค้าคนไทย ได้ร่วมกระทำาความผิดกับโจ เจ้าพนักงานของรัฐบาลไทยจึงไม่เข้าองค์ประกอบ
ของความผิดตามมาตรา 9 เส็ง มีความผิดฐานเป็ นผู้สนับสนุนตามมาตรา 149 ประกอบกับมาตรา 86 แม้เส็งเป็ น
คนไทยกระทำาความผิดนอกราชอาณาจักรตามมาตรา 8 (ก) แต่รัฐบาลไทยซ่ึงเป็ นผู้เสียหายก็จะร้องขอให้ลงโทษใน
ประเทศไทยไม่ได้ เพราะความผิดตามมาตรา 149 มิใช้ความผิดท่ีระบุไว้ในมาตรา 8 ดังนัน ้ เส็งจึงไม่ต้องรับโทษใน
ราชอาณาจักร

เจมส์ คนอังกฤษเป็ นเจ้าพนักงานของรัฐบาลไทย กระทำา ความผิ ดฐานเจ้า พนักงานยักยอก ตามมาตรา


147 ในเรือไทยขณะจอดอยู่ท่ีท่าเรืออังกฤษดังนี จ ้ ะต้องรับโทษในประเทศไทยหรือไม่เพราะ
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 4 วรรค 2 การกระทำาความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทยไม่ว่าจะ
อยู่ ณ ท่ใี ดให้ถือว่ากระทำาความผิดในราชอาณาจักร
มาตรา 9 เจ้าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทำาความผิด ตามท่บ ี ัญญัติไว้ในในมาตรา 147 ถึงมาตรา 166
และมาตรา 200 ถึงมาตรา 205 นอกราชอาณาจักรจะต้องรับโทษในราชอาณาจักร
ตามปั ญหา เจมส์ คนอังกฤษเป็ นเจ้าพนักงานของรัฐ บาลไทย แม้จะได้กระทำา ความผิดฐานเจ้าพนักงาน
ยักยอกตามมาตรา 147 ซ่ึงเป็ นความผิดท่ีระบุไว้ในมาตรา 9 แต่เจมส์ได้กระทำาความผิดในเรือไทย ซ่ึงไม่ว่าอยู่ ณ ท่ี
ใด ก็ให้ถือว่ากระทำาความผิดในราชอาณาจักร ฉะนัน ้ ไม่ว่าเจมส์จะเป็ นคนสัญชาติใดเม่ ือกระทำา ความผิดท่ีกฎหมาย
ให้ถือว่าได้กระทำาความผิดในราชอาณาจักร ก็ต้องรับโทษในราชอาณา จักร ตามมาตรา 4 วรรค 2 มิใช่กรณีมาตรา
9

3.3.4การคำานึงถึงคำาพิพากษาของศาลต่างประเทศ
ยูโซป คนมาเลเซีย ทำาร้ายกายแดงคนไทย เป็ นอันตรายสาหัส เหตุเกิดในสิงค์โปร์ ศาลสิงค์โปร์พพ ิ ากษาจำา
คุกเพียง 6 เดือน เม่ ือพ้นโทษยูโซป ได้เดินทางมาท่องเท่ียวประเทศไทย แดงร้องขอให้ศาลไทยลงโทษอีก เพราะ
เห็นว่ายูโซปรับโทษจำา คุกในสิงค์โปร์เพียง 6 เดือน เท่านัน
้ ไม่สาสมกับความผิด ดังนีศ้ าลไทยจะลงโทษยูโซปได้อีก
หรือไม่เพราะเหตุใด
ตาม ปอ. มาตรา 10(2) มีสาระสำา คัญ ว่า ผู้ใ ดกระทำา การนอกราชอาณาจักรซ่ึง เป็ นความผิ ด ตามมาตรา
ต่างๆ ท่ีระบุไว้ในมาตรา 8 ห้ามมิใ ห้ลงโทษผู้นัน้ ในราชอาณาจักรเพราะการกระทำา นัน ้ อีก ถ้าศาลในต่างประเทศ
พิพากษาให้ลงโทษและผู้นัน ้ ได้พ้นโทษแล้ว
ตามปั ญหาท่ีกล่าวถึง ยูโซปคนมาเลเซีย ทำาร้ายร่างกายแดงคนไทยเป็ นอันตรายสาหัส เหตุเกิดในสิงค์โปร์
ซ่ึงเป็ นสถานท่ีนอกราชอาณาจักร ความผิดฐานทำาร้ายร่างกายจนเป็ นเหตุให้ผู้ถูกทำาร้ายได้รับอัตรายสาหัสตามมาตรา
297 เป็ นความผิดท่ีระบุไว้ในมาตรา 8 (5) ในเม่ ือศาลสิงค์โปร์พิพากษาให้ลงโทษยูโซปและยูโซปผู้กระทำาความผิด
ได้พ้นโทษแล้ว แม้แดงจะร้องขอให้ศาลลงโทษตามมาตรา 8 (ก) ศาลไทยก็จะพิพากษาลงโทษยูโซปอีกไม่ได้ตาม
มาตรา 10(2) ดังกล่าว

เย คนพม่ า ชิ ง ทรั พ ย์ ล่ คนสิ ง ค์ โ ปร์ ในเรื อ ไทยขณะจอดอยู่ ท ่ีท่ า เรื อ ในประเทศพม่ า หากศาลพม่ า ได้
พิพากษาลงโทษจำาคุกเย 5 ปี เม่ อ ื พ้นโทษแล้ว เยได้เดินทางเข้ามาติดต่อการค้าท่ีจังหวัดระนอง และลีมิได้ร้องขอให้
ศาลไทยลงโทษอีก เช่นนีศ ้ าลไทยจะลงโทษเยอีกสำาหรับความผิดนัน ้ ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


13

ตาม ปอ. มาตรา 4 วรรค 2 การกระทำาความผิดในเรือไทยหรืออากาศยายไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ ท่ีใดให้ถือว่า


กระทำาความผิดในราชอาณาจักร
มาตรา 11 ผู้ใดทำาความผิดในราชอาณาจักร หรือกระทำาความผิดตามประมวลกฎหมายนีถ ้ ือได้ว่ากระทำาใน
ราชอาณาจักร ถ้าผู้นัน ้ ได้รับโทษสำา หรับการกระทำา นัน ้ ตามคำาพิพากษาในต่างประเทศมาแล้วทัง้หมดหรือบางส่วน
ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกำา หนดไว้สำา หรับความผิดนัน ้ เพียงใดก็ได้ ทัง้นีโ้ดยคำา นึงถึงโทษท่ีผู้นัน ้ ได้รับมา
แล้ว
ในกรณีท่ีผู้กระทำาทำาผิดในราชอาณาจักร หรือกระทำาความผิดท่ีประมวลกฎหมายนีถ ้ ือว่าได้กระทำา ในราช
อาณาจักร ได้ถูกฟ้ องในศาลต่างประเทศโดยรัฐบาลไทยร้องขอ ห้ามมิให้ลงโทษผู้นัน ้ ในราชอาณาจักรอีก ถ้า
(1) ได้มีคำาพิพากษาของศาลในต่างประเทศอันดับท่ีสุดให้ปล่อยตัวผู้นัน ้ หรือ
(2) ศาลในต่างประเทศพิพากษาให้ลงโทษ และผู้นัน ้ ได้พ้นโทษแล้ว
ตามปั ญหาท่ีกล่าวถึง เยคนพม่าชิงทรัพย์ ลีคนสิงค์โปร์ในเรือไทยขณะจอดอยู่ท่ีท่าเรือพม่า จึงถือได้ว่า เยได้
กระทำาความผิดในราชอาณาจักรตามมาตรา 4 วรรค 2 แม้ศาลพม่าได้พิพากษาลงโทษและเยผู้กระทำาความผิดได้พ้น
โทษแล้ ว แต่ รั ฐ บาลไทยมิ ไ ด้ ร้ อ งขอให้ ฟ้ องคดี ใ นศาลพม่ า ตามมาตรา 11 วรรค 2 เม่ ือ เยเดิ น ทางเข้ า มาใน
ประเทศไทย ศาลไทยจึงมีอำา นาจลงโทษได้อีก แต่ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำา หรับความผิดนัน ้
เพียงใดก็ได้ หรือจะไม่ลงโทษเลยก็ได้ ทัง้นีโ้ดยคำานึงถึงโทษท่ีได้รับมาแล้วตามมาตรา 11 วรรค 1
อน่ึง แม้ลีผู้เสียหายจะมิได้ร้องขอให้ศาลไทยลงโทษ และผู้กระทำาความผิดหรือผู้เสียหายมิใช่คนไทย ศาล
ไทยก็มีอำานาจพิพากษาลงโทษได้อีก เพราะมิใช่กรณีความผิดนอกราชอาณาจักรตาม มาตรา 8

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 3 การใช้บังคับกฎหมายอาญา

1. บุคคลจะต้องรับโทษในทางอาญาตามหลักเกณฑ์คือ กฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำาบัญญัติว่าการกระทำานัน
้ เป็ น
ความผิดและกำาหนดโทษไว้
2. การใช้บังคับกฎหมายนัน
้ เม่ ือไม่ มี กฎหมายท่ีจะยกมาปรั บแก่ ค ดี ได้ จ ะต้ องดำา เนิ น การคื อ จะต้ อ งปล่ อ ยตัว ผู้
ต้องหาไป
3. กรณีกฎหมายใหม่บัญญัติแตกต่างไปจากกฎหมายขณะกระทำาความผิด จะใช้กฎหมายใหม่ในส่วนที่เป็ นคุณแก่
ผูก้ ระทำาความผิดไม่ว่าทางใดๆ
4. วิ ธี ก ารเพ่ ือ ความปลอดภั ย นั น้ จะใช้ บั ง คั บ ในกรณี กฎหมายให้ อำา นาจไว้ แ ละให้ ใ ช้ ก ฎหมายในขณะที่ ศ าล
พิพากษา
5. ความหมายของราชอาณาจักรนัน ้ รวมถึงทะเล อาณาเขตระยะ 12 ไมล์ทะเล ห่างจากชายฝั่ ง อันเป็ นอาณาเขต
ของประเทศไทย
6. กระทำา ความผิด ในอากาศยานไทยซ่ ึงอยู่นอกประเทศไทย กฎหมายให้ถือว่ากระทำา ความผิดในราชอาณาจักร
ตามประมวลกฎหมายอาญา
7. การตระเตรียมการกระทำาความผิดนอกราชอาณาจักร เช่น ตระเตรียมการวางเพลิงเผาทรัพย์ ท่ีต้องรับโทษใน
ราชอาณาจักร
8. ความผิ ด เก่ียวกั บ ชิงทรัพ ย์ และปล้ น ทรัพ ย์ หากเป็ นความผิ ดท่ไี ด้ กระทำา ในทะเลหลวงจะต้ องรั บโทษในราช
อาณาจักร โดยไม่คำานึงถึงว่าผู้กระทำาหรือผู้เสียหายจะเป็ นคนสัญชาติใด
9. แดงอยู่ฝั่งลาว ใช้ปืนยิงดำา ซ่ ึงอยู่ฝั่งไทยถึงแก่ความตาย แดงต้องรับโทษในประเทศไทยเพราะ ความผิดนัน ้ ได้
กระทำาความผิดส่วนหน่ ึงส่วนใดในราชอาณาจักร
10. ขาวคนมาเลเซียชิงทรัพย์เขียวคนไทยในเรือไทยท่จี อดอยู่ท่าเรือสิงคโปร์ ศาลสิงคโปร์ได้ลงโทษจำาคุกขาว เม่ ือพ้น
โทษแล้ว ได้เดินทางเข้ามาในประเทศไทย และเขี ยวมิได้ร้องขอให้ศาลไทยลงโทษขาวอีก ดังนั น ้ ศาลไทยจะ
ลงโทษขาวสำาหรับความผิดนัน ้ อีกได้ โดยคำานึงถึงโทษท่ีได้รับมาแล้ว
11. หลักการตีความกฎหมายอาญา คือตีความโดยเคร่งครัดตามตัวอักษรและเจตนารมณ์ของกฎหมาย
12. บทบัญญัติของกฎหมายอาญาท่ีว่า ต้องชัดเจนปราศจากความคลุมเครือ นัน ้ หมายความว่า ต้องชัดเจนแน่นอน
พอสมควร
13. เข้ าทำา ไร่ ใ นป่ าสงวน เป็ น ความผิ ด ตาม พ.ร.บ. ป่ าไม้ พ.ศ. 2507 ต่ อมามี ห นัง สื อของนายกรั ฐมนตรีไม่ใ ห้
เอาผิดแก่ราษฎรท่ีเข้าทำาไร่อยู่ก่อน ทัง้นีร้าษฎรนัน ้ ยังต้องมีความผิดหรือต้องรับโทษเพราะหนังสือของนายก
รัฐมนตรีมิใช่กฎหมาย
14. วัตถุประสงค์ของวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย เพ่ ือป้องกันสังคมให้ปลอดภัยจากการที่บุคคลนัน ้ จะกระทำาความผิด
ในอนาคต
15. การใช้ปืนยิงคนจนถึงแก่ความตายนัน ้ ขณะถูกยิงแล้วก่อนจะสิน ้ ใจ คือผลท่ีเป็ นจุดประสงค์ใกล้ชิด
16. กระทำา ความผิ ด ในเรื อไทยซ่ ึง อยู่ น อกประเทศไทย กฎหมายให้ ถือ ว่ ากระทำา ความผิ ด ในราชอาณาจั ก รตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
17. หม่องคนพม่าเข้ามาราดน้ำามันเพ่ ือเผาส้มคนไทยในเขตไทย แต่ยังไม่ทันได้จุดไฟก็ถูกตำา รวจไทยจับได้เสียก่อน
โดยท่ีหม่องได้ตระเตรียมอุปกรณ์วางแผนตัง้แต่อยู่ในเขตพม่า หม่องจะต้องรับโทษในประเทศไทยด้วยเหตุผล
กระทำาความผิดในราชอาณาจักร

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


14

18. ม่วงลักทรัพย์เหลืองในเคร่ ืองบินไทยซ่ึงบินอยู่เหนือน่านฟ้ าไทย ม่วงต้องรับโทษในประเทศไทย เพราะ กระทำา


ความผิดในราชอาณาจักร
19. ความผิดเก่ียวกับ การปลอมและแปลงเงินตรานัน ้ แม้ผู้กระทำาจะได้กระทำานอกราชอาณาจักร ก็ต้องรับโทษใน
ราชอาณาจักร
20. ดำาคนพม่าทำาร้ายร่างกายขาว คนไทย เหตุเกิดในมาเลเซียมีคำาพิพากษาถึงท่ีสุดให้ปล่อยตัวดำา ต่อมาดำา ได้เดิน
ทางเข้ามาในประเทศไทยและขาวได้ร้องขอให้ศาลไทยลงโทษอีกดังนี้ ศาลไทยลงโทษอีกไม่ได้แล้วเพราะศาล
มาเลเซียได้พิพากษาถึงที่สุดให้ปล่อยตัวแล้ว

หน่วยท่ี 4 ความรับผิดทางอาญา

1. ความรับผิดในทางอาญาเกิดขึ้นเม่ ือผู้กระทำาได้กระทำาครบ“องค์ประกอบ”ท่ีกฎหมายบัญญัติ และ


2. การกระทำาท่ีครบ “องค์ประกอบ” ท่ีกฎหมายบัญญัติจะต้องไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด และ
3. การกระทำาท่ีครบ “องค์ประกอบ” ท่ีไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดนัน ้ จะต้องไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษด้วย
4. บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาต่อเม่ ือมีการกระทำา

โครงสร้างรับผิดทางอาญา
1. การกระทำาครบ “องค์ประกอบ” ท่ีกฎหมายบัญญัติหมายความว่า
(1) ผู้กระทำาจะต้องมี “การกระทำา”
(2) การกระทำานัน ้ จะต้องครบ “องค์ประกอบภายนอก” ท่ีกฎหมายบัญญัติไว้
(3) การกระทำาจะต้องครบ “องค์ประกอบภายใน” ท่ีกฎหมายบัญญัติไว้
(4) ผลของการกระทำาจะต้องสัมพันธ์กับการกระทำาตามหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและ
ผล
2. การกระทำาท่ีครบตามหลักเกณฑ์ข้างต้นทัง้ 4 ประการนัน
้ จะต้องไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด
3. การกระทำาท่ีไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดจะต้องไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษด้วย

การกระทำาครบองค์ประกอบท่ีกฎหมายบัญญัติ
การกระทำาท่ีครบ “องค์ประกอบ” ท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ หมายความว่าอย่างไร
การกระทำาท่ีครบองค์ประกอบ ท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ หมายความว่า ผู้กระทำามีการกระทำา การกระทำานัน

ครบองค์ประกอบภายนอกของความผิดในเร่ ืองนัน ้ ๆ การกระทำานัน
้ ครบองค์ประกอบภายในของความผิดในเร่ ือง
นัน
้ ๆ และผลกระทบของการกระทำาสัมพันธ์กับการกระทำาตามหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล

ฟ้ าต้องการให้ม่วงตาย ฟ้ าจึงใช้ปืนยิงม่วง ม่วงถูกยิงบาดเจ็บและถึงแก่ความตาย ขณะท่ีนำา ส่งโรงพยาบาล


จงวินิจฉัยว่าการกระทำาของฟ้ าครบองค์ประกอบท่ีกฎหมายบัญญัติไว้หรือไม่
ถือได้ว่าการกระทำา ของฟ้ าครบองค์ประกอบท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ กล่าวคือ ฟ้ ามีการกระทำา การกระทำา
ครบองค์ป ระกอบภายนอกของความผิด ฐานฆ่า คนตายโดยเจตนา ปอ. มาตรา 288 และการกระทำา ครบองค์
ประกอบภายในกล่าวคือ “เจตนา” ตามมาตรา 288 และผลของการกระทำา คือ ความตายของม่ว งสัมพัน ธ์กับ
การกระทำาของฟ้ าตามหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล

การกระทำาไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด
การกระทำาไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดหมายความว่าอย่างไร
การกระทำาท่ีไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดหมายความว่า ผู้กระทำาไม่มีอำานาจตามกฎหมายท่ีจะกระทำาการ
ซ่ึง ครบองค์ ป ระกอบท่ีก ฎหมายบั ญ ญั ติ ไ ว้ ซ่ึง เม่ อ
ื ไม่ มี ก ฎหมายยกเว้ น ความผิ ด ผู้ ก ระทำา ก็ มี ค วามผิ ด แต่ ถ้ า มี
กฎหมายยกเว้นความผิด ผู้กระทำาก็ไม่มีความผิด กฎหมายท่ียกเว้นความผิดอาจจะบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมาย
อาญา เช่น เร่ ืองป้ องกันตัว ตาม ปอ. มาตรา 68 หรือไม่ได้บัญญัติไว้โดยตรง เช่น หลักในเร่ ืองความยินยอมหรือ
บัญญัติไว้ในกฎหมายอ่ ืน เช่น ปพพ. มาตรา 1567 (2) ให้อำา นาจผู้ใช้อำา นาจปกครองทำา โทษบุตรตามสมควร
เพ่ อ
ื ว่ากล่าวสั่งสอน หรือในรัฐธรรมนูญ เช่น มาตรา 125 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2534 ซ่ึงให้เอกสิทธิในการอภิปรายในสภาแก่สมาชิกรัฐสภาเป็ นต้น

แดงต้องการฆ่าเหลือง แดงใช้ปืนจ้องเล็งทำา ท่าจะยิงเหลือง เหลืองไวกว่า จึงใช้ปืนของเหลืองยิงแดงตาย


เหลืองจะต้องรับผิดในทางอาญาหรือไม่
เหลืองไม่ต้องรับผิดในทางอาญา ทัง้ๆท่ี การกระทำาของเหลืองครบองค์ประกอบท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ ตาม
ปอ. มาตรา 288 ทุ ก ประการ เพราะการกระทำา ของเหลื อ งเป็ น การป้ องกั น โดยชอบด้ ว ยกฎหมาย ตาม ปอ.
มาตรา 68 ยกเว้นความผิดให้แก่เหลือง

การกระทำาไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


15

การกระทำาไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษหมายความอย่างไร
การกระทำาไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษ หมายความว่าการกระทำา ซ่ึงครบองค์ประกอบท่ีกฎหมายบัญญัติซ่ึง
ไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดนัน ้ ไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษให้แก่ผู้กระทำาเช่นกัน แต่ถ้ามีกฎหมายยกเว้นโทษแล้ว
ผู้กระทำาก็ไม่ต้องรับผิดในทางอาญา กฎหมายท่ียกเว้นโทษมีหลายกรณี เช่น การกระทำา ความผิดโดยจำา เป็ นตาม
ปอ. มาตรา 67 เด็กกระทำาความผิดตาม ปอ. มาตรา 73 74 ผู้กระทำาวิกลจริต ตาม ปอ. มาตรา 65 วรรคแรก
ผู้กระทำามึนเมาตาม ปอ. มาตรา 66 การกระทำาตามคำา สั่งมิชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงานตาม ปอ. มาตรา
70 การกระทำาความผิดต่อทรัพย์ในระหว่างสามีภรรยาตาม มาตรา 71 เป็ นต้น

ขาวฆ่าแดงในขณะท่ีขาวไม่สามารถรู้ผิดชอบเลยเพราะขาวจิตฟั่ นเฟื อน ขาวจะต้องรับผิดชอบในทางอาญา


หรือไม่
ขาวไม่ต้องรับผิดในทางอาญาในความผิดฐานฆ่าคนตายตาม ปอ. มาตรา 288 แม้ว่าการกระทำาของขาว
จะครบองค์ประกอบท่ีกฎหมายบัญญัติ และแม้ว่าจะไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิดให้แก่ขาวก็ตาม เพราะขาวเป็ นคน
วิกลจริตจึงอ้าง ปอ. มาตรา 65 วรรคแรก ขึน
้ ยกเว้นโทษในความผิดฐานฆ่าคนตายได้

เหลืองเป็ นมือปื นรับจ้างใช้ปืนยิงม่วงถึงแก่ความตาย จะมีเกณฑ์อย่างไรในการวินิจฉัยความรับผิดชอบของ


เหลืองให้เป็ นขัน
้ ตอน
เหลื อ งต้ อ งรั บ ผิ ด ในทางอาญาฐานฆ่ า คนตายตาม ปอ มาตรา 289 (4) กล่ า วคื อ ฆ่ า คนตามโดย
ไตร่ตรองไว้ก่อ นซ่ึง เป็ นเหตุฉ กรรจ์ของการฆ่าคนตายธรรมดาตาม ปอ. มาตรา 288 เพราะเหลือ งเป็ น มือ ปื น
รับจ้าง
เหตุท่ีเหลืองต้องรับผิดในทางอาญาตามความผิดดังกล่าวเพราะ
(1) การกระทำาของเหลืองครบตาม “องค์ประกอบ” ท่ีกฎหมายบัญญัติเพราะ
 เหลืองมีการกระทำา
 การกระทำาของเหลืองครบองค์ประกอบภายนอกของความผิดตาม ปอ. มาตรา 289 (4)
 การกระทำา ของเหลืองครบองค์ประกอบภายใน (กล่าวคือ “เจตนา”) ของความผิดตาม ปอ.
มาตรา 289 (4)
 ความตายของม่วงสัมพันธ์กับการกระทำาของเหลืองตามหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการก
ระทำาและผล
(2) การกระทำา ของเหลืองไม่มีกฎหมายยกเว้นความผิด กล่าวคือ ไม่ใช้การกระทำา ท่ีเหลือ งมีอำา นาจจะ
กระทำาต่อม่วงได้
(3) การกระทำาของเหลืองไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษ
เหลืองจึงต้องรับผิดในทางอาญาฆ่าคนตายโดยเจตนา โดยไตร่ตรองไว้ก่อนตามมาตรา 289 (4)

การกระทำา
1. ความรับผิดในทางอาญาของบุคคลจะเกิดขึ้นเม่ ือบุคคลนัน ้ มี “การกระทำา ” หากไม่มีการกระทำา แล้ว
บุคคลก็ไม่ต้อรับผิดในทางอาญา
2. การกระทำาคือ การเคล่ ือนไหวร่างกายหรือไม่เคล่ ือนไหวร่างกายโดยรู้สึกนึกกล่าวคือ อยู่ภายใต้บังคับ
ของจิตใจ
3. ในการท่ีจะวินิจฉัยว่าผู้กระทำามีการกระทำาหรือไม่นัน ้ ต้องพิจารณาว่าผู้กระทำาคิดท่ีจะกระทำาตกลงใจท่ี
จะกระทำาตามท่ีได้คิดไว้ และได้กระทำาไปตามท่ีตกลงใจนัน ้ หรือไม่ หากเป็ นไปตามขัน ้ ตอนดังกล่าวก็
ถือว่ามีการกระทำา
4. การกระทำาโดยทัว่ไปเกิดขึ้นเม่ ือผู้กระทำา เคล่ ือนไหวร่างกาย แต่การไม่เคล่ ือนไหวร่างกายก็อาจถือว่า
เป็ นการกระทำาได้ ซ่ึงแบ่งการกระทำาโดยงดเว้นและการกระทำาโดยละเว้น
5. การกระทำาโดยงดเว้น หมายถึงงดเว้นการท่ีจักต้องกระทำาเพ่ อ ื ป้ องกันผล
6. การกระทำาโดยละเว้น หมายถึงการละเว้นไม่กระทำาในส่ิงซ่ึงกฎหมายบังคับให้กระทำา
7. หน้าท่ีของการกระทำา โดยงดเว้น คือหน้าท่ีซ่ึงจะต้องกระทำา เพ่ ือป้ องกันผล กล่า วคือ เป็ นหน้าท่โี ดย
เฉพาะท่ีจะต้องป้ องกันมิให้เกิดผลขึ้น ส่วนหน้าท่ีของการกระทำา โดยละเว้นเป็ นหน้า ท่โี ดยทัว่ๆ ไป
มิใช่หน้าท่ีโดยเฉพาะเจาะจงท่ีจะต้องป้ องกันมิให้เกิดผลขึ้น

ความหมายของการกระทำา
จงอธิบายความหมายของ “การกระทำา”
การกระทำา หมายถึง การเคล่ ือนไหวร่างกายหรือไม่เคล่ ือนไหวร่างกายโดยรู้สึกนึก กล่าวคือ อยู่ภายใต้
บังคับของจิตใจ

หลักเกณฑ์ในการวินิจฉัยว่าผู้กระทำามีการกระทำาหรือไม่มีอย่างไร
ต้องพิจารณาว่าผู้กระทำาคิดท่ีจะกระทำา ตกลงใจท่ีจะกระทำา และกระทำาไปตามท่ีตกลงใจอันสืบเน่ ืองมาจาก
ความคิดหรือไม่ หากเป็ นไปตามขัน้ ตอนดังกล่าวก็ถือว่ามีการกระทำาแล้ว

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


16

การเคล่ ือนไหวร่างกายในขณะละเมอ ขณะเป็ นลมบ้าหมู จะถือว่ามีการกระทำาได้ในกรณีใดบ้าง


โดยหลักแล้ว การเคล่ ือ นไหวร่างกายในขณะละเมอ หรือ ในขณะเป็ นลมบ้ าหมูไม่ ถือว่าเป็ นการกระทำา
เพราะผู้เคล่ ือนไหวร่างกายไม่ได้คิดและตกลงใจท่ีจะเคล่ ือนไหวร่างกาย แต่ถ้าผู้นัน
้ รู้ตัวอยู่แล้วว่าชอบละเมอทำาการ
รุนแรงต่างๆ อยู่เสมอและยังขืนเอาปื นวางไว้ใกล้ตัวก่อนเข้านอน หากนอนแล้วละเมอเอาปื นนัน ้ ยิงคนต้องถือว่ามี
การกระทำา หรือแพทย์ห้ามคนไข้ที่เป็ นลมบ้าหมูขับรถแต่ยังขืนขับรถ และเกิดเป็ นลมบ้าหมูชนคนตายก็ต้องถือว่ามี
การกระทำาเช่นกัน

การกระทำาโดยการเคล่ ือนไหวร่างกาย
การกระทำาโดยการเคล่ ือนไหวร่างกายนัน ้ จำาเป็ นหรือไม่ ท่ีผู้กระทำาจะต้องสัมผัสหรือแตะต้องกับวัตถุแห่ง
การกระทำาโดยตรง
ไม่จำาเป็ นท่ีผู้กระทำาจะต้องสัมผัสหรือแตะต้องกับวัตถุแห่งการกระทำาโดยตรง ผู้กระทำาอาจใช้บุคคลอ่ ืนๆ
เป็ นเคร่ ืองมือ เช่น หลอกให้บุคคลท่ีสามส่งทรัพย์ของผู้เสียหายให้ หรือใช้สุนัขไปคาบทรัพย์ของผู้เสียหายมาส่งให้
หรือหลอกให้ผู้เสียหายเดินไปตกหน้าผา เป็ นต้น

หากผู้กระทำามิได้สัมผัสหรือแตะต้องกับวัตถุแห่งการกระทำา โดยตรง ผู้กระทำา จะต้องรับผิดในผลท่ีเกิดขึ้น


หรือไม่
ผู้กระทำา อาจต้องรับผิดในผลท่เี กิดขึ้นในฐานท่ีเป็ นความผิด สำา เร็จก็ได้ เช่น ไก่หยิบไม้จะฟาดศีรษะของ
ใหญ่ ใหญ่หลบทันแต่ล้มลงศีรษะฟาดกับขอบพ้ืน ปรากฏว่าศีรษะแตกต้องเย็บหลายเข็ม เช่นนี ไ้ก่ต้องรับผิดฐาน
ทำาร้ายร่างกายใหญ่ ตาม ปอ. มาตรา 295 แม้ว่าไม้ท่ีไก่หยิบจะมิได้ฟาดถูกศีรษะของใหญ่ก็ตาม แต่ใหญ่ศีรษะ
แตกก็เพราะการกระทำาของไก่นั่นเอง

การกระทำาโดยการไม่เคล่ อ ื นไหวร่างกาย
การกระทำาโดยงดเว้น หมายความว่าอย่างไร
การกระทำาโดยงดเว้น หมายความถึง การให้เกิดผลอันใดอันหน่ึงขึน ้ ด้วยการงดเว้นไม่กระทำาในสิ่งที่ตน
มีหน้าท่ีต้องกระทำา ซ่ึงเป็ นหน้าท่ีโดยเฉพาะท่จี ะต้องกระทำาเพ่ ือป้ องกันมิให้เกิดผลนัน้

การกระทำาโดยละเว้นหมายความว่าอย่างไร
การกระทำาโดยละเว้น หมายความว่า ผู้กระทำาไม่กระทำาในส่ิงซ่ึงกฎหมายบังคับให้กระทำาซ่ึงเป็ นเร่ ืองทั่วๆ
ไป มิใช่กรณีโดยเฉพาะที่จะต้องป้ องกันมิให้เกิดผลนัน
้ ขึน

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างการกระทำาโดยงดเว้นและการกระทำาโดยละเว้น
แตกต่างกันตรงท่วี ่า หน้าท่ีของการกระทำาโดยงดเว้นนัน ้ เป็ นหน้าท่ีโดยเฉพาะเจาะจงท่จี ะต้องป้ องกันมิให้
เกิดผล ส่วนการกระทำาโดยละเว้นนัน ้ เป็ นกรณีที่กฎหมายบังคับให้กระทำาในเร่ ืองทัว่ๆไป มิใช่บังคับให้กระทำาโดย
เฉพาะเจาะจง เพ่ ือป้ องกันมิให้เกิดผลขึ้น

นางแดงต้องการให้ลูกทารกของตนตาย แดงจึงไม่ยอมให้นมลูกจนกระทัง่ลูกอดนมตาย นางแดงมีความ


ผิดฐานใด
นางแดงมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา โดยถือว่าเป็ นการกระทำาโดยงดเว้น เพราะนางแดงมีหน้าท่ี
ตาม ปพพ. ในฐานะท่ีเป็ นมารดาท่ีจะต้องอุปการะเลีย ้ งดูบุตรผู้เยาว์ ซ่ึงหน้าท่ีในการอุปการะเลีย
้ งดูนัน
้ ย่อมจะต้อง
เป็ นหน้าท่ีในอันท่ีจะป้ องกันมิให้ลูกอดนมตายด้วย

ขาวเป็ นนักว่ายน้ำา เห็นเขียวกำา ลังจะจมน้ำา ตาย ขาวเกลียดเขียวต้องการให้เขียวตาย จึงไม่ว่ายน้ำา ลงไปช่วย


ทัง้ๆ ท่ีสามารถช่วยได้ เช่นนี ข้าวจะมีความผิดฐานใด
หากปรากฏว่าขาวเป็ นบิดาของเขียวซ่ึง เป็ นบุตรผู้เ ยาว์ ขาวต้องการให้เ ขียวตาย ขาวจึง ปล่ อยให้เ ขียวจม
น้ำาตายไปต่อหน้าต่อตา ขาวจะมีความผิดฐานใด
ขาวมีความผิดตาม ปอ. มาตรา 374 ซ่ึงถือว่าเป็ นการละเว้นไม่กระทำาในส่ิงท่ีกฎหมายบังคับให้กระทำา
แต่ขาวไม่ผด ิ ฐานฆ่าเขียวตายโดยเจตนา เพราะขาวไม่มีหน้าท่ีโดยเฉพาะเจาะจงท่ีจะต้องป้ องกันมิให้เขียวจมน้ำาตาย
ในกรณีหลัง ขาวมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา โดยถือเป็ นการกระทำาโดยงดเว้นเพราะขาวเป็ นบิดา
ของเขียว ขาวย่อมมีหน้าท่ีตาม ปพพ. ท่ีจะต้องอุปการะเลีย ้ งดูเขียว ซ่ึงถือว่าเป็ นหน้าท่ีโดยเฉพาะเจาะจงท่ีจะต้อง
ป้ องกันมิให้เขียวจมน้ำาตายด้วย

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 4 ความรับผิดทางอาญา

1. เขียวละเมอลุกขึ้นมาใช้ปืนไล่ยิงดำา ดำาตกใจว่ิงหนีออกไปท่ามกลางสายฝน ฟ้ าฝ่ าดำาตาย เขียวไม่ต้องรับผิด


ในทางอาญาเพราะ เขียวไม่มีการกระทำา

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


17

2. แดงอายุ 13 ปี โกรธม่วงจึงใช้ปืนยิงไปท่ีม่วงซ่ึงหัวใจวายตายไปแล้ว โดยแดงไม่รู้คิดว่าม่วงยัง มีชีวิตอยู่


แดงไม่มีค วามผิ ด ฐานฆ่า คนตายโดยเจตนาตาม ปอ. มาตรา 288 เพราะการกระทำา ของแดงขาดองค์
ประกอบภายนอกของความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนาตาม ปอ.มาตรา 288
3. ติ๋มอายุ 13 ปี เดินซุ่มซ่ามเตะแจกันของแต๋วแตกเสียหาย ติ๋มไม่มีความผิดฐานทำา ให้เสียทรัพย์ตาม ปอ.
มาตรา 358 เพราะ ติม ๋ ไม่มีเจตนา
4. เหลืองเป็ นคนวิกลจริต ต้องการฆ่า แดงให้ตาย จึงใช้ปืนไล่ยิง แดง แดงว่ิง หนีทันและไปหลบซ่อ นอยู่ใ ต้
ต้นไม้ใหญ่กลางทุ่ง ต่อมามีฝนตกหนัก ฟ้ าผ่าต้นไม้และผ่าแดงตายคาท่ี เหลืองไม่มีความผิดฐานฆ่าแดง
ตาม ปอ. มาตรา 288 เพราะ ความตายของแดงไม่สัมพันธ์กับการกระทำา ของเหลือ งตามหลักในเร่ ือง
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล
5. ม่ ว งหลอกขาวว่ า เหล้ า ในขวดเป็ น ยา ขาวหลงเช่ ือ กิ น เข้ า ไป ปรากฏว่ า ขาวมึ น เมา ในขณะนั น ้ แดงซ่ึง
ต้องการฆ่าขาวได้ใช้ปืนยิงไปท่ีขาว ขาวไวกว่าจึงใช้ปืนยิงแดงเป็ นการป้ องกันตัวในขณะท่ีขาวกำาลังมึนเมา
อยู่นัน ้ เอง ม่วงถูกขาวยิง ตาย ขาวไม่ต้องรับผิด ชอบฐานฆ่า ม่ว งตายเพราะการกระทำา ของขาวเป็ น การ
ป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
6. แดงเป็ นบิดาของดำาซ่ึงเป็ นบุตรผู้เยาว์ ดำาขโมยเงินของแดงไปซ้ือบุหร่ีมาสูบ แดงจึงใช้ไม้บรรทัดตีมือดำา 3
ทีเพ่ อื เป็ นการลงโทษ แดงไม่มีความผิดฐานทำาร้ายร่างกาย เพราะแดงมีอำานาจตาม ป.พ.พ. ท่ีจะลงโทษ
ดำาตามสมควรหรือเพ่ ือว่ากล่าวสั่งสอนได้
7. ขาวอายุ 13 ปี โกรธแดงซ่ึงเป็ นเด็กอายุ 13 ปี เช่นกัน ขาวใช้ไม้ตีถูกลูกตาแดงเป็ นรอยบวมช้ำา อีก 5 วัน
ตาบอดสนิ ท ทั ง้ สองข้ า ง ขาวไม่ มี ค วามผิ ด ทางอาญา ไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ตาม ปอ .มาตรา 297 เพราะมี
กฎหมายยกเว้นโทษเน่ ืองจากอายุไม่เกิน 14 ปี
8. ฟ้ ากำา ลังเผล เหลืองจับมือฟ้ าเขกศีรษะแดงอย่างแรงหน่ึงครัง้ ฟ้ ารู้ตัวเม่ ือได้เขกศีรษะแดงไปแล้ว ฟ้ าไม่
ต้องรับผิดเพราะไม่มีการกระทำาตามความหมายของกฎหมาย
9. ติ๋มเป็ นมารดาของจิ๋มซ่ึงเป็ นทารก ติ๋มต้องการให้จิ๋มตายจึงไม่ยอมให้นมจิ๋มกิน จิ๋มอดนมจนตาย ติม ๋ ผิด
ฐานฆ่าจิม ๋ ตายโดยเจตนา โดยถือว่าเป็ นการกระทำาโดยงดเว้น
10. ม่วงเป็ นนักว่ายน้ำา ม่วงเดินผ่านสระน้ำาเห็นเด็กกำาลังจะจมน้ำาตาย ม่วงจำา ได้ว่าเด็กคนนัน ้ คือลูกของเขียว
ซ่ึง เป็ น ศั ต รู ข องตน ม่ ว งต้ อ งการให้ เ ด็ ก ตายจึ ง ไม่ ว่ า ยน้ำา ลงไปช่ ว ย ม่ ว งผิ ด ฐานไม่ ช่ ว ยผู้ ซ่ึง ตกอยู่ ใ น
ภยันตรายแห่งชีวิต ตาม ปอ.มาตรา 374
11. ผู้ท่ีกระทำาในขณะละเมอไม่ต้องรับผิดในทางอาญาเพราะ ไม่มีการกระทำาตามความหมายของกฎหมาย
12. หากการกระทำาไม่ครบตามองค์ประกอบภายนอกของความผิดในเร่ ืองนัน ้ ๆ แล้ว ผลคือ (1) ผู้กระทำาไม่
ต้องรับผิดในทางอาญาในความผิดในเร่ ืองนัน ้ ๆ โดยถือว่าเป็ นการขาดองค์ประกอบภายนอกของความผิด
(2) ไม่ต้องพิจารณาต่อไปอีกว่าผู้กระทำามีเจตนาหรือประมาทในการกระทำาความผิดหรือไม่ (3) ไม่ต้อง
พิจารณาต่อไปอีกว่าผลการกระทำาสัมพันธ์กัน การกระทำาตามหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระ
ทำาและผลหรือไม่ และไม่ต้องพิจารณาต่อไปอีกว่ามีกฎหมายยกเว้นโทษหรือไม่เช่นกัน
13. เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี ทำา ลายทรัพย์ของผู้อ่ืนโดยประมาท เด็กนัน ้ ไม่ต้องรับผิดเพราะการทำา ลายทรัพย์
ของผู้อ่น ื ต้องกระทำาโดยเจตนาจึงจะเป็ นความผิด
14. บุคคลวิกลจริตต้องรับผิดในทางอาญาในผลของการกระทำา ซ่ึงไม่สัมพันธ์กับการกระทำา ตามหลักในเร่ ือง
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำา และผล ไม่ต้อ งรับผิดในผลท่ีเกิด ขึ้นเพราะผลท่ีเกิด ขึ้นไม่สัมพั นธ์กับ
การกระทำาตามหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผลแล้วโดยไม่ต้องคำา นึงว่าผู้กระทำา จะ
วิกลจริตหรือไม่
15. การป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมายนัน ้ หากปรากฏว่าผู้กระทำา มีเหตุยกเว้นโทษในทางอาญาด้วย ในการ
วินิ จ ฉัย ความรั บ ผิ ดชอบของผู้ก ระทำา ควรพิ จ ารณาดั ง นี้ ไม่ต้ อ งพิจ ารณาเหตุย กเว้ น โทษ เพราะมี เ หตุ
ยกเว้นความผิดท่จี ะเป็ นข้ออ้างได้อยู่แล้วในอันท่ีจะไม่ต้องรับผิดในทางอาญา
16. บิดาซ่ึงลงโทษบุตรตามสมควรเพ่ ือว่ากล่าวสัง่สอนไม่ต้อรับผิดในทางอาญาเพราะ ประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ให้อำานาจบิดาไว้โดยตรงที่จะลงโทษบุตร
17. เด็กอายุไม่เกิน 14 ปี กระทำาการท่ีกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด เด็กนัน ้ ไม่ต้องรับผิดในทางอาญาเพราะ
มีกฎหมายยกเว้นโทษให้แก่เด็ก
18. การกระทำา ตามความหมายของกฎหมายความว่า การเคล่ อ ื นไหวหรือไม่เคล่ ือ นไหวร่างกายโดยรู้สำา นึก
กล่าวคืออยู่ภายใต้บังคับของจิตใจ
19. มารดาซ่ึงจงใจไม่อุปาระเลีย ้ งดูบุตรผู้เยาว์ของตน เช่นไม่ยอมให้อาหารหรือนมแก่บุตรผู้เยาว์ถือว่า มารดา
มีการกระทำาโดยงดเว้น
20. แดงต้องการฆ่าดำาให้ตาย แต่แดงหาจังหวะเหมาะไม่ได้ วันหน่ึงแดงเห็นดำากำาลังจะจมน้ำาตายแดงสามารถ
ช่วยได้โดยการทิง้ขอนไม้ลงไปให้ดำา เกาะ แดงไม่ทำา กลับยืนยิม ้ อยู่ริมสระน้ำา ดำา จมน้ำา ตายแดงมีความผิด
ฐาน ไม่ช่วยผู้อ่ืนซ่ึงตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิตตาม ปอ.มาตรา 374

หน่วยท่ี 5 ความรับผิดทางอาญา (ต่อ)

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


18

1. องค์ประกอบภายนอกของความผิดคือ ผู้กระทำา การกระทำาและวัตถุแห่งการกระทำา


2. องค์ประกอบภายในของความผิดโดยหลักแล้วคือ “เจตนา”
3. ในบางกรณีองค์ประกอบภายในของความผิดคือ “ประมาท”
4. บางกรณีแม้ไม่มีเจตนาหรือไม่ประมาท บุคคลก็อาจต้องรับผิดหากมีกฎหมายบัญญัติไว้ว่า “ไม่เจตนาและ
ไม่ประมาท” ก็ต้องรับผิด

องค์ประกอบภายนอก
1. องค์ประกอบภายนอก หมายความถึง ผู้กระทำา การกระทำา และวัตถุแห่งการกระทำา
2. ผู้กระทำาแบ่งออกเป็ น ผู้กระทำาความผิดเอง ผู้กระทำาความผิดโดยทางอ้อมและผู้ร่วมกระทำาความผิด
3. การกระทำา จะถึง ขัน้ ท่ีมี กฎหมายบั ญ ญั ติเ ป็ น ความผิ ด เช่น เข้ า ขั น
้ ลงมื อ ตาม ปอ. มาตรา 80 หรื อตระ
เตรียมในบางกรณี เช่น ตระเตรียมวางเพลิงเผาทรัพย์ ซ่ึง ปอ. มาตรา 219 ถือว่าเป็ นความผิด
4. วัตถุแห่งการกระทำา หมายถึง ส่ิงท่ีผู้กระทำา มุ่งหมายกระทำาต่อ เช่น “ผู้อ่ืน” ในความผิดฐานฆ่าคน ตาม
ปอ. มาตรา 288 “ทรัพย์ของผู้อ่ืน” ในความผิดฐานลักทรัพย์ ตาม ปอ. มาตรา 334 หรือฐานทำาให้เสีย
ทรัพย์ ตาม ปอ. มาตรา 358
5. การขาดองค์ประกอบภายนอกหมายความว่า องค์ประกอบภายนอกข้อใดข้อหน่ึงไม่มีอยู่ตามความเป็ นจริง
เช่น ยิงไปท่ีศพ หรือลักทรัพย์ของตนเอง เป็ นต้น

ความหมายขององค์ประกอบภายนอก
องค์ประกอบภายนอกของความผิดแต่ละฐานหมายความว่าอย่างไร จงยกตัวอย่างประกอบ
องค์ ประกอบภายนอกของความผิด แต่ ล ะฐาน คือ ผู้กระทำา การกระทำา และวั ตถุ แห่ ง การกระทำา เช่ น
ความผิดฐานฆ่าคนตายคือ (1) ผูใ้ ด (2) ฆ่า (3) ผูอ
้ ่ ืน

ผู้กระทำาความผิดในทางอาญา อาจแยกออกได้เป็ นก่ีประเภท


ผู้กระทำาความผิดในทางอาญาอาจแยกออกได้เป็ น 3 ประเภท คือ ผูก
้ ระทำาความผิดเอง ผู้กระทำาความผิด
โดยทางอ้อม ผูร้ ่วมกระทำาผิด

ผู้กระทำา ความผิดเองและผู้ก ระทำา ความผิดโดยทางอ้อม และผู้ใ ช้ใ ห้กระทำา ความผิดแตกต่า งกันอย่า งไร
ความแตกต่างดังกล่าวมีผลทางกฎหมายอย่างไร
ผู้กระทำาความผิดเอง คือ ผู้ลงมือกระทำาความผิดด้วยตนเอง หรือใช้สัตว์หรือบุคคลที่ไม่มีการกระทำา ใน
ทางอาญาเป็ นเคร่ ืองมือในการกระทำาความผิด
ผู้กระทำาความผิดในทางอ้อม คือ ผู้ทใ่ี ช้หรือหลอกให้บุคคลที่ไม่ต้องรับผิดในทางอาญาเพราะขาดเจตนา
เป็ นเคร่ ืองมือในการกระทำาความผิด
ผู้ใช้ให้กระทำาความผิด หมายถึง ผู้ท่ีก่อให้ผู้อ่ืนไปกระทำาความผิดโดยผู้อ่น
ื มีเจตนาในการกระทำาความผิด
ผลของความแตกต่างคือ เร่ ือง การพยายามกระทำาความผิด ผู้กระทำาความผิดเองรับผิดฐานพยายามเม่ ือ
ได้ลงมือกระทำาความผิด ผูก ้ ระทำาความผิดโดยทางอ้อมรับผิดฐานพยายามเม่ ือใช้หรือหลอกแล้ว ผูใ้ ช้ให้กระทำาความ
ผิด รับผิดฐานพยายาม เม่ ือผู้ถูกใช้ลงมือกระทำาความผิดท่ีใช้แล้ว

นิติบุคคลอาจต้องรับผิดในทางอาญาอย่างใดหรือไม่
นิติบุคคลมีความรับผิดในทางอาญาได้เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดาเว้นแต่โทษที่ลงแก่นิติบุคคลนัน ้ ลงได้แต่
เฉพาะโทษปรั บและริบ ทรัพ ย์สิ น เท่ า นัน
้ เพราะโดยสภาพแล้ว ไม่ อ าจลงโทษประหารชี วิต จำา คุก หรื อ กั ก ขั ง แก่
นิติบุคคลได้

การขาดองค์ประกอบภายนอก
ขาดองค์ประกอบภายนอก หมายความว่าอย่างไร
การขาดองค์ประกอบภายนอก หมายความว่า ตามความเป็ นจริงขาดองค์ประกอบภายนอกบางประการไป
เช่น ในความผิด ฐานค่ าคนตายตาม ปอ. มาตรา 288 ขาด “ผู้อ่ ืน” หรือ ในความผิด ฐานลั กทรัพ ย์ต าม ปอ.
มาตรา 334 ขาดทรัพย์ของผู้อ่ืน

หากผู้กระทำาเข้าใจว่ามีองค์ประกอบภายนอกครบ แต่ความจริงขาดองค์ประกอบภายนอกบางข้อไป เช่นนีผ ้ ู้


กระทำาจะต้องรับผิดอย่างไร
มีสองความเห็น ความเห็นแรกถือว่าไม่มีความผิด เช่น ยิงศพโดยเข้าใจว่าเป็ นคนนอนคลุมโปงอยู่ ถือว่า
ไม่มีความผิดฐานฆ่าคนเลย หรือลักทรัพย์ของตนเองแต่เข้าใจผิดว่าเป็ นของผู้อ่ืน เช่นนีก
้ ็ไม่มีความผิดฐานลักทรัพย์
เลย แต่อีกความเห็นหน่ึงถือว่าเป็ นความผิดฐานพยายามซ่ึงเป็ นไปไม่ได้อย่างแน่แท้ตาม ปอ. มาตรา 81

องค์ประกอบภายใน (เจตนา)

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


19

1. เจตนาตามความเป็ นจริง หมายความว่า ผู้กระทำา รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความ


ผิด และผู้กระทำาประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลของการกระทำานัน ้
2. เจตนาโดยผลของกฎหมาย หมายความว่า ผู้กระทำา รู้ข้อเท็จจริง อั นเป็ นองค์ ป ระกอบภายนอกของ
ความผิด แต่ผู้กระทำา มิได้ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็น แต่กฎหมายถือว่าผู้กระทำา ประสงค์ต่อผลหรือ
เล็งเห็นผล
3. การสำาคัญผิดในตัวบุคคล หมายความว่า ผู้กระทำารู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความ
ผิด และผู้กระทำาก็ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลตามความเป็ นจริงแล้ว เพียงแต่ผู้กระทำาสำาคัญผิดต่อ
วัตถุท่ีมุ่งหมายกระทำาต่อ กล่าวคือสำาคัญผิดว่ากำาลังกระทำาต่อบุคคลหน่ึงทัง้ๆ ท่ีตามความเป็ นจริงแล้ว
ตนกำาลังกระทำาต่ออีกบุคคลหน่ึง
4. การสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษหรือลดโทษ หมายความว่า ความ
จริงไม่มีข้อเท็จจริงดังกล่าวเลย แต่ผู้กระทำาสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงดังกล่าวนัน

5. การขาดองค์ประกอบภายนอกของความผิด หมายความว่า ความจริงไม่มีองค์ประกอบภายนอกของ
ความผิดเร่ ืองนัน ้ ๆเลย เช่น ไม่มี “ ผู้อ่ืน” ในฐานความผิดฆ่า คนตาย ตาม ปอ. มาตรา 288 แต่ผู้
กระทำาเข้าใจผิดว่าขาดองค์ประกอบภายนอก กล่าวคือยิงศพคิดว่ายิงคน
การไม่รู้ข้อเท็จจริง อันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด หมายความว่า ความจริง มีองค์ประกอบ
ภายนอกครบถ้วน เช่นมี “ผู้อ่ืน” ในความผิดฐานฆ่าคนตายตาม ปอ.มาตรา 288 แต่ผู้กระทำาเข้าใจผิดว่าขาดองค์
ประกอบภายนอก กล่าวคือยิงคนแต่คิดว่าคนท่ียงิ นัน ้ เป็ นศพนัน
่ เอง
การสำา คัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษหรือลดโทษ หมายความว่าความจริง
องค์ประกอบภายนอกของความผิดมีอยู่ครบ และผู้กระทำาก็เข้าใจดีอยู่แล้วว่ามีองค์ประกอบภายนอกครบถ้วน แต่ผู้
กระทำาเข้าใจไปว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ หรือลดโทษ เช่น ม่วงเข้าใจว่าแดงซ่ึงหยิบปื น
ขึ้นมาขู่ล้อเล่นนัน้ จะยิงตนจริงๆ ม่วงจึงใช้ปืนของตนยิงแดงตาย ถือว่าม่วงสำา คัญผิดว่าตนมีสิทธิป้องโดยชอบด้วย
กฎหมายซ่ึงเป็ นกรณีท่ีกฎหมายยกเว้นความผิด เป็ นต้น

เจตนาตามความเป็ นจริง
ในการท่ีจะถือว่าผู้กระทำามีเจตนาได้จะต้องมีหลักเกณฑ์อย่างไร
ผู้กระทำาต้อง “รู้” ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด และผู้กระทำาจะต้องประสงค์ต่อ
ผลหรือเล็งเห็นผลของการกระทำานัน ้

จงอธิบายเร่ ืองการรู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด


การรู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด หมายความว่า รู้ข้อเท็จจริงทุกประการอันเป็ น
องค์ประกอบภายนอกของความผิดฐานนัน ้ ๆ เช่น ในความผิดฐานฆ่าคนตาย ตาม ปอ. มาตรา 288 ผู้กระทำาก็จะ
ต้องรู้ว่าการกระทำาของตนเป็ นการ “ฆ่า” และรู้ว่าเป็ นการฆ่า “ผู้อ่ืน”
ผลของการไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกคือ ถือว่าผู้กระทำาไม่มีเจตนากระทำาความผิดฐาน
นัน
้ ๆ เช่น หากผู้กระทำาไม่รู้ว่าส่ิงท่ีตนยิงคือ “ผู้อ่น
ื ” แต่เข้าใจว่าเป็ นการยิง “ศพ” ก็จะถือว่ามีเจตนาฆ่าผู้อ่ืนไม่ได้
จึงไม่ผิดตาม ปอ. มาตรา 288 เพราะความผิดตามมาตรานี ผ ้ ู้ กระทำาจะต้องมีเจ
ก็ตามหากการไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกนัน ้ เกิดขึ้นเพราะความประมาท ผู้กระทำาก็อาจต้องรับผิด
ฐานประมาท หากมีกฎหมายบัญญัติว่า การกระทำาโดยประมาทเป็ นความผิด เช่น หากผู้กระทำาดูให้ดีก็จะรู้ว่าส่ิงท่ี
ตนยิงเป็ น “ผู้อ่ืน” ไม่ใช่ “ศพ” ผูก ้ ระทำาก็จะต้องรับผิดฐานฆ่าคนตายโดยประมาทตาม ปอ. มาตรา 291

เจตนาประสงค์ต่อผลหมายความว่าอย่างไร
เจตนาประสงค์ต่อผล หมายความว่า มุ่งหมายหรือประสงค์ต่อผลโดยตรง ในความผิดต่อชีวิต และความ
ผิดต่อร่างกาย ในการวินิจฉัยต้องใช้หลักกรรมเป็ นเคร่ ืองชีเ้จตนาเป็ นแนวทางในการพิจารณา เช่น ผู้กระทำาใช้ปืน
ยิงไปท่ีผู้เสียหาย โดยยิงไปท่ีอวัยวะสำา คัญๆ ต้อ งถือว่าประสงค์ต่อผลหรือมุ่งหมายให้ผู้เสียหายตาย แต่ถ้าใช้มีด
เล็กๆ แทงทีเดียวในเวลามืดค่ำาขณะท่ีมองเห็นไม่ถนัด อาจต้องถือว่าประสงค์หรือมุ่งหมายต่ออันตรายแก่กายหรือ
จิตใจของผู้เสียหายเท่านัน
้ ก็ได้

เจตนาเล็งเห็นผลหมายความว่าอย่างไร
เจตนาเล็งเห็นผล หมายความว่า ผู้กระทำาไม่ประสงค์ต่อผลแต่เล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผลอย่างแน่นอน เท่าท่ี
จิตใจของบุคคลในฐานะเช่นเดียวกับผู้กระทำาโดยปกติเล็งเห็นได้
ในการวินิจฉัยนัน ้ ให้พิจารณาถึงเร่ ืองประสงค์ต่อผลก่อน หากพิจารณาเห็นว่าผู้กระทำาไม่ประสงค์ต่อผล
จึงค่อ ยมาพิจ ารณาต่อ ไปว่าผู้กระทำา เล็งเห็นผลหรือ ไม่ เจตนาประสงค์ต่อผลหรือ เล็งเห็นผลก็มีผ ลทางกฎหมาย
อย่ า งเดี ย วกั น กล่ า วคื อ ถ้ า เป็ น เจตนาฆ่ า ประเภทประสงค์ ต่ อ ผล ผู้ ก ระทำา ก็ ผิ ด ฐานฆ่ า คนตายโดยเจตนา ตาม
ปอ.มาตรา 288 ถ้าเป็ นเจตนาฆ่าประเภทเล็งเห็นผล ผู้กระทำา ก็ผิด ฐานฆ่ าคนตายโดยเจตนาตาม ปอ. มาตรา
288 เช่นเดียวกัน

เจตนาพิเศษหมายความว่าอย่างไร
เจตนาพิเศษคือ มูลเหตุจูงใจในการกระทำาความผิด เจตนาพิเศษเป็ นคนละกรณีกับเจตนาธรรมดา เจตนา
ธรรมดาคือประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


20

ความผิดใดกฎหมายต้องเจตนาพิเศษ ก็จะบัญญัติถ้อยคำาท่ีแสดงว่าเป็ นเจตนาพิเศษไว้ในองค์ประกอบของ


ความผิดนัน ้ ๆ โดยตรง เช่น คำาว่า “โดยทุจริต” ถือว่าเป็ นเจตนาพิเศษ ของความผิดฐานลักทรัพย์ตาม ปอ.มาตรา
334 คำา ว่า “เพ่ ือ ให้ผู้หน่ึงผู้ใดหลงเช่ ือ ว่าเป็ นเอกสารที่แท้จ ริง” เป็ น เจตนาพิ เ ศษของของความผิ ด ฐานปลอด
เอกสารตาม ปอ. มาตรา 264
ในกรณีพิจารณาถ้อยคำานัน ้ ๆ เป็ นเจตนาพิเศษหรือไม่ให้สังเกตคำาว่า “เพ่ ือ.........” หรือคำาว่า “โดย
ทุจริต” เป็ นต้น
ความผิดท่ีกฎหมายต้องการเจตนาพิเศษ เช่น ความผิดฐานปลอมเอกสารตามมาตรา 264 หากผู้กระทำา
มี แต่ เ จตนาธรรมดา เช่ น ประสงค์ต่ อ ผลหรื อ เล็ ง เห็ น ผลเท่ า นั น ้ ผู้ก ระทำา ก็ ยั ง ไม่ มี ค วามผิ ด โดยถื อ ว่ า ขาดองค์
ประกอบภายใน แต่ถ้ามีความผิดมาตรานัน ้ ๆ กฎหมายไม่ต้องการเจตนาพิเศษ เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตายโดย
เจตนาตาม ปอ. มาตรา 288 เพียงแต่ผู้นัน ้ กระทำา มีเจตนาธรรมดา กล่าวคือ ประสงค์ต่อผลหรือ เล็งเห็นผล ผู้
กระทำาก็มีความผิดแล้ว

เจตนาโดยผลของกฎหมาย
เจตนาโดยผลของกฎหมายหมายความว่าอย่างไร
หมายความว่า กฎหมายถือว่าผู้กระทำามีเจตนาประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลต่อผู้อ่ืนซ่ึงได้รับผลจากการก
ระทำาแม้ว่าความจริงผู้กระทำาจะมิได้ประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลนัน
้ ๆ เลย
ประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติเก่ียวกับเร่ ืองนีไ้ว้ในมาตรา 60 ซ่ึงเรียกกันว่าการกระทำาโดยพลาด

จงอธิบายหลักเกณฑ์ท่ีสำาคัญของการกระทำาโดยพลาดตามมาตรา 60
การท่ีจะถือว่าเป็ นการกระทำาโดยพลาดนัน ้ ผู้ถูกกระทำาจะต้องมีตัง้แต่สองฝ่ ายขึ้นไป และผู้กระทำาจะต้อง
มิได้มีเจตนาประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลต่อผู้รับผลของการกระทำาโดยพลาด
หากผู้กระทำา มีเจตนากระทำา ต่อชีวิติของบุคคลหน่ึง หากผลไปเกิดแก่ทรัพย์ของอีกบุคคลหน่ึงก็ไม่ถือว่า
เป็ นการกระทำาโดยพลาด เพราะผู้กระทำารู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิดฐานฆ่าคนตายตาม
ปอ. มาตรา 288 ผู้กระทำาไม่รู้ขอ ้ เท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด ฐานทำาให้เสียทรัพย์ตาม ปอ .
มาตรา 358 จึงถือว่ามีเจตนาทำา ให้เสียทรัพย์ไม่ได้ เช่น ม่วงต้องการฆ่าแดงใช้ปืนยิงไปท่ีแดงกระสุนไม่ถูกแดง
แต่ถูกแจกันลายครามทองเหลืองแตกเสียหาย เช่นนีจ้ะถือว่าม่วงกระทำาโดยเจตนาต่อทรัพย์ของเหลืองไม่ได้

ดำา ต้องการฆ่าแดงซ่ึงเป็ นศัตรูของตน จึงใช้ปืนยิงไปท่ีแดง แต่กระสุนไม่ถูกแดง แต่พลาดไปถูกเหลืองซ่ึง


เป็ นบิดาของดำาตาย เช่นนีด้ ำาจะมีความผิดฐานใด
ดำา ทำา ผิดฐานพยายามฆ่าแดง ตาม ปอ. มาตรา 288 ประกอบกับมาตรา 80 และผิดฐานฆ่าเหลืองใน
ฐานะท่ีเป็ นคนธรรมดา มิใช่ฐานะบุพการีตาม 289 (1) เพราะดำารู้ว่ากำาลังกระทำาต่อคนธรรมดา แต่ไม่รู้ว่ากำาลัง
กระทำาต่อผู้ซ่ึงมีความสัมพันธ์กล่าวคือ บุพการี จึงจะถือว่ามีเจตนาต่อบุพการีไม่ได้ นอกจากนัน้ มาตรา 60 ตอน
ท้าย ก็ยังห้ามมิให้นำา กฎหมายท่ีล งโทษหนักขึ้นเพราะความสัมพันธ์ ระหว่างผู้กระทำา และผู้ซ่ึงได้รับผลร้ายมาใช้
บังคับกับกรณีนีด ้ ว้ ย

ดำา ต้องการฆ่า ม่วงซ่ึง เป็ นศัต รูของตน แต่กระสุน ไม่ถูกม่วงกั บพลาดไปถูกขาวซ่ึง เป็ นพนักงานซ่ึง กำา ลัง
กระทำาตามหน้าท่ีถึงแก่ความตาย เช่นนีจ้ะมีความผิดฐานใด
ดำาผิดฐานพยายามฆ่าม่วง ตาม ปอ. มาตรา 288 ประกอบกับมาตรา 80 และผิดฐานฆ่าขาวในฐานะท่ี
เป็ นคนธรรมดา มิใช่ฐานะท่ีเป็ นเจ้าพนักงานซ่ึงกระทำาการตามหน้าท่ีตาม 289 (2) เพราะดำารู้ว่ากำาลังกระทำาต่อ
คนธรรมดาแต่ไม่รู้ว่ากระทำาต่อผู้ซ่ึงมีฐานะกล่าวคือ เจ้าพนักงานซ่ึงกระทำาการตามหน้าท่ี จึงจะถือว่ามีเจตนาต่อเจ้า
พนักงานซ่ึงกระทำาตามหน้าท่ไี ม่ได้ นอกจากนัน ้ มาตรา 60 ตอนท้ายก็ยังห้ามมิให้นำากฎหมายท่ีลงโทษหนักขึ้น
เพราะฐานะของบุคคลมาใช้บังคับกับกรณีนีด ้ ว้ ย

ดำา ต้องการฆ่าเหลืองซ่ึง เป็ นบิดาของตน ดำา ยิงไปท่ีเหลืองกระสุนไม่ถูกเหลือง แต่พ ลาดไปถูกฟ้ าซ่ึง เป็ น
มารดาของดำาตาย ดำาจะมีความผิดฐานใด
ดำาผิดฐานพยายามฆ่าเหลืองซ่ึงเป็ นบุพการีตาม ปอ. มาตรา 289 (1) ประกอบกับมาตรา 80 และผิด
ฐานฆ่าฟ้ าซ่ึงเป็ นบุพการีตายตาม ปอ. มาตรา 289 (1) ด้วย เพราะดำารู้อยู่แล้วว่าตนกำาลังกระทำาต่อบุพการีและ
ผลก็เกิดแก่บุพการีอีกคนหน่ึง จึงถือว่ากระทำาโดยเจตนาต่อบุพการีได้

ดำา ต้ องการฆ่า เหลื องซ่ึง เป็ น บิ ด า ดำา ยิ ง ไปท่ีเ หลื อ งกระสุ น ไม่ ถู ก เหลื อ ง แต่พ ลาดไปถู ก เขี ย วซ่ึง เป็ น เจ้ า
พนักงานซ่ึงกระทำาตามหน้าท่ีตาย ดำามีความผิดฐานใด
ดำาผิดฐานพยายามฆ่าบุพการีตาม ปอ. มาตรา 289 (1) ประกอบกับมาตรา 80 และผิดฐานฆ่าเขียวใน
ฐานะท่ีเป็ นคนธรรมดาตายมิใช่ในฐานะเจ้าพนักงานซ่ึงกระทำาตามหน้าท่ีตาม ปอ. มาตรา 289 (2) เพราะดำารู้ว่า
ตนกำาลังกระทำาต่อบุพการีไม่รู้ว่าตนกำาลังกระทำาต่อเจ้าพนักงานซ่ึงกระทำาตามหน้าที่ จึงจะถือว่ามีเจตนากระทำาต่อ
เจ้าพนักงานซ่ึงกระทำาตามหน้าท่ีไม่ได้ นอกจากนัน ้ หากให้ดำา ต้องรับผิดฐานฆ่าเจ้าพนักงานซ่ึงกระทำา ตามหน้าท่ี
แล้ว ก็จะเป็ นการขัดต่อมาตรา 60 ตอนท้าย ท่ีห้ามมิให้นำากฎหมายท่ล ี งโทษหนักขึ้นเพราะฐานะของบุคคลมาใช้
บังคับกับผู้กระทำา เพ่ อ
ื ลงโทษผู้กระทำาให้หนักขึ้น

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


21

การสำาคัญผิดในตัวบุคคล
การสำาคัญผิดในตัวบุคคลหมายความว่าอย่างไร
หมายความว่า ผูก้ ระทำาได้กระทำาต่อบุคคลซ่ึงได้รับผลร้ายโดยเข้าใจว่า ผู้ได้รับผลร้ายนัน ้ เป็ นอีกบุคคลหน่ึง
เช่น ม่วงต้อ งการฆ่าเหลือ ง ม่ว งเห็ นฟ้ าเดินมาในความมืด คิด ว่าเป็ น เหลือ ง จึงใช้ปืนยิงฟ้ าตาย เช่นนี ถ ้ ื อ ว่าม่ว ง
กระทำาโดยเจตนาต่อฝ้ าแล้ว เพราะม่วงรู้ว่าตนกำา ลังฆ่าผู้อ่ืน และม่วงต้องการให้ผู้อ่ืนนัน ้ ตาย จึงถือว่าม่วงกระทำา
โดยเจตนาต่อฟ้ า ม่วงยกเอาความสำาคัญผิดว่าฟ้ าคือเหลืองมาแก้ตัวว่าไม่มีเจตนา ซ่ึงมีอยู่แล้วนัน ้ ไม่ได้

การสำาคัญผิดในตัวบุคคลต่างกับการกระทำาโดยพลาดอย่างไร จงยกตัวอย่าง
สำาคัญผิดในตัวบุคคลมีผู้เสียหายเพียงฝ่ ายเดียว กล่าวคือผู้ท่ีได้รับผลร้ายจากการกระทำา ส่วนพลาดนัน ้ มีผู้
เสียหายสองฝ่ ายคือ ผูเ้ สียหายฝ่ ายแรกท่ีผู้กระทำามุ่งหมายกระทำาต่อ (ผลจะเกิดแก่ผู้เสียหายฝ่ ายแรกหรือไม่ก็ตาม)
และผู้เสียหายฝ่ ายท่ีสองซ่ึงได้รับผลร้ายจากการกระทำานัน ้
ตัวอย่าง
แดงต้องการฆ่าดำา เห็นเหลืองเดินมาคิดว่าเป็ นดำา จึงใช้ปืนยิงเหลืองตาย เช่นนี ถ ้ ือว่าเป็ นการสำา คัญผิด
ในตัว บุคคล เพราะมีผู้เสียหายฝ่ ายเดียวคือ เหลือ ง ในกรณีนีแ ้ ดงผิด ฐานฆ่าเหลือ งตายโดยเจตนา แต่ไม่ผิด ฐาน
พยายามฆ่าดำาด้วย เพราะดำาไม่ได้รับผลอะไรจากการกระทำาของแดงด้วย
ถ้าปรากฏว่า แดงต้องการฆ่าขาว แดงยิงไปท่ีขาวแต่ขาวหลบทัน กระสุนพลาดไปถูกม่วงตาย เช่นนีถ ้ ือว่า
เป็ นการกระทำาโดยพลาด เพราะมีผู้เสียหายสองฝ่ ายคือ ขาวและม่วง ในกรณีนีแ ้ ดงผิดฐานพยายามฆ่าขาว และผิด
ฐานฆ่าม่วงตามโดยเจตนาอีกบทหน่ึงด้วย

เขียวต้องการฆ่าฟ้ า ในความมืดเขียวเห็นขาวมารดาของตนเดินมาคิดว่าเป็ นฟ้ า จึงใช้ปืนยิงขาวตาย เขียวมี


ความผิดอย่างไร
เขียวผิดฐานฆ่าขาวตาวในฐานะท่ข ี าวเป็ นคนธรรมดามิใช่บุพการี ตาม ปอ. มาตรา 289 (1) เพราะ
เขียวไม่รู้ว่าตนกำาลังกระทำาต่อบุพการี เขียวรู้แต่เพียงว่าตนกำาลังกระทำาต่อ “ผู้อ่ืน” จึงจะถือว่ามีเจตนาในส่ิงท่ีตน
ไม่รู้ว่ากำา ลังกระทำา ต่อไม่ได้ นอกจากนัน
้ ความในมาตรา 62 วรรคท้าย ก็ยังมีบัญญัติยืนยันอีกด้วยว่า“บุคคลจะ
ต้องรับโทษหนักขึ้นโดยอาศัยข้อเท็จจริงใดบุคคลนัน ้ จะต้องได้รู้ขอ
้ เท็จจริงนัน
้ ”

การสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ หรือลดโทษ


ความสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ ลดโทษ มีในกรณีใดบ้าง
ความสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด เช่น กรณีป้องกันโดยสำาคัญผิดซ่ึงหมายความว่า
ความจริงไม่มีภยันตรายอันเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย แต่ผู้กระทำาสำาคัญผิดไปว่ามี
ความสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงเป็ นเหตุยกเว้นโทษ เช่น กรณีจำาเป็ นโดยสำาคัญผิด หรือลักทรัพย์ของผู้อ่ืน
แต่สำาคัญผิดว่าเป็ นของคู่สมรสเป็ นต้น
ความสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุลดโทษ เช่น กรณีบันดาลโทสะโดยสำาคัญผิด หรือลักทรัพย์ของ
ผู้อ่ืนแต่สำาคัญผิดว่าเป็ นของผู้สืบสันดานหรือบุพการี

หากความสำาคัญผิดดังกล่าวเกิดขึ้นด้วยความประมาทจะมีผลอย่างไร
ผู้กระทำาต้องรับผิดฐานประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติว่า การกระทำาโดยประมาทเป็ นความผิด
ตัวอย่าง
ม่วงต้องการล้อแดงเล่น จึงเอาปื นเด็กเล่นขู่ว่าจะยิงแดง แดงไม่ทันดูให้ดี คิดว่าม่วงใช้ปืนจริงๆ จะยิงตน
แดงจึงใช้ปืนของตนยิงม่วงตาย แดงอ้างป้ องกันโดยสำาคัญผิด เพ่ อ ื ยกเว้นความผิดฐานฆ่าม่วงตามโดยเจตนาได้ แต่
แดงจะต้องรับผิดฐานฆ่าม่วงตายโดยประมาทตาม ปอ. มาตรา 291 เพราะความสำาคัญผิดของตนเองเกิดขึ้นด้วย
ความประมาท

การเปรีย บเทีย บการขาดองค์ป ระกอบภายนอกของความผิด การไม่ รู้ ข้อ เท็จ จริ งอั น เป็ นองค์ ป ระกอบ
ภายนอกของความผิด และการสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ หรือลด
โทษ
การขาดองค์ประกอบภายนอกของความผิด การไม่รู้ข้อเท็จจริง ซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษหรือ
ลดโทษ หมายความว่าอย่างไร
การขาดองค์ประกอบภายนอกของความผิด หมายความว่า ความจริงไม่ครบองค์ประกอบภายนอกของ
ความผิด เช่น ขาด “ผู้อ่ืน” ในความผิดฐานฆ่าคนตายตาม ปอ. มาตรา 288 ขาด “ทรัพย์ของผู้อ่ืน” ในความ
ผิดฐานลักทรัพย์ตาม ปอ. มาตรา 334
การไม่รู้ข้อ เท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด หมายความว่า ความจริงมีอ งค์ประกอบ
ภายนอกของความผิดอยู่ครบ เช่นมี “ผู้อ่น ื ” ในความผิดฐานฆ่าคนตายตาม ปอ. มาตรา 288 มี “ทรัพย์ของผู้
อ่ ืน” ในความผิด ฐานลั กทรั พย์ ตาม ปอ. มาตรา 334 แต่ผู้กระทำา เข้าใจว่าองค์ประกอบภายนอกไม่ ครบ เช่น
เข้าใจว่ากำาลังยิง “ศพ” ทัง้ๆ ท่ีความจริงคือการยิง “ผู้อ่น
ื ” เข้าใจว่าทรัพย์ท่ีเอาไปเป็ นของตน ทัง้ๆ ท่ีความจริงคือ
ทรัพย์ของผู้อ่ืน

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


22

การสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษหรือลดโทษหมายความว่า ผู้กระทำารู้


ข้อ เท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิดทุกประการแล้ว แต่สำา คัญผิด ไปว่ามีข้อ เท็จ จริงซ่ึงเป็ นเหตุ
ยกเว้นความผิดยกเว้นโทษหรือลดโทษซ่ึงความจริงไม่มี

ผลในทางกฎหมายของการขาดองค์ประกอบภายนอกของความผิดมีอย่างไร
ถือว่าผู้กระทำาไม่มีความผิดเพราะขาดองค์ประกอบ เช่น ยิงศพคิดว่ายิงคนถือว่าไม่มีความผิดฐานฆ่าคน
เพราะไม่มี “ผู้อ่ืน” ลักทรัพย์ของตนเองโดยคิดว่าเป็ นทรัพย์ของผู้อ่ืนถือว่าไม่ผิดฐานลักทรัพย์ เพราะไม่มี “ทรัพย์
ของผู้อ่ น
ื ” อย่า งไรก็ต าม มี บางความเห็น ถื อ ว่า ผู้ก ระทำา ผิด ฐานพยายามซ่ึง เป็ น ไปไม่ ไ ด้ อย่ า งแน่ แ ท้ ต าม ปอ.
มาตรา 81 ได้

การไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิดมีผลทางกฎหมายอย่างไร
ผลคือ ถือว่าผู้กระทำาไม่มีเจตนา เพราะฉะนัน ้ จึงไม่ต้องรับผิดในความผิดท่ีต้องการเจตนา แต่อาจต้องรับ
ผิดฐานประมาท หากการไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกนัน ้ เกิดขึ้นด้วยความประมาท และมีกฎหมาย
บัญญัติว่าการกระทำาโดยประมาทนัน ้ เป็ นความผิด

การสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ หรือลดโทษ มีผลทางกฎหมายอย่างไร


ผลคือ ถือว่าผู้กระทำา ได้รับการยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ หรือ ลดโทษตามความสำา คั ญผิ ด นั น
้ แต่ ถ้า
ความสำาคัญผิดเกิดขึ้นโดยความประมาท ผู้กระทำาอาจต้องรับผิดฐานประมาท หากมีกฎหมายบัญญัติว่าการกระทำา
โดยประมาทในกรณีเช่นนัน ้ เป็ นความผิด

ในการวินิจฉัยกรณีทัง้สามนี ม ้ ีขัน
้ ตอนอย่างไร
ให้ดูว่าเป็ นเร่ ืองการขาดองค์ประกอบภายนอกหรือไม่ หากความจริงมีองค์ประกอบภายนอกครบ จึงค่อยดู
ต่อ ไปว่าผู้กระทำา ขาดเจตนาเพราะไม่รู้ข้อเท็จ จริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกหรือ ไม่ หากปรากฏว่าผู้กระทำา มี
เจตนาเพราะรู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกครบถ้วน และประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลของการกระทำา
นัน้ แล้วจึงค่อยดูต่อไปในขัน ้ สุดท้ายว่า ผู้กระทำาสำาคัญผิดในข้อเท็จจริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ หรือ
ลดโทษหรือไม่ หากเป็ นกรณีสำาคัญผิดดังกล่าวก็อาจนำามาอ้างเพ่ ือยกเว้นความผิดซ่ึงผู้กระทำามีเจตนากระทำา หรือ
ยกเว้นโทษในความผิดซ่ึงผู้กระทำามีเจตนาหรือลดโทษในความผิดซ่ึงผู้กระทำามีเจตนาอยู่แล้วก็ได้
ข้อสำาคัญอยู่ตรงท่วี ่า ให้นำาเร่ ืองการไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิดขึน ้ วินิจฉัย
ก่อนเร่ ือ งการสำา คัญผิดว่ามีข้อเท็จ จริงซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษหรือ ลดโทษ หากถือว่าไม่มีเจตนา
เพราะไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด ก็ไม่ต้องพิจารณาเร่ ืองการสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริง
ซ่ึงเป็ นเหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ ลดโทษเร่ ืองการสำาคัญผิดในข้อเท็จจริงนัน ้ นำามาพิจารณาหลังจากที่ถือว่าผู้
กระทำามีเจตนาเพราะรู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิดแล้วเท่านัน ้
ตัวอย่าง
ม่วงหยิบเอาสายสร้อยของเหลืองไปขาย โดยม่วงเข้าใจว่าเป็ นสายสร้อยของม่วงเอง เช่นนี ถ ้ ือว่าม่วงไม่
เจตนาลักทรัพย์ของเหลืองเพราะไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิดฐานลักทรัพย์ตาม ปอ.
มาตรา 334 ม่วงจึงไม่ผิดฐานลักทรัพย์เหลือง ในกรณีดังกล่าวนี เ้ม่ อ ื ใช้มาตรา59 วรรค 3 เป็ นคุณแก่ม่วงได้
แล้ว ก็ไม่ต้องพิจารณาเร่ ืองการสำาคัญผิดในข้อเท็จจริงตามมาตรา 62 วรรคแรกเลย
ตัวอย่าง
ม่วงหยิบเอาสายสร้อยของเหลือ งไปขาย โดยม่วงเข้าใจว่า เป็ นสายสร้อ ยของขาวภรรยาม่ว ง เช่นนีต ้ ้อง
ถือว่าม่วงมีเจตนาลักทรัพย์เพราะม่วงรู้ขอ ้ เท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิดฐานลักทรัพย์ กล่าวคือ
รู้อยู่แล้วว่าเป็ น “ทรัพย์ของผู้อ่น ื ” จึงถือว่าม่วงมีเจตนาลักทรัพย์ของผู้อ่น ื ในกรณีดังกล่าวนีเ้ม่ ือ ใช้มาตรา 59
วรรค 3 ให้เป็ นคุณแก่ม่วงไม่ได้ (เพราะม่วงรู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกกล่าวคือ เข้าใจว่าเป็ นทรัพย์
ของภรรยาซ่ึงจะถือว่ารู้ว่าเป็ น “ทรัพย์ของผู้อ่ืน” แล้ว) ก็ต้องพิจารณามาตรา 62 วรรคแรก เร่ ืองการสำาคัญผิด
ในข้อเท็จจริง ซ่ึงจะเห็นได้ว่าม่วงสำาคัญผิดว่าเป็ นสร้อยของภรรยา ซ่ึงก็หมายความว่าสำาคัญผิดว่ามีข้อเท็จจริง ซ่ึง
เป็ นเหตุยกเว้นโทษนั่นเอง จึงต้องถือตามความเข้าใจของม่วง ซ่ึงผลก็คือ ม่ว งไม่ต้องรับโทษในการลักทรัพย์ของ
เหลือง

การไม่ รู้ข้อเท็จจริง อันเป็ น องค์ประกอบภายนอกของความผิ ด และการสำา คัญ ผิ ดในข้อ เท็ จจริง ว่า มีเ หตุ
ยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ ลดโทษ มีข้อท่ีจะต้องพิจารณาร่วมกันอย่างไร
ข้อท่จี ำาต้องพิจารณาร่วมกันก็คือ หากการไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด และ
การสำา คัญผิด ในข้อ เท็จ จริง ซ่ึงเป็ น เหตุยกเว้นความผิด ยกเว้นโทษ หรือลดโทษ เกิด ขึ้นเพราะความประมาท ผู้
กระทำาก็จะต้องรับผิดฐานประมาท หากมีกฎหมายบัญญัติว่าการกระทำาโดยประมาทในกรณีดังกล่าวเป็ นความผิด

องค์ประกอบภายใน (ประมาท)
1. การกระทำาโดยประมาท ไดแก่ความผิดมิใช่โดยเจตนา
2. ผู้กระทำาได้กระทำาไปโดยปราศจากความระมัดระวัง ซ่ึงบุคคลในภาวะเช่นนีจ้ักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์
และผู้กระทำาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านัน
้ ได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


23

3. ในการท่ีจะวินิจฉัยว่าผู้กระทำาได้กระทำาโดยประมาทหรือไม่นัน ้ ต้องสมมติบุคคลขึ้นเปรียบเทียบมีทุกอย่าง
เหมือนเหมือนผู้กระทำา นัน ้ กล่าวคือ อยู่ในภาวะอย่างเดียวกัน ตามวิสัยแลพฤติการณ์เหมือนๆ กัน โดย
ทัว่ไปแล้วอาจใช้ความระมัดระวังได้หรือไม่ ระดับความระมัดระวังในท่ีนีต ้ ้องใช้มาตรฐานของบุคคลทัว่ไปซ่ึง
มีทุกอย่างเหมือนผู้กระทำา
4. หากบุคคลท่ีสมมติขึ้นซ่ึงมีทุกอย่างเหมือนผู้กระทำาโดยทัว่ไปอาจใช้ความระมัดระวังได้และผู้กระทำาไม่ใช้ ก็
ถื อ ว่ า ผู้ ก ระทำา ประมาท แต่ ถ้ า บุ ค คลท่ีส มมติ ขึ้ น ซ่ึง มี ทุ ก อย่ า งเหมื อ นผู้ ก ระทำา โดยทั ว่ ไปไม่ อ าจใช้ ค วาม
ระมัดระวังได้ การท่ีผู้กระทำาขาดความระมัดระวังก็ไม่ถือว่าผู้กระทำาประมาท
5. การวินิจฉัยว่าผู้กระทำาประมาทหรือไม่นัน ้ พิจารณาจากการกระทำาของผู้กระทำาฝ่ ายเดียวเป็ นเคร่ ืองวินิจฉัย
อีกฝ่ ายหน่ึงจะประมาทหรือไม่ไม่สำาคัญ
6. การกระทำาโดยประมาท เป็ นการกระทำาโดยขาดเจตนา จึงมีการพยายามกระทำาโดยประมาทไม่ได้ เพราะการ
พยายามกระทำาความผิดมีได้เฉพาะในความผิดท่ีกระทำาโดยเจตนาเท่านัน ้
7. การกระทำาโดยประมาท จะมีการร่วมกระทำาตาม ปอ. มาตรา 83 ใช้ให้กระทำาตาม ปอ. มาตรา 84 มาตรา
85 หรือสนับสนุนให้กระทำา ตาม ปอ. มาตรา 86 ไม่ได้ เพราะการกระทำาโดยประมาทมิใช่การกระทำาโดย
เจตนา ผู้กระทำาไม่ได้มุ่งหมายให้ผลเกิดขึ้น จึงไม่อาจรู้ได้ว่าจะเกิดผลขึ้นเม่ ือใดเพราะฉะนัน ้ โดยสภาพจึงจะ
มีการร่วมกระทำา ใช้ให้กระทำา หรือสนับสนุนให้กระทำาไม่ได้
8. ความรับผิดฐานประมาทตามประมวลกฎหมายอาญาบางมาตรา จะเกิดขึ้นก็ต่อเม่ ือมีผลของการกระทำาโดย
ประมาทแล้ ว เท่ า นั น ้ หากยั ง ไม่ เ กิ ด ขึ้ น ก็ ยั ง ไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ฐานกระทำา โดยประมาท และจะถื อ ว่ า เป็ น การ
พยายามกระทำาความผิดก็ไม่ได้ เพราะการพยายามกระทำาความผิดจะมีได้ก็แต่เฉพาะการกระทำาโดยเจตนา
เท่านัน ้
อย่างไรก็ตามผลของการกระทำาโดยประมาทอาจเกิดขึ้นได้แตกต่างกันไป การขับรถชนคนตาย ถือว่าความตายคือผล
แต่แม้ว่ารถจะไม่ได้ชนแต่ก็ทำา ท่าว่าจะชน และคนท่ีจะถูกชนเกิดตกใจกลัวหัวใจวายตาย ก็ถือว่าเกิดผลขึ้นแล้วเช่น
เดียวกัน

หลักในการวินิจฉัยเร่ ืองประมาท
การกระทำาโดยประมาทตาม ปอ. มาตรา 59 วรรค 4 มีหลักเกณฑ์อย่างไร
มีหลักเกณฑ์ดังนี้
(1) มิใช่เป็ นการกระทำาความผิดโดยเจตนา
(2) กระทำาไปโดยปราศจากความระมัดระวัง ซ่ึงบุคคลในภาวะเช่นนีจ้ักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์
(3) ผูก
้ ระทำาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านัน
้ ได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่

เม่ ือได้ทราบหลักเกณฑ์ต่างๆ ของการกระทำาโดยประมาทแล้ว ในการวินิจฉัยว่าผู้กระทำา ประมาทหรือไม่มี


หลักในการพิจารณาอย่างไร
ให้สมมติบุคคลขึ้นเปรียบเทียบ บุคคลท่ีสมมตินีต ้ ้องมีทุกอย่างเหมือนผู้กระทำากล่าวคือ อยู่ในภาวะอย่าง
เดียวกับผู้กระทำาตามวิสัยและพฤติการณ์อย่างเดียวกัน หากบุคคลท่ีสมมุตินีโ้ดยทั่วไปไม่อาจใช้ความระมัดระวังก็
ถือว่าการท่ผี ู้กระทำาไม่ใช้ความระมัดระวังผู้กระทำาไม่ประมาท

ข้อสังเกตบางประการเก่ียวกับการกระทำาโดยประมาท
ม่วงขับรถโดยไม่มีใบอนุญาตให้ขับข่ี แต่ม่วงขับรถไปตามถนนด้วยความระมัดระวัง แดงว่ิงตัดหน้ารถของ
ม่วงในระยะกระชัน ้ ชิด รถของม่วงชนแดงตาย เช่นนี จ้ะถือว่าการท่ีม่วงฝ่ าฝื นกฎหมายด้วยการขับรถโดยไม่มีใ บ
อนุญาต เป็ นการกระทำาโดยประมาทตาม ปอ. มาตรา 59 วรรค 4 และต้องรับผิดตาม ปอ. มาตรา 291 ฐานทำาให้
คนตายโดยประมาทเลยจะถูกต้องหรือไม่
ไม่ถูกต้อง การท่ีม่วงฝ่ าฝื นกฎหมายด้วยการขับรถยนต์ไปตามถนนโดยไม่มีใบอนุญาตขับข่ีนัน ้ จะถือว่า
การกระทำาดังกล่าวเป็ นประมาททันทีไม่ได้ การกระทำาของม่วงจะเป็ นประมาทหรือไม่จะต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์
ของมาตรา 59 วรรค 4 การขับรถยนต์โดยไม่มีใบอนุญาตให้ขับข่อ ี าจจะถือว่าไม่ป ระมาทก็ได้ หากไม่เป็ น การ
กระทำาโดยปราศจากความระมัดระวังตามหลักเกณฑ์ของ ปอ. มาตรา 59 วรรค 4

ม่วงขับรถโดยประมาท ชนกับรถของเหลืองซ่ึงขับมาโดยประมาทเช่นกัน ปรากฏว่าแดงซ่ึงนัง่มาในรถของ


เหลืองถูกรถชนตาย เช่นนีม้ ่วงและเหลืองจะต้องรับผิดอย่างไร
ม่วงและเหลืองต่างคนต่างต้องรับผิดฐานกระทำาโดยประมาทเป็ นเหตุให้แดงตาย กล่าวคือ แต่ละคนต้อง
รับผิดชอบ ปอ. มาตรา 291 ฐานทำาให้คนตายโดยประมาท

การกระทำา โดยประมาทจะมีการร่วมกระทำา ตาม ปอ. มาตรา 83 ใช้ใ ห้กระทำา ตาม ปอ. มาตรา 84 หรือ
สนับสนุนให้กระทำาตาม ปอ. มาตรา 86 ได้หรือไม่
การร่ ว มกระทำา ความผิ ด ตาม ปอ. มาตรา 83 การใช้ ใ ห้ ก ระทำา ความผิ ด ตาม ปอ. มาตรา 84 การ
สนับสนุนให้กระทำาความผิดตาม ปอ . มาตรา 86 มีได้เฉพาะในความผิดท่ีกระทำาโดยเจตนา ความผิดท่ีกระทำาโดย
ประมาท ไม่อาจทราบได้ว่าผลจะเกิดขึ้นเม่ ือใด โดยสภาพจึงไม่อาจร่วมกระทำา ใช้ให้กระทำา หรือสนับสนุนให้กระทำา
ไม่ได้

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


24

การกระทำา ความผิ ดโดยประมาทจะมีการพยายามกระทำา ความผิดได้ห รือไม่ แดงขั บ รถไปตามถนนด้ วย


ความเร็วสูง รถของแดงทำาท่าจะชนดำา และไม่มีผลเสียหายใดๆ เกิดขึ้นแก่ดำา แดงจะมีความผิดฐานพยายามทำาให้ดำา
ตายโดยประมาทได้หรือไม่
การพยายามกระทำาความผิดมีได้เฉพาะการกระทำาความผิดโดยเจตนาเท่านัน ้ การกระทำาโดยประมาทจะมี
การพยายามกระทำาความผิดไม่ได้
ตามตัวอย่างดังกล่าว แดงไม่ผิดฐานพยายามทำาให้คนตายโดยประมาท เพราะการกระทำาโดยประมาทจะมี
พยายามกระทำาความผิดไม่ได้

องค์ประกอบภายใน (ไม่เจตนาและไม่ประมาท)
1. ความผิดอาญาในบางเร่ ือง กฎหมายกำาหนดให้ผู้ซ่ึงมีการกระทำา อันครบองค์ประกอบภายนอกต้องรับ
ผิดทันทีโดยไม่ต้องคำา นึงถึงองค์ประกอบภายใน กล่า วคือแม้ผู้กระทำา จะไม่เ จตนาและไม่ ประมาท ผู้
กระทำาซ่ึงมีการกระทำาอันครบองค์ประกอบภายนอกก็ต้องมีความผิด
2. ประมวลกฎหมายอาญา ได้บัญญัติเก่ียวกับความผิดท่ีผู้กระทำา ไม่ต้องเจตนาและไม่ต้องประมาทไว้ใน
ความผิดลหุโทษ นอกจากนัน ้ ยังมีพระราชบัญญัติอ่ืนๆ อีกบางเร่ ือง เช่น พระราชบัญญัติศุลกากรซ่ึง
ลงโทษผู้ท่ีย่ืนรายการเสียภาษีศุลกากรท่ีไม่ตรงกับความเป็ นจริงโดยไม่คำา นึงว่า ผู้นัน ้ เจตนาย่ ืนไม่ตรง
กับความจริงหรือประมาทในการย่ ืนไม่ตรงกับความจริงนัน ้ หรือไม่
3. ความผิดท่ีไม่ต้องมีเจตนาและไม่ต้องประมาทนี ก ้ ็ยังอยู่ภายใต้ห ลักทัว่ไปท่ีว่า ผู้กระทำา ต้องมีการกระ
ทำา หากไม่มีการกระทำาแล้ว ก็ไม่มีความผิด
4. เน่ ืองจากไม่มีเจตนา ผู้กระทำาก็มีความผิด เพราะฉะนัน ้ ผู้กระทำาจะยกเอาข้อแก้ตัวว่าไม่รู้ข้อเท็จจริงอัน
เป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิดมาอ้าง เพ่ อ ื ไม่ต้องรับผิดไม่ได้ เพราะข้ออ้างดังกล่าวใช้ได้เฉพาะ
สำาหรับความผิดท่ีต้องการแสดงเจตนาเท่านัน ้
5. อย่างไรก็ตาม ข้อแก้ตัวอ่ ืนๆ เช่น กระทำาไปเพราะความจำาเป็ นตาม ปอ. มาตรา 67 หรือสำาคัญผิดในข้อ
เท็จจริงตาม ปอ. 62 ก็ยังนำามาอ้างเพ่ ือเป็ นคุณแก่ผู้กระทำาได้อยู่เสมอ

ความหมายของการกระทำา “ไม่เจตนาและไม่ประมาท”
ความผิดท่ีไม่ต้องมีเจตนาไม่ต้องประมาทก็เป็ นความผิด หมายความว่าอย่างไร
หมายความว่า แม้ผู้กระทำาไม่มีเจตนาและไม่ประมาท ผู้กระทำาก็ต้องมีความผิด กล่าวคือเป็ นความผิดท่ีไม่
คำา นึงถึงองค์ประกอบภายในใดๆ เลย เม่ ือการกระทำาครบองค์ประกอบภายนอกของความผิดในเร่ ืองนัน ้ ๆ แล้วก็
ถือว่าผู้กระทำามีความผิดทันที ไม่ตอ้ งคำานึงถึงสภาพจิตใจของผู้กระทำาแต่อย่างใดเลย

ประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติเก่ียวกับความผิดท่ีไม่ต้องมีเจตนา ไม่ต้องประมาทนีไ้ว้อย่างไรหรือไม่
ประมวลกฎหมายอาญาได้ บั ญ ญั ติ เ ก่ีย วกั บ เร่ ือ งนี ไ้ ว้ ใ นความผิ ด ลหุ โ ทษ เพราะมาตรา 104 ซ่ึง เป็ น
บทบัญญัติทั่ว ไปท่ีใช้แก่ความผิด ลหุโทษได้ให้หลักไว้ว่า การกระทำา ความผิด ลหุโทษแม้ผู้กระทำา ไม่มีเจตนาหรือ
ประมาทก็เป็ นความผิด เว้นแต่ถ้อยคำาในบทบัญญัติความผิดลหุโทษมาตรานัน ้ ๆ เอง จะแสดงให้เห็นว่าต้องเจตนา
หรือประมาทจึงจะเป็ นความผิด

ข้อสังเกตบางประการเก่ียวกับการกระทำาโดยไม่เจตนาและไม่ประมาท
หากผู้กระทำา ไม่มีการกระทำา ตามความหมายของกฎหมาย ผู้กระทำา จะมีความผิดในความผิดท่ีไม่ต้องการ
เจตนาและไม่ต้องการประมาทหรือไม่
ผู้กระทำา จะไม่ มีความผิด เพราะความผิด ท่ีไม่ต้ อ งเจตนาและไม่ป ระมาทก็ เ ป็ น ความผิด ได้นี ย
้ ั งต้อ งอยู่
ภายใต้หลักทั่วไปท่ีว่า บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาเม่ ือมีการกระทำาตามความหมายของกฎหมาย หากไม่มีการก
ระทำาก็ไม่มีความผิด

หากผู้กระทำาถูกบังคับให้กระทำาความผิด และความผิดนัน ้ แม้ผู้กระทำาไม่เจตนาและไม่ประมาทก็มีความผิด


ผู้กระทำาจะยกเอาการถูกบังคับเป็ นข้อแก้ตัวได้อย่างไรหรือไม่
หากผู้กระทำาความผิดดังกล่าว อยู่ภายใต้ท่ีบังคับหรืออยู่ภายใต้อำานาจซ่ึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือขัดขืน
ได้ ผู้กระทำาก็อาจยกความจำาเป็ นตามมาตรา 67 (1) ขึ้นแก้ตัวเพ่ ือไม่ต้องรับโทษในความผิดท่ีกระทำาลงไป แม้จะ
เป็ นความผิดซ่ึงผู้กระทำาไม่เจตนา และไม่ประมาทก็ผด ิ ได้ก็ตาม

ผู้กระทำาจะอ้างการไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบภายนอกของความผิด ตาม ปอ . มาตรา 59 วรรค 3


ขึ้นเป็ นข้อแก้ตัวว่าไม่มีเจตนาในความผิดท่ีไม่ต้องการเจตนาเพียงใดหรือไม่
ผู้กระทำาจะยกขึ้นอ้างไม่ได้ เพราะการอ้างมาตรา 59 วรรค 3 นัน ้ อ้างขึ้นเพ่ ือถือว่าไม่มีเจตนา เฉพาะใน
ความผิดท่ีต้องการเจตนา แต่ความผิดท่ีไม่ต้องการเจตนานัน ้ ไม่มีประโยชน์อันใดท่ีจะอ้างความไม่รู้ข้อเท็จจริงตาม
มาตรา 59 วรรค 3 เพราะความผิดนัน ้ ๆ แม้ไม่เจตนาผู้กระทำาก็ต้องมีความผิดอยู่แล้ว

หากความผิดนัน ้ ๆ ต้องการเจตนาพิเศษนอกเหนือจากเจตนาธรรมดา (ประสงค์ต่อผลหรือเล็ง เห็นผล)


หากผู้กระทำาไม่มีเจนตาพิเศษ ผู้กระทำาจะต้องมีความผิดหรือไม่

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


25

หากผู้กระทำาไม่มีเจตนาพิเศษ ก็ถือว่าขาดองค์ประกอบภายใน ในส่วนท่ีว่าด้วย “เจตนาพิเศษ” ผูก


้ ระทำา
ก็ไม่มีความผิด ความผิดท่ไี ม่เจตนาและไม่ประมาทก็ผิดได้นัน้ ยกเว้นเฉพาะเจตนาธรรมดา กล่าวคือ ประสงค์ต่อ
ผลหรือเล็งเห็นผลเท่านัน้ แต่ไม่รวมไปยกเว้นถึงเจตนาพิเศษด้วย

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 5 ความรับผิดทางอาญา (ต่อ)

1. เขียวหลอกแดงว่าเคร่ ืองเพชรในหีบซ่ึงเป็ นของขาวนัน


้ ขาวได้ยกให้เขียวหมดแล้ว แดงหลงเช่ ือจึงไขกุญแจ
เปิ ดหีบส่งเคร่ ืองเพชรให้แก่เขียว เช่นนีถ
้ ือว่าเขียวเป็ น ผู้กระทำาความผิดฐานลักทรัพย์ของขาวโดยทางอ้อม
2. บริษัทส่งเสริมท่ีดินไทย จำา กั ด โฆษณาหลอกขายท่ีดิน แก่ ประชาชนโดยอ้ างว่า ท่ีดินเป็ นกรรมสิ ท ธิข์ อง
บริษัทซ่ึงความจริงไม่ใช่นัน
้ บริษัทต้องรับผิดทางอาญาและรับโทษเฉพาะโทษปรับและริบทรัพย์สินเท่านัน ้
3. ติ๋มหยิบสายสร้อยของแต๋วไปขาย โดยติ๋มเข้าใจว่าสายสร้อยของแต๋วนัน ้ เป็ นของติ๋มเอง ติ๋มมีความผิดฐาน
ลักทรัพ ย์ห รือไม่ กรณีนีไ้ม่ผิด ฐานลักทรัพย์เพราะไม่มีเจตนาเน่ ือ งจากไม่รู้ว่าทรัพย์นัน้ เป็ นของผู้อ่ืนแต่
เข้าใจผิดเป็ นของตน
4. เขียวโกรธขาวจึงใช้ปืนยิงไปท่ีหน้าอกขาว 3 นัดซ้อนๆ กระสุนถูกหน้าอกเป็ นแผลลึกกว้างหลายเซ็นตริ
เมตร ขาวถูกยิงบาดเจ็บแต่แพทย์ช่วยชีวิตไว้ได้ทัน เขียวมีความผิดฐาน พยายามฆ่าคนตาย
5. แดงต้องการให้เหลืองตายจึงใช้ปืนยิงไปท่ีเหลืองโดยแดงเห็นอยู่แล้วว่าเหลืองยืนอยู่ติดกับขาวและปื นท่ีใช้ก็
เป็ นปื นลูกซอง กระสุนปื นถูกเหลืองและขาวตาย แดงมีความผิดฐาน ฆ่าเหลืองตายโดยเจตนาประสงค์ต่อ
ผลและฆ่าขาวตายโดยเจตนาเล็งเห็นผล
6. ดำาต้องการฆ่าแดง แดงหลบทันกระสุนจึงแฉลบไปถูกกระจกรถยนต์ของแดงซ่ึงจอดอยู่ห่างออกไปแตกเสีย
หาย ในกรณีเช่นนีไ้ม่ถือว่าดำามีเจตนาโดยพลาดทำาให้ทรัพย์ของแดงเสียหายเพราะ ผลเกิดแก่ผู้เสียหายคน
เดียว
7. ฟ้ าใช้ม่วงไปฆ่าเหลือง ม่วงเห็นดำาซ่ึงเป็ นคู่แฝดกับเหลืองเดินมา ม่วงเข้าใจว่าเป็ นเหลือง จึงใช้ปืนยิงดำาตาย
ม่วงผิดฐานฆ่าดำาตายโดยเจตนา
8. เขียวต้องการล้อให้ม่วงตกใจ จึงหยิบปื นเด็กเล่นขึ้นมาทำาท่าจะยิงเขียว ม่วงเข้าใจผิดว่าเขียวจะฆ่าตน ม่วงจึง
หยิบปื นของตนมายิงเขียวตาย ม่วงไม่มีความผิดฐานฆ่าเขียวตายโดยเจตนาโดยถือว่าเป็ นการป้ องกันโดย
ชอบด้วยกฎหมายโดยสำาคัญผิด
9. ฟ้ าหยิบปื นขึ้นมาเช็ดถูทำาความสะอาดโดยไม่ตรวจดูให้ดีว่ามีลูกกระสุนหลงอยู่ในกระบอกปื นหรือไม่ความ
จริงปรากฏว่ามีลูกกระสุนหลงอยู่หน่ึงลูก กระสุนลัน ่ ไปถูกเหลืองซ่ึงนัง่อยู่ใกล้ๆตาย ฟ้ ามีความผิดฐานฆ่า
คนตายโดยประมาท
10. แม้ผู้กระทำาไม่เจตนาและไม่ประมาทบางกรณีผู้กระทำาอาจต้องรับผิดในทางอาญา หากมีกฎหมายบัญญัติไว้
ดังกล่าวอย่างชัดแจ้ง
11. ม่วงบอกให้ดำาส่งทรัพย์ของฟ้ าให้แก่ม่วงโดยหลอกว่าเป็ นทรัพย์ของม่วงเอง ดำาหลงเช่ อื จึงส่งทรัพย์ของฟ้ า
ให้แก่ม่วง ม่วงเป็ นผู้กระทำาผิดฐานลักทรัพย์ของฟ้ าโดยทางอ้อม
12. นิติบุคคลต้องรับผิดในทางอาญาแต่โทษท่ีจะลงมีได้ เฉพาะโทษปรับและริบทรัพย์สิน
13. แดงตัง้ใจจะขายนาฬิ กาของตนให้แก่ขาว แดงหยิบนาฬิ กาของเหลืองซ่ึงย่ีห้อเดียวกันและลักษณะเดียวกัน
ขายให้แก่ขาว โดยแดงเข้าใจว่าเป็ นนาฬิ กาของตนเอง แดงไม่ผิดฐานลักทรัพย์เพราะไม่มีเจตนาเน่ ืองจาก
ไม่รู้ว่านาฬิกานาฬิกาเป็ นของเหลืองแต่เข้าใจผิดว่าเป็ นของตนเอง
14. การใช้ปืนยิงโดยตัง้ใจยิงไปยังบริเวณอวัยวะสำาคัญของผู้เสียหายถือว่า ผู้กระทำามีเจตนาฆ่าเสมอ
15. เจตนาเล็งเห็นผลหมายความว่า เล็งเห็นว่าผลจะเกิดอย่างแน่นอน
16. หลักสำาคัญท่ีสุดประการหน่ึงของการกระทำาโดยพลาดตาม ปอ . มาตรา 60 คือ ผู้เสียหายต้องมีสองฝ่ ายขึ้น
ไป
17. เหลืองต้องการลักปากกาของเขียว เหลืองเห็นปากกาของดำาวางอยู่บนโต๊ะทำางานของเขียว เหลืองเข้าใจผิด
ว่าเป็ นของเขียว เหลืองจึงหยิบเอาปากกาของดำามาเป็ นของตน เหลืองผิดฐานลักทรัพย์ดำาโดยเจตนา
18. ฟ้ าและเหลื องมีส าเหตุโกรธเคืองกัน มาก่อ น วั นหน่ึงฟ้ ามึ น เมามาก เม่ ือพบเหลื อ งฟ้ าแกล้ ง เอามื อ ล้ ว ง
กระเป๋ าจะหยิบปื นมายิงเหลือง เหลืองเข้าใจว่าฟ้ าจะยิงตนจึงใช้ปืนยิงฟ้ าตาย ความจริงฟ้ าไม่มีปืนติดตัวมา
เลย เหลือ งไม่มีความผิด ฐานฆ่ าคนตายโดยเจตนาโดยถื อ ว่า เป็ น การป้ องกัน โดยชอบด้ว ยกฎหมายโดย
สำาคัญผิด
19. ขาวขับรถด้วยความเร็วสูงไปตามถนนท่ีมีคนสัญจรไปมา รถของขาวชนดำา ตาย ขาวผิดฐานฆ่าดำา ตายโดย
ประมาท
20. องค์ประกอบภายในของความผิดแต่ละฐานหมายความว่า บางกรณีแม้ไม่เจตนาไม่ประมาทบุคคลก็อาจต้อง
รับผิดทางอาญาได้ หากมีกฎหมายบัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง

หน่วยท่ี 6 ความรับผิดทางอาญา (ต่อ)

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


26

1. ความผิดท่ีต้องมีผลปรากฏ เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตายตาม ปอ. มาตรา 288 ผู้กระทำานัน ้ จะรับผิดในผล


ท่ีเกิดขึ้น ก็ต่อเม่ ือผลนัน
้ สัมพันธ์กับการกระทำาตามหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล
2. หากผลท่ีเกิดขึ้นไม่สัมพันธ์กับการกระทำาตามหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผลผู้กระทำา
ไม่ต้องรับผิดในผลท่ีเกิดขึ้น แต่ต้องรับผิดเท่าท่ีได้กระทำา ไปแล้วก่อนท่ีจะเกิดผลนัน้ เช่นถ้าเป็ นความผิด
ฐานฆ่า คนตาย ตาม ปอ. มาตรา 288 ผู้กระทำา ก็อาจต้องรับผิ ดฐานพยายามฆ่า ตาม ปอ. มาตรา 288
ประกอบกับมาตรา 80 เป็ นต้น

6.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล
1. ความผิดท่ีต้องมีผลแยกออกจากการกระทำา หรือท่ีเรียกกันว่า ความผิดท่ีต้องมีผลปรากฏ เช่นความผิด
ฐานฆ่าคนตาย ตาม ปอ. มาตรา 288 นัน ้ หากมีผลคือความตายของผู้กระทำา เกิดขึ้น ผู้กระทำา จะต้อง
รับผิดฐานฆ่าคนตายก็ต่อเม่ ือความตายนัน ้ สัมพันธ์กับการกระทำา ของผู้กระทำา ตามหลักในเร่ ืองความ
สัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล หากความตายนัน ้ ไม่สัมพันธ์กับการกระทำาของผู้กระทำา ตามหลักใน
เร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาแล้วผู้กระทำาก็ไม่ต้องรับผิดในความตายนัน ้ แต่อาจต้องรับผิดใน
การกระทำาของตนก่อนเกิดผลนัน ้ เช่น รับผิดฐานพยายามฆ่า เป็ นต้น
2. ผู้กระทำาจะต้องรับผิดในผลนัน ้ ผากผลนัน ้ เป็ นผล “ผลโดยตรง” หากไม่ใช่ “ผลโดยตรง” ก็ไม่ต้องรับ
ผิดในผลนัน ้
“ผลโดยตรง” คือผลตาม “ทฤษฎีเง่ อ ื นไข” ซ่ึงมีหลักว่า “ถ้าไม่มีการกระทำา ผลไม่เกิดถือว่า ผลเกิดจาก
การกระทำานัน ้ แม้ผลนัน ้ จะเกิดขึ้นได้ ต้องมีเหตุอ่ืนๆ ร่วมด้วยก็ตาม”
3. ถ้า “ผลโดยตรง” เกิดจาก “เหตุแทรกแซง” ผู้กระทำาจะต้องรับผิดในผลนัน ้ ก็ต่อเม่ ือ ผลนัน
้ เกิดจาก “
เหตุแทรกแซง” ท่ีคาดหมายได้ในการวินิจฉัยว่าคาดหมายได้หรือไม่ ต้องใช้มาตรฐานของวิญญูชน
“เหตุแทรกแซง” ท่ี “คาดหมายได้” คือเหตุตาม “ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสม” นัน ่ เอง
4. ในกรณีท่ีผลของการกระทำา ทำาให้ผู้กระทำาต้อรับโทษหนักขึ้น ผู้กระทำาจะต้องรับผิดในผลนัน ้ ก็ต่อเม่ ือ
เป็ นทัง้ “ผลโดยตรง” และผลธรรมดา
“ผลธรรมดา” คือผลตาม “ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสม” กล่าวคือเป็ นผลท่ีผู้กระทำาสามารถ “คาดเห็น” ความ
เป็ นไปได้ของผลนัน ้ การวินิจฉัยความสามารถในการคาดเห็นใช้มาตรฐานของวิญญูชน

6.1.1 หลักทั่วไปเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล
จงอธิบายหลักทัว่ไปเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล
หลักทั่วไปคือ หากผลนัน ้ เป็ น “ผลโดยตรง” ผูก ้ ระทำาต้องรับผิดในผลนัน
้ หากไม่ใช่ “ผลโดยตรง” ก็ไม่
ต้องรับผิดชอบ
ในกรณีที่ “ผลโดยตรง” นัน ้ เกิด จาก “เหตุแทรกแซง ” ผู้กระทำา จะรับ ผิด ในผลนั น
้ ก็ ต่อ เม่ อ
ื “ เหตุ
แทรกแซง” นัน ้ วิญญูชนคาดหมายได้ หากคาดหมายไม่ได้ก็ต้องรับผิด
ในกรณีที่ผลของการกระทำาความผิด ทำาให้ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้น ผ฿้กระทำาจะต้องรับผิดในผลนัน ้
ก็ต่อเม่ ือผลนัน
้ เป็ นทัง้ “ผลโดยตรง” และ “ผลธรรมดา” หากเป็ นผลผิดปกติธรรมดาก็ไม่ต้องรับผิดในผลนัน ้ แต่
อย่างใด

ประมวลกฎหมายอาญาได้บัญญัติหลักในเร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผลไว้อย่างไรบ้างหรือไม่
ประมวลกฎหมายอาญา มิได้บัญญัติหลักทั่วไปในเร่ ือง “ผลโดยตรง” ไว้แต่อย่างใดเพียงแต่บัญญัติไว้ใน
ปอ. มาตรา 63 ว่า “ถ้าผลของการกระทำาความผิดใดทำาให้ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทำาความ
ผิดนัน
้ ต้องเป็ นผลท่ีตามธรรมดาย่อมเกิดขึ้นได้” ตาม ปอ. มาตรา 63 คือหลัก “ผลธรรมดา” นั่นเอง

6.1.2 “ผลโดยตรง”
ผลโดยตรง ตามทฤษฎีเง่ ือนไขหมายความว่าอย่างไร
ผลโดยตรงตามทฤษฎีเง่ ือนไขคือ ผลท่ีเกิดขึ้นตามหลักของทฤษฎีเง่ ือนไขท่ีว่า “ถ้าไม่มีการกระทำา (ของ
จำาเลย) ผลไม่เกิด ถือว่าผลเกิดจากการกระทำา (ของจำาเลย) นัน ้ แม้ว่า ผลนัน
้ จะเกิดขึ้นได้ จะต้องมีเหตุอ่ืนๆ ในการ
ก่อให้เกิดผลนัน ้ ขึ้นด้วย ก็ตาม แต่ถ้าไม่มีการกระทำา (ของจำาเลย) นัน
้ แล้ว ผลก็ยังเกิดขึ้น เช่นนี จ ้ ะถือว่าผลนัน

เกิดจากการกระทำา (ของจำาเลย)ไม่ได้

หากผู้กระทำาไม่เจตนา และไม่ประมาทในการกระทำาความผอดนัน ้ และความผิดนัน ้ ก็ไม่ใช่ความผิดโดยเด็ด


ขาด (ความผิ ดโดยเด็ด ขาดหมายความว่ า ไม่เ จตนาและไม่ ป ระมาทก็ มีค วามผิ ด ) ในกรณี เ ช่ นนี จ้ ะต้อ งพิจ ารณา
เร่ ือง “ผลโดยตรง” ตามทฤษฎีท่ีมีเง่ อ
ื นไข หรือไม่
หากผู้กระทำาไม่มีเจตนากระทำา ความผิดและก็ไม่ได้ประมาทในการก่อให้เกิดผลนัน ้ ขึ้น และกรณีก็ไม่ใช่
ความผิด โดยเด็ดขาด เช่นนี ไ “้ ” ม่ต้อ งพิจ ารณาเลยว่าผลท่ีเกิด ขึ้นนัน

ไม่ เพราะถือว่าขาดองค์ประกอบภายใน มาตัง้แต่แรกแล้ว
ตัวอย่าง
แดงขับรถไปตามถนนด้วยความระมัดระวัง ดำาว่ิงตัดหน้ารถ โดยกระชัน ้ ชิด รถของแดงชนดำา ดำาตายใน
กรณีเช่นนีไ้ม่ต้องพิจารณาเลยว่าความตายของดำาเป็ นผลโดยตรง จากการกระทำาของแดง ตามทฤษฎีเง่ อ ื นไขหรือ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


27

ไม่ ทัง้นีเ้พราะเม่ ือแดงไม่ประมาทตาม ปอ. มาตรา 59 วรรค 4 ก็ถือว่าขาด “องค์ประกอบภายใน” เสียแล้วจึง


ไม่ต้องพิจารณาประเด็น เร่ ืองความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำา และผลอีกต่อไป เพราะถือว่าไม่ประมาทเสียแล้ว ก็
ไม่มีทางท่ีจะรับผิดชอบตามมาตรา 291 ได้เลย ในทางตรงกันข้ามหากแดงประมาท กล่าวคือขับรถเร็วและดำาตัด
หน้า โดยกระชั น ้ ชิ ด รถของแดงชนดำา ตาย เช่ น นี ถ ้ ื อว่ า แดงแระมาทตามมาตรา
59 วรรค 1 จึ งครบ “ องค์
ประกอบภายใน” ของความผิดตาม ปอ . มาตรา 291 ประเด็นท่ีจะต้องพิจารณาต่อไปคือ ความตายของดำา “เป็ น
ผลโดยตรง” จากการกระทำาโดยประมาทของแดงหรือไม่

“ผลโดยตรง” ซ่ึงเกิดจากเหตุแทรกแซง
6.1.3
ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสมหมายความว่าอย่างไร
หมายความว่าเหตุนัน้ เหมาะสมเพียงพอตามปกติท่ีจะก่อให้เกิดผลอันเป็ นความผิดขึ้นหรือไม่ หากเหมาะ
สมผู้กระทำาต้องรับผิดในผลอันนัน
้ หากไม่เหมาะสมก็ไม่ต้องรับผิด

ในกรณีใดท่ีจะต้องใช้ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสมแทนทฤษฎีเง่ ือนไข และมีหลักเกณฑ์ในการใช้ทฤษฎีเหตุท่ี


เหมาะสมอย่างไร
โดยหลักแล้วต้องใช้ทฤษฎีเง่ ือนไข วินิจฉัยความรับผิดของผู้กระทำาต่อผลที่เกิดขึน้ เสมอ แต่ในกรณีที่ผล
นัน ้ เกิดจากเหตุแทรกแซง ซ่ึงเป็ นเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นใหม่ หลังจากการกระทำาของผู้กระทำา จะต้องใช้ทฤษฎีเหตุผล
ท่ีเหมาะสมแทนทฤษฎีเง่ ือนไข ในการใช้ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสมนัน ้ ให้พิจารณาเหตุแทรกแซงนัน ้ เป็ นเหตุทค
่ี าด
หมายได้หรือไม่ หากคาดหมายได้ก็ถือการกระทำา ในตอนแรกนัน ้ เหมาะสมเพียงพอตามปกติท่ีจะก่อให้เกิดผลใน
บัน้ ปลายขึ้น ผู้กระทำาต้องรับผิดในผลบัน ้ ปลาย แต่ถ้าเหตุแทรกแซงนัน ้ เป็ นเหตุท่ีคาดหมายไม่ได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น
แรกก็ถือว่าการกระทำาในตอนแรกนัน ้ ไม่เหมาะสมเพียงพอตามปกติทจ่ี ะก่อให้เกิดผลในบัน ้ ปลายขึ้น ผู้กระทำา ไม่
ต้องรับผิดในผลบัน ้ ปลาย แต่รับผิดเฉพาะเพียงเท่าท่ีตนได้กระทำาไปแล้ว

ดำา ทำา ร้ายม่วงบาดเจ็บ ม่วงนอนหลับหมดสติอยู่ ปรากฏว่าในเวลาต่อมามีงูพิษเล้ือยมากัดม่วงตาย เช่นนี้


ดำาจะต้องรับผิดชอบอย่างไร
หากใช้ทฤษฎีเง่ อ ื นไข ดำาต้องรับผิดฐานฆ่าม่วงตายโดยไม่เจตนาเพราะความตายของม่วงสัมพันธ์กับการ
ทำาร้ายของดำาตามทฤษฎีเง่ อ ื นไข (ถ้าดำาไม่ทำา ร้ายม่วง ม่วงก็จะไม่นอนหมดสติและถูกงูกัดตาย ) แต่ม่วงมิได้ตาย
เพราะการท่ีถูกดำาทำาร้าย แต่ตายเพราะงูถูก จึงต้องถือว่าการท่ีถูกงูกัดซ่ึงเป็ นเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นหลังจากท่ีดำาทำาร้าย
ม่วงแล้ว และเป็ นเหตุให้ม่วงตายนัน ้ เป็ นเหตุแทรก จึงต้องใช้ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสมแทนทฤษฎีเง่ ือนไข ในกรณีนี้
ถือว่าเป็ นเหตุแทรกแซงท่ีคาดหมายไม่ได้ ดำาจึงไม่ต้องรับผิดฐานฆ่าม่วงตายโดยไม่เจตนา ตาม ปอ. มาตรา 290
เพราะความตายของม่วงไม่สัมพันธ์กับการกระทำาของดำาตามทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสม อย่างไรก็ตาม หากสถานท่ีซ่ึงดำา
ทำา ร้ า ยม่ ว งนั น
้ เป็ น ป่ าทึ บ และมี งู พิ ษ อยู่ ชุ ก ชุ ม การท่ีงู พิ ษ เล้ือ ยมากั ด ม่ ว งซ่ึง นอนหมดสติ อ ยู่ อ าจถื อ ว่ า เป็ น เหตุ
แทรกแซงท่ีคาดหมายได้ก็ได้ ซ่ึงมีผลทำา ให้ดำา ต้องรับผิดฐานฆ่าม่วงตายโดยไม่เจตนา (ไม่ผิดฐานฆ่าม่วงตายโดย
เจตนาตาม ปอ. มาตรา 288 เพราะดำา ไม่ มี เจตนาฆ่า ม่ ว งในตอนแรก เจตนาในตอนแรกมี เ จตนา “ ทำา ร้ า ย ”
เท่านัน ้ )

เหลืองทำาร้ายเขียวบาดเจ็บ เขียวไม่ยอมรักษาบาดแผล ปล่อยให้แผลสกปกเป็ นหนองและเกิดเป็ นพิษขึ้น


เขียวถึงแก่ความตายในเวลาต่อมา เหลืองมีความผิดอย่างไร
หากใช้ทฤษฎีเง่ อื นไข เหลืองต้องมีความผิดฐานฆ่าเขียวตายโดยไม่เจตนา ตามมาตรา 290 เพราะความ
ตายของเขียวสัมพันธ์กับการทำาร้ายของเหลืองตามทฤษฎีเง่ ือนไข
แต่เขียวไม่ได้ตายเพราะการทำาร้ายของเหลืองโดยตรง เขียวตายเพราะบาดแผลท่ีถูกทำาร้ายเน่าเป็ นพิษอัน
สืบเน่ ืองมาจากการที่เขียวรักษาบาดแผลไม่ดี จึงต้องถือว่าการท่ีเขียวรักษาบาดแผลไม่ดีเป็ นเหตุแทรกแซง ในกรณี
เช่นนีจ้ึงต้องใช้ทฤษฎีเหตุที่เหมาะสม ซ่ึงก็จะเห็นได้ว่าการท่ีผู้ถูกทำาร้ายไม่ยอมรักษาบาดแผลนัน
้ ไม่ใช่ส่ิงผิดปกติ
ธรรมดา เหตุแทรกแซงดังกล่าวจึงจึงถือว่าคาดหมายได้ ผู้กระทำาต้องรับผิดในผลสุดท้ายท่ีเกิดขึ้น กล่าวคือ รับผิด
ฐานฆ่าคนตายโดยไม่เจตนาตาม ปอ. มาตรา 290

“ผลธรรมดา”
6.1.4
ในกรณีใดท่ีจะต้องใช้หลัก “ผลธรรมดา” วินิจฉัยความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล
ในการวินิจฉัยว่าผลท่ีเกิดขึ้นเป็ นผลธรรมดาหรือไม่นัน
้ ต้องใช้มาตรฐานของผู้ใดเป็ นหลักในการพิจารณา
ในกรณีที่ผลของการกระทำาความผิดจะทำาให้ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึน ้ ในกรณีเช่นนี ผ
้ ู้กระทำา จะต้อง
รับโทษหนักขึ้นเฉพาะเม่ อื ผลท่ีเกิดขึ้นนัน
้ เป็ น ผลธรรมดาของการกระทำา ความผิด ในตอนแรก หากเป็ นผลผิด
ธรรมดา ผู้กระทำาก็ไม่ต้องรับโทษหนักขึ้นแต่รับโทษเฉพาะเท่านัน้ ท่ีได้กระทำาไปโดยเจตนาในตอนแรก ในการวิจัย
ผลธรรมดานัน ้ ต้องใช้มาตรฐานของวิญญูชนเป็ นหลัก

ม่วงวางเพลิงเผาบ้านของแดงในขณะท่ีแดงไปพักผ่อนต่างจังหวัดปรากฏว่าไฟคลอดเหลืองเพ่ ือของแดงซ่ึง
แอบมานอนพักอยู่ตาย เช่นนี ม ้ ่วงต้องรับผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์เป็ นเหตุให้คนตายหรือไม่
หากปรากฏว่าม่วงวางเพลิงเผาโกดังเก็บสินค้าของแดงท่ีทิง้ไว้รกร้างว่างเปล่า ในท่เี ปล่ียวไม่มีผู้คนอยู่อาศัย
แต่เหลืองซ่ึงหลงทางมาและแอบเข้าไปนอนพักอยู่ถูกไฟคลอกตาย เช่นนี ม ้ ่วงจะมีความผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์
เป็ นเหตุให้คนตายหรือไม่

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


28

ม่วงต้องรับผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์เป็ นเหตุให้คนตายตาม ปอ. มาตรา 224 ซ่ึงมีโทษหนักกว่ามาตรา


214 (1) เพราะความตายของแดงซ่ึงเป็ นผลท่ีทำาให้ม่วงต้องรับโทษตามมาตรา 224 ซ่ึงหนักกว่าโทษตามมาตรา
218 (1) นัน ้ เป็ นผลธรรมดาของการวางเพลิงเผาบ้าน
ในกรณี ห ลั ง ม่ ว งผิ ด เพี ย งฐานวางเพลิ ง เผาโรงเรื อ นอั น เป็ น ที่ เ ก็ บ สิ น ค้ า ตาม ปอ. มาตรา 218 (2)
เท่านัน
้ แต่ไม่ผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์เป็ นเหตุให้คนตายตาม ปอ. มาตรา 224 เพราะความตายของเหลืองไมใช่
ผลธรรมดาจากการวางเพลิงเผาโรงเรือนเก็บสินค้าซ่ึงทิง้ไว้รกร้างในสถานที่ซ่ึงไม่มีผู้คนอยู่อาศัยในลักษณะเช่นนัน ้

6.2 ปั ญหาความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผลในความผิดบางมาตรา
1. ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไม่เจตนา ตาม ปอ. มาตรา 290 ผู้กระทำา ไม่มีเจตนาฆ่าแต่มีเจตนาทำา ร้าย
และการทำาร้ายนัน ้ เป็ นเหตุให้ผู้อ่ืนถึงแก่ความตาย ปั ญหาในเร่ ืองสันพันธ์ระหว่างการทำาร้ายและความ
ตายนัน ้ มีความเห็นอยู่ 2 แนว ความเห็นแรกถือว่าต้องใช้หลักผลธรรมดาตามมาตรา 63 เพราะถือว่า
ผลคือความตายของผู้ถูกทำาร้าย ทำาให้ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้นจากการทำาร้ายตามมาตรา 295 หรือ
มาตรา 391 อีกความเห็นหน่ึง ถือว่า ความตายของผู้ถูกทำา ร้า ยไม่ใ ช่ผลท่ีทำา ให้ผู้ก ระทำา ต้องรั บโทษ
หนั ก ขึ้ น จึ ง ไม่ ต้ อ งใช้ ห ลั ก ผลธรรมดา แต่ ใ ช้ ห ลั ก “ ผลโดยตรง ” ตามทฤษฎี เ ง่ ือ นไข หากมี เ หตุ
แทรกแซงเกิดขึ้นก็ใช้ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสมเพ่ ือดูว่าคาดหมายได้หรือไม่
2. ความผิดฐานทำาร้ายร่างกายจนเป็ นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กาย หรือจิตใจตามมาตรา 295 นัน ้ ก็มีความ
เห็นอยู่ 2 แนวทางเช่นเดีย วกัน ความเห็นแรกถือว่า ต้องใช้ห ลักผลธรรมดาตาม มาตรา 63 เพราะ
ถือว่า ผลคืออันตรายแก่กายหรือจิตใจ ทำาให้ผู้กระทำา ต้องรับโทษหนักขึ้นจากการกระทำาความผิดตาม
มาตรา 391 อีกความเห็นหน่ึงถือว่า อันตรายแก่กายหรือจิตใจไม่ใ ช่ผลท่ีทำา ให้ผู้ก ระทำา ต้องรั บโทษ
หนักขึ้น แต่เป็ นผลท่ีผู้กระทำา จะต้องมีเจตนาโดยตรงให้เกิดผลนัน ้ ขึ้น หากมีเจตนาให้เกิดผลดังกล่าว
แต่ผ ลไม่เ กิดก็ ผิดฐานพยายาม แต่ถ้า ไม่ม รเจตนาจะให้เ กิดผลเป็ นอั นตรายแก่ กายหรื อจิ ต ใจ แม้ใ น
บัน
้ ปลายจะเกิดผลเป็ นอันตรายแก่กายหรือจิตใจก็อาจเป็ นเร่ ืองของการกระทำาโดยประมาทมิใช่เจตนา

6.2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผลในความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไม่เจตนา
ในการวินิจฉัยความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผลในส่วนในส่วนท่ีเก่ียวกับความผิดฐานฆ่าคนตายโดย
ไม่เจตนา ตาม มาตรา 290 มีแนวความคิดอย่างไรบ้าง
มีสองความเห็นคือ ความเห็นแรก ถือ มาตรา 290 เป็ นบทหนักของมาตรา 295 หรือมาตรา 391 จึง
ต้องใช้หลักผลธรรมดาเป็ นหลักในการวินิจฉัย ซ่ึงหมายความว่าหากความตายไม่ใช่ผลธรรมดาจากการกระทำาความ
ผิดตามมาตรา 295 หรือมาตรา 391 ผู้กระทำา ก็ผิดเพียง มาตรา 295 หรือมาตรา 391 แล้วแต่กรณี แต่ถ้า
ความตายเป็ นผลธรรมดา ผู้กระทำา ความผิดตามมาตรา 290 ส่วนอีกความเห็นหน่ึงถือว่า มาตรา 290 มิใช่บท
หนักของมาตรา 295 หรือมาตรา 391 จึงไม่ใช่หลักผลธรรมดาแต่ใช้หลัก “ผลโดยตรง” ตามทฤษฎีเง่ อ ื นไข
และหากมีเหตุแทรกแซงก็ใช้ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสมวินิจฉัยว่า เหตุแทรกแซงนัน
้ คาดหมายได้หรือไม่นั่นเอง

เขียวโกรธแดงจึงหยิกแดงมีบาดแผลเป็ นรอยช้ำา และเลือดออกเล็กน้อย แดงรักษาไม่ดีเช้ือบาดทะยักเข้า


แผล แดงตาย เขียวจะมีความผิดฐานใด
หากถือตามความเห็นท่ีว่า ต้องใช้หลักผลธรรมดากับ มาตรา 290 เขียวก็ไม่มีความผิดฐานฆ่าคนตาย
โดยไม่เจตนา ตามมาตรา 290 เพราะถือว่าความตายของแดงไม่ใช่ผลธรรมดาจากการกระทำาความผิด ตามมาตรา
391 เขียวจึงผิดตามมาตรา 391 เท่านัน ้ แต่ถ้าถือ ตามความเห็นท่ี 2 ซ่ึงไม่ใช่หลักผลธรรมดา เขียวก็ผิดตาม
มาตรา 290 เพราะเหตุแทรกแซงคือการท่ีแดงรักษาบาดแผลไม่ดีนัน ้ ถือว่าคาดหมายได้ เขียวจึงต้องรับผิดชอบใน
ความตายของของแดงตามมาตรา 290

6.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผลในความผิดฐานทำาร้ายร่างกาย
ในการวิ นิจฉัยความสัมพันธ์ ระหว่า งการกระทำา และผลในความผิ ด ฐานทำา ร้า ยร่ า งกายตาม ปอ. มาตรา
295 มีแนวคิดในการวินิจฉัยอย่างไร
มี 2 ความเห็น ความเห็นแรกถือว่าต้องใช้หลักธรรมผลธรรมดาตามมาตรา 63 เพราะมาตรา 295 เป็ น
บทหนักของมาตรา 391 แต่ความเห็นท่ี 2 ถือว่าจะใช้หลักผลธรรมดาไม่ได้เพราะ มาตรา 295 มิใช่บทหนักของ
มาตรา 391 เน่ ืองจากการทำาร้ายตามมาตรา 295 และการใช้กำาลังทำาร้ายตามมาตรา 391 ไม่เหมือนกันเพราะ
การทำา ร้ายตามมาตรา 295 ไม่ต้องมีการใช้กำาลัง ส่วนการทำา ร้ายตามมาตรา 391 ต้องมีการใช้กำาลังด้วยเหตุนี้
มาตรา 295 จึงมิใช่บทหนักของมาตรา 391 จึงนำาหลักผลธรรมดาตามมาตรา 63 มาใช้ไม่ได้

แดงโกรธดำาจึงหยิกดำาท่ีแขน ปรากฏว่าเกิดรอยช้ำาแดงและเลือดออกเล็กน้อย ดำารักษาแผลไม่ดี ทำาให้แผล


ลุกลามเกิดเป็ นอันตรายแก่กาย แดงจะมีความผิดอย่างใด
หากถื อ ตามความเห็ นแรกก็ต้ อ งพิจ ารณาว่ า ผลคือ อั นตรายแก่ ก ายหรื อ จิ ต ใจนั น
้ เป็ น ผลธรรมดาตาม
มาตรา 63 ของการใช้กำาลังทำาร้ายไม่ถึงกับเป็ นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจหรือไม่ หากเป็ นผลธรรมดา
แดงผิดตามมาตรา 295 หากไม่ใช่ผลธรรมดาก็ไม่ผิดตามมาตรา 295 แต่ผิดตามมาตรา 391
ตามความเห็นท่ีสอง ถือว่าแดงไม่ผิดฐานทำาร้ายร่างกายจนเป็ นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจตาม
มาตรา 295 เพราะแดงไม่มีเจตนาท่ีจะให้เกิดผลดังกล่าวขึ้นเลยแต่แดงอาจผิดฐานทำาร้ายร่างกายโดยประมาท เป็ น
เหตุให้เกิดอันตรายหรือจิตใจตามมาตรา 390 ได้ ในกรณีนีจ้ะนำาเร่ ืองเหตุแทรกแซงตามทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสมมา

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


29

ปรับโดยถือว่าการท่ีดำารักษาบาดแผลไม่ดี เป็ นเหตุแทรกแซงท่ีคาดหมายได้ และแดงต้องรับผิดตามมาตรา 295


นัน
้ ไม่ได้ เพราะความผิดตามมาตรา 295 ผู้กระทำาต้องมีเจตนาต่อผล (หากไม่เกิดก็ผิดฐานพยายาม) หากเขาไม่มี
เจตนาต่อผลจะให้เขาต้องรับผิดในผลนัน ้ ไม่ได้ ทัง้นีต
้ ่างจากกรณีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไม่เจตนาตามมาตรา
290 ซ่ึงความตายเป็ นผลท่ผ ี ู้กระทำาไม่เจตนาเลย เพราะฉะนัน ้ หากความตายเกิดขึ้นจากเหตุแทรกแซงท่ีผู้กระทำา
คาดหมายได้ตามทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสม ผูก ้ ระทำาก็ต้องมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไม่เจตนา

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 6 ความรับผิดทางอาญา (ต่อ)

1. เขียวยิงฟ้ าบาดเจ็บสาหัส มีผู้นำาฟ้ าไปส่งรงพยาบาล แต่ฟ้าทนพิษบาดแผลไม่ไหวถึงแก่ความตายเสียก่อน


ถึงโรงพยาบาล เขียวผิดฐานฆ่าฟ้ าตายโดยเจตนา เพราะหากเขียวไม่ยิงฟ้ า ฟ้ าก็จะไม่ตาย
2. แดงขับรถไปตามถนนด้วยความเร็วสูง ดำาว่ิงตัดหน้าโดยกระชัน
้ ชิด รถของแดงชนดำา ตาย แดงพิสูจน์ได้ว่า
แม้ไม่ขับเร็ว รถก็ต้องชนดำาตายอยู่นัน ่ เอง เพราะดำา ว่ิงตัดหน้าโดยกระชัน ้ ชิด แดงไม่ต้องรับผิดฐานทำาให้
ดำาตายโดยประมาท เพราะความตายของดำาไม่ใช่ “ผลโดยตรง” จากการกระทำาโดยประมาทของแดง
3. ขาวและเหลืองต่างคนต่างต้องการให้ดำาตาย จึงต่างหลอกให้ดำากินขนมผสมยาพิษ ซ่ึงต้องกินขนาด 6 แก
รมจึงจะตาย ยาพิษท่ีขาวให้แก่ดำา มีจำา นวน 3 แกรม ดำากินยาพิษท่ีขาวและเหลืองให้ปรากฏว่าดำา ตาย ขาว
และเหลืองรับผิดฐานฆ่าดำาตายโดยเจตนาเพราะความตายเป็ น “ผลโดยตรง” จากการกระทำาของแต่ละคน
4. แดงไล่ยิงขาว ขาวว่ิงหนีไปหลบอยู่ใต้ต้นไม้ใหญ่ต่อมามีฝนตกหนัก ฟ้ าผ่าต้นไม้และขาวตายด้วย แดงมี
ความผิดฐานพยายามฆ่า เพราะความตายของขาวไม่สัมพันธ์กับการกระทำาของแดงตามหลักในเร่ ืองความ
สัมพันธ์ระหว่างการกระทำาและผล
5. เขียวทำาร้ายขาวบาดเจ็บ ขาวรักษาบาดแผลไม่ดีเช้ือบาดทะยักเข้าแผลทำาให้ขาวตาย เขียวผิดฐานฆ่าคนตาย
โดยไม่เจตนา
6. เขียววางเพลิงเผาบ้านของเหลืองในขณะท่ีเหลืองไม่อยู่บ้าน ปรากฏว่า แดงซ่ึงเป็ นเพ่ ือนของเหลืองและ
นอนอยู่ในบ้านหลังนัน ้ โดยท่ีเขียวไม้รู้ ถูกไฟคลอกตาย เขียวผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์เป็ นเหตุให้คนตาย
7. ดำาวางเพลิงเผาโกดังเก็บสินค้าของเหลืองซ่ึงปล่อยทิง้ร้างไว้ในท่ีรก ปรากฏว่าไฟคลอกเขียวซ่ึงแอบมานอน
ในโกดังตายด้วย ดำาผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์โดยเจตนาเท่านัน ้
8. เหลืองตัง้ใจต่อยขาวท่ีบริเวณหน้าท้อง แต่ขาวก้มตัวลง ขาวจึงถูกต่อยท่ีลูกตาข้างซ้ายเป็ นรอยบวมช้ำาต่อมา
อี ก 5 วัน ตาบอด เหลือ งผิ ด ฐานทำา ร้า ยร่ า งกายขาวรั บ อั น ตรายสาหั ส (ตาบอด) ตาม ปอ.มาตรา 297
เพราะการท่ีตาบอดเป็ นผลธรรมดาจากการทำาร้ายในลักษณะดังกล่าว
9. หากผลของการกระทำาความผิดทำาให้ผู้กระทำาต้องรับโทษหนักขึ้น ผลนัน ้ ต้องเป็ นทัง้ ”ผลโดยตรง” และ
”ผลธรรมดา”
10. ในกรณีท่ีมีเหตุแทรกแซงผู้กระทำาไม่ต้องรับผิดในผลท่ีเกิดขึ้น หากเป็ นเหตุแทรกแซงท่ีคาดหมายไม่ได้
11. เหลืองยิงฟ้ าบาดเจ็บสาหัส ฟ้ านอนหมดสติอยู่ได้สักครู่ก็ถึงแก่ความตาย เหลืองมีความผิดฐาน ฆ่าคนตาย
โดยเจตนา
12. หากผลของการกระทำาเกิดจากเหตุอ่ืนๆด้วย แต่ถ้าไม่มีการกระทำาของผู้กระทำาแล้วผลจะไม่เกิดขึ้นเลย ผู้
กระทำาต้องรับผิดในผลนัน ้
13. ในกรณีท่ีผลเกิ ดจากเหตุแทรกแซงท่ีเ ป็ น เหตุ การณ์ธ รรมชาติ ผู้กระทำา ไม่ต้องรั บผิดในผลนัน ้ หากเหตุ
แทรกแซงนัน ้ คาดหมายไม่ได้
14. หากผู้ถูกทำาร้ายรักษาบาดแผลท่ท ี ำา ร้ายไม่ดี และมีผลทำาให้ผู้ถูกทำา ร้ายตาย ผู้กระทำามีความผิดฐานฆ่าคน
ตายโดยไม่มีเจตนา
15. หากความตายเป็ นผลธรรมดาจากการวางเพลิงเผาทรัพย์ ผูก ้ ระทำามีความผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์เป็ นเหตุ
ให้คนตาย
16. หากความตายไม่ใช่ผลธรรมดาจากการวางเพลิงเผาทรัพย์ ผู้กระทำาไม่ผิดฐานวางเพลิงเผาทรัพย์เป็ นเหตุให้
คนตาย
17. ผู้กระทำา ความผิดฐานทำา ร้ายร่างกายตาม ปอ. มาตรา 295 จะต้องรับผิดฐานทำา ร้ายร่างกายรับอันตราย
สาหั ส ตาม ปอ. มาตรา 297 หากผลตามมาตรา 297 ท่ีเ กิด ขึ้น เป็ นทั ง้ “ผลโดยตรง ” ตามทฤษฎี
เง่ ือนไข และ “ผลธรรมดา “ ตามทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสม
18. “ผลธรรมดาตาม ปอ. มาตรา 63 ใช้ในกรณีท่ี ผลของการกระทำาความผิดทำาให้ผู้ถูกกระทำาต้องรับโทษ
หนักขึ้น
19. โดยหลักแล้วต้องใช้ผลโดยตรง ตามทฤษฎีเง่ ือนไขเสมอ แต่บางกรณีต้องใช้ทฤษฎีเหตุท่ีเหมาะสมด้วย
กรณีที่มีเหตุแทรกแซงเกิดขึน ้
20. หากเหตุแทรกแซงนัน ้ คาดหมายได้ว่าจะเกิดขึ้น ผูก ้ ระทำาต้องรับผิดในผลท่ีเกิดขึ้นนัน ้

หน่วยท่ี 7 การพยายามกระทำาความผิด

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


30

1. ความผิดอาญาเร่ิมเม่ ือการกระทำา นัน ้ ถึ ง ขั น


้ ลงมือ กระทำา แล้ ว แต่ ถ้า ได้ ล งมื อกระทำา แล้ ว การกระทำา นัน้
กระทำาไปไม่ตลอดหรือการกระทำาไปตลอดแล้วแต่ไม่บรรลุผล ถือว่าเป็ นการพยายามกระทำาความผิด ซ่ึงโดย
ทัว่ไปจะมีโทษสองในสามส่วนของความผิดสำาเร็จ
2. ความผิดท่ีไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ คือความผิดท่ีไม่มีทางกระทำาให้สำาเร็จได้โดยเด็ดขาด ไม่ใช่โดย
บังเอิญ การกพยายามกระทำาความผิดท่ีเป็ นไปไม่ได้อย่างแน่แท้ ถือเป็ นการพยายามกระทำาความผิดเช่นกัน
ซ่ึงผู้กระทำาต้องระวางโทษไม่เกินก่ึงหน่ึงของโทษท่ีกฎหมายกำาหนด
3. การยับยัง้หรือการกลับใจแก้ไขการกระทำา อันจะยัง ผลให้ผู้กระทำา ไม่ต้องรับโทษฐานพยายามนัน ้ จะต้อง
เป็ นการยับยัง้หรือกลับใจแก้ไขด้วยความสมัครใจของผู้กระทำา มิใช่ถูกกดดันจากภายนอก
4. มีความผิดบางประเภทท่ีไม่มีความผิดฐานพยายาม หรือมีความผิดฐานพยายามแต่ไม่ต้องรับโทษและการ
พยายามกระทำาความผิดซ่ึงมีลักษณะรุนแรง กฎหมายได้เอาโทษผู้พยายามกระทำาความผิดนัน ้ เท่ากับการก
ระทำาความผิดสำาเร็จ

หลักทั่วไปของการพยายามกระทำาความผิด
1. การกระทำาจะเร่ิมเป็ นความผิดต่อเม่ ือพ้นขัน
้ ตระเตรียมการเข้าสู่ขัน
้ ลงมือทำา
2. แนวความคิดเร่ ืองการลงมือกระทำาความผิดมีหลายแนวแต่ของไทยใช้อยู่ 2 หลัก คือ หลักความใกล้ชิดกับ
ผลและหลักการกระทำาความผิดท่ีประกอบไปด้วยกรรมเดียวหรือหลายกรรม
3. การพยายามกระทำาความผิด ผู้กระทำาต้องมีเจตนากระทำา ให้บรรลุผลตามเจตนา แต่ผู้กระทำา กระทำา ไปไม่
ตลอด หรือกระทำาไปตลอดแล้วแต่การกระทำานัน ้ ไม่บรรลุผล

การเริม่ ต้นของความผิด
นักกฎหมายได้แยกการกระทำาทางอาญาออกเป็ นก่ีวาระ อะไรบ้าง และตามปกติจะลงโทษการกระทำาท่ีอยู่
ในวาระใด
นักกฎหมายได้แยกการกระทำาทางอาญาออกได้เป็ น 3 วาระคือ
(1) วาระทางจิตใจ คือ ความคิดท่ีจะกระทำาความผิดและการตัดสินใจกระทำาความผิด
(2) วาระการเตรียมการ คือ การหาเคร่ ืองไม้เคร่ ืองมือหรือรวบรวมสิ่งต่างๆ สำาหรับกระทำาความผิด
(3) วาระลงมือกระทำา คือใช้เคร่ ืองมือที่หาไว้นัน้ กระทำาความผิด
ตามปกติแล้วจะลงโทษการกระทำาท่อ ี ยู่ในวาระลงมือกระทำาแล้ว เพราะถือว่าเป็ นการกระทำาท่ีใกล้ชด
ิ ความ
ผิด สำา เร็จ แม้ว่าความผิด จะสำา เร็จหรือ ไม่ก็ตาม แต่อ ย่างไรก็ดีบ างกรณีก ารกระทำา ที่อ ยู่ในวาระตระเตรีย มการ ผู้
กระทำา ก็ อ าจได้รั บโทษเช่ นกั น ถ้ าเป็ นกรณี ความผิด ที่ ร้ า ยแรง เช่ น การตระเตรี ย มการเพ่ ือ ปลงพระชนม์ ห รื อ
ประทุษร้ายต่อพระมหากษัตริย์ การตระเตรียมการเพ่ ือเป็ นกบฏ การตระเตรียมการเพ่ ือกระทำาความผิดต่อความ
มั่นคงของรัฐ

การลงมือกระทำาความผิด
ปั จจุบันนีศ้ าลฎีกาของไทยใช้หลักอะไรในการวินิจฉัยเร่ ืองการลงมือกระทำา ความผิด และหลักนีม ้ ีข้อดีข้อ
เสียอย่างไร
ปั จจุบันนีศ
้ าลฎีกาของไทยใช้หลักความใกล้ชิดกับผลเป็ นหลักในการวินิจฉัยเร่ ืองการลงมือกระทำาความผิด
โดยหลักนีใ้ห้ดูว่าการที่ได้กระทำาไปนัน ้ ใกล้ชิดกับความผิดสำาเร็จหรือไม่ ถ้าใกล้ชิดก็ถือว่าลงมือกระทำาความผิดแล้ว
อย่ า งไรก็ ดี หลั ก นี ก
้ ็ มี ทั ง้ ข้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย กล่ า วคื อ ในข้ อ ดี นั น
้ หลั ก ความใกล้ ชิ ด กั บ ผลนี ส
้ ะดวกดี ที่
สามารถยืดหยุ่นได้ ทำาให้ศาลสามารถใช้ดุลพินิจเป็ นเร่ ืองๆว่า การกระทำา นัน ้ ใกล้หรือไกลกับผลสำา เร็จ แต่ก็มีข้อ
เสียคือจะถือว่าการกระทำาเพียงใด จึงจะเรียกว่าใกล้ชิดกับความผิดสำา เร็จ ย่อมต้องแล้วแต่ความคิดเห็นของแต่ละ
บุคคล ซ่ึงแต่ละคนก็มีความคิดแตกต่างกัน ดังนัน ้ หลักนีจ้ึงขาดความแน่นอน ทำาให้ต้องอาศัยดูจากแนวคำาพิพากษา
ฎีกาท่ีเคยวินิจฉัยไว้แล้วในเร่ ืองนัน ้ ๆ เป็ นเกณฑ์ว่าแค่ไหนใกล้หรือไกลกับความผิดสำาเร็จ

นักทฤษฎีได้พยายามวางหลักเกณฑ์เร่ ืองการลงมือกระทำาความผิดไว้อย่างไร
นักทฤษฎีได้พยายามวางหลักเกณฑ์เร่ ืองการลงมือกระทำาความผิด โดยแยกพิจารณาว่า การกระทำาความ
ผิดนัน้ ประกอบด้วยกรรมๆ เดียวหรือหลายกรรม ถ้าการกระทำาความผิดประด้วยกรรมๆเดียว การกระทำาใดซ่ึงใน
ทางธรรมชาติเป็ นอันหน่ึงอันเดียวกันกับการกระทำาความผิดถือว่าเป็ นการลงมือกระทำาความผิดแล้ว เช่น ในการ
ฟั น การท่ผี ู้กระทำาเง้ือดาบขึ้นจะฟั น การเง้ือดาบขึ้นถือเป็ นการกระทำาในทางธรรมชาติเช่นเดียวกับการฟั นแล้ว ก็
เป็ นการลงมือแล้วเป็ นต้น ส่วนการกระทำาประกอบด้วยหลายกรรม ถ้าผู้กระทำาได้กระทำากรรมหน่ึงกรรมใดลงไป
หรือกระทำากรรมใดอันเป็ นการกระทำาในทางธรรมชาติกับกรรมใดกรรมหน่ึงดังกล่าว ก็ถือว่าได้ลงมือกระทำาความ
ผิดแล้ว เช่น ความผิดฐานชิงทรัพย์ประกอบด้วย 2 กรรม คือลักทรัพย์ และใช้กำาลังประทุษร้าย ถ้าผู้กระทำาได้ใช้
กำาลังประทุษร้ายแล้ว แม้จะยังไม่ทันได้ลักทรัพย์ก็ถือว่าได้ลงมือชิงทรัพย์แล้ว

หลักเกณฑ์การพยายามกระทำาความผิด
จงบอกหลักเกณฑ์ทัว่ไปของการพยายามกระทำาความผิด
จากบทบัญญัติ มาตรา 80 เราสามารถแยกหลักเกณฑ์การพยายามกระทำา ความผิดได้เป็ น 3 ประการ
คือ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


31

(1) ต้องเป็ นการกระทำาโดยเจตนา


(2) ผูก
้ ระทำาต้องได้ลงมือกระทำาความผิดแล้ว
(3) กระทำาไปไม่ตลอด หรือกระทำาไปตลอดแล้ว แต่การกระทำาไม่บรรลุผล

นาย ก กำาลังเดินอยู่บริเวณท่ีจอดรถของศูนย์การค้าแห่งหน่ึง นาย ข ถอยรถออกจากท่ีจอดรถ ด้วยความ


รีบร้อนไม่ทันเห็นนาย ก รถของนาย ข จึงชนนาย ก ล้มลง การท่ีนาย ก แจ้งความกับเจ้าหน้าท่ต ี ำารวจว่าให้จับนาย
ข มาดำาเนินคดีในข้อหาพยายามฆ่าตนนัน ้ ท่านเห็นว่าถูกต้องหรือไม่
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 80 ได้บัญญัติไว้ว่า “ผู้ใดลงมือกระทำาความผิด แต่กระทำาไปไม่ตลอด
หรือกระทำาไปตลอดแล้ว แต่การกระทำานัน ้ ไม่บรรลุผล ผู้นัน
้ พยายามกระทำาความผิด” การท่ีจะถือว่าผู้ใดพยายาม
กระทำาความผิดนัน ้ ต้องปรากฏว่าผู้นัน้ มีเจตนากระทำาและจะต้องได้ ลงมือกระทำาแล้ว แต่กระทำาไปไม่ตลอดหรือ
กระทำาไปตลอดแล้ว แต่การกระทำานัน ้ ไม่บรรลุผล
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา การท่ีนาย ข ถอยรถด้วยความรีบร้อน และไม่ทันเห็นนาย ก จึงชนนาย ก ล้ม
ลงนัน้ เห็นว่าการกระทำาของนาย ข เป็ นการกระทำาโดยประมาท หรือขาดความระมัดระวังซ่ึงบุคคลในภาวะเช่นนัน ้
จะพึงมีตามวิสัยและพฤติการณ์ การท่ีนาย ก ไปแจ้งความกับเจ้าหน้าท่ีตำา รวจว่า นาย ข พยายามฆ่าตนนัน ้ ไม่ถูก
ต้องเพราะจะมีการพยายามกระทำา ความผิด ได้ก็ต่อ เม่ ือ เป็ นกรณีมีเจตนาเท่านัน ้ เพราะเจตนาถือเป็ นหลักเกณฑ์
สำาคัญในเร่ ืองของการพยายามกระทำาความผิด เม่ อ ื ผู้กระทำาคือ นาย ข ผิดฐานพยายามฆ่านาย ก แต่อาจเป็ นความ
ผิดฐานอ่ ืน

การพยายามกระทำาความผิดท่ีไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
1. กรณีท่ีจะเป็ นการพยายามกระทำา ความผิดท่ีไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ตามมาตรา 81 ได้ จะต้อง
ผ่านหลักเกณฑ์อย่างเดียวกันกับการพยายามกระทำาความผิดตามมาตรา 80 ด้วย
2. แม้การกระทำา บางอย่างจะไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ แต่เ ม่ ือการกระทำา นัน ้ มุ่งต่อผลซ่ึง กฎหมาย
บัญญัติเป็ นความผิด การกระทำาก็แสดงถึงเจตนาชัว่ร้ายของผู้กระทำาการนัน ้ แล้วจึงสมควรท่ีจะต้องลงโทษ
บ้าง เพ่ อ
ื ดัดนิสัยของผู้กระทำา
3. การไม่สามารถบรรลุผลอย่างแน่แท้นี ก ้ ฎหมายบัญญัติสาเหตุไว้เพียง2 ประการ คือปั จจัยท่ีใช้ในการกระทำา
อย่างหน่ึง และวัตถุท่ีมุ่งหมายกระทำาต่ออีกอย่างหน่ึง
4. ผลของการพยายามกระทำา ความผิดซ่ึงเป็ นไปไม่ได้อย่างแน่แท้ กฎหมายให้ลงโทษได้ไม่เ กินก่ึง หน่ึงของ
โทษท่ีกฎหมายกำา หนดไว้สำา หรับความผิดนัน ้ แต่อย่างไรก็ดีศาลจะไม่ลงโทษเลยก็ได้ หากการกระทำา ซ่ึง
เป็ นไปไม่ได้อย่างแน่แท้นัน้ ได้กระทำาไปโดยความเช่ ืออย่างงมงาย
5. การพยายามกระทำา ความผิดโดยทัว่ๆ ไป และการพยายามกระทำา ความผิดท่ีไม่สามารถบรรลุผ ลได้อย่า ง
แน่แท้ แม้จะเป็ นการพยายามกระทำาความผิดเหมือนกันแต่ก็มีข้อแตกต่างกันหลายประการ

หลักเกณฑ์ของการพยายามกระทำาความผิดท่ีไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
นาย ก ต้องการฆ่านาย ข จึงเตรียมปื นบรรจุกระสุนไว้พร้อมวางไว้หัวเตียง ภรรยาของนาย ก ไม่อยากให้
นาย ก ทำา ผิดกฎหมาย จึงแอบถอดเอากระสุ นออกหมด นาย ก ไม่รู้ จึง นำา ปื นท่ีไม่มีลูกนัน ้ ไปยิง นาย ข ให้ท่า น
วินิจฉัยว่า นาย ก มีความผิดฐานใดหรือไม่
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 81 ได้บัญญัติไว้ว่า ผู้ท่ีกระทำา การโดยมุ่งต่อผลซ่ึงกฎหมายบัญญัติ
เป็ นความผิด แต่การกระทำานัน ้ ไม่สามารถจะบรรลุผลอย่างแน่แท้เพราะเหตุปัจจัยซ่ึงใช้ในการกระทำา หรือเหตุแห่ง
วัตถุท่ีมุ่งหมายกระทำาต่อให้ถือว่าผู้นัน
้ พยายามกระทำาความผิด
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา การท่ี นาย ก ต้องการฆ่า นาย ข จึงเตรียมปื นบรรจุกระสุนไว้พร้อมแล้ว เห็น
ได้ว่า นาย ก มีเจตนาฆ่านาย ข แล้วแต่ปรากฏว่าภรรยานาย ก ไม่อยากให้นาย ก ทำาผิดกฎหมายจึงแอบถอดเอา
กระสุนออกหมด นาย ก ไม่รู้จึงนำา ปื นท่ีไม่มีกระสุนนัน ้ ไปยิงนาย ข เห็นว่ากรณีนี น ้ ายกได้ลงมือกระทำา ความ
ผิดตามเจตนาของตนแล้วแต่การกระทำาของนาย ก ไม่บรรลุผลอย่างแน่แท้ เพราะเหตุปัจจัยท่ีใช้ในการกระทำาคือซ่ึง
ไม่มีกระสุน นาย ก จึงต้องรับผิดฐานพยายามฆ่านาย ข ตามมาตรา 81 ดังกล่าวมาแล้ว

ผลของการพยายามกระทำาความผิดท่ีไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
นาง ก ภรรยาน้อยของนาย ข ต้องการจะฆ่าภรรยาหลวงของนาย ข นาง ก เป็ นคนเช่ ือทางไสยศาสตร์ จึง
ไปให้หมอผีเสกขนม หมอผีได้ทำาพิธีและบอกว่า ถ้าภรรยาหลวงของนาย ข กินขนมนีแ ้ ล้ว จะต้องตายภายใน 3 วัน
นาง ก จึงนำาขนมนัน ้ ไปให้ภรรยาหลวงของนาย ข กิน กรณีนี น ้ างกจะมีความผิดฐานใด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 81 วรรค 2 ได้บัญญัติว่า ถ้าการกระทำาดังกล่าวในวรรคแรก กล่าว
คือ กระทำา การมุ่งต่อผลซ่ึงกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด แต่การกระทำา นัน ้ ไม่สามารถจะบรรลุผ ลได้อ ย่างแน่แท้
เพราะเหตุปัจจัยซ่ึงใช้กระทำา หรือเหตุแห่งวัตถุที่มุ่งหมายกระทำานัน
้ ได้กระทำาไปโดยความเช่ ืออย่างงมงายศาลจะไม่
ลงโทษก็ได้
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา การท่ีนาง ก ภรรยาน้อยของนาย ข ต้องการจะฆ่าภรรยาหลวงของนาย ข เห็น
ว่า นาง ก มีเจตนาจะฆ่าภรรยาหลวงของนาย ก แล้ว จึงได้ไปหาหมอผีเสกขนม เพราะตนมีความเช่ ือว่า หมอผี
สามารถเสกขนมให้เป็ นพิษ และนำาไปฆ่าภรรยาหลวงของนาย ข ตายได้ หลังจากหมอผีทำา พิธีเสร็จ นาง ก ก็นำา
ขนมนัน ้ ไปให้ภรรยาหลวงของนาย ข กิน การกระทำาดังกล่าวของนาง ก เห็นว่า นาง ก ได้ลงมือกระทำาโดยมุ่งต่อ
ผลซ่ึงกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิดแล้ว แต่การกระทำาของนาง ก ไม่บรรลุผลปั จจัยท่ีใช้ในการกระทำาคือขนมนัน ้ ไม่

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


32

สามารถจะทำาให้คนตายได้ นาง ก จึงมีความผิดฐานพยายามฆ่าภรรยาหลวงของนาย ข แต่การกระทำาของนาง ก


นัน
้ ได้กระทำาไปโดยความเช่ อ
ื อย่างงมงาย กรณีนีศ
้ าลจะไม่ลงโทษก็ได้

ปั ญหาของการพยายามกระทำาความผิดท่ไี ม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้
นักกฎหมายมีความเห็นอย่างไรบ้างสำาหรับปั ญหาเร่ ืองการไม่บรรลุผลอย่างแน่แท้ตามมาตรา 81 และเร่ ือง
การขาดองค์ประกอบ
สำาหรับปั ญหาเร่ ืองการไม่บรรลุผลอย่างแน่แท้ตามมาตรา 81 และเร่ ืองการขาดองค์ประกอบ ซ่ึงมักจะพูด
ถึงกันอยู่เสมอว่า การขาดองค์ประกอบ นีจ้ะถือว่าเป็ นเร่ ืองของการไม่บรรลุผลอย่างแน่แท้ตามมาตรา 81 ด้วย
หรือไม่ ในเร่ ืองนีม้ ีนักกฎหมายให้ความเห็นแตกต่างกันเป็ น 2 ฝ่ าย
ฝ่ ายแรก เห็นว่าการไม่บรรลุผลอย่างแน่แท้ตามมาตรา 81 นี บ ้ ัญญัติขึ้นเป็ นพิเศษเพ่ ือท่จี ะใช้กับกรณี
การขาดองค์ประกอบด้วยและกล่าวว่าการขาดองค์ประกอบไม่ใช่พยายามตามหลักทั่วไปในมาตรา 80 แต่ท่ีผิดตาม
มาตรา 81 เพราะมีกฎหมายบัญญัติเป็ นพิเศษ สังเกตจากตัว บทท่ีว่า “ให้ถือว่าผู้นัน ้ พยายามกระทำา ความผิด”
ฝ่ ายนีจ้ึงเห็นว่าการลักทรัพย์ของตนเองโดยคิดว่าเป็ นทรัพย์ของตนเองโดยคิดว่าเป็ นทรัพย์ของผู้อ่ืนก็ดี การยิงศพ
โดยคิดว่าเป็ นคนดี หรือการข่มขืนภรรยาตนเองโดยคิดว่าเป็ นหญิงอ่ ืนอันมิใช่ภรรยาตนก็ดี แม้จะเป็ นการขาดองค์
ประกอบ แต่ก็เป็ นเร่ ืองการไม่บรรลุผลอย่างแน่แท้ ตามมาตรา 81 ด้วย ซ่ึงฝ่ ายนีถ ้ ือว่าผู้กระทำามีเจตนาร้ายและ
ลงมือกระทำาแล้ว ก็ควรได้รับโทษบ้าง
อีกฝ่ ายหน่ึง เห็นว่า กรณีดังกล่าว เป็ นเร่ ืองของการขาดองค์ประกอบ โดยฝ่ ายนีใ้ห้เหตุผลว่า ความผิดท่ี
เป็ นไปไม่ได้โดยแน่แท้ตามมาตรา 81 นัน ้ จะต้องมีของแท้จริงอันเป็ นองค์ประกอบของความผิดครบบริบูรณ์ หาก
แต่ด้วยเหตุปัจจัยท่ีใช้ในการกระทำาความผิดหรือด้วยเหตุวัตถุที่กระทำานัน ้ ไม่สามารถเป็ นไปได้โดยแน่แท้เท่านัน ้ ถ้า
หากไม่มีข้อเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบความผิดเลย ก็ไม่ควรจะถือว่าเป็ นพยายามกระทำาความผิด

ข้อเหมือนและข้อแตกต่างระหว่างการพยายามกระทำาความผิดตามมาตรา 80 มาตรา 81
จงกล่าวถึงข้อเหมือนและข้อแตกต่างระหว่างการพยายามกระทำา ความผิดตามมาตรา 80 และมาตรา 81
พอสังเขป
ข้อเหมือนระหว่างการพยายามกระทำาความผิดตามมาตรา 80 และมาตรา 81 มีอยู่ 2 ประการ คือ
(1) ผูก
้ ระทำามีเจตนากระทำาความผิดเหมือนกัน
(2) ผูก้ ระทำาความผิดได้ลงมือกระทำาไปแล้วเหมือนกัน
ข้อแตกต่างระหว่างการพยายามกระทำาความผิดตามมาตรา 80 และ มาตรา 81 มีอยู่ 3 ประการคือ
(1) การไม่บรรลุผลตามมาตรา 80 เป็ นเพราะเหตุบังเอิญแต่การไม่บรรลุตามมาตรา 81 เป็ นการไม่
บรรลุผลอย่างแน่แท้
(2) การไม่บรรลุผลตามมาตรา 80 อาจเกิดจากปั จจัยซ่ึงใช้ในการกระทำาหรือวัตถุที่มุ่งหมายกระทำาต่อ
หรือเพราะเหตุอ่ืนๆ ก็ได้ แต่การไม่บรรลุผลตามมาตรา 81 ต้องเกิดจากปั จจัยซ่ึงใช้ในการกระทำา
หรือวัตถุที่มุ่งหมายกระทำาต่อเท่านัน

(3) การพยายามตามมาตรา 80 กฎหมายกำา หนดโทษไว้ว่าให้รับโทษ 2 ใน 3 ของโทษท่ีกฎหมาย
กำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้ แต่การพยายามตามมาตรา 81 กฎหมายกำาหนดโทษไว้ว่าให้รับโทษ
ไม่เกินก่ึงหน่ึงของโทษที่กฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน

การพยายามกระทำาความผิดท่ีผู้กระทำายับยัง้หรือกลับใจแก้ไข
1. การยับยัง้ หมายถึง การสมัครใจยุติการกระทำาของตัวเอง เม่ ือตัวได้กระทำาถึงขัน ้ ลงมือแล้วจนกระทัง่
ก่อนความผิดจะสำาเร็จลง ซ่ึงหมายถึงจะต้องกระทำาระหว่างท่ีการกระทำาเข้าขัน ้ พยายามแล้ว
2. การกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทำา บรรลุผล เป็ นกรณีท่ีผู้กระทำา ได้กระทำา ทุกส่ิงทุกอย่างซ่ึงเขาเช่ อ
ื ว่า
จำา เป็ นสำา หรับความผิดสำา เร็จ แต่เ ขาได้กลับใจโดยความสมัครใจเข้าแก้ไขไม่ใ ห้ไม่ให้การกระทำา นัน ้
บรรลุผล
3. เม่ ือได้มีการกระทำา ท่ีเ ข้า ขัน
้ พยายามกระทำา ความผิ ดแล้ว โดยปกติผู้ก ระทำา ต้องต้องได้ รับโทษฐาน
พยายามเสมอ แต่ถ้าผู้กระทำาได้ยับยัง้หรือกลับใจแก้ไขมิให้การกระทำานัน ้ บรรลุผลด้วยความสมัครใจ
ของผู้กระทำา โดยมิใช่ถูกกดดันจากภายนอก กฎหมายก็ยอมยกเว้น ไม่เ อาโทษ คงเอาโทษในฐาน
ความผิดท่ีกระทำาการเช่นนัน ้ เป็ นความผิดสำาเร็จในตัวเองขึ้นแล้ว

หลักเกณฑ์การยับยัง้หรือกลับใจแก้ไข
จงบอกหลักเกณฑ์ของการพยายามกระทำาความผิดท่ีผู้กระทำายับยัง้หรือกลับใจแก้ไข พร้อมทัง้ยกตัวอย่าง
ประกอบ
จากบทบัญญัติมาตรา 82 เราสามารถแยกหลักเกณฑ์การพยายามกระทำาความผิดท่ีผู้กระทำายับยัง้หรือ
กลับใจแก้ไขได้เป็ น 3 ประการคือ
(1) ผูก้ ระทำาจะต้องลงมือกระทำาความผิดแล้ว
(2) ความผิดท่ีกระทำาจะต้องยังไม่สำาเร็จผลตามท่ีผู้กระทำาเจตนา
(3) ผูก ้ ระทำายับยัง้เสียเองไม่กระทำาการให้ตลอดหรือกระทำาไปตลอดแล้วแต่กลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทำา
นัน ้ บรรลุผล
ตัวอย่าง

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


33

(1) ส่อง ยกปื นขึ้นเล็งจะยิง แสง แต่ ส่อง เกิดสงสารขึ้นมาจึงกลับใจไม่ยิงแสง ถือว่าส่องยับยัง้


เสียเองไม่ต้องรับโทษฐานพยายามฆ่าคน
(2) เฟ่ อ
ื งวางยาพิษฟ้ า โดยเอายาพิษใส่ในถ้วยกาแฟของฟ้ า เม่ ือฟ้ าด่ ืมยาพิษเข้าไปแล้วเฟ่ ืองเกิด
สำานึกผิดจึงเอายาถอนพิษให้ฟ้ากิน จนยาพิษไม่ได้ทำาอันตรายแก่จิตใจหรือร่างการของฟ้ า
ถือว่าเฟ่ ืองกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทำานัน
้ บรรลุผล ไม่ต้องรับโทษฐานพยายามฆ่าคน

ผลของการท่ผ ี ู้กระทำายับยัง้หรือกลับใจแก้ไข
จงกล่าวถึงผลของการพยายามกระทำาความผิดท่ีผู้กระทำายับยัง้หรือกลับใจแก้ไข
ผลของการพยายามกระทำาความผิดท่ผ ี ู้กระทำายับยัง้หรือกลับใจแก้ไข แยกได้เป็ น 2 ประการคือ
(1) ผูก
้ ระทำาไม่ต้องรับโทษสำาหรับการพยายามกระทำาความผิดนัน ้
(2) แต่ถ้าการท่ีได้กระทำา ไปแล้ว ต้อ งตามบทกฎหมายท่ีบัญ ญัติเป็ นความผิด ผู้นัน ้ ต้อ งรับโทษสำา หรั บ
ความผิดนัน ้

ส้มต้องการฆ่าม่วง ส้มจึงยกปื นขึ้นจ้องจะยิงม่วง ส้มเห็นพระภิกษุเดินมา ส้มนึกถึง บาปบุญคุณโทษ ไม่


อยากทำาบาป จึงตัดสินใจเลิกยิงม่วง แต่ก่อนจะจากไปส้มได้ใช้ด้ามปื นตีศีรษะม่วงหน่ึงทีเป็ นแผลโลหิตไหล กรณีดัง
กล่าวส้มจะมีความผิดฐานใดหรือไม่
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 80 บัญญัติว่า ผู้ใดลงมือกระทำาความผิดแต่กระทำา ไปไม่ตลอดหรือ
กระทำาไปแล้วแต่การกระทำานัน ้ ไม่บรรลุผล ผูน้ ัน
้ พยายามกระทำาความผิด
และประมวลกฎหมายอาญามาตรา 82 บัญ ญั ติว่ า ผู้ใดพยายามกระทำา ความผิ ด หากยั บ ยั ง้ เสี ย เองไม่
กระทำาการให้ตลอดหรือกลับใจแก้ไขไม่ให้กระทำานัน ้ บรรลุผล ผูน
้ ัน
้ ไม่ต้องรับโทษสำาหรับการพยายามกระทำาความ
ผิดนัน้ แต่ถ้าการท่ีได้กระทำาไปแล้วต้องตามบทกฎหมายท่ีได้บัญญัติเป็ นความผิดผู้นัน ้ ต้องรับโทษสำาหรับความผิด
นัน
้ ๆ
จากข้อเท็จ จริงตามปั ญหา การท่ีส้มต้องการฆ่าม่ว ง จึงยกปื นจ้อ งจะยิงม่ว ง การกระทำา ของส้มดัง กล่าว
ถือว่าเป็ นการลงมือกระความผิดแล้ว แต่กระทำาไปไม่ตลอด ตามมาตรา 80 ซ่ึงการกระทำาไม่ตลอดนีเ้ป็ นเพราะส้ม
เห็นพระภิกษุเดินมา นึกถึงบาปบุญคุณโทษ จึงตัดสินใจเลิกยิงม่วง การกระทำาดังกล่าวถือว่าส้มยับยัง้ชั่งใจเสียเอง
ไม่กระทำาการให้ตลอด ซ่ึงเป็ นการยับยัง้ชั่งใจโดยสมัครใจ เพราะส้มสามารถกระทำาความผิดให้ตลอดได้ แต่ยุติการก
ระทำา ของตนเสีย (ตามมาตรา 82) ส้มจึงมีความผิดฐานพยายามฆ่าผู้อ่น ื แต่ไม่ต้องรับโทษสำา หรับการพยายาม
กระทำาความผิดนัน ้ ส่วนการท่ีส้มตีศีรษะม่วงด้วยด้ามปื นนัน ้ ส้มต้องมีความผิดฐานทำาร้ายร่างกายอีกกระทงหน่ึง
ด้วย

บทบัญญัติพิเศษเก่ียวกับการพยายามกระทำาความผิดบางลักษณะ
1. มีความผิดบางประเภทท่ีไม่มค ี วามผิดฐานพยายาม เช่น ความผิดฐานประมาทจะมีพยายามไม่ได้ เพราะ
ไม่ได้กระทำาโดยเจตนา
2. โดยทัว่ไปการพยายามกระทำาความผิดจะมีโทษสองในสามส่วนหรือไม่เกินก่ึงหน่ึงของโทษท่ีกฎหมาย
กำาหนด แต่ก็มีข้อยกเว้นการกระทำาความผิดบางประเภทท่ีไม่ต้อรับโทษ
3. การพยายามกระทำาความผิดบางอย่าง ซ่ึงมีลักษณะรุนแรง กฎหมายได้เอาโทษผู้พยายามกระทำาความ
ผิดนัน้ เท่ากับการกระทำาความผิดสำาเร็จ

ความผิดท่ีมีพยายามไม่ได้
จงยกตัวอย่างความผิดท่ีมีพยายามมา 5 ตัวอย่าง
ความผิดบางฐานหรือการกระทำาบางลักษณะมีการพยายามไม่ได้โดยสภาพของตัวเองได้แก่
1. ความผิดฐานประมาท
2. ความผิดลหุโทษโดยทั่วไป
3. ความผิดฐานเป็ นผู้ใช้หรือผู้สนับสนุน
4. ความผิดฐานละเว้น
5. ความผิด บางอย่าง แม้ก ระทำา สำา เร็จ แล้ว ยังไม่เป็ นความผิด เด็ด ขาด จนกว่ าจะผ่า นพ้ น เวลา หรื อ มี
พฤติการณ์อ่ืนมาประกอบจึงจะเป็ นความผิด

การพยายามกระทำาความผิดท่ีไม่ต้องรับโทษ
มีกรณีใดบ้างท่ีพยายามกระทำาความผิดแล้ว แต่ไม่ต้องรับโทษ
โดยหลักแล้วเม่ อ
ื บุคคลกระทำาผิดถึงขัน
้ พยายามแล้ว บุคคลนัน ้ ก็ต้องรับโทษตามกฎหมาย แต่มีบางกรณี
ท่ีกฎหมายไม่เอาโทษการกระทำาท่ีถึงขัน
้ พยายามแล้ว ด้วยเหตุผลท่ตี ่างกันได้แก่
1. การกระทำาความผิดลหุโทษ
2. การพยายามทำาแท้ง
3. การยับยัง้เสียเิอง

การพยายามกระทำา ความผิ ด ท่ีก ฎหมายบั ญ ญั ติ โ ทษไว้ เ ท่ า กั บ โทษในความผิ ด สำา เร็ จ และการพยายาม


กระทำาความผิดท่ีกฎหมายถือเป็ นความผิดเช่นเดียวกับความผิดสำาเร็จ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


34

จงกล่าวถึงความผิดท่ีการพยายามกระทำาความผิดฐานนัน ้ ๆ กฎหมายบัญญัติโทษไว้เท่ากับโทษในความผิด
สำาเร็จและการพยายามกระทำาความผิดท่ีกฎหมายถือว่าเป็ นความผิดเช่นเดียวกับความผิดสำาเร็จ
ความผิดบางฐาน การพยายามกระทำาความผิดก็มีผลร้ายแรงไม่น้อยไปกว่าความผิดสำาเร็จ จึงสมควรท่จี ะ
ลงโทษการพยายามกระทำาความผิดฐานนัน ้ ๆ เท่ากับโทษในความผิดสำาเร็จหรือถือว่าการพยายามกระทำาความผิด
เช่นเดียวกับความผิดสำาเร็จ ได้แก่
1. การพยายามปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์
2. การพยายามกระทำาการประทุษร้ายต่อพระองค์หรือเสรีภาพของพระมหากษัตริย์
3. การพยายามปลงพระชนม์พระราชินีหรือรัชทายาท หรือฆ่าผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์
4. การพยายามกระทำา การประทุษร้ายต่อ พระองค์หรือเสรีภาพของพระราชิ นีหรือ รัชทายาท หรือ ต่อ
ร่างกายหรือเสรีภาพของผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์
5. การพยายามกระทำาความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร
6. การพยายามทำาร้ายร่างกายหรือประทุษร้ายต่อเสรีภาพของราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาทหรือ
ประมุขแห่งรัฐต่างประเทศ ท่ีมีสัมพันธ์ไมตรี
7. การพยายามฆ่าราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาทหรือประมุขของรัฐต่างประเทศที่มีสัมพันธไมตรี
หรือผู้แทนของรัฐต่างประเทศ ซ่ึงได้รับแต่งตัง้ให้มาสู่พระราชสำานัก

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 7 การพยายามกระทำาความผิด

1. การกระทำาในขัน
้ ตอน ท่ีบุคคลต้องรับผิดฐานพยายาม ได้แก่ การลงมือกระทำา
2. การพยามกระทำาความผิด เช่น แดงเห็นดำาเดินผ่านมาเลยยกปื นจ้องไปทางดำา
3. ม่วงเอายาพิษใส่ในถ้วยกาแฟให้ฟ้ากิน แต่เหลืองปั ดถ้วยกาแฟตกแตกก่อน กรณีนีถ้ือว่า เป็ นการลงมือ
กระทำาความผิดแล้ว
4. ความหมายของการพยายามกระทำาความผิด เช่น ลงมือกระทำาความผิดและกระทำาไปตลอดแล้วแต่การนัน

ไม่บรรลุผล
5. ขาวเจตนาจะฆ่าเขียว จึงยิงปื นไปท่ีเขียว แต่เขียวหลบกระสุนปื นทัน ทำา ให้กระสุนไม่ถูกเขียวดังนี้ ขาวมี
ความผิดฐานพยายามฆ่าเขียว
6. ส้มจะฆ่าน้ำาเงิน จึงใช้ปืนยิงน้ำาเงิน แต่ยิงไม่ถูกน้ำาเงิน จึงไม่ตาย กรณีนีไ้ม่ถือเป็ นการพยายามกระทำาความ
ผิดท่ีไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้เพราะปั จจัยท่ีใช้ในการกระทำา
7. ต้อยต้องการฆ่าต่ิง ต้อยเห็นตอไม้คิดว่าเป็ นต่ิง แต่แท้ท่ีจริ งต่ิงไปต่ างจั งหวั ดหลายวั นแล้ ว ต้อยผิด ฐาน
พยายามฆ่าผู้อ่ืนโดยไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ เพราะวัตถุท่ีมุ่งกระทำาต่อ
8. การพยายามกระทำา ความผิดท่ีผู้กระทำา ยับยัง้เสียเองหมายความว่า ผู้กระทำา ได้ลงมือกระทำา แล้ว แต่เกิด
เปล่ียนใจด้วยความสมัครใจของตนเองไม่กระทำาให้ตลอด
9. กฎหมายได้กำาหนดผลของการยับยัง้หรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทำาบรรลุผล ผู้ยับยัง้หรือกลับใจแก้ไขไม่
ต้องรับโทษสำา หรับการพยายามกระทำา ความผิดนัน ้ แต่ถ้าการท่ีได้กระทำา ไปแล้วนัน ้ ต้องตามบทบัญญัติ
เป็ นความผิด ผูก ้ ระทำานัน้ ต้องรับโทษสำาหรับความผิดนัน ้
10. กฎหมายได้กำา หนดโทษฐานพยายามกระทำา ความผิ ดโดยทัว่ไปไว้คื อ 2 ใน 3 ส่วนของโทษท่ีกฎหมาย
กำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้
11. การท่ีผู้กระทำาได้ลงมือกระทำาความผิดแล้ว แต่กระทำาไปไม่ตลอดหรือกระทำาไปตลอดแล้วแต่ไม่บรรลุผล ผู้
กระทำานัน ้ ต้องรับผิด ฐานพยายาม
12. การพยายามกระทำาความผิดหมายความว่า ลงมือกระทำาแล้ว แต่การกระทำานัน ้ ไม่บรรลุผล
13. การกระทำาท่ีขาดองค์ประกอบของความผิด ถือว่า ไม่เป็ นความผิดตามกฎหมาย
14. ผู้ ก ระทำา ยับยัง้ หรื อกลั บใจแก้ ไขมิใ ห้การกระทำา ของคนบรรลุ ผ ล บุ คคลนั น ้ ไม่ต้ อ งรั บโทษฐานพยายาม
กระทำาความผิด
15. เก้งข่มขืนกระทำาชำาเรา ด.ญ. เก่ง อายุ 3 ขวบ แต่กระทำาไม่สำาเร็จ เพราะอวัยวะเพศของ ด.ญ. เก่งเล็กเกิน
ไป เก้งจะต้องรับโทษไม่เกินก่ึงหน่ึงของโทษที่กฎหมายกำาหนดไว้
16. ในปั จจุบันนีศ ้ าลฎีกาไทยใช้หลักในการวินิจฉัยปั ญหาเร่ ืองการลงมือกระทำา ความผิดคือ หลักความใกล้ชิด
กับผล
17. ป้ ุมยกปื นขึ้ นเล็ งจะยิ งป้ อม แต่ คิดถึ ง ลู ก ของป้ อมจะต้ อ งกำา พร้ า เกิ ดสงสารจึ ง ยั บยั ง้ ไม่ ยิ ง กรณี นีถ้ือ ว่ า
เป็ นการยับยัง้เสียเองอันมีผลให้กระทำาไม่ต้องรับโทษสำาหรับการพยายามกระทำาความผิดนัน ้
18. ความผิดท่ีประกอบด้วยหลายกรรม มีหลักเกณฑ์อย่างไรในการพิจารณาเร่ ืองการลงมือกระทำา ความผิด
การกระทำากรรมหน่ึงกรรมใดลงไป ถือว่าลงมือกระทำาแล้ว
19. กุ้งใช้กรรไกรตัดสร้อยคอของไก่ขาดจากกัน และตกลงยังพ้ืนดิน แต่กุ้งยังไม่ได้เอาสร้อยคอไปเพราะตำารวจ
ร้องบอกให้ไก่รู้ตัว และเก็บสร้อยเสียก่อน กุ้งมีความผิดฐานลักทรัพย์

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


35

20. หน่อยวางยาพิษโหน่ง โดยเอายาพิษใสในถ้วยกาแฟของโหน่ง โหน่งด่ ืมยาพิษเข้าไปแล้ว แต่หน่อยเกิด


สงสารจึงเอายาถอนพิษให้โหน่งกิน โหน่งจึงไม่เ ป็ นอันตรายแก่กายหรือจิตใจ หน่อยไม่ต้องรับโทษฐาน
พยายามฆ่าโหน่ง

หน่วยท่ี 8 เหตุยกเว้นความผิด

1. บุคคลไม่ต้องรับผิดทางอาญา ถ้ากฎหมายหรือจารีตประเพณีให้อำานาจกระทำาการนัน ้ ได้


2. บุคคลไม่ต้องรับผิดทางอาญา ถ้าได้กระทำาเพ่ ือป้ องกันสิทธิของตนเองหรือผู้อ่ืนพอสมควรแก่เหตุ
3. บุคคลไม่ต้องรับผิดทางอาญาบางกรณี ถ้าผู้เสียหายได้ยินยอมให้กระทำา การนัน ้ หรือเป็ นการปฏิบัติตามคำา
สัง่โดยชอบของเจ้าพนักงาน

กฎหมายและจารีตประเพณีให้อำานาจกระทำาได้
1. บุคคลอาจกระทำาการอย่างใดอย่างหน่ึงได้โดยไม่ต้องรับผิดในทางอาญาถ้ามีกฎหมายให้อำานาจบุคคล
กระทำาการเช่นนัน ้ ได้
2. ถ้าได้มีจารีตประเพณีให้อำานาจบุคคลกระทำาการอย่างหน่ึงอย่างใดได้ หากบุคคลได้กระทำาการเช่นนัน

ลงไปก็ไม่มีความผิดในทางอาญาเช่นเดียวกัน

กฎหมายให้อำานาจกระทำาได้
เราแยกพิจารณากรณีท่ีกฎหมายให้อำานาจแก่บุคคลกระทำาการใดได้โดยกว้างๆ อย่างไรบ้าง
เราอาจแยกพิจารณากรณีที่กฎหมายให้อำานาจแก่บุคคลกระทำาการใดได้โดยกวางๆ ดังต่อไปนี้
(1) ให้อำานาจแก่พนักงานเจ้าหน้าท่ีในการปฏิบัติการตามหน้าท่ี เช่น ให้อำา นาจตำา รวจใน
การจับกุมผู้กระทำาผิดเป็ นต้น
(2) ให้อำา นาจแก่บุคคลโดยผ่านการกลั่นกรองของพนักงานเจ้าหน้าท่ีก่อ น เช่น บุคคลท่ี
ต้องการจะทำาไม้หวงห้าม ต้องขออนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าท่ีก่อน
(3) ให้อำานาจแก่บุคคลในการท่ีจะกระทำากิจการเพ่ ือประโยชน์สาธารณะหรือเพ่ ือผูอ
้ ่ ืน เช่น
สมาชิ กสภาผู้ แทนราษฎรมี เ อกสิท ธิ ในการแสดงความคิ ด เห็ นต่ า งๆ ในสภาผู้แ ทน
ราษฎร บุคคลใดจะนำาไปฟ้ องร้องไม่ได้
(4) ให้อำานาจแก่บุคคลเพ่ อ
ื การปกป้ องคุ้มครองสิทธิหรือประโยชน์สุขส่วนตน เช่น คูค ่ วาม
ซ่ึง แสดงความคิ ด เห็ น ในกระบวนการพิ จ ารณาคดี ใ นศาลไม่ มี ค วามผิ ด ฐานหม่ิน
ประมาท

จารีตประเพณีให้อำานาจกระทำาได้
จารีตประเพณีคืออะไร จารีตประเพณียกเว้นความผิดทางอาญาของบุคคลได้อย่างไร
จารีตประเพณีคือข้อบังคับแห่งความประพฤติของมนุษย์ในเร่ อ ื งใดเร่ อ
ื งหน่ึงซ่ึงถือปฏิบัติตามสืบเน่ ือง
กันมาตลอดเสมือนเป็ นกฎหมาย โดยมิได้มีการเขียนบัญญัติไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร หากมีบันทึกอยู่ในความจำา
และความคิดของบุคคลจารีตประเพณียกเว้นความผิดทางอาญาของบุคคลได้ โดยการท่ีจ ารีตประเพณี ให้อำา นาจ
บุคคลท่ีจะกระทำาการอย่างใดอย่างหน่ึงได้ และแม้การนัน ้ จะเข้าองค์ประกอบความผิดอาญาบุคคลนัน ้ ก็ไม่ต้องรับผิด
แต่อย่างใด เช่น ถ้าจารีตประเพณีให้อำานาจบุคคลเข้าไปเก็บเห็ด เก็บไม้ฟืนในท่ีดินของผู้อ่น ื ได้ และได้มีบุคคลเข้าไป
กระทำาการดังกล่าว เจ้าของท่ีดินจะฟ้ องร้องดำาเนินคดีกับบุคคลนัน ้ ในความผิดฐานบุกรุกและลักทรัพย์ไม่ได้

การกระทำาเพ่ ือป้ องกันสิทธิ


1. บุคคลจะต้องกระทำาการท่ีกฎหมายบัญญัติไว้เป็ นความผิด เพ่ ือป้ องกันสิทธิของตนเองหรือผู้อ่ืนให้พ้น
จากภยันตรายอย่างใดอย่างหน่ึง
2. ภยันตรายนัน ้ จะต้องเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายและใกล้จะถึงซ่ึงไม่อาจแก้ไขได้โดย
วิธีอ่ืน
3. การกระทำาเพ่ ือป้ องกันสิทธิจะต้องกระทำาไปภายในขอบเขตท่ีเหมาะสม

แนวความคิดเก่ียวกับการป้ องกันและความเป็ นมาของกฎหมายไทย


กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ยกเว้นความผิดให้แก่ผู้กระทำาเพ่ ือป้ องกันหรือไม่
กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 มาตรา 50 บัญญัติว่า “ผู้ใดกระทำา การอย่างหน่ึงอย่างใดแต่พอ
สมควรแก่เหตุ โดยมีความจำาเป็ นเพ่ ือป้ องกันชีวิต เกียรติยศและช่ อ
ื เสียง หรือทรัพย์ของตัวมันก็ดี หรือของผู้อ่ืนก็ดี
เพ่ อ
ื ให้พ้นภยันตรายซ่ึง เกิด โดยผิด กฎหมาย ท่านว่าไม่ควรลงอาญาแก่ มัน” ถื อ ได้ว่ ายกเว้ นแต่เ ฉพาะโทษมิไ ด้
ยกเว้นความผิดให้แต่อย่างใด ผูก ้ ระทำาจึงยังคงมีความผิดอยูอ
่ ีก

เป็ นการกระทำาเพ่ ือป้ องกันสิทธิของตนเองหรือผู้อ่ืน

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


36

นายดำาบุกรุกเข้าไปแย่งครอบครองสวนมะม่วงของนายแดง ซ่ึงนายแดงเข้าไปปลูกอยู่ในบริเวณป่ าสงวน


แห่งชาติโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย นายแดงมีอำานาจป้ องกันนายดำาจากการบุกรุกเข้าไปในสวนมะม่วงได้หรือไม่ เพียง
ใด
ตาม ปอ. มาตรา 68 บุคคลอาจกระทำาการใดๆเพ่ ือป้ องกันสิทธิของตนหรือของผู้อ่ืนให้พ้นภยันตราย
ซ่ึงเกิดจากการประทุษร้ายละเมิดต่อกฎหมายและเป็ นภยันตรายท่ีใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำาไปพอสมควรแก่เหตุหรือ
ไม่เกินกว่ากรณีที่จำาต้องกระทำาเพ่ ือป้ องกัน ถือว่าบุคคลนัน
้ ไม่มีความผิด
การท่ีนายแดงเข้าไปทำาสวนมะม่วงในบริเวณป่ าสงวนแห่งชาติ แม้จะเป็ นการกระทำาท่ผ ี ิดกฎหมายอาญา
แม้จะไม่อาจกล่าวอ้างสิทธิใดๆ ต่อรัฐก็ตามแต่นายแดงมีอำา นาจอันชอบธรรมในสวนดังกล่าว ซ่ึงอาจกล่าวอ้างต่อ
ราษฎรด้วยกันได้ เม่ ือนายดำาได้บุกรุกเข้าไปแย่งการครอบครองสวนมะม่วง ถือว่านายดำาได้ก่อให้เกิดภยันตรายต่อ
สิทธิของนายแดงโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายและเป็ นภยันตราย ซ่ึงได้เกิดขึ้นแล้วและยังไม่หมดสิน ้ ไป นายแดงย่อมมี
อำานาจป้ องกันสิทธิของตนได้พอสมควรแก่เหตุและไม่เกินกว่ากรณีที่จำาเป็ นต้องป้ องกัน ซ่ึงตาม ปอ. มาตรา 68
ถือว่าการกระทำาของนายแดงไม่มีความผิด (นัย ฏ 276/2474)

ให้พ้นภยันตรายซ่ึงเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
นายม่วงทะเลอะวิวาทกับนายคราม จนถึงขัน ้ ชกต่อยกัน มีผู้เข้าไปห้ามปราม ทัง้สองฝ่ ายจึงเลิกราแยก
ย้ายกันไป นายครามเข้าไปนัง่ด่ ืมน้ำาอยู่ท่ีร้านขายกาแฟ ส่วนนายม่วงพบไม้ท่อนโตขนาดเท่าแขนยางสองศอก จึงถือ
ตามไปตีนายครามหลายครัง้ ถูกบ้างไม่ถูกบ้าง นายครามหนีไปจนตรอกอยู่หลังร้าน นายม่วงก็ยังตามไปตีอีก นาย
ครามหยิบได้มีดปอกผลไม้ท่ีวางอยู่ จึงแทงสวนไปหน่ึงที ถูกท่ีช่องท้องของนายม่วงจนเป็ นเหตุให้ถึงแก่ความตามใน
เวลาต่อมาไม่นาน นายครามจะอ้างว่ากระทำาไปเพ่ ือป้ องกันตาม ปอ. มาตรา 68 ได้หรือไม่เพียงใด
ตาม ปอ. มาตรา 68 บัญญัติว่า “ผู้ใดจะกระทำา การใดเพ่ ือป้ องกันสิทธิของตน หรือของผู้อ่ืนให้พ้น
ภยัน ตรายซ่ึง เกิด จากการประทุ ษ ร้ ายอัน ละเมิ ด ต่ อ กฎหมาย และเป็ น ภยั นตรายท่ีใกล้จ ะถึ ง ถ้ าได้ก ระทำา ไปพอ
สมควรแก่เหตุ การกระทำานัน ้ เป็ นการป้ องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นัน ้ ไม่มีความผิด”
หลั ก สำา คัญ ประการหน่ึงซ่ึง เป็ น เง่ ือ นไขให้ ผู้ ก ระทำา ไม่ มี ค วามผิ ด คือ ภยั น ตรายท่ีเ กิ ด ขึ้ น จะต้อ งเป็ น
ภยันตรายซ่ึงเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย ถ้าผู้กระทำาเป็ นผู้ก่อภยันตรายนัน ้ ขึ้นด้วยความผิดของ
ตน จะอ้างอำานาจป้ องกันตาม ปอ . มาตรา 68 ไม่ได้ เช่น ถ้าผู้กระทำาสมัครใจเข้าวิวาทต่อสู้กับผู้อ่ืนย่อมไม่อาจอ้าง
อำานาจป้ องกันตาม ปอ. มาตรา 68 ได้ และต้องมีความผิดตามท่ีได้กระทำาลงไป
แต่กรณีนายม่วงกับนายครามนี แ ้ ม้ในชัน
้ แรกนายครามจ
ห้ามปราม นายคราม ก็ได้เลิกราไป และได้ไปด่ ืมน้ำาอยู่ท่ีร้านขายกาแฟแล้ว ถือว่าการสมัครใจได้ขาดตอนไป เม่ ือ
นายม่วงได้ใช้ไม้ตีทำาร้ายนายครามอีก ถือว่านายม่วงได้ก่อให้เกิดภยันตรายขึ้นมาใหม่ เป็ นภยันตรายซ่ึงเกิดจากการ
ประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมายและใกล้จะถึง โดยนายครามมิได้มีส่วนในการก่อภยันตรายนีข ้ ึน
้ มาแต่อ ย่างใด
การท่ีนายครามหยิบมีดปอกผลไม้จึงแทงสวนไปหน่ึงที ในขณะท่ีนายม่วงกำา ลังใช้ไม้ไล่ตีทำา ร้ายตนอยู่นัน ้ ถือว่า
เป็ นการกระทำา ไปพอสมควรแก่เหตุ และไม่เกินกว่ากรณีที่จำา ต้องกระทำา เพ่ ือป้ องกัน เพราะกรณีฉุกเฉินเช่นนัน ้
นายครามย่อมไม่มีโอกาสเลือกได้ว่าจะแทงส่วนใดของร่างกายได้ ฉะนัน ้ แม่นายม่วงจะถึงแก่ความตาย นายครามก็
ไม่มีความผิด (นัย ฎ 2520/2529)

เป็ นภยันตรายท่ใี กล้จะถึง


นายฉุนพูดจาโต้เถียงกับนายเฉียวทางโทรศัพท์ นายฉุนโกรธแค้นนายเฉียวมาก จึงพูดว่านายเฉียวอย่า
หนีไปไหน เดี๋ยวตนจะไปฆ่านายเฉียวท่ีบ้าน แล้ววางหูโทรศัพท์ลงอย่างมีโทสะรุนแรง นายเฉียวเกิดความกลัวเช่ ือว่า
นายฉุนจะฆ่าตนจริง ทัง้บ้านก็อยู่หา่ งกันเพียง 1 กิโลเมตรเท่านัน ้ นายเฉียวจึงตัดสินใจพกปื นขับรถออกจากบ้านไป
หานายฉุนโดยไปจอดรถอยู่ห่างจากบ้านนายฉุนราว 100 เมตร แล้วไปดักซุ่มอยู่ท่ีหน้าบ้านนายฉุน สักครู่นายฉุน
เปิ ดประตูพกปื นออกมาจากบ้าน นายเฉียวจึง ยิง นายฉุนถึง แก่ความตาย ถามว่านายเฉียวจะอ้า งว่า กระทำา ไปเพ่ ือ
ป้ องกันตาม ปอ. มาตรา 68 ได้หรือไม่
ตาม ปอ. มาตรา 68 เร่ ือ งการป้ องกั น โดยชอบด้ ว ยกฎหมายนั น ้ มี ห ลั ก สำา คั ญ อยู่ ป ระการหน่ึง ว่ า
ภยันตรายท่ีเกิดขึ้นนัน ้ ต้องเป็ นภยันตรายท่ีใกล้จะถึงหากภยันตรายนัน ้ ยังอยู่ห่างไกล ก็ไม่เข้าเง่ อ ื นไขท่จี ะป้ องกัน
โดยชอบ
กรณีนายเฉียวยิงนายฉุนถึงแก่ความตายนัน ้ แม้นายเฉียวจะเช่ ือว่านายฉุนจะไปฆ่าตนท่ีบ้านจริงก็ตาม
แต่ภยันตรายท่ีจะเกิดขึ้นยังเป็ นภยันตรายท่อี ยู่ห่างไกลไม่ใกล้จะถึง ซ่ึงนายเฉียวยังมีโอกาสท่ีจะหลีกเล่ียงภยันตราย
ให้พ้นได้โดยวิธีอ่ืน เช่น หนีไปให้พ้นจากบ้านปิ ดประตูบ้านเสีย ไม่ยอมให้นายฉุนเข้าไปในบ้านได้ ไปแจ้งความร้อง
ทุกข์กับตำารวจเป็ นต้น การท่ีนายเฉียวตัดสินใจไปดักยิงนายฉุนท่ีบ้าน จึงเป็ นการกระทำาท่ีไม่อาจอ้างอำานาจป้ องกัน
ตามมาตรา 68 ได้ นายเฉียวย่อมมีความผิดฐานฆ่าคนตายโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ตาม ปอ. มาตรา 289

เป็ นกรณีจำาต้องกระทำา
มีคนร้ายลักกระบือ 1 ตัว ของนายขวัญไป นายขวัญจึงตามคนร้ายไปโดยอาศัยรอยกระบือ และไปพบ
กระบือผูกอยู่ในป่ าละเมาะ แต่ไม่พบคนร้าย ขวัญเช่ ือว่าคนร้ายจะต้องกลับมาเอากระบือไป จึงดักซุ่มอยู่คร่ึงชัว่โมง
ได้มีคนร้าย 1 คน จะมาแก้เชือกท่ีล่ามเพ่ อ ื เอากระบือไป ขวัญจึงใช้ปืนท่พ
ี กมาด้วยยิงคนร้ายถึงแก่ความตาย ถามว่า
ขวัญจะอ้างว่ากระทำาเพ่ ือป้ องกันทรัพย์ได้หรือไม่

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


37

การป้ องกันสิทธิของตนเองหรือผู้อ่ืนตาม ปอ. มาตรา 68 นัน ้ มีหลักสำาคัญประการหน่ึงว่า จะต้องเป็ น


กรณีที่ จำา ต้ อ งกระทำา เพ่ ือ ป้ องกัน สิ ท ธิข องตนเอง หรื อ ผู้ อ่ ืน ให้ พ้ น จากภยั น ตราย หากยั ง มี วิ ธี อ่ ืน ท่ีจ ะหลี ก เล่ีย ง
ภยันตรายได้โดยไม่ต้องกระทำาการอันกฎหมายบัญญัติไว้ว่าเป็ นความผิดแล้ว บุคคลก็ต้องเลือกเอาวิธีอ่ืนนัน ้
สำาหรับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นนี จ ้ ะเห็นได้ว่านายขวัญตามกระบือไปทันแล
ย่อมจะนำาเอากระบือกลับคืนไปได้ โดยไม่ต้องแย่งชิงหรือทำาร้ายต่อผู้ใด การท่ีนายขวัญกับซุ่มรออยู่ และยิงคนร้าย
จนถึงแก่ความตาย จึงไม่ถือเป็ นกรณีที่จำา ต้องกระทำา เพ่ ือป้ องกัน นายขวัญย่อมมีความผิดฐานฆ่าคนตาย (นัย ฎ
1250/2502 ประชุมใหญ่)

เป็ นการกระทำาพอสมควรแก่เหตุ
นายผาดซ่ึงเป็ นคนสงบเสง่ียมเรียบร้อยถูกนายโผนซ่ึงเป็ นนักเลงอันธพาลหาเร่ ืองชกต่อยทำาร้ายบาดเจ็บ
ในร้ายขายของชำา นายผาดล้มลงแล้วนายโผนก็ยังกระทืบซ้ำาหลายครัง้ และไม่มีทีท่าว่าจะเลิกรา นายผาดกลัวว่านาย
โผนจะฆ่าตน จึงคว้าขวานผ่าฟื นของเจ้าของร้านท่ีวางอยู่ใกล้มือฟั นไปท่ีแข้งของนายโผน 1 ที เป็ นแผลเหวอะหวะ
นายโผนล้มลงนอนดิน ้ ครวญคราง นายผาดลุกขึ้นฟั นซ้ำาแล้วซ้ำาอีกด้วยความกลัวว่านายโผนจะลุกขึ้นมาทำาร้ายตนจน
นายโผนถึงแก่ความตาย นายผาดมีความผิดหรือไม่เพียงใด
ตาม ปอ. มาตรา 68 การป้ องกันสิทธิของตนหรือของผู้อ่ืนให้พ้นจากภยันตรายที่ใกล้จ ะถึง จะต้อง
กระทำาไปพอสมควรแก่เหตุ จึงจะได้รับยกเว้นความผิด แต่ถ้ากระทำาไปเกินสมควรแก่เหตุ ตามมาตรา 69 ศาลจะ
ลงโทษน้อ ยเพียงใดก็ได้ และถ้ากระทำา ไปเพราะความต่ ืนเต้น ความตกใจกลัว หรือความกลัว ศาลจะไม่ล งโทษผู้
กระทำาก็ได้
จากอุทาหรณ์ กรณีนายผาดใช้ขวานฟั นนายโผนไปหน่ึงที จนนายโผนได้รับบาดแผลท่แ ี ข้งเหวอะหวะ
ล้มลงนอนดิน ้ ครวญคราง ถือว่าภยันตรายได้หมดสิน ้ ลงแล้ว หากนายผาดจะกระทำา ไปเพียงเท่านัน ้ ย่อ มเป็ นการ
กระทำาท่ีพอสมควรแก่เหตุ แต่การท่ีนายผาดยังคงฟั นซ้ำาแล้วซ้ำาอีกจนนายโผนถึงแก่ความตาย เพราะยังไม่หายกลัว
นายโผนนัน ้ ถือว่าเป็ นการกระทำาท่ีท่ีเกินสมควรแก่เหตุ ไม่ได้รับยกเว้นความผิด แต่ศาลอาจไม่ลงโทษนายผาดเลย
ก็ได้ตาม ปอ. มาตรา 69

ความยินยอมให้กระทำาและเหตุอ่ืน
1. ในบางกรณี ถ้าผู้เสียหายยินยอมให้กระทำา การอย่างหน่ึงอย่างใดและยินยอมนัน ้ ไม่ขัดต่อความสงบ
เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ผู้กระทำาก็ไม่มีความผิดทางอาญา
2. ถ้า บุค คลมีห น้า ท่ท
ี ่ีปฏิบัติต ามคำา สัง่ โดยชอบของเจ้า พนักงาน บุค คลนัน
้ ไม่ต้ องรับ ผิ ด ในทางอาญา
แม้ว่าจะได้กระทำาการซ่ึงกฎหมายบัญญัติไว้ว่าเป็ นความผิด

ความยินยอมให้กระทำา
ความยินยอมของผู้เสียหายท่ีไม่ก่อให้เกิดความรับผิดในทางอาญาในบางกรณีนัน
้ มีหลักเกณฑ์อย่างไร
บ้าง
มีหลักเกณฑ์คือ
(1) ต้องเป็ นความยินยอมท่ีไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศิลธรรมอันดีของประชาชน
(2) ต้องเป็ นความยินยอมท่ีใ ห้ไว้ต่อผู้กระทำา ก่อนหรื อขณะกระทำา การอัน กฎหมายบั ญ ญัติ ไว้ ว่ า เป็ น
ความผิด
(3) ต้องเป็ นความยินยอมโดยสมัครใจ

การกระทำาตามคำาสั่งโดยชอบของเจ้าพนักงาน
ปอ.ได้บัญญัติถึงเร่ ืองการกระทำา ตามคำา สัง่โดยชอบของเจ้าพนักงานไว้ หรือไม่ อย่างไร และคำา สัง่โดย
ชอบของเจ้าพนักงานนัน ้ เป็ นอย่างไร
ตาม ปอ. มิได้มีบทบัญญัติท่ีกล่าวถึงการกระทำาตามคำาสั่งโดยชอบของเจ้าพนักงานไว้แต่อย่างไร ซ่ึงต่าง
จากกฎหมายลักษณะอาญาท่ีบัญญัติว่า การกระทำาตามคำาสั่งโดยชอบด้วยกฎหมายไม่ต้องรับโทษ และตาม ปพพ.
บั ญ ญั ติ ว่ า การกระทำา ตามคำา สั่ ง โดยชอบด้ ว ยกฎหมายไม่ ต้ อ งใช้ ค่ า สิ น ไหมทดแทน อย่ า งไรก็ ต าม แม้ จ ะไม่ มี
บทบัญญัติดังกล่าวใน ปอ. แต่ย่อ มมีผลโดยปริยายว่า เม่ ือผู้ออกคำา สั่งมีอำา นาจออกคำา สั่ งโดยชอบด้ว ยกฎหมาย
ระเบียบแบบแผน ผู้ปฏิบัติตามคำาสั่งก็ย่อมปฏิบัติตามคำาสั่งนัน ้ โดยชอบเช่นกัน
คำาสั่งโดยชอบของเจ้าพนักงานนัน ้ ในชัน ้ ต้นผู้สั่งต้องเป็ นเจ้าพนักงานและมีอำานาจออกคำาสั่งนัน ้ ได้โดย
ชอบกฎหมายระเบียบแบบแผน ส่วนคำา สั่งนัน ้ ไม่จำา ต้องระบุว่าเป็ นคำา สั่งเสมอไป อาจใช้ถ้อยคำา อย่างอ่ ืนท่ีมีความ
หมายว่าสั่งให้กระทำาตาม ซ่ึงอาจเป็ นข้อตกลงหรือสัญญาอย่างใดอย่างหน่ึง ซ่ึงถ้าไม่กระทำาตามย่อมถือว่าผิดสัญญา
ก็ได้

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 8 เหตุยกเว้นความผิด

1. เหตุยกเว้นความผิดคือ เหตุบางเหตุซ่ึงมีอยู่ในขณะกระทำา ความผิดและเป็ นเหตุสำา คั ญท่ีทำา ให้ผู้กระทำา


สามารถกระทำาการนัน
้ ได้โดยไม่มีความผิดอาญา

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


38

2. กฎหมายให้อำานาจกระทำา ได้ หมายความว่า กฎหมายให้อำานาจบุคคลกระทำา การใดๆได้โดยชอบ แม้การ


นัน้ จะฝ่ าฝื นบทบัญญัติกฎหมายอาญาซ่ึงกำาหนดความผิดและโทษไว้ บุคคลนัน ้ ก็ไม่มีความผิด
3. กรณีท่ีถือว่า กฎหมายให้อำา นาจกระทำา ได้คือ เจ้าของท่ด ี ินมีอำา นาจตัด รากไม้ซ่ึงรุกเข้ามาจากท่ีดินติด ต่อ
และเอาไว้เสียโดยไม่มีความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์หรือลักทรัพย์
4. จารีตประเพณีให้อำา นาจกระทำา ได้หมายความว่า จารีตประเพณีให้อำา นาจบุคคลกระทำา การใดได้โดยชอบ
แม้การกระทำานัน ้ จะฝ่ าฝื นบทบัญญัติกฎหมายอาญา ซ่ึงกำาหนดความผิดและโทษไว้ บุคคลนัน ้ ก็ไม่มีความ
ผิด
5. กรณีท่ีจะถือว่าจารีตประเพณีให้อำานาจกระทำาได้คือ พระตีทำาโทษลูกศิษย์ ซ่ึงประพฤติผด ิ ร้ายแรง
6. สิทธิ หมายความว่า ประโยชน์ใดๆ ท่ีกฎหมายรับรองคุ้มครองให้
7. การป้ องกันสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมาย หมายความว่า บุคคลอาจกระทำา การส่ิงใดได้โดยไม่มีความผิด ถ้า
เป็ นการกระทำาเพ่ ือป้ องกันสิทธิของตนหรือของผูอ ้ ่ ืนโดยชอบด้วยกฎหมาย
8. กรณีท่ีถือว่าเป็ นการป้ องกันสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายคือ ตำารวจยิงผู้ร้ายท่ีกำาลังจ้องปื นยิงใส่ราษฎร
9. กรณีท่ีถือว่าเป็ นความยินยอมให้กระทำา ความผิดได้และทำา ให้ผู้กระทำา ไม่มีความผิด เช่น คนไข้ทำาหนังสือ
ยินยอมให้นายแพทย์ทำาการผ่าตัดสมอง
10. กรณีท่ีถือว่าเป็ นการกระทำา ตามคำา สัง่โดยชอบของเจ้าพนักงานไม่เป็ นความผิด เช่น กรณีนายเขียวใช้รถ
บรรทุกกัญชาของกลางไปสถานีตำารวจที่นายตำารวจจ้างให้บรรทุกไป
11. ตำารวจชัน ้ ผู้ใหญ่จับผู้ต้องหาด้วยตนเองได้โดยไม่ต้องมีหมายจับ ถือว่ากฎหมายให้อำานาจ กระทำาได้
12. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปราศรัยเปิ ดโปงความผิดของนายดำา รัฐมนตรีท่ีเวทีปราศรัยบริเวณสนามหลวง
โดยไม่สุจริต กฎหมายไม่ให้ อำานาจกระทำาได้
13. พระเฆ่ียนตีศิษย์เพ่ ืออบรมสัง่สอนมิให้พกอาวุธ ถือว่าจารีตประเพณีให้อำานาจกระทำาได้
14. จารีตประเพณีไม่ให้อำานาจกระทำาได้ เช่น นายเหลืองเข้าไปเก็บผลมะม่วงท่ต ี กหล่นอยู่ในสวนมะม่วงของ
นายแสดเพ่ ือเอาไปขาย
15. ผู้ตายถือขวานใหญ่บุกรุกเข้าไปจะทำาร้ายจำาเลยถึงในบ้านจำาเลยจึงฟั นผู้ตายถูกไหล่ซ้าย ขวานตกจากมือ ผู้
ตายล้มลงหยิบขวานและร้องเรียกให้พรรคพวกมาช่วย จำาเลยจึงฟั นซ้ำาอีกหลายที ถือว่าเป็ นการป้ องกันโดย
ชอบด้วยกฎหมาย
16. ภริยายืนคุยกับชายแปลกหน้าในท่ีลับ สามีเห็นเข้าจึงเกิดความหึงหวงจึงทำา ร้ายชายนัน ้ ได้รับบาดเจ็บ ไม่
ถือว่า เป็ นการป้ องโดยชอบด้วยกฎหมาย
17. นายม่วงบุกรุกขึ้นไปบนเรือนของนายคราม และเง้ือมีดไปท่ีนายครามนัง่อยู่ นายครามเข้าต่อสู้แย่งมีดมาได้
และใช้มีดนัน ้ แทงนายม่วงได้ทันที 1 ครัง้ ในขณะท่ีแย่งมีดกัน ถูกท่ห ี น้า อกซ้า ยเหนือราวนม นายม่วง
ถึงแก่ความตาย ถือว่าเป็ นการป้ องกันพอสมควรแก่เหตุ
18. นางสาวแจ๋วยินยอมให้แพทย์ผ่าตัดเสริมจมูก ถือได้ว่าเป็ น ความยินยอมให้กระทำาความผิดซ่ึงผู้กระทำาไม่มี
ความผิด
19. นายอ่อนยินยอมให้แพทย์ผ่าตัดเน้ืองอกในสมอง แพทย์ได้ทำา การผ่า ตัดอย่างสุดความสามารถ แต่นาย
อ่อนถึง แก่ค วามตายเพราะการผ่ า ตั ด กรณี นีถ ้ ือ ว่า แพทย์ไม่ต้อ งรับผิ ด ฐานทำา ให้ค นตายโดยไม่ เจตนา
เพราะผู้เสียหายยินยอมให้กระทำา
20. นายดำาลูกจ้างของกรมป่ าไม้ตัดโค่นไม้หวงห้ามท่ีเป็ นโรคตามคำาสัง่ของป่ าไม้เขตเพ่ ือการบำารุงรักษาป่ าตาม
หลักวิชาการป่ าไม้ ถือว่าเป็ นการปฏิบัติตามคำาสั่งโดยชอบของเจ้าพนักงานซ่ึงไม่มีความผิด

หน่วยท่ี 9 เหตุยกเว้นโทษ

1. บุคคลไม่ต้องรับโทษทางอาญาหากได้กระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ น
2. บุคคลไม่ต้องรับโทษทางอาญา ถ้าได้กระทำาตามคำาสัง่ท่ีมช
ิ อบของเจ้าพนักงานซ่ึงตนมีหน้าท่ต
ี ้องปฏิบัติตาม
3. บุคคลไม่ต้องรับโทษทางอาญาหากเป็ นเด็กอายุไม่เกินสิบส่ีปี
4. สามีภริยาซ่ึงกระทำาความผิดต่อกันในความผิดบางประเภทซ่ึงเก่ียวกับทรัพย์กฎหมายยกเว้นโทษให้

9.1 การกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ น
1. หากบุคคลกระทำา ความผิดด้วยความจำาเป็ น เพราะอยู่ในท่ีบังคับหรือภายใต้อำา นาจซ่ึงไม่สามารถหลีก
เล่ียงขัดขืนได้ และกระทำาไปพอสมควรแก่เหตุ บุคคลนัน้ ไม่ต้องได้รับโทษ
2. หากบุคคลกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ นเพราะเพ่ ือให้พ้นจากภยันตรายท่ีใกล้จะถึง และไม่สามารถ
หลีกเล่ียงให้พ้นโดยวิธีอ่ืนได้ หากกระทำาไปพอสมควรแก่เหตุบุคคลนัน ้ ไม่ต้องได้รับโทษเช่นเดียวกัน

9.1.1 กระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ นเพราะอยู่ในท่ีบังคับหรือภายใต้อำานาจ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


39

นายหม่ ืนใช้ปืนขู่บังคับนายแสนให้เขียนจดหมายหม่ินประมาทนายล้านตามคำาสัง่ของตน ถ้าขัดขืนจะยิงให้


ตาย นายแสนจึงยอมเขียนจดหมายหม่ินประมาทมอบให้กับนายหม่ ืนไปใช้ประมาทนายล้านตามความประสงค์ ถาม
ว่านายแสนมีความผิด และถูกลงโทษฐานหม่ินประมาทนายล้านหรือไม่
ตาม ปอ. มาตรา 67 บัญญัติไว้มีใจความว่า ผูใ้ ดกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ นเพราะอยู่ในท่ีบังคับหรือ
ภายใต้อำานาจซ่ึงไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ ถ้าการกระทำานัน
้ ไม่เกินสมควรแก่เหตุ ผู้นัน
้ ไม่ต้องรับโทษ
จากปั ญหา นายแสนตกอยู่ภายใต้อำานาจอาวุธปื นของนายหม่ ืน ซ่ึงไม่สามารถหลีกเล่ียงหรือขัดขืนได้ จึง
ต้องยอมเขียนจดหมายหม่ินประมาทนายล้านตามคำา สั่งของนายหม่ ืน จึงถือได้ว่ากระทำา ความผิดด้วยความจำา เป็ น
เพราะอยู่ภายใต้อำานาจซ่ึงไม่สามารถหลีกเล่ียงหรือขัดขืนได้ และได้กระทำาไปไม่เกินสมควรแก่เหตุนายแสนจึงได้รับ
ยกเว้นโทษในความผิดฐานหม่ินประมาท

9.1.2 กระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ นเพราะเพ่ ือให้พ้นจากภยันตราย


เม่ ือปี กลายฝนตกหนักจนท่วมนาข้า วของนายแก้วเสียหายหมดสิน ้ พอปี นีพ
้ อฝนเร่ิมตกมาไม่มาก นาย
แก้วกลัวว่า ฝนจะตกจนท่วมนาข้า วของตนเสียหายอีก จึง รีบขุดระบายน้ำา จากนาของตนผ่า นถนนสาธารณะไปยัง
คลองระบายน้ำาจนประชาชนสัญจรไปมาไม่สะดวก ถามว่า นายแก้วมีความผิดตาม ปอ. มาตรา 385 หรือไม่
ตาม ปอ. มาตรา 67(2) เร่ ืองการกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ นเพ่ ือหลีกเลี่ยงให้พ้นภยันตราย มีหลัก
สำา คัญอยู่ประการหน่ึงว่า ภยันตรายท่ีเกิดขึ้นนัน้ ต้องเป็ นภยันตรายท่ีใกล้จะถึง หากภยันตรายนัน ้ ยังอยู่ห่างไกล
ย่อมไม่เข้าเง่ ือนไขยกเว้นโทษตามมาตรา 67(2) นี้
จากกรณีอุทาหรณ์ ฝนเพียงเริ่มตกลงมาไม่มาก ภยันตรายท่ีจะเกิดขึ้น คือน้ำาท่วมต้นข้าวในนายังมาไม่ถึง
และไม่เป็ นการแน่นอนว่าปี นีฝ้ นจะตกหนักจนน้ำาท่วมนาหรือไม่ เม่ อ ื ภยันตรายยังไม่ใกล้จนถึงนายแก้วย่อมไม่อาจ
อ้างความจำาเป็ นตามมาตรา 67(2) เพ่ อ ื เป็ นข้อแก้ตัวไม่ต้องรับโทษได้ นายแก้วจึงต้องมีความผิดและต้องรับโทษ
ตาม ปอ. มาตรา 385 (นัย ฎ 734/2529)

9.2 ความไม่สามารถรับผิดชอบและความอ่อนอายุ
1. หากบุคคลกระทำาความผิดในขณะไม่สามารถรับผิดชอบหรือบังคับตนเองได้ เพราะมีจิตบกพร่องโรคจิต
หรือจิตฟั่ นเฟื อน บุคคลนัน้ ได้รับการยกเว้นโทษ
2. หากบุคคลเสพสุราหรือส่ิงมึนเมาโดยไม่รู้ว่าส่ิงนัน ้ จะทำา ให้มึนเมาหรือถูกขืนใจให้เสพ และได้กระทำา
ความผิดในขณะท่ีไม่สามารถรู้ ผิ ดชอบหรื อ บัง คับ ตนเองได้ เ พราะความมึน เมา บุ ค คลนั น้ ได้รั บ การ
ยกเว้นโทษเช่นเดียวกัน
3. เด็กอายุไม่เกินสิบส่ีปี โดยสภาพจิตใจถือว่ายังไม่อาจจะรู้ผิดชอบชัว่ดีหากกระทำาความผิด เด็กนัน้ ได้รับ
ยกเว้นโทษ

9.2.1 กระทำาความผิดในขณะจิตผิดปกติ
นายสุรบาล เป็ นพยานศาลในคดีฆ่าคนตาย ซ่ึงตนเห็นคนร้ายกำาลังฆ่าบุตรชายของตนเองอยู่ แต่ในชัน ้ เบิก
ความต่อศาล นายสุรบาล กลับให้การว่าตนไม่เห็นเหตุการณ์ ไม่ทราบว่าบุตรชายของตนถูกฆ่าตาย และไม่เคยมีบุตร
ชายแต่อย่างใด พนักงานอัยการโจทย์พยายามซักถามอย่างหนัก แต่พยานกลับให้การเลอะเลือนจำา อะไรไม่ได้เ ลย
ทัง้ๆท่ีเหตุการณ์เพ่ิงผ่านมาเพียงเดือนเศษ อัยการจึงแจ้งให้พนักงานสอบสวนดำา เนินคดีกับนายสุรบาล ฐานเบิก
ความเท็จ พนักงานสอบสวนได้ส่งนายสุรบาลไปให้จิตแพทย์ตรวจ จิตแพทย์รายงานว่านายสุรบาลเป็ นโรคท่เี กิดจาก
พิษสุรา เรียกว่า Korsakov’s Psychosis ทำาให้ความจำาแคบลงอย่างเห็นได้ชัดและเป็ นอยู่นาน จำา เหตุการณ์ท่ี
เพ่ิงผ่านมาไม่ได้ ไม่เข้าใจกาลเวลาอย่างลึกซ่ึงและพูดตอแหล ถามว่า นายสุรบาลมีความผิดและต้องรับโทษฐานเบิก
ความเท็จหรือไม่
ตาม ปอ. มาตรา 65 ผู้ใดกระทำา ความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิด ชอบหรือ ไม่ส ามารถบังคับตนเองได้
เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิต หรือจิตฟั่ นเฟื อน ผูน ้ ัน
้ ไม่ต้องรับโทษสำาหรับความผิดนัน

จากปั ญหา ปรากฏว่านายสุรบาลเป็ นโรคจิตคอร์ซาคอฟว์ มีอาการจำาเหตุการณ์ท่ีเพ่ิงผ่านมาไม่ได้และพูด
ตอแหลน่าเช่ ือว่าการเบิกความต่อศาลไปเช่นนัน ้ เป็ นเพราะไม่รู้สึกผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ หากรู้สึก
ผิดชอบหรือสามารถบังคับตนเองได้แล้ว น่าเช่ ือว่านายสุรบาลจะไม่เบิกความเท็จอย่างแน่นอน เพราะคดีดังกล่าว
บุตรชายของตนถูกฆ่าตาย บิดาย่อมต้องมุ่งหวังให้คนร้ายถูกลงโทษ ทัง้การให้การก็เลอะเลือนอย่างไม่น่าจะเป็ นไป
ได้ ย่อมไม่มีขอ
้ สงสัยเลยว่านายสุรบาลกระทำาเพ่ อ ื ช่วยเหลือคนร้ายให้พ้นผิดหรือเพราะเกรงกลัวอันตรายจะเกิดขึ้น
กับตน
กรณีนีน้ ายสุรบาลมีความผิดฐานเบิกความเท็จ แต่ได้รับยกเว้นโทษ ตาม ปอ. มาตรา 65

9.2.2กระทำาความผิดในขณะมึนเมา
บุคคลท่ีเป็ นโรคจิตจากพิษสุราหรือจากยาเสพติดได้กระทำา ความผิดในขณะท่ีไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือใน
ขณะท่ีไม่สามารถบังคับตนเองได้ บุคคลนัน ้ จะได้รับยกเว้นโทษหรือไม่ อย่างไร
บุคคลนัน้ ได้รับยกเว้นโทษตาม ปอ. มาตรา 65 โดยตรง เพราะถือว่ากระทำาผิดในขณะท่ีไม่รู้สึกผิดชอบ
หรือไม่สามารถบังคับตนเองได้เพราะโรคจิตตามมาตรา 65 มิใช่กรณีมึนเมาเพราะเสพสุราหรือสิ่งเมาอย่างอ่ ืนตาม
ปอ. มาตรา 66

9.2.3 เด็กอายุไม่เกินสิบส่ีปีกระทำาความผิด

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


40

เด็กอายุ 1 ขวบเศษเห็นพ่ีเลีย ้ งนอนหลับและกรนเสียงดัง รู้สึกก่ึงกลัว ก่ึงรำา คาญ จึงเอาของแข็งท่ีวางอยู่


ใกล้ตัว ทุบท่ีปากของพ่ีเล่ียงเพ่ อื ให้หยุดกรน ทำาให้ฟันของพ่ีเล่ียงหัก 1 ซ่ี โดยท่เี ด็กไม่รู้ว่าการท่ีตนกระทำาเช่นนัน ้ จะ
ทำาให้พ่ีเลีย
้ งได้รับบาดเจ็บ ถามว่า เด็กนัน ้ มีความผิดฐานทำาร้ายร่างกายหรือไม่ อย่างไร
ตาม ปอ.มาตรา 73 เด็กอายุไม่เกินเจ็ดปี กระทำาการอันกฎหมายบัญญัติว่าเป็ นความผิดเด็กนัน ้ ไม่ต้อง
รับโทษซ่ึงหมายความว่า เด็กนัน ้ จะต้องมีความรู้สึกผิดชอบเพียงพอท่ีจะเข้าใจว่าตนตนกำาลังกระทำาส่ิงใด และจะเกิด
ผลอำาไรขึ้นจากการกระทำานัน ้ แต่ถ้าเด็กนัน ้ ยังเป็ นทารกไม่รู้ไม่เข้าใจถึงส่ิงท่ีตนกระทำา ถือว่ายังไม่รู้สำานึกในการก
ระทำา จึงไม่ต้องมีความรับผิดในทางอาญา ตาม ปอ. มาตรา 59 เพราะขาดเจตนา
จากอุทาหรณ์ เด็กอายุเพียง 1 ขวบเศษ ยังไม่รู้สำา นึกในการที่กระทำา ไม่เข้าใจว่าการท่ีตนเอาของแข็ง
ทุบตีปากของพ่ีเลีย ้ งจะทำา ให้พ่ีเลีย
้ งได้รับบาดเจ็บ เข้าใจแต่เพียงว่าจะทำา ให้พ่ีเลีย ้ งหยุด กรนได้เท่านัน ้ เช่นนี ม ้ ิใช่
กรณี ตาม ปอ. มาตรา 73 ซ่ึงเด็กได้รับยกเว้นโทษ แต่เป็ นกรณีที่เด็กไม่ต้องรับผิดในทางอาญา ตาม ปอ . มาตรา
59

9.3 การกระทำาตามคำาสั่งท่ีมิชอบด้วยกฎหมายและความเป็ นสามีภริยา


1. ถ้าบุคคลมีหน้าท่ีต้องปฏิบัติตามคำา สัง่ของเจ้าพนักงาน แม้คำา สัง่ นัน
้ จะมิชอบด้วยกฎหมายผู้นัน
้ ก็ไม่
ควรรับโทษจากการกระทำาของตน เว้นแต่จะรู้ว่าคำาสัง่นัน ้ มิชอบด้วยกฎหมาย
2. สามีภริยากระทำา ความผิดต่อกันในความผิดบางประเภท ซ่ึงไม่กระทบต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีล
ธรรมอันดีของประชาชนควรได้รับการยกเว้นโทษ

9.3.1 การกระทำาตามคำาสั่งท่ีมิชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงาน
เหตุใดกฎหมายจึงต้องยกเว้นโทษให้แก่ผู้ปฏิบัติตามคำาสัง่ท่ีมิชอบของเจ้าพนักงานตามมาตรา 70
เหตุท่ีกฎหมายต้องยกเว้นโทษให้แก่ผู้ปฏิบัติตามคำาสั่งท่ีมิชอบของเจ้าพนักงานตามมาตรา 70 เน่ ืองจากผู้
กระทำามีหน้าท่ีหรือเช่ ือโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม ถ้าลงโทษก็จะไม่เป็ นธรรมแก่เขา อีกทัง้ เพ่ ือจะมิให้ผอ
ู้ ยู่
ใต้บังคับบัญชาต้องเกิดความไม่แน่ใจในความถูกต้องของคำาสั่งของผู้บังคับบัญชา อันจะเกิดผลเสียต่อการปฏิบัติงาน
ราชการทั่วๆไปได้

ท่ีว่าบุคคลมีหน้าท่ต
ี ้องปฏิบัติตามคำาสัง่ของเจ้าพนักงานนัน
้ หน้าท่ีดังกล่าวกำาหนดไว้ด้วยหรือไม่
หน้าท่ข ี องบุคคลตามมาตรา 70 นัน ้ อาจกำาหนดไว้ในกฎหมาย ระเบียบแบบแผน คำาสั่งทั่วไปหรือคำาสั่ง
เฉพาะคราวก็ได้

ท่ีว่าเช่ ือโดยสุจริตว่ามีหน้าท่ต ี ้องปฏิบัติตามคำาสัง่ของเจ้าพนักงานนัน ้ เป็ นเช่นไร


ท่ีว่ า เช่ อ
ื โดยสุ จ ริ ต ว่ า มี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ต ามคำา สั่ ง ของเจ้ า พนั ก งานนั น
้ กล่ า วคื อ ผู้ ซ่ึง ได้ รั บ คำา สั่ ง ของเจ้ า
พนักงานเช่ อ ื โดยไม่ติดใจสงสัยว่าตนต้องทำาตามคำาสั่งนัน ้ ถ้าไม่กระทำาตามตนอาจจะต้องมีความผิด ทางอาญาหรือ
ต้อ งรับโทษทางวินัยแล้ว แต่กรณี บุคคลประเภทนีอ ้ าจจะได้แก่ บุค คลผู้อ ยู่ใ ต้บั งคั บ บั ญชาของเจ้ าพนั กงานต้ อ ง
ปฏิบัติตามคำา สั่ งต่างๆ อยู่เสมอจึงเกิด ความเช่ ือ มั่นโดยไม่มี ข้อ สงสัย ใดๆ ว่า ตนมี หน้ า ท่ีต้อ งปฏิ บัติ ต ามคำา สั่ ง เจ้า
พนักงานนัน ้ ในกรณีอ่ ืน ๆด้ว ย หรือ บุคคลผู้รับคำา สั่ง กับเจ้าพนักงานผู้อ อกคำา สั่ง มีความสัมพั นธ์กันตามระเบี ย บ
แบบแผนอย่างใดอย่างหน่ึง ซ่ึงเป็ นช่องทางให้เกิดความเข้าใจเช่ ือถือไปว่าตนมีหน้าท่ีต้องปฏิบัติตามคำา สั่งของเจ้า
พนั ก งานนั น ้ เช่ น ลู ก บ้ า นกั บ ผู้ ใ หญ่ บ้ า น เป็ น ต้ น หรื อ บุ ค คลผู้ นั น ้ อาจเป็ น ผู้ อ ยู่ ใ นอำา นาจควบคุ ม ดู แ ลของเจ้ า
พนักงานตามกฎหมาย จึงเช่ ือโดยสุจริตว่าเจ้าพนักงานมีอำานาจสั่งให้ตนกระทำาการอย่างใดอย่างหน่ึง เช่น นักโทษ
กับผู้คุม เป็ นต้น

9.3.2สามีภริยากระทำาความผิดต่อกันในความผิดบางประเภท
สามีภรรยากระทำาความผิดต่อกันหมายความว่าอย่างไร
สามีภริยากระทำาความผิดต่อกันหมายความว่า สามีหรือภริยาเป็ นผู้กระทำาความผิดโดยลำาพังผู้เดียว เป็ น
ตัวการร่วมกันกับผู้อ่ืน เป็ นผู้ก่อให้ผู้อ่ืนกระทำาความผิดหรือเป็ นผู้สนับสนุนผู้อ่ืนกระทำา ความผิด และภริยาหรือ
สามีเป็ นผู้เสียหายโดยตรงในการกระทำาความผิดนัน ้ เช่น สามีเป็ นผู้ลักทรัพย์ของภริยา สามีร่วมกับผู้อ่น
ื ลักทรัพย์
ของภริยา สามีใช้คนอ่ ืนลักทรัพย์ของภริยา เป็ นต้น

ถ้าสามีภริยากระทำาความผิดต่อกันในความความผิดตามท่รี ะบุไว้ในมาตรา 71 หรือมีผู้อ่ืนเป็ นตัวการ ผู้ก่อ


ให้กระทำาความผิด หรือผู้สนับสนุนด้วยผู้อ่ืนนัน้ ได้รับยกเว้นโทษตามมาตรา 71 ด้วยหรือไม่อย่างไร
ผู้อ่ืนท่ีเป็ นตัวการร่วมกระทำาความผิดด้วยสามีหรือภริยา เป็ นผู้ก่อให้สามีหรือภริยากระทำาความผิดต่อกัน
หรือเป็ นผู้สนับสนุนให้สามีหรือภริยากระทำาความผิดต่อกันไม่ได้รับยกเว้นโทษตามมาตรา 71 เพราะเหตุยกเว้น
โทษตามมาตรา 71 เป็ นเหตุส่วนตัวของสามีหรือภริยาตามมาตรา 89

ถ้าสามีภริยาร่วมกันกระทำา ความผิดตามท่ีระบุไว้ในมาตรา 71 ต่อบุคคลภายนอก สามีภริยาจะได้รับการ


ยกเว้นโทษตามมาตรา 71 วรรคแรกหรือไม่ อย่างไร
สามีภริยาที่ร่วมกันกระทำาความผิดต่อบุคคลภายนอก ไม่ได้รับการยกเว้นโทษตามมาตรา 71 วรรคแรก
เพราะไม่ใช่เป็ นกรณีที่สามีหรือภริยากระทำาผิดต่อกันแต่อย่างใด

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


41

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 9 เหตุยกเว้นโทษ

1. เหตุยกเว้นโทษ หมายความว่า เหตุท่ียกเว้นเฉพาะโทษแต่ไม่ยกเว้นความผิด


2. การกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ น หมายความว่า ผู้กระทำาความผิดอยู่ในท่ีบังคับหรือภายใต้อำานาจซ่ึงไม่
สามารถหลีกเล่ียงเพ่ อ
ื ขัดขืนได้
3. กรณีท่ีเป็ นการกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ น คือ พนักงานดับเพลิงทำารายรัว้บ้านเพ่ อื สกัดต้นเพลิง
4. การกระทำา ความผิดขณะจิตผิดปกติ หมายความว่า กระทำา ความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่
สามารถบังคับตนเองได้ เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่ นเฟื อน
5. การกระทำาความผิดในขณะมึนเมาได้จะรับการยกเว้นโทษถ้าหาก ถูกขืนใจให้เสพส่ิงมึนเมาจนบังคับตนเอง
ไม่ได้
6. เด็กกระทำาความผิดไม่ต้องรับโทษ หากเด็กนัน ้ มีอายุไม่เกิน 14 ปี
7. ผู้กระทำาตามคำาสัง่ท่ม ี ิชอบของเจ้าพนักงานได้รับยกเว้นโทษ ถ้าหาก มีหน้าท่ีต้องปฏิบัติตามคำาสัง่นัน ้
8. สามีภริยา กระทำาผิดต่อกันในความผิดบางประเภทจะได้รับยกเว้นโทษ ถ้าหาก จดทะเบียนสมรสกัน
9. สามีภริยากระทำาผิดต่อกันในความผิดฐานใดจึงได้รับยกเว้นโทษ ทำาให้เสียทรัพย์
10. กรณีต่อไปนี้ไม่ได้รับการยกเว้นโทษในการกระทำาความผิด เช่น เจ้าพนักงานสั่งให้ยิงคนร้ายท่ีหลบหนีที่
คุมขัง
11. นายหอมไม่ไปคัดเลือกทหารตามหมายนัด เพราะนายหวลใช้ปืนบังคับมิให้ไป ถือว่าเป็ นการกระทำาความผิด
ด้วยความจำาเป็ นเพราะอยู่ในท่ีบังคับหรือภายใต้อำานาจซ่ึงไม่สามารถหลีกเล่ียงหรือขัดขืนได้
12. นายระบาดถูกงูเห่ากัด เพราะไปตีกบในทุ่งนา นายระเบีย นจึงลักรถจักรยานยนต์ของนายระบมพานาย
ระบาดไปฉีดเซรุ่ม เพราะไม่มียานพาหนะอย่า งใดท่ีจะพาไปให้ได้ทันท่วงที ถือ เป็ นกระทำา ความผิด ด้ว ย
ความจำาเป็ นเพราะเพ่ ือให้ตนเองหรือผู้อ่ืนพ้นจากภยันตรายที่ใกล้จะถึงและไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นโดย
วิธีอ่ืนใดได้ เม่ ือภยันตรายนัน ้ ตนมิได้ก่อให้เกิดขึ้นเพราะความผิดของตน
13. นายเหีย้ม นายโหด และเด็ กชายหอยโดยสารเรือ ไปในทะเล เรือ ได้อั ปปางคนทัง้สามลงเรื อ ลำา เดี ย วกั น
ลอยลำาอยู่ในทะเลเป็ นเวลาหลายวัน นายเหีย ้ มและนายโหดหิวโหยจนทนไม่ได้ เห็นเด็กชายหอยใกล้จะตาย
เพราะอดอาหารและน้ำา จึงร่วมกันฆ่าเด็กชายหอยกินเป็ นอาหาร ทำาให้รอดตาย กรณีนีถ ้ อื ว่า นายเหีย ้ มและ
นายโหดมีความผิด และต้องรับโทษฐานฆ่าคนตาย เพราะการฆ่าเด็กชายหอยเป็ นอาหารมิใช่วิธีสุดท้ายท่ีจะ
หลีกเล่ียงให้พ้นภยันตรายคือความตายเพราะการอดอาหาร
14. นายจู๋เป็ นโรคตอแหลอันเกิดจากพิษสุราชอบพูดโกหกโดยบังคับตนเองไม่ได้ เม่ อ ื ไปเบิกความท่ีศาลจึงเกิด
ความเท็จ เร่ ืองนีผ ้ ู้กระทำาได้รับการยกเว้นโทษเพราะกระทำาความผิดในขณะจิตผิดปกติตาม ปอ.มาตรา 65
มาตรา 65 ผู้ใดกระทำาความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เพราะมีจิตบกพร่อง
โรคจิต หรือจิตฟั่ นเฟื อน ผู้นัน ้ ไม่ต้องรับโทษสำาหรับความผิดนัน ้
แต่ถ้าผู้กระทำาความผิดยังสามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง หรือยังสามารถบังคับตนเองได้บ้าง ผู้นัน ้ ต้องรับโทษสำาหรับ
ความผิดนัน ้ แต่ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้ เพียงใดก็ได้
15. นายซอกเป็ นโรคจิตเช่ ือว่าโลกจะแตก จึงฆ่า นายซอนถึง แก่ความตายเพ่ ือช่วยโลกมิใ ห้แตก กรณีนีถ ้ ือว่า
ศาลจะลงโทษนายซอกน้อยกว่า ท่ีกฎหมายกำา หนดไว้ สำา หรั บความผิ ด ฐานฆ่า คนตายเพียงใดก็ไ ด้ หาก
ปรากฏข้อเท็จจริงเพ่ิมเติมว่า นายซอกไม่มัน ่ ใจในความเช่ ือของตนนัก และยังมีความคิดในขณะท่ีฆ่านาย
ซอนว่าตนอาจติดคุกฐานฆ่าคนตาย
16. นายอ่ิมกินเห็ดเมาโดยไม่รู้ว่าเป็ นเห็ดเมาเป็ นเหตุให้มึนเมาจนบัง คับตนเองไม่ได้ เอาดาบไล่ฟันนายอ่วม
บาดเจ็บ กรณีนีผ ้ ู้กระทำาได้รับการยกเว้นโทษสำาหรับความผิดท่ีกระทำา
17. ตาม ปอ.มาตรา 74 บัญญัติว่า เด็กอายุกว่า 7 ปี แต่ยังไม่เกิน 14 ปี กระทำาการอันกฎหมายบัญญัติเป็ น
ความผิด เด็กนัน ้ ไม่ต้องรับโทษ แต่ให้ศาลมีอำานาจท่ีจะดำาเนินการ ดังต่อไปนีค ้ ือ ว่ากล่าวตักเตือนเด็กนัน ้
แล้วปล่อยตัวไป และถ้าศาลเห็นสมควรท่ีจะเรียกบิดามารดาผู้ปกครองหรือบุคคลที่เด็กนัน ้ อาศัยอยู่มาตัก
เตือนด้วยก็ได้
มาตรา 74 เด็กอายุกว่าเจ็ดปี แต่ยังไม่เกินสิบส่ีปีกระทำา การอันกฎหมายบัญญัติไว้เป็ นความผิด เด็กนัน ้ ไม่ต้อง
รับโทษแต่ให้ศาลมีอำานาจท่ีจะดำาเนินการดังต่อไปนี้
(1) ว่ากล่าวตักเตือนเด็กนัน ้ แล้วปล่อยตัวไป และถ้าศาลเห็นสมควรจะเรียกบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคล
ท่ีเด็กนัน
้ อาศัยอยู่มาตักเตือนด้วยก็ได้
(2) ถ้าศาลเห็นว่าบิดามารดา หรือผู้ปกครองสามารถดูแลเด็กนัน ้ ได้ ศาลจะมีคำาสัง่ให้มอบตัวเด็กนัน ้ ให้แก่บิดา
มารดา หรือผู้ปกครองไป โดยวางข้อกำา หนดให้บิดามารดาหรือ ผู้ปกครองระวัง เด็กนัน ้ ไม่ใ ห้ ก่อเหตุร้า ย
ตลอดเวลาท่ีศาลกำาหนด ซ่ึงต้องไม่เกินสามปี และกำาหนด จำานวนเงินตามท่ีเห็นสมควร ซ่ึงบิดามารดาหรือ
ผู้ปกครองจะต้อง ชำาระต่อศาลไม่เกินครัง้ละหน่ึงพันบาทในเม่ ือเด็กนัน ้ ก่อเหตุร้ายขึ้น
ถ้าเด็กนัน ้ อาศัยอยู่กับบุคคลอ่ ืนนอกจากบิดามารดาหรือผู้ปกครอง และศาลเห็นว่าไม่สมควร จะเรียกบิดา
มารดาหรือผู้ปกครองมาวางข้อกำา หนดดังกล่า วข้า งต้นศาลจะเรีย กตัวบุค คลท่ีเ ด็กนัน ้ อาศัย อยู่มา สอบถามว่า จะ
ยอมรับข้อกำาหนดทำานองท่ีบัญญัติไว้สำาหรับบิดามารดา หรือผู้ปกครองดังกล่าวมาข้างต้น หรือไม่ก็ได้ ถ้าบุคคลท่ีเด็ก
นัน
้ อาศัยอยู่ยอมรับข้อกำาหนดเช่นว่านัน ้ ก็ให้ศาลมีคำาสัง่มอบตัวเด็ก ให้แก่บุคคลผู้นัน ้ ไปโดยวางข้อกำาหนดดังกล่าว

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


42

(3) ในกรณีท่ีศาลมอบตัวเด็กให้แก่บิดามารดา ผู้ปกครองหรือ บุคคลท่ีเด็กนัน


้ อาศัยอยู่ตาม (2) ศาลจะกำาหนด
เง่ ือนไขเพ่ ือคุมความ ประพฤติเด็กนัน ้ เช่นเดียวกับท่ีบัญญัติไว้ใน มาตรา 56 ด้วยก็ได้ ใน กรณีเช่นว่านี้
ให้ศาลแต่งตัง้พนักงานคุมประพฤติหรือพนักงานอ่ ืนใด เพ่ ือคุมประพฤติเด็กนัน ้
(4) ถ้าเด็กนัน ้ ไม่มีบิดามารดาหรือผู้ปกครอง หรือมีแต่ศาลเห็นว่าไม่สามารถดูแลเด็กนัน ้ ได้ หรือถ้าเด็กอาศัย
อยู่กับบุคคลอ่ ืนนอกจากบิดามารดาหรือผู้ปกครองและบุคคลนัน ้ ไม่ยอมรับข้อกำาหนดดังกล่าวใน (2) ศาล
จะมีคำาสัง่ให้มอบตัวเด็กนัน ้ ให้อยู่กับบุคคลหรือองค์การท่ีศาลเห็นสมควร เพ่ ือดูแลอบรมและสัง่สอนตาม
ระยะเวลาท่ีศาลกำาหนดก็ได้ในเม่ ือบุคคลนัน ้ หรือองค์กรนัน้ ยินยอม ในกรณีเช่นว่านีใ้ห้บุคคลหรือองค์การ
นัน้ มีอำานาจเช่นผู้ปกครองเฉพาะเพ่ อ ื ดูแล อบรมและสัง่สอน รวมตลอดถึงการกำาหนดท่ีอยู่ และการจัดให้
เด็กมีงานทำาตามสมควร หรือ
(5) ส่งตัวเด็กนัน ้ ไปโรงเรียน หรือสถานฝึ กอบรม หรือสถานท่ีซ่ึงจัดตัง้ขึ้นเพ่ ือฝึ กและอบรมเด็ก ตลอดระยะ
เวลาท่ีศาลกำาหนดแต่อย่าให้เกินกว่าท่ีเด็กนัน ้ จะมีอายุครบสิบแปดปี
คำาสัง่ของศาลในข้อ (2) (3) (4) และ (5) นัน ้ ถ้าในขณะใดภายในระยะเวลาท่ีศาลกำาหนดไว้ ความปรากฏแก่
ศาลโดยศาลรู้เองหรือตามคำาเสนอของผู้มีส่วนได้เสีย พนักงานอัยการ หรือบุคคลหรือองค์กรท่ีศาลมอบตัวเด็กเพ่ ือ
ดู แ ลอบรมและสั ง่ สอนหรื อ เจ้ า พนั ก งานว่ า พฤติ ก ารณ์ เ ก่ีย วกั บ คำา สั ง่ นั น
้ ได้ เ ปล่ีย นแปลงไป ก็ ใ ห้ ศ าลมี อำา นาจ
เปล่ียนแปลงแก้ไขคำาสัง่นัน ้ หรือมีคำาสัง่ใหม่ตามอำานาจในมาตรานี้
18. พลตำารวจได้รับคำาสัง่จากนายตำารวจให้ทำาร้ายผู้ต้องหาเพ่ อื ให้รับสารภาพตามท่ีเคยปฏิบัติมา ดังนี้ ผู้ท่ีกระทำา
ตามคำาสั่งของเจ้าพนักงานต้องรับโทษ
19. สามีร่วมกับผู้อ่ืนชิงทรัพย์ของภริยาตนเอง สามีต้องรับโทษในความผิดท่ีกระทำา
20. เด็กอายุ 2 ขวบ กระทำา การอันกฎหมายบัญญัติไว้เป็ นความผิด เด็กนัน ้ ไม่มีความผิดเพราะยังไร้เดียงสา
ไม่รู้สำานึกว่าตนกำาลังกระทำาความผิด

หน่วยท่ี 10 เหตุลดโทษ

1. บุคคลอาจได้รับการลดโทษหากได้กระทำาความผิดขณะบันดาลโทสะ
2. บุคคลอาจได้รับการลดโทษเช่นกัน หากได้กระทำา ความผิดโดยไม่รู้ว่ามีกฎหมายอันบัญญัติไว้เ ป็ นความผิด
เป็ นญาติใ กล้ชิดกระทำา ความผิดต่อกันในความผิดประเภท เป็ นบุค คลอายุกว่า สิ บส่ีปีแต่ไม่เ กิน ย่ีสิบ ปี หรือมีเหตุ
บรรเทาโทษ

10.1 บันดาลโทสะ
1. ผู้ท่ีจะอ้างเหตุบันดาลโทสะเพ่ ือการลดหย่อนโทษได้จะต้องถูกข่มเหงอย่างร้ายแรง และด้วยเหตุอันไม่เป็ น
ธรรม
2. กระทำา ความผิดต่อผู้ข่มเหงจะต้องกระทำาในขณะท่ีมีการข่มเหงนัน ้ จึงจะถือว่าเป็ นการกระทำา โดยบันดาล
โทสะ

10.1.1 ถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็ นธรรม


นายดำาและนายแดงต่างก็มึนเมาสุรา นัง่อยู่ในร้านขายสุรา แต่นัง่กินคนละโต๊ะ ต่างฝ่ ายต่างก็ไม่พอใจซ่ึงกัน
และกัน สักครู่นายดำาชักอาวุธปื นยิงนายแดงออกไป 1 นัด ได้รับบาดเจ็บ นายแดงจึงชักปื นยิงตอบโต้ไป ถูกนายดำา
ถึงแก่ความตาย ถามว่า นายแดงจะอ้างว่ากระทำาไปโดยบันดาลโทสะได้หรือไม่
ตาม ปอ. มาตรา 72 มีหลักว่า ผู้ใดบันดาลโทสะ เพราะถูกข่ม เหงด้ว ยเหตุอันไม่เป็ น ธรรม จึงกระทำา
ความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนัน ้ ศาลจะลงโทษผู้นัน้ น้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้ เพียงใดก็ได้
จากอุทาหรณ์ แม้นายดำา และนายแดงต่างมึนเมา และไม่พอใจซ่ึงกันและกัน แต่นายดำา ก็ไม่มีความชอบ
ธรรมอันใดท่ีจ ะยิงนายแดง โดยนายแดงก็หาได้เป็ นผู้ก่อ เหตุแต่อ ย่า งใดอย่า งหน่ึง จนถึง กั บ เป็ น การยั่ว ยุน ายดำา
ฉะนัน
้ การท่ีนายดำายิงนายแดงถือเป็ นการข่มเหงนายแดง และเป็ นข่มเหงนายแดงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่ชอบ
ธรรม เม่ ือ นายแดงเกิด บันดาลโทสะ ชักปื นยิ งโต้ตอบไปขณะนัน ้ จึงถือ ว่าเป็ น การกระทำา โดยบันดาลโทสะตาม
มาตรา 72 (นัย ฎ 2298/2531)

10.1.2 กระทำาความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนัน

นายเหลืองข่มขืนกระทำา ชำา เรานางม่วงภริยานายคราม นายครามกับมาถึง บ้า นทราบจากนางม่วงว่า นาย
เหลืองเพ่งิ จะลงจากเรือนไป นายครามเกิดโทสะคว้าปื นไล่ตามนายเหลืองไป ระหว่างทางพบนายแสดบิดานายเหลือง
จึงยิงนายแสดถึงแก่ความตาย เพราะโกรธนายเหลือง ถามว่า นายครามจะอ้างเหตุบันดาลโทสะได้หรือไม่
ตาม ปอ. มาตรา 72 การกระทำาบันดาลโทสะ เพราะถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็ นธรรมนัน ้
จะต้องเป็ นการกระทำาต่อผู้ข่มเหงนัน
้ แต่ตามอุทาหรณ์ นายแสดมิได้เป็ นผู้ข่มเหงหรือร่วมกันในการข่มเหง แม้จะ
เป็ นบิดาของนายเหลืองก็มิได้มีส่วนในการข่มเหงรังแกแต่อย่างใด การท่ีนายครามยิงนายแสดแม้จะยิงเพราะโกรธ
นายเหลืองก็ไม่อาจอ้างว่ามาทำาเพราะบันดาลโทสะตามมาตรา 72 ได้

10.2 เหตุลดโทษอ่ ืนๆ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


43

1. บุคคลใดไม่อาจแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพ่ อ ื ให้พ้นความรับผิดทางอาญาได้ แต่ถ้ามีหลักฐานแน่ชัดว่าบุคคลนัน้


ไม่รู้ว่ามีกฎหมายบัญญัติไว้เช่นนัน ้ ก็อาจจะได้รับการปราณีลดโทษ
2. ถ้าบุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือพ่ีน้องร่วมบิดามารดาเดียวกันกระทำาความผิดต่อกันในความผิดบางประเภท
ผู้กระทำาผิดอาจได้รับการลดโทษ
3. ถ้าผู้กระทำาผิดยังเยาว์วัย จะถือว่ารู้ผิดชอบชัว่ดีบริบูรณ์แล้วไม่ได้ จึงอาจได้รับการลดโทษให้ตามควรแก่อายุ
4. ถ้าก่อน ขณะ หรือภายหลังกระทำาความผิด ได้มีเหตุบรรเทาโทษอย่างใดอย่างหน่ึง ผู้กระทำาความผิดอาจได้
รับการลดโทษเช่นเดียวกัน

10.2.1 กระทำาความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติไว้เป็ นความผิด


นางสาวแมรี เป็ นชาวอังกฤษ เดินทางมาทัศนาจรประเทศไทย นางสาวแมรี เดินเปลือยอกท่ช ี ายหาดเมือง
พัทยาต่อหน้าผู้คน จึงถูกตำารวจจับฐานกระทำาการอันควรขายหน้าต่อหน้าธารกำานัลตาม ปอ. มาตรา 388 นางสาว
แมร่ีปฏิเสธว่าไม่รู้ว่ากฎหมายไทยบัญญัติว่าการกระทำา นัน ้ เป็ นความผิด และขอสู้คดีในศาล ถ้าท่านเป็ นผู้พิพากษา
ซ่ึงนัง่พิจารณาคดีนีจ้ะปฏิบัติอย่างไรกับจำาเลย
ตาม ปอ. มาตรา 64 บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพ่ ือให้พ้นความรับผิดทางอาญาไม่ได้ แต่ถ้าศาลเห็น
ว่าตามสภาพและพฤติการณ์ผู้กระทำา ความผิดอาจไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าการกระทำา นัน ้ เป็ นความผิด ศาลอาจ
อนุญาตให้แสดงพยานหลักฐานต่อศาล และถ้าศาลเช่ ือว่า ผู้กระทำาไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติไว้เช่นนัน ้ ศาลจะลดโทษ
น้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้ เพียงใดก็ได้
กรณีนี ถ ้ ้ าศาลเห็นว่านางสาวแมรีเป็ นชาวต
เปลือยออกในท่ีสาธารณะต่อหน้าธารกำานัลได้ จำาเลยเป็ นชาวยุโรป อาจไม่รู้ว่ากฎหมายไทยถือว่าการเปลือยอกต่อ
หน้าธารกำานัลเป็ นความผิด ศาลอาจอนุญาตให้จำา เลยแสดงพยานหลักฐานดังกล่าวแล้วต่อศาล และถ้าศาลเช่ ือว่า
จำาเลยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติไว้เช่นนัน ้ ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้ เพียงใดก็ได้
ซ่ึงตาม ปอ. มาตรา 388 มีโทษปรับไม่เกิน 500 บาท ศาลอาจลดโทษเท่าใดก็ได้ตัง้แต่หน่ึงสตางค์จนถึงห้าร้อย
บาท แต่ศาลจะไม่ลงโทษเลยก็ได้

10.2.2 ญาติใกล้ชิดกระทำาความผิดต่อกันในความผิดบางประเภท
นายต้นเป็ นพ่ช ี ายของนายตาล นายต้นมีบุตรชายท่ช ี อบด้วยกฎหมาย 3 คน คือนายก่ิง นายก้าน และนาย
ผล มีบุตรสาวคนเล็กท่ีชอบด้วยกฎหมาย 1 คน คือนางดอกไม้ นางดอกไม้มีบุตรกับสามีท่ีไม่ได้จดทะเบียน 1 คน
ช่ ือนางสาวเกสร ต่อมา นางดอกไม้กับนายผลร่วมกันว่ิงราวสร้อยคอนางสาวเกสรไปแบ่ง ให้กับนายต้น นายตาล
นายก่ิง และนายก้าน คนละ 1 ส่วน ถามว่า นายต้น นายตาล นายก่ิง นายก้าน นายผล และนางดอกไม้ จะได้รับ
การลดหย่อนผ่อนโทษตาม ปอ. มาตรา 71 หรือไม่ อย่างไร
ตาม ปอ.มาตรา 71 ถ้า ผู้บุ พการี กั บ ผู้ สื บ สั น ดานกระทำา ความผิด ต่ อ กั น ในความผิ ด มาตรา 334 ถึ ง
มาตรา 336 วรรคแรก และมาตรา 341 ถึงมาตรา 364 แม้กฎหมายจะมิได้บัญ ญัติให้เป็ นความผิด อันยอม
ความกันได้ ก็ให้เป็ นความผิดอันยอมความกันได้ และศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิด
นัน ้ เพียงใดก็ได้ ซ่ึงผู้บุพการีนัน้ จะต้องเป็ นผู้สืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไป และผู้สืบสันดานก็จะต้อ งเป็ นผู้สืบสาย
โลหิตโดยตรงลงมา ทัง้จะต้องมีความสัมพันธ์กันโดยชอบด้วยกฎหมายอีกด้วย
ตามอุทาหรณ์ นางดอกไม้ร่ว มกับนายผลว่งิ รางทรัพย์นางเกสรถือว่าบุคคลทัง้สองมีความผิด ตาม ปอ.
มาตรา 336 วรรคแรก เม่ ือว่งิ ราวทรัพย์แล้วก็นำาไปมอบให้แก่นายต้น นายตาล นายก่ิง และนายก้าน บุคคลทัง้ส่ี
จึงมีความผิดตาม ปอ. มาตรา 357 ฐานรับของโจร ปั ญหาว่าผู้กระทำาความผิดทัง้หกคนจะได้รับการลดหย่อนโทษ
ตามมาตรา 71 หรือไม่นัน ้ จะต้องแยกพิจารณาเป็ นแต่ละคนไป กล่าวคือ
นางดอกไม้แม้จะมิได้จดทะเบียนกับสามี แต่ตาม ปพพ. ถือว่านางดอกไม้เป็ นมารดาท่ีชอบด้วยกฎหมาย
ของนางสาวเกสร นางดอกไม้จึงได้รับการลดหย่อนโทษตามมาตรา 71 นั่นก็คือ แม้ความผิดฐานว่ิงราวทรัพย์จะ
มิใช่เป็ นความผิดอันยอมความได้ ก็ถือเป็ นความผิดอันยอมความได้ แต่ถ้าไม่มีการยอมความกัน ศาลจะลงโทษนาง
ดอกไม้น้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดเพียงใดก็ได้
สำาหรับนายผล นายก่ิง และนายก้านมีศักดิเ์ป็ นลุงของนางสาวเกสร มิใช่เป็ นผู้บุพการี จึงไม่ได้รับการลด
หย่อนโทษ ตามมาตรา 71 นีแ ้ ต่อย่างใด
ส่วนนายต้นเป็ นพ่อท่ีชอบด้วยกฎหมายของนางดอกไม้ และเป็ นตาท่ีชอบด้วยกฎหมายของนางสาวเกสร
นายต้น จึง ได้ รั บการลดหย่อ นโทษตามมาตรา 71 เช่ น เดี ยวกับ นางดอกไม้ แต่ นายตาลแม้ จ ะถื อ ว่ า เป็ น ตาของ
นางสาวเกสร ก็มิใช่ผู้บุพการี เพราะมิได้สืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไป นายตาลจึงไม่ได้รับลดหย่อนโทษตามมาตรา
71

10.2.3 บุคคลอายุกว่าสิบส่ีปีแต่ไม่เกินย่ีสิบปี กระทำาความผิด


การใช้ดุลพินิจของศาลของ ปอ. มาตรา 75 กับมาตรา 76 แตกต่างกันอย่างไร
ตาม ปอ. มาตรา 75 ให้ ศ าลใช้ดุล พิ นิจ ว่ า จะสมควรพิ พ ากษาลงโทษจำา เลยหรื อ ไม่ ถ้ า ศาลเห็ น ว่ า ไม่
สมควรพิพากษาลงโทษ ก็ให้จัดการตามมาตรา 74 แต่ถ้าศาลเห็นสมควรพิพากษาลงโทษ ก็ให้ศาลลดมาตราส่วน
โทษท่ีกำาหนดไว้สำาหรับความผิดลงก่ึงหน่ึง
แต่ต ามมาตรา 76 ให้ศ าลใช้ดุ ล พิ นิจ ว่ า สมควรจะลดมาตราส่ ว นโทษให้ แ ก่ จำา เลยหรื อ ไม่ ถ้ า ศาลเห็ น
สมควรก็ให้ล ดมาตราส่วนโทษท่ีกำา หนดไว้สำา หรับความผิด นัน ้ ลงหน่ึงในสามหรือก่ึงหน่ึงก็ได้ แต่ถ้าศาลไม่เห็น
สมควรลดมาตราส่วนโทษให้ ก็ให้ลงโทษท่ีกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


44

10.2.4 มีเหตุบรรเทาโทษ
ในคดี ฆ่า คนตาย จำา เลยซ่ึง ให้ก ารรั บ สารภาพชัน ้ สอบสวน ได้ม าให้ ก ารปฏิ เ สธชั น
้ ศาล อั ย การโจทก์ นำา
ประจักษ์พยานเข้าสืบยืนยันความผิดของจำาเลย 10 ปาก และมีพยานแวดล้อมกรณีอีกหลายปากรับฟั งได้สอดคล้อง
ต้องกันว่าจำาเลยเป็ นคนร้ายฆ่าคนตายจริง ถึงแม้จำาเลยจะไม่ให้การรับสารภาพชัน ้ สอบสวน ศาลก็มีพยานหลักฐาน
เพียงพอท่ีจะลงโทษจำาเลยตามฟ้ องได้ เช่นนี ถ ้ ้าจำาเลยย่ ืนฎีกาขอให้ศาลลดโทษให้เพราะคำารับสารภาพชัน ้ สอบสวน
เป็ นประโยชน์ในชัน ้ พิจารณา ถ้าท่านเป็ นศาลฎีกาจะลดโทษแก่จำาเลยเพราะเหตุบรรเทาโทษหรือไม่
ตาม ปอ.มาตรา 78 เม่ ือปรากฏว่ามีเหตุบรรเทาโทษ ถ้าศาลเห็นสมควรจะลดโทษไม่เกินก่ึงหน่ึงของโทษ
ท่ีจะลงแก่ผู้กระทำาความผิดก็ได้ เหตุบรรเทาโทษเหตุหน่ึงได้แก่ ผูก ้ ระทำาความผิดให้ความรู้แก่ศาลอันเป็ นประโยชน์
แก่การพิจารณา
ตามอุทาหรณ์ แม้จำาเลยให้การรับสารภาพชัน ้ สอบสวน แต่จำาเลยก็ให้การปฏิเสธในชัน ้ ศาล อัยการโจทก์
ได้นำาประจักษ์พยานเข้าสืบยืนยันความผิดของจำาเลยถึง 10 ปาก และมีพยานแวดล้อมกรณีอีกหลายปาก รับฟั งได้
ว่าจำาเลยเป็ นคนร้ายฆ่าคนตายจริง ถึงแม้จำา เลยจะไม่ให้การรับสารภาพชัน ้ สอบสวน ศาลก็มีพยานหลักฐานเพียง
พอท่ีจะลงโทษจำาเลยได้ คำาให้การชัน ้ สอบสวนของจำาเลยจึงไม่เป็ นประโยชน์แก่การพิจารณาคดีของศาล ถ้าข้าพเจ้า
เป็ นศาลฎีกาจะไม่ลดโทษให้แก่จำาเลย เพราะมีเหตุบรรเทาโทษตาม ปอ. มาตรา 78

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 10 เหตุลดโทษ

1. เหตุลดโทษหมายความว่า เหตุตามท่ีกฎหมายระบุไว้ใช้เป็ นเกณฑ์ลดโทษให้แก่ผู้กระทำาความผิด


2. บันดาลโทสะ หมายความว่า ถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็ นธรรมจึงกระทำาความผิดต่อผูข้ ่มเหง
ในขณะนัน

3. ผู้กระทำาความผิดเพราะบันดาลโทสะได้รับโทษ ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดไว้เพียงใดก็ได้
4. กรณีท่ีได้รับโทษเพราะกระทำาโดยบันดาลโทสะ เช่น นายเหลืองทำาร้ายร่างการนายม่วงเพราะนายม่วงกำาลัง
ทำาอนาจารภริยานายเหลือง
5. ภาษิตกฎหมายท่วี ่า “ทุกคนต้องรู้กฎหมาย” มีผลใช้บังคับตามประมวลกฎหมายอาญาคือ จะแก้ตัวว่าไม่รู้
กฎหมายอาญาเพ่ อ ื ให้พ้นความรับผิดในทางอาญาไม่ได้
6. กรณีต่ อไปนีศ ้ าลอาจอนุ ญ าตให้ แ สดงหลั ก ฐานเพ่ ือ พิ สู จ น์ ว่ า ผู้ ก ระทำา ผิ ด ไม่ รู้ ก ฎหมายบั ญ ญั ติ ไ ว้ ว่ า การ
กระทำานัน ้ เป็ นความผิด เช่น นายคนัง เงาะซาไก ใช้ลูกดอกยิงสัตว์ป่าคุ้มครองตาย
7. เหลนลักทรัพย์ทวด มีผลตามกฎหมายคือ ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดฐาน
ลักทรัพย์เพียงใดก็ได้
8. น้องชายฉ้อโกงพ่ีสาวร่วมบิดามารดา มีผลตามกฎหมายคือ ศาลจะลงโทษน้อยกว่าท่ีกฎหมายกำา หนดไว้
สำาหรับความผิดฐานฉ้อโกงเพียงใดก็ได้
9. เหตุบรรเทาโทษ เช่นโฉดเขลาเบาปั ญญา
10. เหตุบรรเทาโทษเช่น ยากจนค่นแค้น
11. บิดาเอามีดใหญ่ไล่แทงบุตร เพราะโกรธท่ีบุตรไม่ให้เงินใช้ บุตรปั ดมีดดาบหลุดจากมือบิดา แล้วหยิบมีดนัน ้
ขึ้นมาทำาร้ายบิดาในทันท่ี กรณีนีถ ้ อ
ื ว่าเป็ นการข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็ นธรรม
12. นายเข่ ืองต่อว่าพลตำารวจเข่งว่ามองหน้าทำาไมเป็ นตำารวจหรือไม่เป็ นตำารวจไม่สำาคัญ พลตำารวจเข่งโกรธจึงชก
นายเข่ ืองฟั นหัก 1 ซ่ี ข้อนีไ้ม่ถือว่าเป็ นการข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็ นธรรม
13. นายม่วงขึ้นไปบนเรือนายครามพบแต่ภริยาของนายครามอยู่คนเดียว จึงคุกครามเกีย้วกราดเป็ นทำานองข่ม
เห็ง ภริยานายครามร้องขึ้น นายม่วงก็ลงจากเรือไป พอดีนายครามกลับมาเกือบจะถึงบ้านได้ยินเสียงภริยา
ร้อง และเม่ ือถึงบ้านก็ทราบเร่ ืองจากภริยา เกิดอารมณ์โกรธ ตามนายม่วงไปทันห่างจากเรือน 6-7 เส้น จึง
ทำาร้ายนายม่วงถึงแก่ความตาย กรณีนีถ ้ ือว่าเป็ นการกระทำาความผิดต่อผูข ้ ่มเหงในขณะนัน ้
14. นายชาติใช้ไม้ตีนายชัชบาดเจ็บสาหัสขณะกำาลังด่าประจานตน ข้อนีถ้ือว่าเป็ นการกระทำาโดยบันดาลโทสะ
15. นายแหยงเอาดาบไล่ ฟั นชายหนุ่ม ซ่ึง กอดจู บอยู่กั บ น้ องสาวของตน กรณี นี ไ้ ม่ ถื อ ว่ า เป็ น การกระทำา โดย
บันดาลโทสะ
16. นางรูบี ช ้ าวอั
.มาตรา
งกฤษไม่ 388รู้ว่าการเปลือยอก
กรณีนี้ ศาลจะยอมให้ผู้กระทำาแก้ตัวได้ว่าไม่รู้กฎหมายตาม ปอ.มาตรา 64
มาตรา 64 บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพ่ ือให้พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้ แต่ถ้าศาลเห็นว่า ตาม
สภาพและพฤติการณ์ผู้กระทำาความผิดอาจจะไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าการกระทำานัน ้ เป็ น ความผิด ศาลอาจอนุญาต
ให้แสดงพยานหลักฐานต่อศาล และถ้าศาลเช่ ือว่า ผู้กระทำาไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติไว้เช่นนัน ้ ศาลจะลงโทษน้อย กว่า
ท่ีกฎหมายกำาหนดไว้ สำาหรับความผิดนัน ้ เพียงใดก็ได้
17. ย่าลักทรัพย์ของยายท่ีฝากหลานไว้ กรณีนีไ้ม่ได้รับการลดโทษ
18. นายวีระอายุ 16 ปี กระทำาความผิด ศาลต้องพิจารณาว่า นายวีระมีความรู้ผิดชอบสมควรพิพากษาลงโทษ
หรือไม่เป็ นอันดับแรก

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


45

19. นางรำาพึงเอาระเบิดมือเก่าๆ ขึ้นสนิม ซ่ึงเก็บได้จากกองขยะขว้างทิง้ไป เพราะคิดว่าเป็ นระเบิดใช้การไม่ได้


แล้ว แต่เ กิดระเบิดขึ้ นเป็ นเหตุใ ห้ค นตายและบาดเจ็บ กรณีนีถ ้ ือว่า เป็ นการกระทำา โดยโดยโฉดเขลาเบา
ปั ญญาอาจได้รับการบรรเทาโทษจากศาล
20. จำาเลยให้การในชัน ้ พนักงานสอบสวนว่าตนได้แทงผู้ตายจริง แต่แกล้งบิดเบือนข้อเท็จจริงว่าผู้ตายมีอาวุธ
ปื นจะใช้ยิงตนก่อน ทัง้จำาเลยยังหาปื นมาวางไว้ใกล้มือผู้ตายเพ่ ืออำาพรางรูปคดีตัง้แต่แรกอีกด้วย ในกรณีนี้
ไม่ถือว่าเป็ นการให้ความรู้แก่ศาลอันเป็ นประโยชน์แก่การพิจารณาซ่ึงไม่เป็ นเหตุบรรเทาโทษ
หน่วยท่ี 11 ผูม้ ีส่วนเก่ียวข้องในการกระทำาผิด

1. ตั ว การในการกระทำา ความผิ ด คื อ บุ ค คลท่ีมี ก ารกระทำา ร่ ว มกั น และเจตนาร่ ว มกั บ บุ ค คลอ่ ืน ในการกระ


ทำาความผิดอาญา
2. ผู้ใช้คือ บุคคลท่ีก่อให้ผู้อ่ืนกระทำา ความผิด โดยท่ีตนเองมิได้มีส่วนร่วมกระทำา ความผิดนัน ้ ด้วย ผู้ใ ช้อาจ
เจาะจงให้ผู้บุคคลหน่ึงหรือวิธีใช้วิธีโฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทัว่ไปก็ได้

11.1 ตัวการ
1. การกระทำา ร่วมกันอาจเป็ นกรณีบุคคลตัง้ แต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกระทำา ส่วนใดส่วนหน่ึงอันเป็ นองค์
ประกอบความผิด หรือเป็ นการแบ่งหน้าท่ีกันทำา หรือร่วมอยู่ในท่ีเกิดเหตุใ นลักษณะท่ีสามารถเข่า
ช่วยเหลือผู้กระทำาผิดคนอ่ ืนทันทีก็ได้
2. การมีเจตนาร่วมกันของตัวการ หมายความว่า ผู้กระทำา ผิดทุกคนได้รู้ถึง การกระทำา ของกันและกัน
และต่างถือเอาการกระทำาของคนอ่ ืนเป็ นการกระทำาของตนเอง
3. ตัวการต้องรับโทษตามท่ีกฎหมายกำา หนดไว้สำา หรับความผิดนัน ้ แต่ตัวการแต่ละคน อาจรับโทษไม่
เท่ากันก็ได้

11.1.1 การกระทำาร่วมกัน
ขาวกับดำาวางแผนร่วมกันเพ่ ือจะไปทำาร้ายแดง ขาวไปดักซุ่มอยู่ในท่ีเปล่ียว ส่วนดำา ไปพูดจาชักชวนให้แดง
ให้เดินมายังท่ท ี ่ีขาวซุ่มอยู่ พอได้โอกาสขาวก็ใช้ไม้ตีศีรษะแดงหลายครัง้ แดงได้รับบาดเจ็บโลหิตไหล ดังนี ข้าวและดำา
มีความผิดใดหรือไม่
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 ในกรณีความผิดได้เกิดโดยการกระทำาของบุคคลตัง้แต่สองคน
ขึ้นไป ผูท้ ่ีได้รว่ มกระทำาความผิดด้วยกันนัน ้ เป็ นตัวการ
จากปั ญหาแม้ดำาจะมิได้ลงมือทำาร้ายแดง แต่ก็มีส่วนร่วมในการทำาร้ายโดยไปพูดจาชักชวนล่อให้แดงมาถูก
ทำาร้ายเป็ นการแบ่งหน้าท่ีกันทำาระหว่างขาวกับดำา ขาวและดำาจึงเป็ นตัวการต้องรับผิดในความผิดฐานทำาร้ายร่างกาย
ผู้อ่ืนจนเป็ นเหตุให้ได้รับอันตรายแก่กาย ตาม ปอ. มาตรา 295

11.1.2 เจตนาร่วมกัน
มกราและกุมภาสมคบกันไปลักทรัพย์ของมีนา มกราปี นขึ้นไปบนบ้านของมีนา และหยิบได้สายสร้อยเพชร
กับแหวนเพชรนำามาส่งให้กุมภาและบอกให้หลบหนีไปก่อน กุมภารับของมาแล้วหลบหนีไป มกรากับขึ้นไปลักของ
คนอ่ ืนอีก พอดีมีนาต่ ืนขึ้น มกราจึงใช้ปืนยิงมีนาตาย ดังนี ก้ ุมภาต้องรับผิดทางอาญาอย่างไร
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 83 ในกรณีความผิดได้เกิดขึน ้ โดยการกระทำาของบุคคลตัง้แต่สองคน
ขึ้นไป ผูท
้ ่ีได้รว่ มกระทำาความผิดด้วยกันนัน
้ เป็ นตัวการ ต้องระวางโทษตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้
จากปั ญหาดังกล่าวกุมภามีเจตนาเพียงลักทรัพย์มีนา และขณะท่ีมกรายิงมีนา กุมภามิได้ยู่ในท่ีเกิดเหตุแล้ว
ถือไม่ได้ว่ากุมภามีเจตนาร่วมกันกับมกราในการฆ่ามีนา เพราะฉะนัน ้ กุมภาไม่ต้องรับผิดฐานชิงทรัพย์และฆ่าผู้อ่ืน

11.1.3 ความรับผิดของตัวการ
นายสมกับนายศักดิร์่วมกันชิงทรัพย์ข้อเท็จจริงฟั งได้ว่านายสมเป็ นคนลักเอาสายสร้อยและทำาร้ายเจ้าทรัพย์
ส่วนนายศักดิเ์ป็ นคนดูต้นทาง ดังนี ถ
้ ้าศาลจะพิพากษาลงโทษจำาคุกนายสม 10 ปี ศาลจะต้องลงโทษนายศักดิ จ์ำาคุก
10 ปี ด้วยหรือไม่
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 ผู้ท่ีได้ร่วมกระทำาความผิดด้วยกันนัน ้ เป็ นตัวการต้องระวางโทษ
ตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้
จากปั ญหากฎหมายกำา หนดให้ตัวการต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน แต่มิได้หมายความว่า โทษท่ีศาลจะลง
แก่ตัวการทุกคนจะต้องเท่ากัน ดังนัน้ ศาลไม่จำาเป็ นต้องลงโทษนายศักดิเ์ท่านายสม

11.2 ผู้ใช้
1. การก่อให้ผู้อ่ืนกระทำา ผิ ด คือการทำา ให้บุค คลอ่ ืนซ่ึง ยัง ไม่ มีเ จตนาท่ีจะกระทำา ความผิ ด ตกลงใจท่ีจะ
กระทำาความผิดนัน ้
2. ผู้ใช้จะต้องมีเจตนาก่อให้ผู้อ่ืนกระทำาผิดด้วย ลำาพังผู้กระทำาผิดตัดสินใจกระทำาผิดเพราะคำาพูดของผู้ใช้
โดยผู้ใช้มิได้มีเจตนา ผู้ใช้ไม่ต้องรับผิด
3. ความรับผิดของผู้ใช้ขึ้นอยู่กับการกระทำาของผู้ถูกใช้ ถ้าผู้ถูกใช้มิได้กระทำาความผิด ผู้ใช้ต้องระวางโทษ
หน่ึงในสามของความผิด ผู้ใช้ต้องระวางโทษตามท่ีกฎหมายกำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


46

11.2.1 การก่อให้ผู้อ่น
ื กระทำาผิด
ขาวต้องการจะฆ่าดำา จึงให้แดงไปติดต่อจ้างมือปื นเพ่ ือยิงดำา ในราคา 80,000 บาท แดงไม่สามารถติดต่อ
มือปื นได้ พอดีตำารวจทราบเร่ ือง จึงจับกุมขาวและแดง ดังนี ข้าวและแดงต้องรับผิดหรือไม่
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 84 กฎหมายถือว่าผู้ก่อให้ผู้อ่น ื กระทำาความผิด เป็ นผู้ใช้กระทำาความ
ผิด ถ้าผู้ถูกใช้ได้กระทำาความผิด ผูใ้ ช้ต้องรับโทษเสมือนตัวการ แต่ถ้าความผิดยังมิได้กระทำาลง ไม่ว่าจะเป็ นเพราะผู้
ถูกใช้ไม่ยอมกระทำา ยังไม่ได้กระทำา หรือเหตุอ่ืนใด ผู้ใช้ต้องระวางโทษเพียงหน่ึงในสามของโทษที่กำาหนดไว้สำาหรับ
ความผิดนัน ้

11.2.2 เจตนาของผู้ใช้
แดงถูกดำา ข่มเหงรัง แกรู้สึกโกรธ จึงบ่นออกมาดังๆว่า ถ้ามีใครทำา ให้ดำา ตายได้ ห้า หม่ ืนบาทก็ไม่เ สียดาย
ทัง้นีแ
้ ดงคิดว่าตนอยู่แถวนัน
้ คนเดียว แต่เผอิญขาวได้ยินคิดว่าจริงจึงไปยิงดำาถึงแก่ความตาย ดังนีแ ้ ดงมีความผิดหรือ
ไม่
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 84 ผู้ก่อ ให้ผู้อ่ ืนกระทำา ความผิด กฎหมายถือ ว่าเป็ นผู้ใช้ให้กระทำา
ความผิด ถ้าผู้ถูกใช้ได้กระทำาความผิดผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนตัวการ
แดงไม่มีความผิด เพราะแดงไม่ทราบว่าจะมีคนได้ยินคำาพูดของตน จึงไม่มีเจตนาก่อให้ผู้อ่น ื กระทำาผิด

11.2.3 ความรับผิดของผู้ใช้
เหลืองจ้างให้ฟ้าไปฆ่าแดง ฟ้ าตกลงรับจ้างและไปดักซุ่มอยู่ พอแดงเดินผ่านมาก็ยกปื นขึ้นจ้องเล็งไปท่ีแดงก็
พอดีตำารวจผ่านมาจึงจับฟ้ าได้ ดังนี เ้หลืองมีความผิดฐานใด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 84 ผูท ้ ่ีก่อให้ผู้อ่ืนกระทำาความผิดด้วยการจ้างเป็ นผู้ใช้กระทำาความผิด
ถ้าผู้ถูกใช้ได้กระทำา ความผิดนัน้ ผู้ใช้ต้องรับโทษเหมือนตัวการและ มาตรา 80 ผู้ลงมือกระทำา ความผิดแล้ว แต่
กระทำาไปไม่ตลอดผู้นัน ้ พยายามกระทำาความผิด
จากปั ญหา ฟ้ าได้ล งมือ กระทำา ผิด แล้ว แต่ก ระทำา ไปไม่ ต ลอดจึ ง เป็ น ความผิ ด ฐานพยายามฆ่ า ผู้ อ่ ืน โดย
ไตร่ตรองไว้ก่อน เหลืองซ่ึงจ้างฟ้ าต้องรับโทษเสมือนตัวการ คือรับโทษเช่นเดียวกับฟ้ า

11.3 ผู้ใช้โดยวิธีโฆษณา หรือประกาศ


1. การใช้โดยวิธีโฆษณาเป็ นการใช้โดยวิธีประกาศแก่บุคคลทัว่ไปไม่เจาะจงเฉพาะคนใดคนหน่ึง
2. ความรับผิดของผู้ใช้โดยวิธีโฆษณาขึ้นอยู่กับการกระทำาของผู้ถูกใช้ ถ้าผู้ถูกใช้มิได้กระทำาผิด ผู้ใช้ต้องระวาง
โทษก่ึงหน่ึงของความผิด ถ้าผู้ถูกใช้ลงมือกระทำา ความผิด ผู้ใช้ต้องระวางโทษตามท่ีกฎหมายกำา หนดไว้
สำาหรับความผิดนัน ้

11.3.1 ลักษณะการใช้โดยวิธีโฆษณาหรือประกาศ
แดงต้องการฆ่าขาว จึงเรียกเหลือง ดำา และ ฟ้ า มาประชุมกันและถามว่าใครจะสามารถไปฆ่าขาวได้บ้าง ดำา
รับอาสาไปฆ่าขาว แต่ยังไม่ทันลงมือทำาก็ถูกจับเสียก่อน ดังนีแ้ ดงจะมีความผิดหรือไม่ เพียงใด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 85 ผู้ท่ีโฆษณาหรือประกาศแก่คนทั่วไปให้กระทำาความผิดและความ
ผิดนัน ้ มีกำาหนดโทษไม่ต่ำากว่าหกเดือนต้องรับโทษก่ึงหน่ึงของโทษที่กฎหมายได้กำาหนดไว้ และ มาตรา 84 ผูท ้ ่ีก่อ
ให้ผู้อ่ืนกระทำาความผิดด้วยประการใดๆ เป็ นผู้ใช้ให้กระทำาความผิด ถ้าความผิดยังไม่ได้กระทำาลงด้วยเหตุใดก็ตาม
ผู้ใช้ต้องรับโทษเพียงหน่ึงในสามของโทษที่กำาหนดไว้สำาหรับความผิดนัน ้
จากปั ญหาการใช้ของแดงมิใช่การประกาศหรือ โฆษณา เพราะใช้ในกลุ่มคนจำา กัด ตัว เม่ ือ ความผิด มิได้
กระทำาลงเพราะดำาท่ีรับอาสาไปฆ่าขาว ถูกเจ้าพนักงานตำารวจจับเสียก่อน แดงจึงรับผิดพียงหน่ึงในสาม

11.3.2 ความรับผิดผู้ใช้โดยวิธีโฆษณาหรือประกาศ
พลตำารวจแสงว่ิงไล่ตามจับนายสอนคนร้าย พลตำารวจแก้วร้องบอกแก่คนท่ีเดินผ่านไปมาช่วยกันรุมทำาร้าย
นายสอน นายสมศักดิ ไ ์ ด้ยินจึงคว้ามีดเข้าไปขวางหน
ตัวนายสมศักดิ ไ ์ ว้ได้ดังนีพ
้ ลตำารวจแสงมีความผิดฐานใด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 85 ผู้ท่ีโฆษณาหรือประกาศให้บุคคลทั่วไปกระทำาผิด ซ่ึงความผิดนัน ้
มีกำา หนดโทษไม่ต่ำา กว่าหกเดือ น และมีผู้กระทำา ผิด นัน
้ ตามโฆษณาหรือ ประกาศ ต้อ งรังโทษเสมือ นตัว การและ
มาตรา 80 ผู้ท่ีลงมือกระทำา ผิดแล้วแต่กระทำา ไปไม่ตลอด เป็ นผู้พยายามกระทำา ความผิด ต้อ งรับโทษสองในสาม
สำาหรับความผิดนัน

จากปั ญหาพลตำารวจแสง ใช้ให้นายสมศักดิ ท ์ ำาผิดโดยการประกาศเม่ ือนายสมศักดิล์งมือกระทำา ผิดแล้ว
พลตำารวจแสงต้องรับโทษเสมือนตัวการ คือรับผิดฐานพยายามทำาร้ายร่างกายผู้อ่ืน

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 11 ผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการกระทำาความผิด

1. ผู้เก่ียวข้องกับการกระทำาผิดในลักษณะเป็ นตัวการหมายความว่า เป็ นผู้ร่วมกระทำาความผิด


2. คำาว่า “ร่วมกระทำาความผิดด้วยกัน” ได้แก่การกระทำาความผิดในลักษณะ เช่น ขับรถรับส่งผู้กระทำาผิด

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


47

3. พฤติการณ์ท่ีถือว่าผู้กระทำามีเจตนาร่วมกัน ได้แก่ (ก) วางแผนเตรียมการกันมาก่อน (ข) ทาด้วยกัน เม่ ือ


กระทำาผิดแล้วก็หลบหนีไปด้วยกัน (ค) อยู่ในท่ีเกิดเหตุ พูดสนับสนุนให้พวกของตนทำาความผิด
4. แดงและดำาต้องการจะปลอมลายมือช่ ือของเขียว แดงจึงไปหาตัวอย่างลายมือของเขียวมา ส่วนดำาทำาปลอม
ลายมือของเขียวลงในกระดาษ ดังนี แ ้ ดงและดำา เก่ียวข้องกับการกระทำา ผิดคือ แดงและดำาเป็ นตัวการร่วม
กัน
5. แดงกับดำาทะเลอะวิวาทกับขาว แดงเข้าชกต่อยทำาร้ายขาว ส่วนดำาชัดปื นออกมาขู่คนอ่ ืนๆ ไม่ให้มาช่วยขาว
ดังนี ด ้ ำาเก่ียวข้องกับการทำาร้ายร่างกายคือเป็ นตัวการ
6. การก่อให้ผู้อ่ืนกระทำาผิดหมายถึง ทำาให้ผู้อ่น ื ตัดสินใจกระทำาผิด
7. อาทิตย์จ้างจันทร์ให้ฆ่าพุธโดยใช้ปืนยิง แต่จันทร์กลับวางยาพิษพุธ จนพุธถึงแก่ความตาย กรณีนีอ้าทิตย์
เก่ียวข้องกับการฆ่าพุธในลักษณะ เป็ นผู้ใช้ให้กระทำาผิด
8. การใช้ให้ผู้อ่ืนกระทำาโดยการโฆษณา หมายถึง ใช้บุคคลทั่วไปโดยไม่เจาะจงผู้กระทำาผิด
9. ในการใช้ผู้อ่ืนให้ทำาความผิด ถ้าผู้ถูกใช้ไม่ยอมทำา ผูใ้ ช้จะต้องรับโทษหน่ึงในสามของความผิดที่ใช้
10. แดงจับมือดำาให้ยงิ ขาว กรณีนีไ้ม่ถือว่าแดงเป็ นผู้ใช้ให้ดำากระทำาผิด
11. ผู้เก่ียวข้องกับการกระทำาผิดในลักษณะเป็ นผู้ใช้หมายความว่า เป็ นผู้ก่อให้ผู้อ่นื กระทำาผิด
12. คำาว่า “ร่วมกระทำาผิดด้วยกัน” ได้แก่ การแบ่งหน้าท่ีกันทำา
13. ภริยาช่วยจับแขนขวาของสาวใช้ให้สามีของตนข่มขืนกระทำาชำาเราดังนี ภ ้ ริยามีความเก่ียวข้องกับการข่มขืน
กระทำาชำาเราด้วย โดยภริยาเป็ นตัวการร่วมกับสามี
14. พฤติการณ์ ท่ีถือว่าแดงเป็ นตัวการร่วมกับดำา ในการฆ่าขาวคือ อยู่ในท่ีเกิดเหตุ เม่ ือดำา ฆ่าขาวแล้วก็หนีไป
ด้วยกัน
15. สมบอกแสงให้เอายาพิษไปใส่อาหารให้สมศรี โดยบอกว่าเป็ นผงชูรส แสงหลงเช่ ือจึงทำาตาม เม่ ือสมศรีรับ
ประทานอาหารเข้าไปก็ถึงแก่ความตาย ดัง นี้ สมเก่ียวข้องกับการฆ่าสมศรีในฐานะ เป็ นผู้กระทำา ผิดด้ว ย
ตนเอง
16. แดงบังคับให้ดำา ชกขาว โดยบอกว่าถ้าไม่ชกจะทุบกระจกรถยนต์ของขาว แดงต้องรับผิดฐานเป็ นผู้ใช้ให้
กระทำาความผิด
17. ขาวจับมือแดงให้เหน่ียวไกปื นยิงดำา กรณีนี้ ไม่ถือว่าขาวเป็ นผู้ใช้ให้กระทำาผิด
18. การโฆษณาให้ผู้อ่ืนกระทำาผิด และไม่มีผู้กระทำา ผู้โฆษณาจะต้องรับผิดต่อเม่ ือความผิดท่ีโฆษณาให้ทำานัน ้ มี
โทษไม่ต่ำากว่า หกเดือน
19. ขาวหลอกให้แดงยิงดำาโดยบอกว่าดำาเป็ นศพ กรณีนีถ้ือว่าเป็ น Innocent Agent
20. สมศักดิย์ุยงให้แสงไปยิงศักดิใ์ห้ตาย โดยสมศักดิห์าปื นมาให้ แสงจึงตกลงใจจะฆ่าศักดิ แ์ต่แล้วยิงปื นไม่
เป็ น จึงไปดักใช้มีดแทงศักดิต์าย ดังนี้ สมศักดิเ์ป็ นผู้ใช้ ในความผิดฐานฆ่าผู้อ่ืน

หน่วยท่ี 12 ผูม
้ ีส่วนเก่ียวข้องในการกระทำาความผิด (ต่อ)

1. ผู้สนับสนุนเป็ นผู้ท่ีให้ความช่วยเหลือหรือความสะดวกแก่ผู้กระทำาผิดก่อน หรือในขณะกระทำาความผิด


2. ในกรณีท่ีผู้ถูกใช้หรือผู้รับการสนับสนุน กระทำา ความผิดเกินขอบเขตท่ีผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนมีเจตนา ผู้ใช้
หรือผู้สนับสนุนต้องรับผิดภายในขอบเขตแห่งเจตนาของตน
3. เหตุซ่ึงมีผลกระทบต่อความรับผิดของผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการกระทำาผิดนัน้ อาจมีผลกระทบต่อผู้เก่ียวข้อง
ทุกคนเป็ นการทัว่ไป หรือมีผลกระทบเฉพาะผู้เก่ียวข้องบางคนก็ได้

12.1 ผู้สนับสนุน
1. การช่วยเหลือท่ีเป็ นการสนับสนุนจะต้องกระทำาก่อนหรือขณะกระทำาผิด
2. ผู้สนับสนุนจะต้องมีเจตนาให้ความช่วยเหลือผู้กระทำา ผิด ทัง้นีโ้ดยไม่ต้องคำา นึงว่าผู้ได้รับการสนับสนุนจะ
ทราบถึงการช่วยเหลือนัน ้ หรือไม่
3. ผู้สนับสนุนมีความรับผิดเพียงสองในสามของความผิดท่ีกระทำาลง

12.1.1 การช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการกระทำาความผิด
ส้มโอและส้มจุกเป็ นพ่อค้าขายส้มในตลาด ส้มโอต้องการฆ่าส้มจุกเพราะส้มจุกชอบแย่งลูกค้าของตน ส้ม
เกลีย้ งซ่ึงเป็ นเพ่ อ
ื นกับส้มโอรู้เข้า จึงเสนอให้ส้มโอยืมปื นเพ่ อ ื จะนำาไปฆ่าส้มจุก ส้มโอรับปื นจากส้มเกลีย
้ งไปถึงบ้าน
ส้มจุก เห็นส้มจุกกำาลังเล่นอยู่กับลูก จึงเกิดความสงสารไม่ลงมือยิงส้มจุก กรกรีดังกล่าวส้มเกลีย ้ งจะมีความผิดฐาน
เป็ นผู้สนับสนุนหรอไม่อย่างไร
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 86 บัญญัติว่า “ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดๆ อันเป็ นการช่วยเหลือ
หรือให้ความสะดวกในการที่ผอ ู้ ่ ืนกระทำาความผิดก่อนหรือขณะกระทำาความผิด แม้ผู้กระทำาความผิดจะมิได้รู้ถึงการ
ช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนัน ้ ก็ตาม ผูน
้ ัน
้ เป็ นผู้สนับสนุนการกระทำาความผิด” ถ้าการกระทำาของตัวการไม่เป็ น

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


48

ความผิดหรือไม่มีการกระทำาความผิด ผู้ทใ่ี ห้ความช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกนัน ้ ก็จะไม่มีความผิดด้วย ถือว่าไม่มี


การสนับสนุนเพราะการพยายามสนับสนุนไม่มี
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา การท่ีส้มโอและส้มจุกเป็ นพ่อ ค้าขายส้มในตลาด และส้มโอต้องการฆ่าส้มจุก
เพราะส้มจุกชอบแย่งลูกค้าของตนอยู่เสมอ เห็นว่าส้มโอมีเจตนาจะฆ่าส้มจุกแล้ว ส้มเกลีย ้ งซ่ึงเป็ นเพ่ ือนกับส้มโอรู้
ว่าส้มโอจะฆ่าส้มจุกจึงให้สมโอยืมปื นเพ่ ือจะนำาไปฆ่าส้มจุก การกระทำาของส้มเกลีย ้ งถือว่าเป็ นการให้ความช่วยเหลือ
หรือให้ความสะดวกแก่ส้มโอในการกระทำาความผิดก่อนกระทำาความผิดแล้ว แต่ปรากฏว่าเม่ ือส้มโอรับปื นไปจาก
ส้มเกลีย้ งแล้วกำาลังจะไปยิงส้มจุกเห็นส้มจุกเล่นอยู่กับลูกจึงเกิดความสงสารไม่ลงมือยิงส้มจุก กรณีดังกล่าวการก
ระทำา ความผิด ยังไม่ เกิด ขึ้น ส้ มเกลีย
้ งผู้ให้ความช่ว ยเหลือ หรือ ให้ความสะดวกก็ถือ ว่ายังไม่มีความผิด ฐานเป็ นผู้
สนับสนุนไปด้วย
สรุป ส้มเกลีย
้ งจึงยังไม่มีความผิดฐานผู้สนับสนุนแต่อย่างใด

12.1.2 เจตนาและความรับผิดของผู้สนับสนุน
สมใจบอกสมจิตว่า อยากได้ยาเบ่ ือไปเบ่ ือหนูท่ีบ้าน เพราะหนูท่ีบ้านชุกชุมมาก สมจิต จึง นำา ยาเบ่ ือมาให้
สมใจ เม่ ือสมใจได้ยาเบ่ ือแล้วแทนท่ีจะนำาไปเบ่ ือหนู กลับนำาไปใส่แกงให้สามีกิน สามีถึงแก่ความตาย กรณีดังกล่าว
สมจิตจะต้องรับผิดเพียงใดหรือไม่เพราะเหตุใด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 86 บัญญัติว่า “ผู้ใดกระทำาด้วยประการใดๆ อันเป็ นการช่วยเหลือ
หรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อ่ืนกระทำาความผิด ก่อนหรือขณะกระทำา ความผิด แม้ผู้กระทำา ความผิดจะมิได้รู้ถึง
การช่ว ยเหลือ ให้ความสะดวกนัน ้ ก็ตาม ผู้นัน้ เป็ นผู้สนับสนุ นการกระทำา ความผิด ” การช่ว ยเหลือ หรือ ให้ ความ
สะดวกในการกระทำาความผิด อันจะทำาให้ผู้กระทำารับผิดฐานเป็ นผู้สนับสนุนนัน ้ จะต้องปรากฏว่าผู้ช่วยเหลือหรือ
ให้ความสะดวกนัน ้ จะต้องกระทำาโดยเจตนาด้วย คือทำาไปโดยรู้หรือตัง้ใจที่จะช่วยเหลือผูอ ้ ่ ืนในการกระทำาความผิดไม่
ว่าจะเป็ นเจตนาประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลก็ตาม
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา การท่ีสมใจบอกสมจิตว่าอยากได้ยาเบ่ อ ื ไปเบ่ ือหนูท่ีบ้าน เพราะหนูท่ีบ้านชุกชุม
มาก สมจิตจึงให้ยาเบ่ ือสมใจไป ปรากฏว่าเม่ ือสมใจได้ยาเบ่ ือไปแล้วแทนท่ีจะนำาไปเบ่ ือหนู กลับนำาไปใส่ในแกงให้
สามีกิน สามีจึงถึงแก่ความตายกรณีดังกล่าวเห็นว่า การท่ีสมจิตให้ยาเบ่ อ ื แก่สมใจไป สมจิตไม่ทราบว่าสมใจจะนำายา
เบ่ ือนัน
้ ไปฆ่าสามี คิดว่าจะนำา ไปเบ่ ือหนู จึงเห็นว่าสมจิตไม่มีเจตนาท่ีจะช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกแก่สมใจใน
การกระทำาความผิดฐานฆ่าคนตาย แม้การกระทำาของสมจิตจะเป็ นการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกก็ตาม แต่เม่ ือ
ขาดเจตนาแล้ว การกระทำาของสมจิตก็ไม่มีความผิดแต่อย่างใด สมจิตจึงไม่ต้องรับผิดในกรณีดังกล่าว

12.1.3 ข้อเปรียบเทียบระหว่างตัวการ ผู้ใช้และผู้สนับสนุน


ตัวการผู้ใช้ และผู้สนับสนุน มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร อธิบาย
ลักษณะท่ีแตกต่างกันระหว่างตัวการ ผู้ใช้และผู้สนับสนุนคือ
“ตัวการ” คือ ผู้ท่ีร่วมมือร่วมใจกันกระทำาความผิดตัง้แต่สองคนขึ้นไปโดยมีเจตนาร่วมกันกระทำา ความ
ผิดและจะต้องเป็ นการร่วมกระทำาในระหว่างท่ีกำาลังกระทำาความผิด มิใช่ภายหลังท่ีการกระทำาความผิดเสร็จสิน ้ แล้ว
“ผู้ใช้” คือ ผู้ท่ีก่อให้ผู้อ่ืนกระทำาความผิด กล่าวคือต้องกระทำาอย่างใดอย่างหน่ึงที่เป็ นเหตุให้ผู้อ่ืนตัดสิน
ใจกระทำาความผิดนัน ้ การก่ออาจกระทำาโดยการใช้บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วาน ยุยง ส่งเสริม หรือด้วยวิธีอ่ืนใด
“ผู้สนับสนุน” คือ ผู้ท่ีช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการที่ผู้อ่ืนกระทำาความผิด และต้องเป็ นการช่วย
เหลือก่อนหรือขณะกระทำาความผิด โดยมีเจตนาช่วยเหลือให้ความสะดวก

เม่ ือความผิดอันเดียวกันมีตัวการ ผู้ใช้ และผู้สนับสนุนเราจะเร่ิมต้นพิจารณาจากบุคคลใดก่อน


เม่ ือความผิดอันเดียวกันมีตัวการ ผู้ใช้ และผู้สนับสนุนต้องเริ่มพิจารณาจากตัวการก่อน เพราะความผิดท่ี
ตัวการได้กระทำาเป็ นความผิดท่ีเป็ นประธาน ส่วนการกระทำา อันเป็ นการใช้ให้กระทำา ความผิดและ การกระทำา อัน
เป็ นการสนับสนุนเป็ นเพียงความผิดอุปกรณ์ และขึ้นต่อความผิดท่ีเป็ นประธานกล่าวคือ ถ้าความผิดท่ีเป็ นประธาน
ได้กระทำาลงน้อย ผู้ใช้ให้กระทำาความผิดและผู้สนับสนุนก็พลอยรับโทษน้อยไปด้วย

12.2 ขอบเขตความรับผิดของผู้ใช้และผู้สนับสนุน
1. ผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนไม่ต้องรับผิดเกินขอบเขตแห่งการใช้หรือสนับสนุนของตน เว้นแต่ตนจะเล็งเห็นได้เช่น
นัน้
2. ถ้าผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนกลับใจเข้าขัดขวางการกระทำา ความผิดทำา ให้ความผิดไม่สำา เร็จ ผู้ใช้คงรับผิดเสมือน
ความผิดนัน ้ มิได้ทำาลง ส่วนผู้สนับสนุนไม่ต้องรับผิด

12.2.1 กรณีผู้ถูกใช้หรือผู้รับการสนับสนุนกระทำาเกินขอบเขตแห่งการใช้หรือการสนับสนุน
เพชรจ้างพลอยไปฆ่าเพ่ิม โดยท่ีเพชรไม่รู้ว่าเพ่ิมเป็ นตำารวจ แต่พลอยรู้ว่าเพ่ิมเป็ นตำารวจ ซ่ึงกระทำาการตาม
หน้าท่ี แต่ด้วยความอยากได้เงินค่าจ้าง พลอยจึงไปดักยิงเพ่ิมถึงแก่ความตาย กรณีดังกล่าวเพชรต้องรับผิดชอบหรือ
ไม่เพียงใด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 87 บัญญัติว่า “ในกรณีที่มีการกระทำาความผิดเพราะมีผู้ใช้ให้กระทำา
ตามมาตรา 84 เพราะมี ผู้โ ฆษณาหรือ ประกาศแก่ บุค คลทั่ว ไปให้ ก ระทำา ความผิ ด ตามมาตรา 85 หรือ โดยมี ผู้
สนั บ สนุ น ตามมาตรา 86 ถ้ า ความผิ ด ท่ีเ กิ ด ขึ้ น นั น
้ ผู้ ก ระทำา ได้ ก ระทำา ไปเกิ น ขอบเขตท่ใี ช้ ห รื อ ที่ โ ฆษณาหรื อ
ประกาศหรือ เกินไปจากเจตนาของผู้สนับสนุน ผู้ใช้ให้ก ระทำา ความผิดผู้โฆษณาหรือ ประกาศแก่บุคคลทั่ว ไปให้

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


49

กระทำาความผิดหรือผู้สนับสนุนการกระทำาความผิด แล้วแต่กรณี ต้องรับผิดทางอาญาเพียงสำาหรับความผิดเท่าท่ี


อยู่ในขอบเขตท่ีใช้ หรือที่โฆษณา หรือประกาศ หรืออยู่ในขอบเขตแห่งเจตนาของผู้สนับสนุนการกระทำาความผิด
เท่านัน ้ แต่ถ้าโดยพฤติการณ์อาจเล็งเห็นได้ว่าอาจเกิดการกระทำาความผิดเช่นท่ีเกิดขึ้นนัน ้ ได้จากการใช้การโฆษณา
หรือประกาศหรือการสนับสนุน ผู้ใช้ให้กระทำา ความผิด ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทำา ความผิด
หรือผู้สนับสนุนการกระทำาความผิด แล้วแต่กรณี ต้องรับผิดทางอาญาตามความผิดท่ีเกิดขึ้นนัน ้
ในกรณีที่ผู้ถูกใช้ ผู้กระทำาตามคำาโฆษณา หรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทำาความผิด หรือตัวการใน
ความผิดจะต้องรับผิดทางอาญามีกำาหนดโทษสูงขึ้น เพราะอาศัยผลท่ีเกิดขึ้นจากการกระทำาความผิด ผู้ใช้ให้กระทำา
ความผิด ผู้โฆษณาหรือ ประกาศแก่บุคคลทั่ว ไปให้กระทำา ความผิด หรือผู้สนับสนุนการกระทำา ความผิด แล้ว แต่
กรณี ต้องรับผิดทางอาญาตามความผิดท่ีมีกำา หนดโทษสูงขึ้นนัน ้ ด้วย แต่ถ้าโดยลักษณะของความผิดผู้กระทำา จะ
ต้องรับผิดทางอาญามีกำาหนดโทษสูงขึ้นเฉพาะ เม่ ือผู้กระทำาต้องรู้ หรืออาจเล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผลเช่นนัน ้ ขึ้น ผู้ใช้
ให้กระทำาความผิด ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทำาความผิดหรือผู้สนับสนุนการกระทำาความผิด จะ
ต้องรับผิดทางอาญาตามความผิดท่ีมีกำาหนดโทษสูงขึ้นก็เฉพาะเม่ ือตนได้รู้หรืออาจเล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผลเช่นที่เกิด
ขึ้นนัน้ ”
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา การท่ีเพชรจ้างพลอยไปฆ่าเพ่ิม โดยท่ีเพชรไม่รู้ว่าเพ่ิมเป็ นตำารวจ ซ่ึงกระทำาการ
ตามหน้าท่ี แต่พลอยรู้ว่าเพ่ิมเป็ นตำารวจ ซ่ึงการกระทำาตามหน้าท่ี แต่ดว้ ยความอยากได้เงินค่าจ้าง พลอยจึงไปดักยิง
เพ่ิมถึงแก่ความตาย กรณีดังกล่าวเห็นว่า การกระทำาของพลอยเป็ นเร่ ืองที่ผู้กระทำาจะต้องรับผิดทางอาญามีกำาหนด
โทษสูง ขึ้น เพราะการท่ีพลอยฆ่า เพ่ิม นัน ้ เป็ นการฆ่ า เจ้า พนั ก งาน ซ่ึงกระทำา ตามหน้ า ท่ี มี กำา หนดโทษสู ง กว่ า คน
ธรรมดา ซ่ึงการฆ่าเจ้าพนักงานซ่ึงกระทำาตามหน้าท่ีนัน ้ ผู้กระทำาจะต้องรับโทษสูงขึ้นก็ต่อเม่ ือได้กระทำาไปโดยรู้อยูว่ ่า
ผู้ท่ีตนฆ่านัน ้ เป็ นเจ้าพนักงาน ซ่ึงกระทำา ตามหน้าท่ี โดยท่ีเพชรไม่รู้ว่าเพ่ิมเป็ นเจ้าพนักงาน ซ่ึงกระทำา ตามหน้าท่ี
ทัง้นีไ้ม่ว่าพลอยจะรู้เช่นนัน ้ หรือไม่ก็ตาม เม่ ือพลอยไปฆ่าเพ่ิมตามท่ไี ด้ถูกใช้ เพชรก็ย่อมมีความผิดฐานใช้ให้ฆ่าคน
ธรรมดาเท่านัน ้ ไม่ต้องรับโทษสูงขึ้นฐานฆ่าเจ้าพนักงาน ซ่ึงกระทำาตามหน้าท่ีตามหลักกฎหมายท่ีกล่าวมาข้างต้น

12.2.2 กรณีผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนขัดขวางการกระทำาของผู้ถูกใช้หรือผู้รับการสนับสนุน
นงเยาว์ใช้ให้แจ๋วซ่ึงสาวใช้ของสมศักดิ น ์ ำา ยาพิษไปใส่ในถ้วยกาแฟของสมศักดิเ์พ่ ือจะฆ่า สมศักดิใ์ห้ตาย
แจ๋วได้นำายาพิษไปใส่ในถ้วยกาแฟของสมศักดิใ์นขณะท่ีสมศักดิก ์ ำาลังจะยกถ้วยกาแฟท่ผ ี สมยาพิษนัน ้ ขึ้นด่ ืม นงเยาว์
ซ่ึงแอบดูอยู่เกิดความสงสารสมศักดิ จ ์ ึ งตรงเข้า ไปปั ดถ้วยกาแฟหกหมดกรณีดังกล่าวนง
เพียงใด
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 88 บัญญัติว่า “ถ้าความผิด ท่ีได้ ใช้ ท่ีได้ โฆษณาหรือ ประกาศแก่
บุคคลทั่วไปให้กระทำา หรือที่ได้สนับสนุนให้กระทำา ได้กระทำาถึงขัน ้ ลงมือกระทำาความผิด แต่เน่ ืองจากการเข้าขัด
ขวางของผู้ใช้ ผู้โฆษณาหรือประกาศหรือผู้สนับสนุน ผู้กระทำาได้กระทำา ไปไม่ตลอด หรือกระทำา ไปตลอดแล้วแต่
การกระทำานัน ้ ไม่บรรลุผล ผูใ้ ช้หรือผู้โฆษณาหรือประกาศ คงรับผิดเพียงท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา 84 วรรคสอง หรือ
มาตรา 85 วรรคแรก แล้วแต่กรณี ส่วนผู้สนับสนุนนัน ้ ไม่ต้องรับโทษ”
จากข้อเท็จจริงตามปั ญหา การท่ีนงเยาว์ใช้ให้แจ๋วซ่ึงเป็ นสาวใช้ของสมศักดิ น ์ ำา ยาพิษไปใส่ในถ้วยกาแฟ
ของสมศักดิ เ ์ พ่ อ
ื เจตนาจะฆ่าสมศักดิใ์ห้ตาย
เป็ นผู้กระทำาได้ลงมือกระทำาความผิดแล้วตามท่ีนงเยาว์ได้ใช้ แต่ในขณะท่ค ี วามผิดยังไม่บรรลุผล นงเยาว์ซ่ึงแอบดู
อยู่เห็นสมศักดิย์กถ้วยกาแฟขึ้นด่ ืมเกิดความสงสารสมศักดิ จ ์ ึ งตรงเข้าไปปั ดถ้วย
ซ่ึงเป็ นผู้ใช้ให้กระทำาความผิดได้เข้าขัดขวางเพ่ ือมิให้การกระทำาของแจ๋วบรรลุผล กรณีดังกล่าวกฎหมายได้บัญญัติ
ให้ผู้ใช้นัน้ คงรับผิดเพียงท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา 84 วรรคสอง กล่าวคือ รับผิดเสมือนหน่ึงความผิดที่ใช้มิได้กระทำา
ลงไป ทัง้ๆท่ีความจริงความผิดกระทำาถึงขัน ้ พยายามแล้ว
สรุป นงเยาว์รับโทษเพียงหน่ึงในสามของความผิดฐานฆ่าคนตาย

12.3 เหตุท่ีมีผลกระทบถึงความรับผิดของตัวการ ผูใ้ ช้และผู้สนับสนุน


1. เหตุส่วนตัว หมายถึง เหตุเฉพาะตัวของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการกระทำาความผิดคนใดคนหน่ึงซ่ึงไม่มีผลถึง
ผู้เก่ียวข้องคนอ่ ืนๆ
2. เหตุในลักษณะคดี หมายถึงเหตุท่ีเก่ียวกับความผิดซ่ึงมีผลต่อผู้เก่ียวข้องในการกระทำาความผิดทุกคนเสมอ
กัน
3. ในความผิดบางฐาน ผู้กระทำา ผิดจะต้องมีคุณสมบัติพิเ ศษบางอย่า งดัง นัน ้ ผู้ท่ีขาดคุณสมบัติแม้จะมี ส่วน
เก่ียวข้องในลักษณะตัวการหรือผู้ใช้ ก็ไม่อาจรับผิดอย่างตัวการหรือผู้ใช้ได้คงรับผิดได้เพียงผู้สนับสนุน

12.3.1 เหตุส่วนตัวและเหตุในลักษณะคดี
เหตุส่วนตัวและเหตุในลักษณะคดีหมายความว่าอย่างไร
ในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 89 บัญญัติว่า “ถ้ามีเหตุส่วนตัวอันควรยกเว้นโทษ ลดโทษหรือเพิ่ม
โทษแก่ผู้กระทำาความผิดคนใด จะนำาเหตุนัน
้ ไปใช้แก่ผู้กระทำา ความผิดคนอ่ ืนในการกระทำา ความผิดนัน
้ ด้วยไม่ได้
แต่ถ้าเหตุอันควรยกเว้นโทษ ลดโทษหรือเพิ่มโทษเป็ นเหตุในลักษณะคดี จึงให้ใช้แก่ผู้กระทำาความผิดในการกระ
ทำาความผิดนัน้ ด้วยกันทุกคน”
จากบทบัญญัติดังกล่าว สามารถให้ความหมายของคำาว่าเหตุส่วนตัวและเหตุในลักษณะคดได้ดังนี้

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


50

“เหตุส่วนตัว” หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวแก่คุณสมบัติที่เป็ นเร่ ืองส่วนตัวของผู้กระทำาผิดแต่ละคน อัน


เป็ นผลให้ได้รับการยกเว้นโทษ ลดโทษหรือเพิ่มโทษแก่ผู้ร่วมกระทำาความผิดคนนัน ้ ไม่มีผลถึงผู้ร่วมกระทำาผิดคน
อ่ ืนด้วย
“เหตุในลักษณะคดี” หมายถึง ข้อ เท็จ จริงอ่ ืนๆ ในคดีซ่ึงมิได้อ าศัยคุณสมบัติหรือ ฐานะส่ว นตัวของผู้
กระทำาความผิด แต่เป็ นเหตุเก่ียวเน่ ืองกับการกระทำาความผิด ซ่ึงยังผลให้ได้รับการยกเว้นโทษ ลดโทษ หรือเพิ่มแก่
ตัวการท่ีรว่ มกระทำาความผิดทุกคน

12.3.2 เหตุเฉพาะตัวของผู้กระทำาในความผิดบางฐาน
แดงเป็ นข้าราชกรกรม กรมหน่ึงได้รับแต่งตัง้เป็ นประธานกรรมการสอบบรรจุเข้ารับราชการ แดงต้องการ
รับเงินสินบนในการสอบครัง้นี จ้ึงร่วมวางแผนกับภรรยาโดยแบ่งงานกันทำา ให้ภรรยาเป็ นผู้รับเงินจากผู้มาติดต่อ
และแดงเป็ นผู้กระทำาการช่วยให้บุคคลท่ีให้เงินนัน้ สอบบรรจุเข้ารับราชการได้ กรณีดังกล่าวแดงและภรรยาจะต้องรับ
ผิดเพียงใดหรือไม่
ในประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายได้ กำา หนดความผิ ด บางอย่ า งต้ อ งมี อ งค์ ป ระกอบความผิ ด เป็ น
คุณสมบัติเฉพาะตัว หรือลักษณะเฉพาะตัวผู้กระทำา ดังนัน ้ บุคคลทั่วไปซ่ึงไม่มีคุณสมบัติเช่นนัน
้ ย่อมไม่อาจกระทำา
ความผิด นัน ้ ได้ เพราะองค์ป ระกอบความผิ ด แต่ถ้ า บุค คลทั่ว ไปร่ว มกระทำา ความผิ ด ในลั ก ษณะตั ว การกั บ ผู้ ท่ีมี
คุณสมบัติเฉพาะตัวท่ีจะกระทำาความผิดนัน ้ ได้ บุคคลทั่วไปนัน ้ ก็จะกลายเป็ นผู้สนับสนุน แทนท่ีจะเป็ นตัวการร่วม
กระทำาความผิด
จากข้อ เท็จ จริ งตามปั ญหาการที่ แ ดงเป็ น ประธานกรรมการสอบบรรจุ เ ข้ า รั บ ราบการ ซ่ึง ถื อ ว่ า เป็ น เจ้ า
พนักงานได้ร่วมวางแผนกับภรรยาโดยแบ่งงานกันทำา ให้ภรรยาเป็ นผู้รับเงินสินบนซ่ึงมีผู้มาติดต่อ และแดงเป็ นผู้
กระทำาการช่วยให้บุคคลท่ีให้เงินนัน้ สอบบรรจุเข้ารับราชการได้ กรณีดังกล่าวเห็นว่า แดงและภรรยาเป็ นตัวการร่วม
ในการกระทำาความผิดฐานเจ้าพนักงานรับสินบน แต่เน่ ืองจากความผิดดังกล่าว กฎหมายกำา หนดคุณสมบัติของผู้
กระทำาว่าต้องเป็ นเจ้าพนักงาน ดังนัน้ บุคคลอ่ ืนท่ีไม่ได้เป็ นเจ้าพนักงานก็ถือว่าขาดคุณสมบัติจึงไม่อาจกระทำาความ
ผิดนัน
้ ได้ กรณีดังกล่าว ภรรยาของแดงเป็ นบุคคลธรรมดาทั่วไปไม่ได้เป็ นเจ้าพนักงาน แม้จะได้รว่ มกระทำาความผิด
กับแดงซ่ึงเป็ นเจ้าพนักงานในลักษณะตัวการ ก็ไม่อาจมีความผิดฐานนีไ้ด้ ภรรยาของแดงจึงเป็ นเพียงผู้สนับสนุน
การกระทำาความผิดดังกล่าว แดงเพียงผู้เดียวท่ีมีความผิดฐานเจ้าพนักงานรับสินบน

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 12 ผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการกระทำาความผิด (ต่อ)

1. ผู้สนับสนุนหมายถึง ผู้ชว่ ยเหลือหรือให้ความสะดวกแก่ผู้อ่ืนกระทำาความผิด


2. ติ๋มติดใจต๋อยจึงเปิ ดประตูบ้านทิง้ไว้ให้ต๋อยมาลักทรัพย์ของเจ้าของบ้าน ต๋อยไม่รู้แต่ก็เข้ามาทางประตูนัน

โดยคิดว่าเจ้าของบ้านลืมปิ ด ในกรณีนีถ
้ ือว่า ติม
๋ เป็ นผู้สนับสนุนกระทำาผิด
3. “หลังจากท่ีนิดฟั นน้อยไปครัง้หน่ึงแล้ว นิ่มก็พูดยุยงให้นิดฟั นน้อยให้ตาย” กรณีดังกล่าว นิ่มต้องรับผิด
ฐานเป็ นผู้สนับสนุน
4. หลักเกณฑ์ท่ีจะผิดฐานเป็ นผู้สนับสนุน ต้องกระทำา ด้วยประการใดๆ อันเป็ นการช่วยเหลือหรือให้ความ
สะดวกในการท่ีผู้อ่น ื กระทำาความผิดก่อนหรือขณะกระทำาความผิด
5. กฎหมายได้กำา หนดโทษของผู้ส นับสนุนการกระทำา ความผิ ดไว้ สองในสามของโทษท่ีกำา หนดไว้สำา หรับ
ความผิดท่ีสนับสนุนนัน ้
6. เหตุส่วนตัวของผู้กระทำาความผิด ได้แก่การกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ นตามมาตรา 67(1)
มาตรา 67 ผู้ใดกระทำาความผิดด้วยความจำาเป็ น
(1) เพราะอยู่ในท่ีบังคับ หรือภายใต้อำานาจซ่ึงไม่สามารถหลีกเล่ียงหรือขัดขืนได้ หรือ
(2) เพราะเพ่ ือให้ตนเองหรือผู้อ่ืนพ้นจากภยันตรายท่ีใกล้จะถึง และไม่สามารถหลีกเล่ียงให้พ้นโดยวิธี
อ่ ืนใดได้ เม่ ือภยันตรายนัน ้ ตน มิได้ก่อให้เกิดขึ้นเพราะความผิดของตน
ถ้าการกระทำานัน ้ ไม่เป็ นการเกินสมควรแต่เหตุแล้ว ผู้นัน้ ไม่ต้อง รับโทษ
7. ดำาจ้างขาวฆ่าเขียวโดยกำาชับให้ใช้ปืนยิง แต่ขาวแอบใช้วิธีการวางระเบิดจนร่างกายเขียวแหลกละเอียดถึงแก่
ความตาย กรณีดังกล่าว ดำาต้องรับผิดฐานฆ่าเหมือนกับขาว
8. สีมีเจตนาร้ายสัง่สอนสา โดยรู้อยู่ว่าสาเป็ นโรคหัวใจอย่างแรง สีได้รับไม้คมแฝกให้แสดไปตีศีรษะสา แสดตี
อย่างแรงเป็ นเหตุให้สา ช็อคหัวใจวายตาย สีต้องรับผิดฐานฆ่าผู้อ่ืนโดยเจตนา
9. แสงรู้ว่าสอนจะฆ่าสุข จึงช่วยหาปื นมาให้สอน ขณะสอนจ้องปื นไปยังสุขแต่ก่อนเหน่ียวไก แสงกลัวติดคุก
จึงเข้าไปปั ดปื น กระสุนจึงไม่ถูกสุข กรณีนี้ แสงไม่ต้องรับโทษ
10. เอเป็ นตัวการกระทำาผิดกับบี คดีขาดอายุความจึงไม่ต้องรับผิด ถือว่าเป็ นเร่ ืองเหตุในลักษณะคดี
11. ความหมายของผู้สนับสนุนคือ ผูช้ ่วยเหลือผู้อ่น ื ก่อนกระทำาความผิด
12. อ๊อดโกรธนายจ้างจึงแกล้งเปิ ดหน้าต่างไว้เพ่ ือให้ขโมยเข้าบ้าน แต่ขโมยไม่รู้เข้าทางประตูบ้านท่ีนายจ้างลืมปิ ด
“อ๊อด” ไม่ต้องรับผิดฐานเป็ นผู้สนับสนุนการกระทำาผิด
13. ข้อท่ีไม่ใช่หลักเกณฑ์ท่ีจะผิดฐานเป็ นผู้สนับสนุน โดยผู้กระทำาผิดต้องรู้ถึงการช่วยเหลือนัน้

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


51

14. ปื๊ ดกับพวกจะไปปล้นทรัพย์ ป๋ องจึงให้ยืมปื นและรถยนต์เพ่ ือใช้ในการปล้น ปื๊ ดรับเอาอาวุธปื นและรถยนต์


ไปแล้ว แต่มิได้เอาไปปล้นด้วย คงเอาแต่อาวุธปื นไป แต่ก็มิได้ใช้อาวุธปื นนัน ้ กรณีดังกล่าว ป๋ องต้องรับผิด
เป็ นผู้สนับสนุนให้กระทำาความผิด
15. ผู้ ท ่ีส นั บ สนุ น การกระทำา ความผิ ด จะต้ อ ง ได้ รั บ โทษ 2/3 ส่ ว นของโทษท่ีกำา หนดไว้ สำา หรั บ ความผิ ด ท่ี
สนับสนุนนัน ้
16. ความผิดไม่สำาเร็จตามมาตรา 80 เป็ นเหตุในลักษณะคดีของผู้กระทำาผิด
มาตรา 80 ผู้ใดลงมือกระทำาความผิดแต่กระทำา ไปไม่ตลอด หรือกระทำา ไปตลอดแล้วแต่การกระทำา นัน ้ ไม่
บรรลุผล ผู้นัน ้ พยายามกระทำาความผิด
ผู้ใดพยายามกระทำา ความผิด ผู้นัน ้ ต้องระวางโทษสองในสามส่วนของโทษท่ีกฎหมายกำา หนดไว้ สำา หรับ
ความผิดนัน

17. ร.ต.อ.ดำา สัง่ให้ ส.ต.ต. แดงขึ้นไปจับขาวบนเรือนข้อหาลักทรัพย์ ส.ต.ต. แดงขึ้นไปยิงขาวตาย ร.ต.อ.
ดำา ไม่ต้องรับผิดในฐานฆ่าขาวเลย
18. แสงช่วยวางแผนและหาปื นให้สดกับพวกไปปล้นบ้านสี ขณะทำา การปล้นสีต่อสู้ขัดขวาง สดจึงใช้ปืนยิงสี
ตาย แสงต้องรับผิดเป็ นผู้สนับสนุนฐานปล้นทรัพย์เป็ นเหตุให้ผู้อ่น ื ถึงแก่ความตาย
19. แก้วจ้างมืดฆ่าขาว มืดใช้ปืนยิงขาวบาดเจ็บสาหัส แก้วรู้สึกสงสารจึงรีบพาขาวไปส่งแพทย์ แพทย์รักษาได้
ทัน ขาวไม่ตาย แก้วต้องรับผิดฐานพยายามฆ่าเสมือนเป็ นตัวการ
20. ผู้ใช้ให้ผู้อ่ืนพยายามกระทำาความผิดลหุโทษ ไม่ต้องรับผิดและรับโทษเลย

หน่วยท่ี 13 ทฤษฎีการลงโทษและทฤษฎีวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย

1. ทฤษฎีการลงโทษมีท่ีมาจากปฏิกิริยาของสังคมท่ม ี ีต่อผู้กระทำาความผิด โดยเน้นไปในด้านการลงโทษ


2. การลงโทษมีวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่เพ่ ือคุ้มครองสวัสดิภาพของสังคม โดยเน้นท่ีการลดอาชญากรรม
และการส่งเสริมให้ประชาชนเคารพปฏิบัตต ิ ามกฎหมาย
3. การปฏิบัติต่อผู้กระทำา ความผิดมีท่ีมาจากทฤษฎี และวัตถุประสงค์ในการลงโทษและมีการพัฒนาไป
จนถึงขัน
้ ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิด
4. ทฤษฎีวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยมีท่ีมาจากปฏิกิริยาของสังคมต่อผู้กระทำา ความผิด เช่นเดียวกันโดย
เน้นไปท่ีการคุ้มครองสังคม

13.1 ทฤษฎีการลงโทษ
1. การลงโทษเกิดจากปฏิกิริยาของผู้เสียหายท่ีจะตอบโต้กับผู้ประทุษร้ายในรูปแบบของการแก้แค้นและ
ต่อมารัฐดำาเนินการแทนผู้เสียหาย เป็ นการทดแทนอย่างในระบบ “ตาต่อตา ฟั นต่อฟั น”
2. การลงโทษควรจะมองไปถึงประโยชน์ท่ีจะเกิดแก่สังคมในอนาคตด้วย โดยคำานึงถึงความปลอดภัยของ
สังคมเป็ นหลักด้วยวิธีการยับยัง้ ป้ องกันและปรับปรุงผู้กระทำาความผิด
3. การลงโทษควรจะเปล่ียนเป็ นการปฏิบัติต่อผู้กระทำา ผิดโดยมุ่งต่อการแก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำา ความผิดให้
กลับตนเป็ นคนดี ยกเว้นในกรณีแก้ไขปรับปรุงไม่ได้ ก็ให้กำาจัดไปจากสังคม
4. การลงโทษควรจะเปล่ียนเป็ นการปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิด โดยมุ่งต่อการคุ้มครองสังคมให้ปลอดภัย
จากอาชญากรรม โดยวิธีการแก้ไขฟ้ืนฟูและอ่ ืนๆท่ีเหมาะสม
5. การลงโทษมีวัตถุประสงค์เพ่ ือแก้แค้น ทดแทน ยับยัง้ คุม ้ ครองสังคม และแก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำาความผิด
6. แบบของการลงโทษมี 4 ประการด้วยกัน คือลงโทษโดยการกำา จัดออกไปจากสัง คม ลงโทษโดยการ
ทรมานทางกาย ลงโทษโดยการประจาน และลงโทษโดยการทำาให้สูญเสียทางการเงิน

13.1.1 ทฤษฎีการลงโทษเพ่ ือแก้แค้นและทดแทนแก่ผู้กระทำาความผิด


การลงโทษผู้กระทำาความผิดตามแนวความคิดของ อิมมานูเอล คานส์ เป็ นอย่างไร
อิมมานูเอล คานส์ มีทรรศนะว่าการลงโทษผู้ กระทำา ความผิด ควรจะมองย้อ นไปในอดี ตว่า ผู้ก ระทำา ได้
กระทำาความผิดอะไรและร้ายแรงเพียงใด แล้วจึงลงโทษให้เหมาะสมกับความผิดนัน ้ โดยมีเหตุผลเพียงว่าผู้กระทำา
ความผิดสมควรถูกลงโทษ เพราะได้กระทำาการฝ่ าฝื นกฎหมายบ้านเมืองแล้ว

13.1.2 ทฤษฎีการลงโทษแบบอรรถประโยชน์
ทฤษฎีการลงโทษแบบอรรถประโยชน์ มีท่ีมาจากสำานักอาชญาวิทยาสำานักใด และมีหลักเกณฑ์อะไรบ้าง
ทฤษฎีการลงโทษแบบอรรถประโยชน์มีท่ีมาจากสำานักคลาสสิกซ่ึงวางหลักเกณฑ์ไว้ว่า การลงโทษควรจะ
มองไปในอนาคตมากกว่ามองย้อนหลังไปในอดีต การลงโทษผู้กระทำาความผิดควรจะเน้นไปท่ีการลดอาชญากรรม
และทำาให้ประชาชนเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย การลงโทษจึงควรจะเน้นท่ีการป้ องกัน การยับยัง้และการแก้ไข
ปรับปรุงผู้กระทำา ความผิด การท่ีจะให้มีผลในการยับยัง้ การลงโทษจะต้องทำา อย่างรุนแรง และอย่างเปิ ดเผ การ
แก้ไขปรับปรุงใช้หลักการขังเด่ียว และหลักการทางศาสนาเพ่ ือให้สำานึกในความผิดและกลับตัวเป็ นพลเมืองดีให้ได้

13.1.3 ทฤษฎีการลงโทษเพ่ ือแก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำาความผิด

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


52

ทฤษฎีการลงโทษเพ่ ือแก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำา ความผิดมีท่ีมาจากสำา นักอาชญาวิทยาสำา นักใด และมีหลักการ


สำาคัญอย่างใด
ทฤษฎีการลงโทษเพ่ อ ื แก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำาความผิด มีท่ีมาจากนักอาชญาวิทยาสำานักโปซิตีฟ หลักเกณฑ์
สำาคัญของทฤษฎีคอ ื ลงโทษผู้กระทำาความผิดให้เหมาะสมเป็ นรายบุคคลโดยใช้วิธีการแก้ไขฟ้ืนฟูเป็ นรายบุคคลหรือ
รายกลุ่ม ซ่ึงก่อนจะทำาการแก้ไขต้องมีการศึกษาหาสาเหตุของปั ญหาโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เสียก่อน เพ่ ือจะได้
แก้ไขปั ญหา

13.1.4 ทฤษฎีการลงโทษเพ่ ือปกป้ องคุ้มครองสังคม


ทฤษฎีป้องกันสังคม มีหลักการสำาคัญในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิดอย่างไร
ทฤษฎีป้องกันสังคม มีหลักการสำาคัญ คือ คุ้มครองสังคมให้ปลอดภัยจากอาชญากรรมโดยการแก้ไขฟ้ืนฟู
ผู้กระทำาความผิดและอบรมบ่มนิสัยมากกว่าการลงโทษ

13.1.5 วัตถุประสงค์และแบบของการลงโทษ
วัตถุประสงค์ของการลงโทษมีก่ีข้อ อะไรบ้าง
วัตถุประสงค์ของการลงโทษ มี 4 ข้อ คือ
(1) เพ่ ือแก้แค้นทดแทน
(2) เพ่ ือยับยัง้หรือป้ องกัน
(3) เพ่ ือคุ้มครองสังคม
(4) เพ่ ือปรับปรุงและแก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำาผิด

การลงโทษมีก่ีแบบ อะไรบ้าง
การลงโทษมี 4 แบบ คือ
(1) กำาจัดออกจากหมู่คณะหรือสังคม
(2) ทรมานร่างกาย
(3) ประจาน
(4) ทำาให้สูญเสียทางการเงิน

13.2 การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดในสังคม
1. อุดมการณ์ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิดมีท่ีมาจากทฤษฎีและวัตถุประสงค์ในการลงโทษซ่ึงเน้น
ไปใน 3 ทาง คือ มุ่ง ลงโทษ มุ่ง แก้ไขฟ้ืนฟู และมุ่ง ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปรับปรุง ผู้
กระทำาความผิด
2. ผู้ท่ีกระทำาความผิดท่ีมีโทษไม่ร้ายแรงอาจได้รับการแก้ไขฟ้ืนฟูให้เป็ นคนดีได้โดยใช้ชุมชนเป็ นท่ีแก้ไข
3. ผู้ท่ีกระทำาความผิดท่ีมีโทษร้ายแรง อาจแก้ไขให้กลับเป็ นคนดีได้โดยใช้เรือนจำา เป็ นท่ีแก้ไขและขณะ
เดียวกันก็เป็ นการกำาจัดเสรีภาพของผู้ต้องโทษด้วย

13.2.1 อุดมการณ์ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิด
อุดมการณ์ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดมีก่ีอย่าง อะไรบ้าง
อุดมการณ์ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดมี 3 อุดมการณ์ คือ
(1) อุดมการณ์ท่ีมุ่งต่อการลงโทษ
(2) อุดมการณ์ท่ีมุ่งต่อการแก้ไขฟ้ืนฟู
(3) อุดมการณ์ท่ีมุ่งต่อการแก้ไขฟ้ืนฟูในชุมชน

13.2.2 การปฏิบัตต
ิ ่อผู้กระทำาความผิดในชุมชน
หลักเกณฑ์ในการพิจารณารอการลงโทษ มีก่ีข้อ อะไรบ้าง
มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณารอการลงโทษมี 3 ข้อคือ
(1) โทษนัน้ เป็ นโทษจำาคุก
(2) ศาลจะลงโทษจริงไม่เกิน 2 ปี
(3) ไม่เคยต้องโทษจำาคุกมาก่อนเว้นแต่ได้กระทำาความผิดโดยประมาทหรือลหุโทษ

เง่ ือนไขพักการลงโทษมีก่ีข้อ อะไรบ้าง


เง่ ือนไขพักการลงโทษมี 2 อย่าง
(1) ให้ปฏิบัติตาม 3 ข้อ
(1) ให้ประกอบอาชีพในทางสุจริต
(2) ให้ปฏิบัติกิจทางศาสนา
(3) ให้ไปรายงานตัวต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีพักโทษ เดือนละ 1 ครัง้
(2) ห้ามปฏิบัติ 6 ข้อ
(1) ห้ามเข้าไปในเขตท้องท่ีๆ กำาหนดไว้
(2) ห้ามเปล่ียนอาชีพนอกจากได้รับอนุญาต

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


53

(3) ห้ามทำาผิดกฎหมายทุกชนิด
(4) ห้ามประพฤติตนในทางเส่ ือมเสีย
(5) ห้ามพกอาวุธทุกชนิด
(6) ห้ามไปเย่ียมและติดต่อกับนักโทษอ่ ืนท่ีไม่ใช่ญาติ

13.2.3 การปฏิบัตต
ิ ่อผู้กระทำาความผิดในสถานท่ีควบคุม
ในปั จจุบันเรือนจำาใช้อุดมการณ์อะไรในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิด
ใช้อุดมการณ์แก้ไขฟ้ืนฟู แต่ในสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มจะหันมาใช้การปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิดโดยมุ่ง
ต่อการลงโทษอย่างเป็ นธรรม

การปฏิบัตต ิ ่อผู้กระทำาผิดในสถานท่ีควบคุมได้ผลเป็ นประการใด


ได้ผลดังนี้
(1) ในด้านการรักษาความปลอดภัย มีผู้หลบหนีไปได้น้อยมาก
(2) ในด้านการแก้ไขปรับปรุงได้ผลประมาณ 80%

13.3 ทฤษฎีวิธีการเพ่ อ
ื ความปลอดภัย
1. การกักกันมีท่ีมาจากทฤษฎีคุ้มครองสังคม ทฤษฎียับยัง้ และทฤษฎีแก้ไขฟ้ืนฟู
2. การห้ามเข้าเขตกำา หนด การเรียกประกันทัณฑ์บน การคุมตัวไว้ในสถานพยาบาล และการห้ามประกอบ
อาชีพบางอย่าง มีท่ีมาจากทฤษฎีคุ้มครองสังคมเป็ นส่วนใหญ่

13.3.1 ทฤษฎีเก่ียวกับการกักกัน
กักกันตาม ปอ.มาตรา 40 มีท่ีมาจากทฤษฎีอะไรบ้าง
มาจากทฤษฎีคือ
(1) ทฤษฎีคุ้มครองสังคม
(2) ทฤษฎียับยัง้อาชญากรรม
(3) ทฤษฎีแก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำาความผิด

13.3.2 ทฤษฎีเก่ียวกับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยอ่ ืนๆ


วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยโดยเฉพาะการเรียกประกันทัณฑ์บนมีท่ีมาจากทฤษฎี คืออะไร
มีท่ีมาจากทฤษฎีคุ้มครองสังคม ของสำานักป้ องกันสังคม

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 13 ทฤษฎีการลงโทษและวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย

1. นักอาชญาวิทยาสำานักคลาสสิก เสนอให้ลงโทษผู้กระทำาความผิดด้วยวัตถุประสงค์ ลงโทษให้เหมาะสมกับ


ความผิด
2. นักทฤษฎีท่านใดท่ีเสนอว่าผู้กระทำาความผิดถูกลงโทษเพราะสมควรได้รับโทษคือ อิมมานูเอล คานส์
3. นักอาชญาวิทยา สำานักคลาสสิก ท่ีเสนอให้ลงโทษผู้กระทำาผิดเพ่ ือยับยัง้อาชญากรรม
4. นักอาชญาวิทยาสำานักโปซิตีฟเสนอให้ลงโทษผู้กระทำาผิดด้วยวัตถุประสงค์ ลงโทษให้เหมาะสมกับบุคคล
5. การใช้เรือนจำาเป็ นท่ีลงโทษจำาคุกผู้กระทำาผิดในยุคแรกเน้นวัตถุประสงค์ แก้ไขปรับปรุง
6. การลงโทษเพ่ ือลงโทษ ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการลงโทษตามทฤษฎีอรรถประโยชน์
7. นักอาชญาวิทยา สำานักนีโอคลาสสิก ริเร่ิมรอการลงโทษ
8. การปฏิบัตต ิ ่อผู้กระทำาผิดในเรือนจำาสมัยใหม่ใช้ทฤษฎีลงโทษ เพ่ อ ื แก้ไขฟ้ืนฟู
9. นักอาชญาวิทยา สำานักป้ องกันสังคม ใช้วิธีกักกันผู้ต้องโทษติดนิสัย
10. การห้ามเข้าเขตกำาหนดมีท่ีมาจากทฤษฎีของนักอาชญาวิทยา สำานักป้ องกันสังคม
11. อิมมานูเอล คานส์ เสนอให้ลงโทษผู้กระทำาผิดเพราะเหตุผล ผู้กระทำาผิดสมควรได้รับโทษ
12. การลงโทษให้เหมาะสมกับความผิดเป็ นหลักการลงโทษของ สำานักคลาสสิก
13. การลงโทษเพ่ ือแก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำาผิดเป็ นหลักการของ นักอาชญาวิทยาสำานักโปซิตีฟ
14. นัก อาชญาวิ ท ยา สำา นั กคลาสสิ ก เสนอให้ล งโทษเพ่ ือยั บยั ง้ ป้ องกั นอาชญากรรม และแก้ ไขปรั บ ปรุง ผู้
กระทำาความผิด
15. การใช้เรือนจำาเป็ นท่ีลงโทษจำาคุกผู้กระทำาผิดในยุคปั จจุบันเน้นวัตถุประสงค์ แก้ไขฟ้ืนฟู
16. การลงโทษเพราะผู้กระทำาผิดสมควรได้รับโทษท่ีมาจาก ทฤษฎีการลงโทษเพ่ ือแก้แค้นทดแทน
17. การใช้เรือนจำาเป็ นสถานท่ีลงโทษเพ่ อ ื แก้ไขปรับปรุงผู้กระทำาผิดริเร่ิมโดยนักอาชญาวิทยา สำานักคลาสสิก
18. การปฏิบัตติ ่อผู้กระทำาผิดในชุมชน โดยการคุมความประพฤติมีท่ีมาจาก ทฤษฎีลงโทษเพ่ อ ื แก้ไขฟ้ืนฟู
19. นักอาชญาวิทยา สำานักป้ องกันสังคม ใช้วิธีเรียกประกันทัณฑ์บนเพ่ ือป้ องกันอาชญากรรมในอนาคต
20. การห้ามประกอบอาชีพบางอย่างมีท่ีมาจากทฤษฎีของนักอาชญาวิทยา สำานักป้ องกันสังคม

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


54

หน่วยท่ี 14 โทษและวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย

1. โทษสำาหรับลงแก่ผู้กระทำาความผิดนัน ้ มี 5 ประการตามลำา ดับชัน


้ แห่งความร้ายแรงของการกระทำา ผิด
คือประหารชีวิต จำาคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน
2. วิ ธี เ พ่ม
ิ โทษ ลดโทษ เปล่ีย นโทษ การรอการลงโทษและระงั บ โทษต้ อ งเป็ น ไปตามหลั ก เกณฑ์ แ ละ
เง่ ือนไขท่ีกฎหมายกำาหนด
3. วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยมิใช่โทษมี 5 ประการ คือ กักกัน ห้ามเข้าเขตกำาหนด เรียกประกันทัณฑ์บน
คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล ห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง

14.1 โทษ
โดยลักษณะของโทษท่ีจะบังคับแก่ผู้กระทำาผิดมี 3 ลักษณะคือ
1. โทษท่ีบังคับต่อชีวิต ได้แก่
โทษประหารชีวิต ด้วยการเอาไปยิงเสียให้ตาย
2. โทษท่ีบังคับต่อเสรีภาพได้แก่
โทษจำาคุก โดยมีกำาหนดระยะเวลาและไม่มีกำาหนดระยะเวลา ซ่ึงการคำานวณเก่ียวกับระยะเวลาจำา
คุกจะเป็ นไปตามท่ีกฎหมายกำาหนด
โทษกักขัง ให้กักขังผู้ต้องโทษไว้ในสถานท่ีอันมิใช่เรือนจำา โดยมีระยะเวลาอยู่ภายในเง่ ือนไขของ
กฎหมาย และจะนำา ไปใช้เป็ นการลงโทษหรือเป็ นมาตรการบังคับในกรณีท่ีฝ่าฝื นการ
ลงโทษปรับ ริบทรัพย์สิน ตลอดจนเรียกประกันทัณฑ์บน ในวิธีเพ่ ือความปลอดภัย
3. โทษท่ีบังคับต่อทรัพย์สินได้แก่
โทษปรับ ผู้นัน
้ ต้องชำาระเงินตามจำานวนท่ีกำาหนดไว้ในคำาพิพากษา หากขัดขืนผู้นัน ้ จะต้องถูกยึด
ทรัพย์สินใช้คา่ ปรับหรือกักขังแทนค่าปรับ โทษนีม ้ ักใช้คู่กับโทษจำาคุก
โทษริบทรัพย์ บังคับเอาแก่ทรัพย์ทท ่ี ำาหรือมีไว้เป็ นความผิด ได้ใช้หรือมีไว้เพ่ ือใช้ในการกระทำา ความ
ผิ ด ได้ มาโดยการกระทำา ความผิ ด และได้ใ ห้เ ป็ น สิ น บนหรื อ ได้ใ ห้ เ พ่ อ
ื จูง ใจเพ่ ือเป็ น
รางวัลในการกระทำาความผิด

14.1.1 โทษประหารชีวิต
วิ ธี ป ระหารชี วิต ในปั จจุ บั นทำา อย่ า งไร หากผู้ ต้ อ งโทษประหารชี วิ ต เป็ น หญิ ง มี ค รรภ์ หรื อ วิ ก ลจริ ต จะทำา
อย่างไร
วิธีการประหารชีวิตในปั จจุบันคือเอาไปยิงเสียให้ตาย ตาม ปอ.มาตรา 19 หากผู้ต้องโทษประหารชีวิต
เป็ นหญิงมีครรภ์ ต้องรอโทษประหารชีวิตไว้ก่อนจนกว่าจะคลอดบุตรแล้วจึงให้ประหารได้ ตาม ปวอ. มาตรา 247
วรรค 2
หากผู้ต้องโทษประหารชีวิตเป็ นคนวิกลจริตก่อนถูกประหารชีวิต ต้องรอการประหารชีวิตไว้จนกว่าจะหาย
ถ้าหายหลัง 1 ปี นับแต่คำาพิพากษาถึงท่ีสุด ก็ให้ลดโทษลงเป็ นจำาคุกตลอดชีวิต ตาม ปวอ. มาตรา 248

การท่ีกฎหมายอาญาของไทยยังคงโทษประหารชีวิตเอาไว้สมควรหรือไม่ จงอธิบายและให้เหตุผลประกอบ
โทษประหารชีวิตเป็ นโทษท่ีรุนแรงสามารถยับยัง้อาชญากรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะสามารถกำาจัด
บุ คคลท่ีสัง คมไม่ต้ อ งการได้ โดยเด็ด ขาด มิใ ห้ มี โ อกาสก่ อ ความเดื อ ดร้อ นให้ กั บ สั ง คมได้ อี ก ทั ง้ ยั ง เหมาะสมกั บ
ประเภทของความผิดร้ายแรงและทารุณโหดร้าย อย่างไรก็ดีโทษประหารชีวิตเป็ นโทษท่ีเม่ อ ื เกิดความผิดพลาดแล้วก็
จะไม่มีทางแก้ไขได้เลย ย่ิงกว่านัน้ ยังขัดต่อหลักมนุษยธรรม เพราะมนุษย์ด้วยกันไม่ควรมีอำานาจเหนือความตายซ่ึง
กันและกัน
ฉะนัน้ ไม่ใช่กฎหมายไทยเพียงประเทศเดียวท่ียังคงมโทษประหารชีวิตไว้ ประเทศอ่ ืนๆ ก็ยังนิยมมีโทษ
ประหารชีวิตอยู่ เพียงแต่แตกต่างกันซ่ึงวิธีการประหารชีวิตเท่านัน ้

14.1.2 โทษจำาคุก
อธิบายหลักเกณฑ์การคำานวณระยะเวลาจำาคุก พร้อมทัง้ยกตัวอย่างประกอบ
การคำานวณระยะเวลาจำาคุก มีหลักเกณฑ์ตาม ปอ. มาตรา 21 คือ
ให้นับวันเริ่มจำาคุกคำานวณเข้าด้วย และให้นับเป็ นหน่ึงวันเต็ม โดยไม่ต้องคำานึงถึงจำานวนชั่วโมง เช่น ศาล
พิพากษาให้จำาคุกจำาเลย วันท่ี 3 มกราคม 2530 เวลา 15.30 น. ส่งตัวจำาเลยเข้าเรือนจำาเวลา 16.30 น. ดัง
นั่นให้นับวันท่ี 3 มกราคม 2530 เป็ นวันแรกของการลงโทษจำาคุก และให้นับเป็ น 1 วันเต็ม ไม่เหมือนกับนับ
ระยะเวลาใน ปพพ. มาตรา 158 ซ่ึงจะไม่นับวันแรกของระยะเวลารวมคำานวณเข้าไปด้วย
ในกรณีที่กำาหนดโทษไว้เป็ นเดือน ไม่ถือตามเดือนปฏิทิน แต่เอา 30 วัน เป็ นหน่ึงเดือน เช่น เริ่มต้นจำา
คุกวันท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2530 มีกำาหนด 1 เดือน ครบกำาหนดวันท่ี 2 มีนาคม 2530 ไม่เหมือนกับการนับระยะ
เวลาใน ปพพ. มาตรา 159 วรรคต้น ซ่ึงให้คำานวนตามปฏิทิน

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


55

ถ้ากำาหนดเป็ นปี ให้คำานวณตามปฏิทินในราชการ ซ่ึงอาจมี 365 วันหรือ 366 วัน ก็ได้ เช่น เริ่มต้นจำา
คุกวันท่ี 1 ตุลาคม 2530 ครบกำาหนด 1 ปี เม่ อ ื วันท่ี 30 กันยายน 2531
อน่ึงการกำา หนดโทษจำา คุ ก ถ้ากฎหมายระวางโทษไว้อ ย่างไร ศาลก็ต้อ งกำา หนดให้เป็ นไปตามนัน้ เช่น
กฎหมายระวางโทษเป็ นเดือน ศาลก็ต้องกำาหนดโทษเป็ นเดือนด้วย

อธิบายหลักเกณฑ์การเร่ิมรับโทษจำาคุก พร้อมทัง้ยกตัวอย่างประกอบ
หลักเกณฑ์การเริ่มรับโทษจำาคุก เป็ นไปตาม ปอ.มาตรา 22 วรรคแรก คือให้เริม ่ แต่วันมีคำาพิพากษา แต่
ถ้าผู้ต้องคำาพิพากษาถูกคุมขังก่อนศาลพิพากษาให้หักจำานวนวันท่ีถูกคุมขังออกจากระยะเวลาตามคำาพิพากษาเช่น
จำา เลยกระทำา ความผิด ฐานลัก ทรั พย์ ถู กตำา รวจจับ ได้ ในวั นท่ี 1 มกราคม 2531 และได้ถูควบคุม ขัง ไว้ท่ีสถานี
ตำารวจ จนพนักงานอัยการนำาตัวขึ้นฟ้ องในวันท่ี 1 เมษายน 2531 และศาลได้พิพากษาให้จำาคุก 2 ปี ในวันท่ี 1
กรกฎาคม 2531 ดังนีศ ้ าลต้องหักวันคุมขังตัง้แต่วันที่ 1 มกราคม 31 ถึง 1 กรกฎาคม 31 เป็ นเวลา 6 เดือน
1 วัน ออกจากระยะเวลาจำาคุกก่อน ผลสุดท้ายจำาเลยต้องรับโทษจำาคุกในเรือนจำาเพียง 1 ปี 5 เดือน 29 วัน

ตาม ปอ. มาตรา 22 ความว่า “เว้ นแต่คำา พิพ ากษานัน ้ จะกล่า วไว้เ ป็ นอย่า งอ่ ืน” หมายความว่า อย่ า งไร
อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
“เว้นแต่คำาพิพากษานัน ้ จะกล่าวไว้เป็ นอย่างอ่ ืน” หมายความว่า ศาลอาจจะพิพากษาว่าให้เริ่มนับโทษจำา
คุกตามคำาพิพากษาโดยไม่หักจำานวนวันท่ีผู้ต้องคำาพิพากษาถูกคุมขัง ก่อนศาลมีคำาพิพากษาออกจากระยะเวลาตาม
คำา พิพากษาก็ได้ ทัง้นีต
้ ้องไม่เกินอัตราโทษขัน ้ สูงของกฎหมายที่กำา หนดไว้สำา หรับความผิดที่ได้กระทำา ลง และไม่
กระทบกระเทือน ปอ.มาตรา 91 เช่น ในคดีความผิดฐานลักทรัพย์ ตาม ปอ.มาตรา 334 ซ่ึงมีโทษจำา คุกได้ไม่
เกิน 3 ปี นัน
้ ถ้าจำาเลยได้ถูกคุมขังอยู่ก่อนศาลพิพากษาในคดีความผิดฐานลักทรัพย์นีเ้ป็ นเวลา 1 ปี 4 เดือนแล้ว
ศาลจะพิพากษาให้ลงโทษจำาคุกเกินกว่า 1 ปี 8 เดือน โดยไม่หักวันท่ีจำาเลยถูกคุมขังก่อนพิพากษาไม่ได้ เพราะเกิน
กำาหนดโทษขัน ้ สูงของความผิดฐานลักทรัพย์คือ เกิน 3 ปี

14.1.3 โทษกักขัง
อธิบายโดยสรุปถึงหลักเกณฑ์การบังใช้โทษกักขังและสิทธิของผู้ถูกกักขัง
โทษกักขังเป็ นโทษท่ีเก่ียวกับเสรีภาพของผู้กระทำา ความผิดเช่นเดียวกับโทษจำา คุกแต่เป็ นโทษที่เบากว่า
เพราะไม่ได้ถูกกักขังในเรือนจำาและผู้ต้องโทษกักขังมีสิทธิต่างๆ มากกว่าผู้ต้องโทษจำาคุก
การบังคับใช้โทษกักขัง ในปั จจัย ในปั จจุบันไม่มีบทบัญญัติมาตราใดในประมวลกฎหมายอาญาท่ีกำาหนด
โทษกักขังแก่ผู้กระทำาความผิดสำาหรับการกระทำาความผิดฐานใดฐานหน่ึงโดยเฉพาะ มีแต่เพียงท่ีบัญญัติความผิด
บางมาตราท่ีให้เปล่ียนโทษอย่างอ่ ืนมาเป็ นโทษกักขัง หรือใช้วิธีการลงโทษกักขังเพ่ ือเป็ นมาตรการเร่งรัดให้กระทำา
การตามท่ีกฎหมายบัญญัติได้แก่
(1) การท่ีเ ปล่ียนโทษจำา คุ ก เป็ นโทษกั ก ขั ง ตามมาตรา 23 (การเปล่ียนโทษกั ก ขั ง กลั บ เป็ น
โทษจำาคุกมาตรา 27)
(2) กรณีต้องโทษปรับแล้วไม่ชำาระค่าปรับ หรือศาลสงสัยว่าจะมีการหลีกเลี่ยงไม่ชำาระค่าปรับ
ให้มีการกักขังแทนค่าปรับ (มาตรา 29)
(3) กรณี ขัด ขืน คำา พิพ ากษาของศาลให้ริ บ ทรั พย์ สิ น ให้ กัก ขัง จนกว่ า จะปฏิ บั ติ ต าม (มาตรา
34)
(4) กรณีไม่ยอมทำาทัณฑ์บนหรือหาประกันไม่ได้ ให้กักขังจนกว่าจะปฏิบัติตาม (มาตรา 46)
(5) ในกรณีไม่ชำา ระเงินตามที่ศ าลสัง่ เม่ ือ กระทำา ผิดทัณฑ์บน ให้มีการกักขังจนกว่าจะมีก าร
ชำาระ (มาตรา 47) สถานท่ีกักขัง ตามมาตรา 34 แยกเป็ น 2 ประเภท คือ
(1) สถานท่ีกักขังซ่ึงกำาหนดไว้อันมิใช่เรือนจำา คือสถานีตำารวจ หรือสถานกักขังของกรมราชทัณฑ์
(2) สถานท่ีอ่น ื ซ่ึงไม่ใช่สถานท่ีกักขังซ่ึงกำาหนดได้แก่ ท่ีอาศัยของผู้นัน
้ เอง ท่ีอาศัยของผู้อ่น ื ท่ียินยอม
รับผู้นัน
้ และสถานท่ีอ่ืนท่ีอาจกักขังได้
สิทธิของผู้ต้องโทษกักขัง (มาตรา 25-26) คือ
กรณีที่ผู้ต้องโทษกักขังในสถานทีซ ่ ่ึงกำาหนด มีสิทธิได้รับการเลีย
้ งดูจากสถานท่ีนัน
้ มีสิทธิได้รับอาหารจาก
ภายนอกโดยเสีย ค่ าใช้จ่ ายของตนเอง ใช้ เ ส้ือ ผ้ า ของตนเอง ได้ รั บ การเย่ีย มอย่ า งน้ อ ยวั น ละ 1 ชม. และรั บ ส่ ง
จดหมายได้ (มาตรา 25)
ในกรณีที่ผู้ต้องโทษกักขังถูกกักตัวไว้ในสถานที่อ่ืน ผู้ต้องโทษกักขังมีสิทธิต่างๆ ดีกว่าผู้ถูกกักขังในสถาน
ท่ีซ่ึงกำาหนด มีสิทธิจะดำาเนินการใช้วิชาชีพของตนเองได้ตามแต่ศาลจะเห็นสมควรกำาหนดเง่ ือนไข

14.1.4 โทษปรับ
โทษปรั บคืออะไร ถ้า ผู้ต้องโทษปรับไม่ชำา ระค่า ปรั บภายในเง่ ือนไขของกฎหมาย จะมีวิธีการบัง คับผู้นัน

อย่างไร
โทษปรับเป็ นโทษอาญาในทางทรัพย์สิน การเสียค่าปรับคือการชำาระเงินจำานวนหน่ึงต่อศาลตามจำานวนที่
ศาลกำาหนดเอาไว้ในคำาพิพากษา (มาตรา 28)
ถ้าผู้ต้องโทษปรับไม่ชำาระค่าปรับภายในเง่ อ
ื นไขของกฎหมาย คือภายใน 30 วัน นับแต่วันท่ีศาลพิพากษา
ผู้นัน
้ ก็อาจจะถูกยึดทรัพย์สินใช้แทนค่าปรับ หรือถูกกักขังแทนค่าปรับ แต่ศาลก็อาจเรียกประกันหรือกักขังแทนค่า
ปรับไปพลางก่อนก็ได้ ถ้ามีเหตุอันสมควรสงสัยว่าผู้นัน ้ จะหลีกเล่ียงไม่ชำาระค่าปรับ (มาตรา 29)

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


56

อธิบายหลักเกณฑ์วิธีคำานวณระยะเวลากักขังแทนค่าปรับพร้อมทัง้ยกตัวอย่างประกอบ
วิธีคำานวณระยะกักขังแทนค่าปรับ ปอ.มาตรา 30 มีหลักเกณฑ์ดังนี้
(1) ในการกักขังแทนค่าปรับให้ถือ 70 บาทต่อวัน เช่น ถูกปรับ 700 บาท ไม่มีเงินเสียค่ า
ปรับ ต้องถูกกักขังแทนค่าปรับเป็ นเวลา 10 วัน เศษของค่าปรับให้ปัดทิง้
(2) การกั กขังแทนค่าปรั บ นี ศ ้ าลจะกำา หนดระยะเวลาเกิ น กว่ าท่ีกฎหมายกำา หนดระยะเวลา
กักขังสิน
้ สุดไม่ได้ คือ
ในกรณีค่าปรับรวมไม่เกิน 40,000 บาท ไม่ว่าเป็ นความผิดกระทงเดียวหรือหลายกระทง ศาลจะกักขัง
ได้ไม่เกิน 1 ปี
ในกรณีที่มีค่าปรับรวมกันตัง้แต่ 40,000 บาทขึ้นไป ศาลจะสั่งให้กักขังแทนค่าปรับเกินระยะเวลา 1 ปี
แต่ไม่เกิน 2 ปี ก็ได้
ให้เริ่มนับวันกักขังแทนค่าปรับรวมเข้าด้วย และให้นับเป็ น 1 วันเต็ม ไม่ว่าจะเริ่มกักขังในเวลาใดของวัน
นัน

ในกรณี ที่ ผู้ ต้ อ งโทษกั ก ขั ง แทนค่ า ปรั บ ถู ก คุ ม ขั ง มาก่ อ นศาลพิ พ ากษาไม่ ว่ า จะเป็ น การคุ ม ขั ง ระหว่ า ง
สอบสวนหรือระหว่างพิจารณาของศาล ให้หักจำานวนวันท่ีถูกคุมขังออกจากจำานวนค่าปรับ ให้ถอ ื อัตรา 70 บาทต่อ
1 วัน เว้นแต่ผู้นัน้ ต้องคำาพิพากษาให้ลงโทษจำาคุกและปรับ จะหักจำานวนวันท่ีถูกคุมขังออกจากจำานวนค่าปรับทันที
ไม่ได้
และเม่ ือถูกกักขังแทนค่าปรับครบกำาหนดแล้วก็ให้ปล่อยในวันรุ่งขึ้นถัดจากวันท่ีครบกำา หนด เช่นจำา เลย
ถูกศาลพิพากษาให้ปรับ 1,400 บาท ในวันท่ี 1 มกราคม 2530 จำาเลยไม่ชำาระค่าปรับจึงถูกกักขังแทน เม่ อ ื ถูก
กักขังได้ 20 วัน ก็ปล่อยตัวในวันท่ี 21 มกราคม 2530
อย่างไรก็ดี ถ้าจำาเลยนำาเอาเงินค่าปรับมาชำาระจนครบจำานวนท่ีขาดระหว่างท่ีต้องถูกกักขังแทนค่าปรับก็ให้
ปล่อยตัวในทันท่ี ไม่ต้องรอให้ถึงวันรุ่งขึ้น

14.1.5 โทษริบทรัพย์สิน
ทรัพย์สินท่ีกฎหมายริบได้ มีก่ีประเภท อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ
ทรัพย์สินท่ีกฎหมายริบได้มี 4 ประเภท คือ
(1) ทรั พ ย์ สิ น ท่ีศ าลต้ อ งริ บ โดยเด็ ด ขาด ปอ.มาตรา 32 เป็ น ทรั พ ย์ สิ น ประเภทท่ีก ฎหมาย
บัญญัติว่าผู้ใดทำาเป็ นความผิด เช่น เงินตราปลอม หรือผู้ใดมีไว้เป็ นความผิด เช่น ปื นเถ่ ือน
ฝิ่นเถ่ ือน
(2) ทรัพย์สินท่ศ ี าลต้องริบเด็ดขาด ตาม ปอ.มาตรา 34 ส่วนใหญ่เป็ นทรัพย์สินท่ีเก่ียวข้องกับ
สิ น บนของเจ้ า พนั ก งาน หรื อ เพ่ ือ จู ง ใจ เพ่ อ ื เป็ นรางวั ล ในการกระทำา ความผิ ด เว้ น แต่
ทรัพย์สินนัน ้ เป็ นของผู้อ่นื ซ่ึงมิได้รู้เห็นเป็ นใจในการกระทำาความผิดด้วย
(3) ทรั พ ย์ สิ น ท่ศี าลริ บ โดยใช้ ดุ ล พิ นิจ ตาม ปอ.มาตรา 33 เป็ น ทรั พ ย์ สิ น ซ่ึง ใช้ ใ นการกระ
ทำาความผิด เช่น ปื นท่ีใช้ฆ่าคน หรือมีไว้เพ่ ือใช้ในการกระทำาความผิด เช่น เคร่ ืองมือที่ใช้
ในการโจรกรรม หรือทรัพย์สินที่ได้มาโดยการกระทำาความผิด
(4) ทรั พ ย์ สิ น ท่ศ ี าลต้ อ งริ บ ตามกฎหมายอ่ ืน ๆ ตาม ปอ. มาตรา 17 เช่ น พรบ. ป่ าไม้
พรบ.ศุลกากร และ พรบ. การพนัน เป็ นต้น

14.2 การเพ่ิมโทษ ลดโทษ การเปล่ียนโทษ การรอการลงโทษ และการระงับโทษ

1. ในการเพ่ิมโทษ ห้ า มเพ่ิม ถึ ง ขั น
้ ประหารชี วิ ต จำา คุ ก ตลอดชี วิ ต หรื อ จำา คุ ก เกิ น ห้ า สิ บ ปี สำา หรั บ โทษ
ประหารชีวิตในการลดโทษ ถ้าจะลด 1 ใน 3 ให้ลดเป็ นโทษจำาคุกตลอดชีวิต ถ้าลดก่ึงหน่ึงให้ลดเป็ น
โทษจำา คุกตลอดชีวิต หรือโทษจำา คุกตัง้แต่ย่ีสิบห้าปี ถึงห้า สิบปี สำา หรับโทษจำา คุกในกรณีท่ีมีการเพ่ิม
โทษหรือลดโทษจำาคุก โดยปกติแล้วคำานวณจากระวางโทษหรือโทษท่ีศาลจะลงเป็ นหลักแล้วจึงเพ่ม ิ หรือ
ลดตามเกณฑ์ท่ีกฎหมายกำาหนด แต่ถ้าเป็ นการลดโทษจำาคุกตลอดชีวิตให้เปล่ียนเป็ นโทษจำาคุกห้าสิบปี
2. การเปล่ียนโทษ อาจจะเปล่ียนจากโทษจำาคุกเป็ นโทษกักขังหรือเปล่ียนจากโทษกักขังกลับไปเป็ นโทษจำา
คุกอีก ถ้าปฏิบัติผิดเง่ ือนไขของกฎหมาย แต่ถ้าเป็ นการลงโทษจำา คุกระยะสัน ้ และมีโทษปรับด้วย ศาล
จะยกโทษจำาคุกให้คงเหลือแต่โทษปรับอย่างเดียวก็ได้
3. การกระทำาความผิด ซ่ึงศาลลงโทษจำาคุกไม่เกิน 2 ปี ประกอบกับเหตุผลอ่ ืนๆ ท่ีกฎหมายกำาหนด ศาล
จะพิพากษาว่ามีความผิดแล้วแต่อาจให้รอการลงโทษหรือรอการกำาหนดโทษ โดยกำาหนดเง่ ือนไขการคุม
ความประพฤติไว้ด้วยก็ได้
4. โทษทางอาญาระงับเม่ ือผู้กระทำาความผิดตาย หรือชำาระค่าปรับอย่างสูงสำาหรับความผิดบางประเภท

14.2.1 การเพ่ิมโทษและการลดโทษ
การเพ่ม
ิ หรือลดมาตราส่วนโทษหมายถึงอะไร กรณีท่ีมีการเพ่ิมและลดโทษท่ีจะลงในคดีเดียวกันศาลจะทำา
อย่างไร
การเพ่ิม หรื อ ลดมาตราส่ ว นโทษ หมายถึ ง วิ ธี ก ารเพ่ิม หรื อ ลดตามสั ด ส่ ว นของระวางโทษที่ ก ฎหมาย
บัญญัติไว้สำาหรับความผิดนัน้ ๆ เช่นกฎหมายกำา หนดโทษจำา คุก 3 ปี เม่ อ ื เพ่ิม 1 ใน 3 ก็คือจำา คุก 4 ปี เป็ นการ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


57

เพ่ิมตามสั ด ส่ว นกั บอั ตราโทษท่ีกำา หนดไว้ ต ามกฎหมาย การลดโทษก็ เ ช่ น กั น ถ้ า ลด 1 ใน 3 ก็คื อ จำา คุ ก 2 ปี
ฉะนัน้ ในการคิดเพ่ิมหรือลดมาตราส่วนโทษนีห ้ ากหากมีทัง้การเพิ่มและลดมาตราส่วนโทษแล้วจะเพิ่มก่อนหรือลด
ก่อนก็จะได้ผลลัพธ์ เท่ากัน
ในกรณีที่มีการเพิ่มและลดโทษที่จะลงด้วยในคดีเดียวกัน ศาลต้องเพ่ิมหรือลดมาตราส่วนเสียก่อน แล้วจึง
กำาหนดโทษท่ีจะลง ต่อไปจึงค่อยเพ่ิมหรือลดโทษที่จะลงอีกขัน ้ หน่ึง

อธิบายหลักเกณฑ์การลดโทษ 2 ใน 3 ของโทษประหาชีวิต ตาม ปอ. มาตรา 52


ตาม ปอ.มาตรา 52 ก่ อ นแก้ ไ ข บั ญ ญั ติ ถึ ง หลั ก เกณฑ์ ก ารลดโทษประหารชี วิ ต ไม่ ว่ า จะเป็ นลด
มาตราส่วนโทษหรือหรือลดโทษที่จะลง ถ้าลด 1 ใน 3 ให้ลดเป็ นโทษจำาคุกตลอดชีวิต ดังตัวอย่างข้างต้น จำาเลยมี
ความผิด ตามมาตรา 289 ประกอบกั บ มาตรา 84 วรรคสอง ต้อ งระวางโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชี วิ ต
กฎหมายให้ลดโทษประหารชีวิต 1 ใน 3 เป็ นจำาคุกตลอดชีวิต แล้วเปล่ียนโทษจำา คุกตลอดชีวิตเป็ นจำา คุก 50 ปี
ตามมาตรา 51 (1) ประกอบกับมาตรา 53 คือลดโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิต (คงเหลือโทษท่ีจะลงเป็ น
2 ใน 3) เป็ นโทษจำาคุก 50 ปี คำานวณเอาคร่ึงหน่ึงคือโทษที่จะลงจริง 1 ใน 3 เป็ นโทษจำาคุก 25 ปี ฉะนัน ้ ลด
โทษ 2 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตคือจำาคุก 25 ปี (ฎ 3611/2528)
ดังนัน
้ เกณฑ์ปฏิบัติเก่ียวกับการลดโทษ 2 ใน 3 ของโทษประหารชีวิต วิธีคำานวณไม่ต่างกันทัง้ก่อนและ
ภายหลังท่ีได้แก้ไขแล้ว คือคิดคำานวณเอาเพียงคร่ึงหน่ึงของการลดโทษ 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตเช่นกัน คง
ต่างกันแต่บทบัญญัติกำาหนดจำาจวนโทษ จึงทำาให้ผลลัพธ์ไม่เท่ากันกล่าวคือ บทบัญญัติจำานวนโทษตามมาตรา 52
(1) ก่อนแก้ไขเปิ ดโอกาสให้คิดลดโทษลง 1 ใน 3 ของโทษประหารชีวิตเป็ นโทษขัน ้ ต่ำาจำาคุก 16 ปี ปั จจุบันภาย
หลังแก้ไขแล้ว มาตรา 52 (1) ประกอบกับมาตรา 53 ให้เปล่ียนโทษจำาคุกตลอดชีวิตเป็ น 50 ปี

14.2.2 การเปล่ียนโทษ และการยกโทษ


วิธีการท่ีศาลเล่ียงโทษจำาคุกจำาเลยระยะสัน
้ มีก่ีวิธี
วิธีการท่ีศาลเล่ียงโทษจำา คุกจำา เลยระยะสัน
้ มี 2 วิธี คือ การเปล่ียนโทษจำา คุกเป็ นกักขังตามมาตรา 23
การยกโทษจำาคุกเสียตามมาตรา 55

อธิบายหลักเกณฑ์ในการเปล่ียนโทษ และการยกโทษ
หลักเกณฑ์การเปล่ียนโทษ ได้แก่ การเปล่ียนโทษจำา คุกเป็ นกักขังและการเปล่ียนโทษกักขังเป็ นจำา คุ ก
ส่วนการยกโทษ ได้แก่มาตรา 23 27 และมาตรา 55 ตามลำาดับ
หลักเกณฑ์การเปล่ียนโทษจำาคุกเป็ นโทษเป็ นโทษกักขัง ตามมาตรา 23 มีดังนี้
1) การกระทำาความผิดซ่ึงมีโทษจำาคุกและคดีนัน ้ ศาลลงโทษจำาคุกไม่เกิน 3 เดือน ถ้าไม่ปรากฏว่าผู้นัน ้
ไม่เ คยรั บโทษจำา คุ ก มาก่ อ น หรื อ ปรากฏว่ า ได้ รั บ โทษจำา คุ ก มาก่ อ นแต่ เ ป็ น โทษสำา หรั บ ความผิ ด ที่
กระทำาโดยประมาทหรือลหุโทษ
2) ศาลจะพิพากษาให้ลงโทษกักขังไม่เกิน 3 เดือน แทนโทษจำาคุกนัน ้ ก็ได้
หลักเกณฑ์การเปล่ียนโทษกักขังเป็ นโทษจำาคุกตามมาตรา 27 มีดังนี้
ศาลอาจเปล่ียนโทษกักขังเป็ นจำาคุกมีกำาหนดเวลาตามท่ีศาลเห็นสมควรแต่ห้ามเกินกำาหนดเวลาของโทษ
กักขังท่ีผู้นัน
้ จะต้องได้รับต่อไป หากปรากฏแก่ศาลเองหรือตามคำาแถลงของพนักงานอัยการหรือตามคำาแถลงของผู้
ควบคุมดูแลสถานท่ีกักขังว่าในระหว่างท่ีผู้ตอ ้ งโทษกักขังอยู่นัน

(1) ฝ่ าฝื นระเบียบข้อบังคับ หรือวินัยของสถานที่กักขัง
(2) ไม่ปฏิบัติตามเง่ อ
ื นไขท่ีศาลกำาหนด หรือ
(3) ต้องคำาพิพากษาให้ลงโทษจำาคุก
หลักเกณฑ์การยกโทษจำาคุกตามมาตรา 55 มีดังนี้
1) ถ้าโทษจำาคุก หรือผู้กระทำาผิดต้องรับผิดมีกำาหนด 3 เดือน หรือน้อยกว่าและมีโทษปรับด้วย
2) ศาลกำาหนดโทษจำาคุกให้น้อยลงก็ได้ (แต่ไม่มีโทษปรับอยู่ด้วย) หรือยกโทษจำาคุกเสียและปรับสถาน
เดียวก็ได้

14.2.3 การรอการลงโทษ
อธิบายถึงหลักเกณฑ์การรอการลงโทษและให้บอกถึงระยะเวลาในการรอการลงโทษ
หลักเกณฑ์การรอการลงโทษมีบัญญัติในมาตรา 56 ดังต่อไปนี้
1) มีการกระทำาความผิดซ่ึงมีแต่เฉพาะโทษจำาคุก และในคดีนัน้ ศาลลงโทษจำาคุกไม่เกิน 2 ปี ไม่
ว่าจะมีอัตราโทษเท่าไรก็ตาม และเป็ นโทษตาม ปอ. หรือตามประมวลกฎหมายอ่ ืนก็ได้
2) ไม่ปรากฏว่าผู้กระทำา ความผิดได้รับโทษจำา คุกมาก่อน โทษจำา คุกต้อ งหมายถึงโทษจำา คุกมา
แล้วจริงไม่ใช่ได้รับการยกเว้นโทษจำา คุก (ตามมาตรา 55) เปล่ียนโทษจำา คุกเป็ นกักขัง (
ตามมาตรา 23) เคยต้องคำาพิพากษาให้จำาคุกแต่ให้รอไว้
หรือต้องคำาพิพากษาให้จำาคุกแต่หลบหนีหรือปรากฏว่าได้รับโทษจำาคุกมาก่อน แต่เป็ นโทษสำาหรับความ
ผิดท่ไี ด้กระทำาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ
3) ต้องอ้างเหตุท่ีให้รอการลงโทษตามมาตรา 56 ได้แก่ อายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา
การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ ส่ิงแวดล้อม สภาพความผิด เหตุอ่ีนอัน
ควรปราณี ประกอบดุลพินิจของศาลที่จะพิจารณาให้รอการลงโทษหรือไม่ก็ได้

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


58

ส่วนระยะเวลาในการรอการลงโทษ มีกำาหนดไม่เกิน 5 ปี

อธิบายถึงผลสภาพบังคับในกรณีท่ีผู้ได้รับการรอการลงโทษไม่ปฏิบัติตามเง่ ือนไขคุมการประพฤติ กับกรณี


ผู้ได้รับการรอการลงโทษกระทำาความผิดขึ้นอีก
ผลสภาพบังคับกรณีที่ผู้ได้รับการรอการลงโทษไม่ปฏิบัติตามเง่ ือนไขคุมความประพฤติมีผ ลตามมาตรา
57 ดังต่อไปนี้
1) ศาลอาจเห็นสมควรเรียกตัวผู้นัน ้ มาตักเตือนให้ปฏิบัติตามเง่ ือนไขที่ศ าลกำา หนดให้ครบ
ถ้วนต่อไป หรือ
2) กำาหนดการลงโทษท่ียังไม่ได้กำาหนด หรือ
3) ศาลอาจเห็นสมควรให้ลงโทษท่ีกำาหนดไว้แต่แรก หรือให้รอนัน ้ ไปเลย
กรณีผู้ได้รับการรอการลงโทษกระทำาความผิดขึน ้ อีก มีผลตามมาตรา 58 ดังนี้
1) ในกรณีที่ศาลรอการลงโทษไว้ ศาลท่ีพิพากษาคดีหลังต้องกำาหนดโทษในคดีนัน ้ ก่อน และ
บวกโทษท่ีจะต้องลงในคดีก่อนนัน ้ (ต้องไม่เกิน 2 ปี ) เข้ากับโทษในคดีหลัง โดยไม่มีการ
เพ่ิมโทษ รวมเป็ นโทษทัง้หมดท่จี ะลงแก่ผู้กระทำาความผิด
2) ในกรณีที่ศาลรอการลงโทษ ศาลท่ีพิพากษาคดีหลังจะต้อ งบวกทาท่ีรอการลงทาไว้ในคดี
ก่อนเข้ากับคดีหลังโดยไม่มีการเพ่ิมทา รวมเป็ นโทษทัง้หมดท่ีจะลงแก่ผู้กระทำา ผิด (ตาม
มาตรา 58 วรรคแรก)
แต่ถ้าภายในระยะเวลาท่ีศาลกำาหนด ผู้ต้องคำาพิพากษาไม่ได้กระทำาความผิด และทัง้ไม่ได้ผิดเง่ ือนไขเพ่ ือ
คุมความประพฤติตามท่ศ ี าลกำา หนดไว้ ผู้นัน
้ ก็พ้นจากการท่จี ะถูกลงโทษ เท่ากับได้รับการยกเว้นโทษให้ไปเลย (
ตามมาตรา 58 วรรคท้าย)

14.2.4 การระงับโทษ
การระงับแห่งโทษทางอาญาท่ีทำาให้สิทธิในการลงโทษระงับ นอกจากโดยอายุความแล้ว จะรับได้โดยวิธีใด
สิทธิในการลงโทษระงับ ได้แก่ ตาม ปอ. มาตรา 38 และ 79 คือ
(1) โดยความตายของผู้กระทำาความผิด
(2) ในคดีท่ีมีโทษปรับสถานเดียว ผู้ต้องหาได้นำาค่าปรับในอัตราอย่างสูงสำาหรับความผิดนัน
้ มาชำาระก่อน
ศาลเริ่มต้นสืบพยาน

14.3 วิธีการเพ่ ือความปลอดภัย


1. กักกันคือ การควบคุมผู้กระทำาความผิดติดนิสัยไว้ภายในเขตกำาหนด เพ่ ือป้ องกันการกระทำาความผิด เพ่ อ ื
ดัดนิสัย และเพ่ ือฝึ กหัดอาชีพ
2. ห้ามเข้าเขตกำาหนด คือการห้ามมิให้เข้าไปในท้องท่ีหรือสถานท่ีท่ีกำาหนดไว้ในคำาพิพากษา
3. เรียกประกันทัณฑ์บน ได้แก่ การท่ีศาลเรียกให้ผู้ใ ดทำา คำา มัน ่ ว่า จะไม่ก่อเหตุร้ายขึ้นภายในเวลาท่ก ี ำา หนด
โดยกำาหนดจำา นวนเงินไว้ ทัง้นีศ ้ าลจะเรียกให้มีประกันด้วยหรือไม่ก็ได้ หากผู้นัน ้ กระทำา ผิดคำา มัน
่ คือ ก่อ
เหตุร้ายขึ้นในเวลาท่ีกำาหนด ศาลมีอำานาจสัง่ให้ผู้นัน ้ ชำาระเงินตามจำานวนท่ีกำาหนดได้
4. คุมตัวไว้ใ นสถานพยาบาล เป็ นมาตรการของวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยอีกประเภทท่ีป้องกันบุค คล โดย
เฉพาะผู้มีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่ นเฟื อน หรือผู้กระทำา ความผิดเก่ีย วเน่ ืองกับเสพย์สุ ราเป็ นอาจิณ
หรือผู้ติดยาเสพติดให้โทษไปกระทำาความผิด จึงให้อยู่ในสถานท่ีทเ่ี หมาะสม
5. ห้ามการประกอบอาชีพบางอย่าง คือ ห้ามผู้ท่ีถูกลงโทษเพราะได้กระทำา ความผิด มิให้ประกอบอาชีพ บาง
อย่างหลังจากท่พ ี ้นโทษไปแล้ว เพ่ ือป้ องกันไม่ให้อาชีพหรือวิชาชีพเช่นนัน ้ เป็ นเคร่ ืองมือในการกระทำาความ
ผิดอีก

14.3.1 กักกัน
จำาเลยซ่ึงมีอายุเกินหน่ึงปี แล้ว และเคนต้องโทษจำาคุกฐานลักทรัพย์ของแสงโสมมาแล้ว 2 ครัง้ ครัง้ละ 1 ปี
หลังพ้นโทษจำาคุกครัง้ท่ี 2 มาแล้วเพียง 3 เดือน จำาเลยก็ไปลักทรัพย์ของแสงโสมอีกครัง้ ซ่ึงเป็ นความผิดท่ีกฎหมาย
ระบุไว้ให้กักกันได้ ดัง นี แ้ สงโสมจะฟ้ องขอให้ศาลกักกันจำา เลยเพ่ ือป้ องกันมิใ ห้มาลักทรัพ ย์ของตนอีก ได้ห รือไม่
เพราะเหตุใด
แม้การกระทำาของจำาเลยจะเข้าเง่ ือนไขหลักเกณฑ์ของการกักกัน ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 41
เพราะจำาเลยได้กระทำาความผิดฐานลักทรัพย์ซ่ึงบัญญัติไว้ในมาตรา 41 (8) มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ครัง้ และในคดี
ทัง้สองศาลก็ได้พิพากษาให้จำาคุก 1 ปี ก็ตาม แต่แสงโสมจะฟ้ องขอให้ศาลกักกันจำาเลยไม่ได้ เพราะอำานาจในการ
ฟ้ องขอให้กักกันนัน ้ เป็ นอำานาจของพนักงานอัยการ

14.3.2 ห้ามเข้าเขตกำาหนด
การห้ามเข้าเขตกำาหนดคืออะไร มีหลักเกณฑ์อย่างไร
การห้ามเข้าเขตกำา หนดคือวิธีการเพ่ อื ความปลอดภัยประเภทหน่ึง โดยห้ามเข้าไปในท้องท่ีหรือสถานที่ที่
กำาหนดไว้ในคำาพิพากษา
หลักเกณฑ์คือต้องมีคำาพิพากษาและเป็ นคำาพิพากษาให้ลงโทษชนิดใดชนิดหน่ึงในความผิดฐานใดฐานหน่ึง
ศาลจะห้ า มเข้ าเขตกำา หนดก็ เ พ่ ือ ความปลอดภั ยของประชาชนโดยไม่ จำา เป็ น ต้ อ งมี ก ารร้ อ งขอซ่ึง ต้ อ งสั่ ง ไว้ ใ นคำา

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


59

พิพากษาโดยระบุท้องท่ีหรือสถานทีท
่ ี่กำาหนดไว้ชัดเจน การห้ามเข้าเขตกำาหนดจะมีผลบังคับก็ต่อเม่ ือได้พ้นโทษตาม
คำาพิพากษาแล้ว และศาลจะกำาหนดห้ามไว้เป็ นเวลานานเท่าใดก็ได้ แต่ตอ ้ งไม่เกิน 5 ปี

14.3.3 เรียกประกันทัณฑ์บน
อธิบายหลักเกณฑ์การเรียกประกันทัณฑ์บน และอายุความการบังคับตามทัณฑ์บน
หลักเกณฑ์การเรียกประกันทัณฑ์บน มี 2 กรณี ตามบทบัญญัติ ปอ. มาตรา 46 คือ
1. กรณี พ นั ก งานอั ย การเสนอศาลให้ เ รี ย กประกั น ทั ณ ฑ์ บ นเม่ ือ ยั ง ไม่ มี ก ารกระทำา ผิ ด แต่
เพราะพนักงานอัยการเห็นว่าผู้นัน ้ จะก่อเหตุร้ายให้เกิดภยันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
ของผู้อ่น ื
2. กรณีมีการกระทำาความผิดเกิดขึน ้ แล้ว ความปรากฏแก่ศาลและศาลพิพากษาไม่ลงโทษผู้
ถูกฟ้ อง แต่ศาลเห็นว่าบุคคลนัน ้ น่าจะก่อเหตุร้ายให้เกิดภยันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน
ของผู้อ่น ื
3. การเรียกประกันทัณฑ์บนเป็ นดุลพินิจของศาล
4. ผู้ ถู ก ฟ้ องต้ อ งมี อ ายุ เ กิ น 17 ปี ขณะท่ีมี ก ารกระทำา อั น เป็ นเหตุ ใ ห้ ศ าลเรี ย กประกั น
ทัณฑ์บนได้
5. ศาลมีอำานาจท่ีจะสั่งให้ผู้นัน ้ ทำาทัณฑ์บนกำาหนดจำานวนเงินไม่เกิน 5,000 บาท แต่ไม่เกิน
2 ปี และอาจจะสั่งให้มีประกันด้วยหรือไม่ก็ได้
อายุความการบังคับตามทัณฑ์บนมี 2 กรณีตามบทบัญญัติ ปอ.สามาตรา 101 คือ
(1) การบังคับตามคำาสั่งศาลในการเรียกประกันทัณฑ์บนต้องดำาเนินการบังคับภายใน 2 ปี นับ
แต่วันท่ีศาลมีคำาสั่ง
(2) การร้องขอให้ศาลสั่งให้ใช้เงินเม่ ือผู้ทำาทัณฑ์บนประพฤติผิดทัณฑ์บนต้องร้องขอภายใน 2
ปี นับแต่วันท่ีทำาทัณฑ์บนประพฤติผิดทัณฑ์บน

14.3.4 คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล
เหตุใดต้องมีการคุมตัวไว้ในสถานพยาบาล ศาลจะใช้วิธีการนีเ้ม่ ือใด
เหตุท่ีต้องมีการคุมตัวไว้ในสถานพยาบาลก็เพ่ ือป้ องกันประชาชนให้พ้นจากบุคคลผู้วิกลจริต หรือเสพสุรา
เป็ นอาจิณหรือติดยาเสพติดให้โทษ
ศาลจะใช้วิธีการนีเ้ม่ ือศาลเห็นสมควรว่าหากปล่อยบุคคลประเภทดังกล่าวไปแล้ว จะเป็ นภัยแก่ประชาชน
จึงสั่งให้ส่งผู้นัน
้ ไปคุมตัวไว้ในสถานพยาบาล และคำาสั่งเก่ียวแก่บุคคลวิกลจริตนีศ ้ าลจะเพิกถอนเสียเม่ ือใดก็ได้ ส่วน
คำาสั่งกรณีกระทำาความผิดเกี่ยวเน่ อ ื งกับการเสพสุราเป็ นอาจิณ หรือการเป็ นผู้ติดยาเสพติดให้โทษ มีกำาหนดเวลาไม่
เกิน 2 ปี

14.3.5 ห้ามการประกอบอาชีพบางอย่าง
อธิบายหลักเกณฑ์ซ่ึงศาลจะสัง่ห้ามผู้กระทำาความผิดประกอบอาชีพบางอย่าง
ศาลจะสั่งให้คำาพิพากษาห้ามการประกอบอาชีพบางอย่างเม่ ือ
1. ศาลได้พิพากษาให้ลงโทษผู้นัน ้ ตามฐานความผิด
2. ศาลเห็นว่า ผู้ท่ีถูกลงโทษนัน้ กระทำา ความผิด โดยอาศัยโอกาสจากการประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพ
หรือความผิดเน่ ืองจากการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ
3. ศาลเห็นว่าถ้าผู้นัน
้ ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพนัน้ ต่อไปอาจจะกระทบความผิดเช่นนัน
้ ขึ้นอีก

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 14 โทษและวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย

1. โทษอาญามี 5 ประการคือ โทษประหารชีวิต จำาคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพย์สิน


2. วิธีคำานวณระยะเวลาจำาคุกตามคำาพิพากษาคือ นับตัง้แต่วันท่ีศาลมีคำาพิพากษาโดยนับเป็ นหน่ึงวัน โดยไม่
คำา นึงถึ งชั่ ว โมง บวกด้ว ยกำา หนดระยะเวลา ถ้า เป็ น เดือ นให้นั บ เป็ น 30 วัน และถ้า นั บ เป็ นปี ให้ ปีตาม
ปฏิทินราชการตามระยะเวลาของโทษท่ีลง
3. ในกรณีท่ีผู้ต้องโทษปรับขัดขืนไม่ชำา ระค่า ปรับ ผู้ต้องโทษจะถูกยึดทรัพย์หรือถูกกักขังแทนค่าปรับ หรือ
เรียกประกันแล้วแต่กรณี
4. ทรัพย์สินท่ีศาลต้องริบเสมอคือ ทรัพย์สินท่ีผู้กระทำาผิดหรือมีไว้เป็ นความผิด
5. หลักเกณฑ์ท่ีกฎหมายกำาหนดในการคำานวณการเพ่ิมโทษหรือลดโทษคือ ให้ศาลตัง้กำาหนดโทษท่ีจะลงแล้ว
เพ่ิมโทษก่อน แล้วจึงลดลงจากผลท่ีเพ่ิมแล้วนัน ้ ในกรณีที่มีทัง้การลงโทษและเพิ่มโทษ
6. การยกโทษจำาคุกนัน ้ มีหลักเกณฑ์คือ เม่ อ
ื ผู้กระทำาผิดมีโทษจำาคุกท่จี ะต้องรับมีกำาหนดเวลาเพียงสามเดือน
หรือน้อยกว่านัน ้ ศาลจะกำาหนดโทษจำาคุกให้น้อยลงหรือยกโทษจำาคุกเสียคงปรับแต่อย่างเดียวก็ได้
7. การรอการลงโทษคือ การท่ีศาลพิพากษาว่าผู้นัน ้ กระทำาความผิดจริง แต่รอการกำาหนดโทษไว้หรือกำาหนด
โทษ แต่รอการลงโทษไว้ แล้วปล่อยตัวไป
8. โทษอาญาระงับเม่ ือ ผู้กระทำาผิดตาย หรือเม่ ือผู้กระทำาผิดชำาระค่าปรับในอัตราสูงในคดีที่มีโทษปรับสถาน
เดียว

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


60

9. วิธีการเพ่ ือความปลอดภัยมี 5 ประเภทคือ กักกัน ห้ามเข้าเขตกำาหนด เรียกประกันทัณฑ์บน คุมตัวไว้ใน


สถานพยาบาล และห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง
10. ศาลจะเรียกประกันทัณฑ์บนได้เม่ ือ ความปรากฏแก่ศาลโดยข้อเสนอของพนักงานอัยการว่าผู้นัน ้ น่าจะก่อ
เหตุร้ายแก่บุคคลหรือทรัพย์สิน และศาลไม่ลงโทษผู้ถูกฟ้ องแต่มีเหตุผลอันควรเช่ อ ื เช่นนัน

11. นาย ก ลักทรัพย์นาย ข ไป ถูกจับในวันท่ี 1 สิงหาคม พ.ศ. 2524 ถูกส่งฟ้ องศาลเม่ ือวันท่ี 11 กันยายน
พ.ศ. 2524 ศาลได้ตัด สินลงโทษจำา คุ กนาย ก เป็ น เวลา 3 ปี โดยมิหักวันท่ีนาย ก ถูก คุม ขัง ก่อ นศาล
พิพากษาออกก่อน ไม่ได้ เพราะโทษท่ีจะลงแก่จำาเลยถ้าไม่หักวันท่ีคุมขังก่อนพิพากษาต้องไม่เกินกำาหนด
โทษชัน ้ สูงสำาหรับความผิดท่ีได้กระทำาลง
12. นาย ก มีความผิดฐานทำาให้เสียทรัพย์และศาลได้พิพากษาปรับนาย ก 500 บาท นาย ก ได้ถูกคุมขังก่อน
ศาลพิพากษา 7 วัน แต่นาย ก ไม่มีเงินท่ีจะชำา ระค่าปรับได้จึงถูกกักขังแทนค่าปรับ นาย ก ต้องถูกกักขัง
แทนค่าปรับในอัตรา 70 บาท ต่อ 1 วัน จนกว่าจะครบ 500 บาท ดังนัน ้ นาย ก จะถูกกักขังรวมทัง้สิน ้ 8
วัน โดยหักวันท่ีคุมขังก่อนศาลพิพากษา 7 วัน ออกจากวันท่ีถูกกักขังแทนค่าปรับนัน ้
13. นาย ก พกอาวุธปื นไม่ทะเบียนไปจีช้ิงทรัพย์ นาย ข เม่ ือได้ทรัพย์ของนาย ข ไปแล้ว นาย ก ได้ว่ิงไปท่ีรถ
จักรยานยนต์ซ่ึงนาย ก จอดไว้ ใช้สำาหรับหลบหนี ดังนีเ้ม่ ือศาลตัดสินลงโทษจำา คุกนาย ก ไปแล้ว ศาลจะ
ริบปื นเพราะเป็ นปื นซ่ึงไม่มีทะเบียน ส่วนรถจักรยานยนต์นัน ้ ริบไม่ได้เพราะมิได้มีส่วนในความผิดชิงทรัพย์
เพียงใช้เป็ นพาหนะหลบหนี
14. นายดำาได้ขอยืมปื นนายแดงไปโดยบอกกับนายแดงว่าจะนำาปื นไปเพ่ ือเฝ้ าไร่ของนายดำา แต่นายดำากับนำาปื น
(ซ่ึงไม่มีทะเบียน) นัน ้ ไปใช้ในการปล้นทรัพย์พร้อมกับพวกของนายดำาอีก 4 คน โดยพวกของนายดำาหลบ
หนีไปได้ นายดำาถูกจับได้เพียงคนเดียวและศาลได้พิพากษาลงโทษนายดำา และสัง่ริบปื นของกลางดังนี้ นาย
แดงจะร้องขอปื นของตนท่ีศาลสั่งริบคืนได้ เพราะเป็ นทรัพย์สินของนายแดง และนายแดงไม่มีส่วนร่วมใน
การกระทำาความผิด
15. ในกรณีเพ่ิมโทษน้อยกว่าและลดโทษมากกว่าต้องเป็ นไปดังนีค ้ ือ เพ่ม
ิ ก่อนแล้วจึง ลดเพราะเป็ นคุณแก่ผู้
กระทำาผิดมากกว่า
16. นาย ก ได้กระทำาความผิดฐานลักทรัพย์และศาลได้พิพากษาลงโทษปรับนาย ก เป็ นเงิน 5,000 บาท ต่อ
มานาย ก ได้กระทำาความผิดฐานทำาร้ายร่างกายและศาลได้ลงโทษจำาคุกนาย ก 2 เดือน ดังนี้ ศาลจะลงโทษ
จำาคุกเป็ นกักขังแทน ได้ เพราะนาย ก ไม่เคยต้องโทษจำาคุกมาก่อน
17. นายเก่งได้ทำาความผิดฐานลักทรัพย์ ศาลพิพากษาจำาคุกนายเก่ง 2 เดือนและปรับ 3,000 บาท ดังนี ศ ้ าล
จะยกโทษจำา คุก 2 เดือน เป็ นเพียงแต่ปรับนายเก่ง 3,000 บาท ได้ เพราะคดีนีศ ้ าลลงโทษจำาคุกนายเก่ง
ไม่เกิน 3 เดือน และมีโทษปรับด้วย
18. นายอ้วนกระทำา ความผิดและศาลได้พิพากษาว่านายอ้วนกระทำา ความผิดฐานประมาทเป็ นเหตุให้คนตาย
และลงโทษจำา คุกนายอ้ วน 3 ปี ต่อมาเม่ ือพ้นโทษแล้วนายอ้วนมากระทำา ความผิ ดฐานลักทรัพ ย์แต่ศาล
พิพากษาลงโทษจำาคุกนายอ้วน 2 ปี ศาลจะรอการลงโทษนายอ้วน ได้ แต่ตอ ้ งรอลงโทษไว้ได้ไม่เกิน 5 ปี
19. นายกุ้งยืมช้างนายก้างไปใช้ขนของท่ีบ้าน แต่นายกุ้งกับนำาช้างไปชักลากไม้ผิดกฎหมายและนายกุ้งถูกจับ
ศาลได้พิพากษาจำาคุกนายกุ้ง และริบช้างและไม้ของกลาง จะริบช้างไม่ได้ เพราะเป็ นของบุคคลอ่ ืนท่ีมิได้รู้
เห็นเป็ นใจด้วยในการกระทำาผิด แต่ริบไม้ได้เน่ ืองจากเป็ นทรัพย์สินที่ได้มาโดยกระทำาความผิด
20. นาย ก ได้ถูกศาลสัง่พิพากษาให้ปรับเป็ นเงิน 500 บาท แต่นาย ก ไม่มีเงินจะชำาระค่าปรับจึงถูกักขังแทน
ค่าปรับเป็ นเวลา 25 วัน นาย ก ได้ถูกกักขังไปแล้ว 10 วันแล้วจึงนำาเงินค่าปรับในส่วนท่ีเหลืออีก 15 วัน
มาชำาระเม่ ือชำาระค่าปรับท่ีเหลือคือ 300 บาท แล้วเกิดเปล่ียนใจจึงขอเงินท่ีจ่ายไป 300 บาทคืนโดยจะขอ
ถู ก กั ก ขั ง แทนค่ า ปรั บ ต่ อ ไป ไม่ ไ ด้ เพราะเงิ น ค่ า ปรั บ ท่ีน าย ก จ่ า ยไปแล้ ว นั น
้ เป็ น การชำา ระเงิ น ตามคำา
พิพากษาของศาลจะขอคืนไม่ได้

หน่วยท่ี 15 การกระทำาความผิดหลายอย่าง การกระทำาความผิดอีก อายุความและอ่ ืนๆ

1. ในการกระทำาความผิดนัน ้ อาจเป็ นการกระทำาความผิดหลายบทหรือหลายกระทงก็ได้


2. ผู้ท่ีเคยถูกลงโทษจำาคุกมาแล้ว หากกระทำาความผิดขึ้นอีกในภายหลังอาจถูกเพ่ิมโทษได้
3. การดำา เนินคดีกับผู้ท่ีกระทำา ความผิด จะต้องกระทำาภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายกำาหนดไว้ และผู้ท่ีถูกศาล
พิพากษาให้ลงโทษหรือถูกศาลพิพากษา หรือสัง่ให้ใช้วิธีการเพ่ ือความปลอดภัย ก็จะต้อง ดำาเนินการตาม
คำาพิพากษา หรือคำาสัง่ของศาลภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายกำาหนดไว้เช่นกัน มิฉะนัน ้ เป็ นอันขาดอายุความ
4. บทบัญญัติทัว่ไปในประมวลกฎหมายอาญาต้องนำา มาใช้แก่ความผิดลหุโทษ และนำา มาใช้แก่ความผิดตาม
กฎหมายอ่ ืนด้วย เว้นแต่จะมีบทบัญญัติเป็ นอย่างอ่ ืน

15.1 การกระทำาความผิดหลายอย่าง
1. การกระทำากรรมเดียว ซ่ึงอาจเป็ นการกระทำาอันเดียวหรือเป็ นการกระทำาหลายอันแต่มีเจตนาเป็ นอย่าง
เดียวกัน ถ้า ไปเข้าความผิดตามกฎหมายตัง้ แต่ 2 บทขึ้นไป ถือว่า เป็ นการกระทำา ความผิดหลายบท
ต้องใช้กฎหมายบทท่ีมโี ทษหนักท่ีสุดลงโทษแก่ผู้กระทำาความผิด

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


61

2. การกระทำาหลายกรรมต่างกัน ถ้าไปเข้าความผิดตามกฎหมายตัง้แต่ 2 บทขึ้นไป ถือว่าเป็ นการกระทำา


ความผิดหลายกระทง ต้องลงโทษผู้กระทำาความผิดทุกกรรมเป็ นกระทงความผิดไป

15.1.1 การกระทำาความผิดหลายบท
นายม่วงบุกรุกเข้าไปในบริเวณบ้านของนายฟ้ า เม่ ือลักทรัพย์แล้วลักเอากระบือของนายฟ้ าไป ดังนี ก ้ ารก
ระทำาของนายม่วงเป็ นการกระทำากรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบทหรือไม่ และจะต้องรับโทษอย่างไร
การกระทำาของนายม่วงเป็ นการกระทำากรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท เพราะแม้ว่านายม่วงจะมีการกระ
ทำา หลายอัน คือมีทัง้การบุกรุกเข้าไปในบริเวณบ้านของนายฟ้ าและลักเอากระบือของนายฟ้ าไป แต่นายม่วงก็ได้
กระทำาไปโดยมีวัตถุประสงค์เพียงอย่างเดียวคือ เพ่ อ
ื ลักทรัพย์ของนายฟ้ า ซ่ึงเป็ นการกระทำากรรมเดียวผิดกฎหมาย
หลายบท ในกรณีเช่นนี ศ ้ าลจะต้องใช้กฎหมายบทท่ีมีโทษหนักท่ีสุดแก่นายม่วงเพียงบทเดียว

อธิบายหลักเกณฑ์การพิจารณากฎหมายบทท่ีมีโทษหนักท่ีสุดตาม ปอ.มาตรา 90
หลักเกณฑ์การพิจารณากฎหมายบทท่ีมีโทษหนักท่ีสุดตาม ปอ. มาตรา 90 มีดังนี้
1) พิจารณาลำาดับโทษตาม ปอ. มาตรา 18 โดยโทษท่ีอยู่ลำาดับก่อนเป็ นโทษหนักกว่าโทษใน
ลำาดับถัดไป
2) ถ้าความผิดแต่ละบทมีโทษลำาดับเดียวกัน ให้พิจารณาอัตราโทษขัน ้ สูงเป็ นเกณฑ์
3) ถ้ า ความผิ ด แต่ ล ะบทมี อั ต ราโทษขั น
้ สู ง เท่ า กั น ให้ พิ จ ารณาโทษลำา ดั บ ถั ด ไปในบทนั น้ ๆ
ประกอบ
4) ถ้าความผิดแต่ละบทมีอัตราโทษขัน ้ สูงเท่ากันและโทษลำา ดับถัดไปก็มีอัตราโทษเท่ากัน ให้
พิจารณาอัตราโทษขัน ้ ต่ำาเป็ นเกณฑ์
5) ถ้าความผิดแต่ละบทมีอัตราโทษเท่ากันทุกอย่างทัง้อัตราโทษขัน ้ สูงและอัตราโทษขัน ้ ต่ำา ให้
อยู่ในดุลพินิจของศาลที่จะลงโทษตามบทหน่ึงบทใดก็ได้

15.1.2 การกระทำาความผิดหลายกระทง
นายม่วงใช้มีดฟั นนายฟ้ าถึงแก่ความตาย นายแสดบิดาของนายฟ้ าเข้ามาขัดขวาง นายม่วงจึงใช้มีดฟั นนาย
แสดถึงแก่ความตายด้วย ดังนี ก ้ ารกระทำาของนายม่วงเป็ นการกระทำาผิดหลายกระทงหรือไม่
การท่ีนายม่วงใช้มีดฟั นนายฟ้ าถึงแก่ความตาย และต่อมาก็ใช้มีดฟั นนายแสดบิดาของนายฟ้ าถึงแก่ความ
ตายด้วยนัน ้ ถือ ได้ว่า การกระทำา ของนายม่วงเป็ นการกระทำา หลายกรรม และการกระทำา หลายกรรมนัน ้ เป็ น การ
กระทำาท่ีแยกออกจากกันได้ จึงเป็ นความผิดหลายกระทงตาม ปอ. มาตรา 91

อธิบายหลักเกณฑ์การลงโทษในความผิดหลายกระทงตาม ปอ. มาตรา 91 ท่ีแก้ไขใหม่


หลักเกณฑ์การลงโทษในความผิดหลายกระทงตาม ปอ.มาตรา 91 มีดังต่อไปนี ก ้ รณีท่ีผู้ใดกระทำาการอัน
เป็ นความผิดหลายกรรมต่างกันให้ศาลลงโทษผู้นัน ้ ทุกกรรมเป็ นกระทงความผิดไป แต่ไม่ว่า จะมีการเพ่ิมโทษ ลด
โทษ หรือลดมาตราส่วนโทษด้วยหรือไม่ก็ตาม เม่ ือรวมโทษทุกกระทงแล้วจำาคุกทัง้สิน ้ ต้องไม่เกินกำาหนดดังนี้
(1) สิบปี สำาหรับกรณีความผิดกระทงท่หี นักท่ีสุดมีอัตราโทษจำาคุกอย่างสูงไม่เกิน 3 ปี
(2) ย่ีสิบปี สำาหรับกรณีความผิดกระทงท่หี นักท่ีสุดมีอัตราโทษจำาคุกอย่างสูงเกิน 3 ปี แต่ไม่เกิน 10 ปี
(3) ห้าสิบปี สำาหรับกรณีความผิดกระทงท่ีหนักท่ีสุด มีอัตราโทษจำา คุกอย่างสูงเกิน 10 ปี ขึ้นไป เว้นแต่
กรณีท่ีศาลลงโทษจำาคุกตลอดชีวิต

15.2 การกระทำาความผิดอีก
1. ผู้ท่ีเคยถูกลงโทษจำาคุกมาแล้ว หากได้กระทำาความผิดอีกภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายกำาหนดและศาลจะ
ลงโทษจำาคุก ผู้นัน ้ อาจถูกเพ่ม ิ โทษให้หนักขึ้นอีกหน่ึงในสามก็ได้
2. ผู้ ท่ีเ คยถู ก ลงโทษจำา คุ ก ไม่ น้ อ ยกว่ า 6 เดือ นมาแล้ ว หากได้ ก ระทำา ความผิ ด ซ้ำา ในความผิ ด ประเภท
เดียวกันอีก ภายในระยะเวลาท่ีกำาหนดและศาลจะลงโทษจำาคุก ผู้นัน ้ อาจจะถูกเพ่ิมโทษให้หนักขึ้นอีก
ก่ึงหน่ึงได้
3. ความผิดท่ีกระทำาโดยประมาท ความผิดลหุโทษ และความผิดซ่ึงกระทำา ในขณะมีอายุยังไม่เกิน 17 ปี
ไม่ถือเป็ นเหตุเพ่ิมโทษ

15.2.1 การเพ่ิมโทษเพราะกระทำาความผิดอีกโดยทัว่ไป
การเพ่ิมโทษพร้อมการกระทำาความผิดอีกโดยทัว่ไปตาม ปอ. มาตรา 92 มีดังนี้
หลักเกณฑ์การเพ่ิมโทษเพราะการกระทำาความผิดอีกโดยทัว่ไปตาม ปอ. มาตรา 92 มีดังนี้
(1) ผู้นัน
้ เคยต้องคำาพิพากษาถึงท่ีสุดให้ลงโทษจำาคุก
(2) ได้กระทำาความผิดใดๆ อีกในระหว่างท่ียังต้องรับโทษอยู่ หรือภายในเวลา 5 ปี นับแต่วันพ้นโทษ
(3) ศาลจะพิพากษาลงโทษครัง้หลังถึงจำาคุก

การเพ่ิมโทษเพราะกระทำาความผิดอีกทัว่ไปตาม ปอ.มาตรา 92 มีกำาหนดโทษท่ีจะเพ่ิมเท่าใด


กำาหนดโทษท่ีศาลจะเพ่ิมแก่ผู้กระทำาความผิดอีกโดยทัว่ไปตาม ปอ. มาตรา 92 คือ หน่ึงในสามของโทษท่ี
ศาลจะลงแก่ผู้กระทำาความผิดสำาหรับความผิดครัง้หลัง

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


62

15.2.2 การเพ่ิมโทษเพราะกระทำาความผิดอีกเฉพาะทาง
การเพ่ิมโทษเพราะการกระทำาผิดอีกเฉพาะอย่างตาม ปอ.มาตรา 93 มีหลักเกณฑ์อย่างไร
หลักเกณฑ์การเพ่ิมโทษเพราะกระทำาความผิดอีกเฉพาะอย่างตาม ปอ. มาตรา 93 มีดังนี้
(1) ผู้นัน
้ เคนต้องคำาพิพากษาถึงท่ีสุดให้ลงโทษจำาคุกไม่น้อยกว่า 6 เดือน
(2) ได้กระทำา ความผิดอย่างหน่ึงอย่างใดซ้ำา ในมาตราเดียวกันอีกในระหว่างยังต้องรับโทษอยู่หรือภายใน
เวลา 3 ปี นับแต่วันพ้นโทษ
(3) ศาลจะพิพากษาลงโทษครัง้หลังถึงจำาคุก

การเพ่ิมโทษเพราะกระทำาความผิดอีกเฉพาะอย่างตาม ปอ. มาตรา 93 มีกำาหนดโทษท่ีจะเพ่ิมเท่าใด


กำา หนดโทษท่ีศาลจะเพ่ิมแก่ผู้กระทำา ความผิดอีกเฉพาะอย่า งตาม ปอ.มาตรา 93 คือ ก่ึงหน่ึงของโทษท่ี
ศาลจะลงแก่ผู้กระทำาความผิดสำาหรับความผิดครัง้หลัง

15.2.3 กรณีไม่เป็ นเหตุเพ่ิมโทษ


ความผิดท่ีกฎหมายบัญญัติหา้ มมิให้นำามาเป็ นเหตุเพ่ิมโทษได้แก่ความผิดใด
ความผิดท่ีห้ามมิให้นำามาเป็ นเหตุเพ่ิมโทษมีอยู่ 3 ประเภท คือ
(1) ความผิดท่ีกระทำาโดยประมาท
(2) ความผิดลหุโทษ
(3) ความผิดซ่ึงกระทำาในขณะอายุยังไม่เกิน 17 ปี

15.3 อายุความ
1. ในการฟ้ องคดี แ ละฟ้ องขอให้ กัก กัน ผู้ ก ระทำา ความผิ ด ต่อ ศาลนัน
้ จะต้ องกระทำา ภายในระยะเวลาท่ี
กฎหมายกำาหนด มิฉะนัน ้ จะฟ้ องร้องผู้นัน้ ไม่ได้
2. การลงโทษผู้ ก ระทำา ความผิ ด ตามคำา พิ พ ากษาของศาลจะต้ อ งกระทำา ภายในระยะเวลาท่ีก ฎหมาย
กำาหนด
3. การบังคับตามคำา พิพากษาหรือคำา สัง่ของศาลเก่ียวกับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัยจะต้องกระทำา ภายใน
ระยะเวลาท่ีกฎหมายกำาหนด

15.3.1 อายุความฟ้ องคดีและฟ้ องขอให้กักกัน


นายม่วงได้เป็ นโจทก์ย่ืนฟ้ องนายคราม เป็ นคดีอาญาซ่ึงมีกำา หนดอายุความฟ้ องคดี 10 ปี โดยนายม่วงได้
ย่ ืนฟ้ องภายในกำาหนดอายุความ แต่ยังไม่ได้ตัวนายครามผู้เป็ นจำาเลยมาศาลเพ่ ือพิจารณาคดีเน่ ืองจากจำาเลยหลบหนี
ต่อมาจึงได้ตัวจำาเลยมาศาลเม่ ือพ้นกำาหนดอายุความ 10 ปี แล้ว ดังนัน้ คดีดังกล่าวขาดอายุความหรือไม่
คดีท่ีนายม่วงฟ้ องนายครามดังกล่าวขาดอายุความแล้ว เพราะในการฟ้ องคดีอาญานัน ้ จะต้องได้ฟ้องและได้
ตัวผู้กระทำาความผิดมายังศาลภายในกำา หนดอายุความ การท่ีนายม่วงได้ย่ืนฟ้ องนายครามภายในกำา หนดอายุความ
แต่ไมได้ตัวนายครามมาศาลภายในกำาหนด แม้ต่อมาจะได้ตัวมาศาลก็ได้มาเม่ ือพ้นกำาหนดอายุความ 10 แล้ว คดีจึง
ขาดอายุความ

อธิบายถึงอายุความการฟ้ องคดีความผิดอันยอมความกันได้
อายุความฟ้ องคดีความผิดอันยอมความได้มีหลักเกณฑ์ดังนี้
(1) ผู้เสียหายต้องร้องทุกข์ภายใน 3 เดือน นับแต่วันรู้เร่ ืองความผิด และรู้ตัวผู้กระทำาความผิด
(2) ภายในอายุค วามตาม ปอ.มาตรา 95 หมายความว่า แม่ผู้เ สียหายจะร้อ งทุ กข์ภ ายใน 3 เดือนแล้ ว
ก็ตาม การฟ้ องคดีความผิดอันยอมความได้ก็อยู่ภายในกำาหนดอายุความฟ้ องคดีทัว่ไปตาม ปอ.มาตรา
95 ด้วย

15.3.2 อายุความการลงโทษ
อธิบายหลักเกณฑ์อายุความการลงโทษทัว่ไป
หลักเกณฑ์อายุความการลงโทษทัว่ไป คือ เม่ ือมีคำาพิพากษาถึงท่ีสุดให้ลงโทษผู้กระทำาผิด และผู้นัน
้ ยังมิได้
รับโทษหรือรับโทษมาบ้างแล้ว แต่หลบหนีไปในระหว่างต้องโทษอยู่ ถ้าไม่ได้ตัวผู้กระทำา ความผิดมารับโทษภายใน
ระยะเวลาท่ีกฎหมายกำาหนดไว้ นับแต่วันท่ีมีคำา พิพากษาถึงท่ีสุดหรือนับแต่วันท่ีหลบหนีเป็ นต้นไป ถือว่าขาดอายุ
ความการลงโทษ จะลงโทษผู้กระทำาความผิดตามคำาพิพากษานัน ้ อีกไม่ได้

อธิบายหลักเกณฑ์อายุความยึดทรัพย์หรือกักขังแทนค่าปรับ
หลักเกณฑ์อายุความยึดทรัพย์สินหรือกักขังแทนค่าปรับ คือ การยึดทรัพย์สินหรือการกักขังแทนค่าปรับใน
กรณีท่ีผู้ต้องคำาพิพากษาให้ปรับไม่นำาค่าปรับมาชำาระแก่ศาลภายในกำาหนด จะต้องกระทำาภายในกำาหนดอายุความคือ
ภายในกำาหนด 5 ปี นับแต่วันท่ีมีคำาพิพากษาถึงท่ีสุด มิฉะนัน้ จะถือว่าขาดอายุความ จะยึดทรัพย์หรือกักขังผู้นัน
้ ไม่
ได้

15.3.3 อายุความการบังคับวิธีการเพ่ ือความปลอดภัย

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


63

อายุความกักกันคืออะไร
อายุความกักกันคือ เม่ ือมีคำาพิพากษาให้กักกันผู้ใด ถ้าผู้นัน
้ ยังไม่ได้รับการกักกัน หรือได้รับการกักกันยัง
ไม่ครบถ้วนเพราะหลบหนีไป ถ้าไม่ได้ตัวผู้นัน ้ มาทำา การกักกันภายในกำา หนด 3 ปี นับแต่วันท่พ ี ้นโทษไม่ว่าจะพ้น
เพราะได้รับโทษตามคำาพิพากษาแล้ว หรือเพราะล่วงเลยอายุความการลงโทษหรือนับแต่วันท่ีผู้นัน ้ หลบหนีไป ถือว่า
ขาดอายุความกักกัน จะกักกันผู้นัน ้ อีกไม่ได้

อธิบายอายุความการบังคับตามทัณฑ์บน
อายุความการบังคับตามทัณฑ์บนคือ ในกรณีท่ีศาลสัง่ให้บุคคลใดทำาทัณฑ์บนหรือหาประกันว่าจะไม่ก่อเหตุ
ร้าย ถ้าผู้นัน
้ ไม่ปฏิบัติตามคำาสัง่ศาล ศาลมีอำานาจสัง่กักขังผู้นัน
้ หรือจะสัง่ห้ามผู้นัน
้ เข้าเขตกำาหนดก็ได้ แต่การกักขัง
หรือห้ามเข้าเขตกำาหนดจะต้องทำาภายในกำาหนด 2 ปี นับแต่วันท่ีศาลมีคำาสัง่ มิฉะนัน ้ จะเป็ นอันขาดอายุความ
ในกรณีผู้ท่ีศาลมีคำา สัง่ให้ทำา ทัณฑ์บน ประพฤติผิดทัณฑ์บน ศาลมีอำา นาจหรือให้ผู้ผู้นัน ้ ชำา ระเงินไม่เ กิน
จำานวนท่ีกำาหนดไว้ในทัณฑ์บน การร้องขอให้ศาลสัง่ให้ชำาระเงินนีจ้ะต้องกระทำาภายในกำาหนด 2 ปี นับแต่วันท่ีผู้ทำา
ทัณฑ์บนประพฤติผิดทัณฑ์บน มิฉะนัน ้ ขาดอายุความ

15.4 บทบัญญัติท่ีใช้แก่ความผิดลหุโทษและการใช้บทบัญญัติทั่วไปในกฎหมายอ่ ืน
1. กฎหมายได้บัญญัติให้นำาหลักเกณฑ์ทัว่ไปของกฎหมายอาญาในลักษณะ 1 มาใช้กับความผิดลหุโทษ
ด้ วย เว้น แต่ จะเข้า ข้อ ยกเว้ น ท่ีบั ญ ญั ติไ ว้ เ ป็ น พิเ ศษในมาตรา 104 105 และ 106 ซ่ึง กฎหมายได้
บัญญัติให้แตกต่างไปจากความผิดสามัญ
2. บทบัญญัติทัว่ไปในภาค 1 ให้นำาไปใช้แก่ความผิดตาม พรบ. อ่ ืน ซ่ึงกำาหนดความผิดทางอาญาด้วย แต่
มีข้อยกเว้นว่าถ้า พรบ. อ่ ืนนัน ้ ได้บัญญัติหลักเกณฑ์ในเร่ ืองนัน ้ ๆ ไว้โดยเฉพาะแล้ว ก็ให้ใช้หลักเกณฑ์
ตาม พรบ. อ่ ืนนัน ้

15.4.1 บทบัญญัติท่ีใช้แก่ความผิดลหุโทษ
ความผิดลหุโทษคืออะไร
ความผิดลหุโทษได้แก่ ความผิดตาม ปอ. และความผิดตามกฎหมายอ่ ืนท่ีมีอัตราโทษดังนี้
(1) จำาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือ
(2) ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือ
(3) จำาคุกไม่เกิน 1 เดือน และปรับไม่เกิน 1,000 บาท

บทบัญญัติพิเศษท่ีใช้กับความผิดลหุโทษแตกต่างจากบทบัญญัติท่ีใช้แก่ความผิดทัว่ไปอย่างไร
บทบัญญัติพิเศษที่ใช้กับความผิดลหุโทษ แตกต่างจากบทบัญญัตท ิ ี่ใช้แก่ความผิดทั่วไป ดังนี้
(1) เจตนาในการกระทำาความผิด คือ การกระทำาความผิดลหุโทษแม้กระทำาโดยไม่มีเจตนาก็เป็ นความ
ผิด
(2) การพยายามกระทำาความผิด คือ ผูท้ ี่พยายามกระทำาความผิดลหุโทษ ผู้นัน ้ ไม่ต้องรับโทษ
(3) ผู้สนับสนุนการกระทำาความผิดคือ ผูท้ ี่สนับสนุนการกระทำาความผิดลหุโทษผู้นัน ้ ไม่ต้องรับโทษ

15.4.2 การใช้บทบัญญัติทัว่ไปในกฎหมายอ่ ืน
อธิบายหลักเกณฑ์การนำาบทบัญญัติทัว่ไปใน ปอ. ไปใช้ในกฎหมายอ่ ืน
ปอ. มาตรา 17 บัญญัติให้นำาบทบัญญัติในภาคหน่ึงแห่ง ปอ. ไปใช้กับความผิดตามกฎหมายอ่ ืนด้วย เว้น
แต่กฎหมายอ่ ืนนัน
้ จะได้บัญญัตห
ิ ลักเกณฑ์เร่ ืองนัน
้ ๆ ไว้โดยเฉพาะแล้ว ก็ให้ใช้หลักเกณฑ์ด้วย พรบ. อ่ ืนนัน

แบบประเมินผล หน่วยท่ี 15 การกระทำาความผิดหลายอย่าง การกระทำาความผิดอีก อายุความและอ่ ืนๆ

1. การกระทำาความผิดหลายบทหมายความว่า การกระทำาความผิดกรรมเดียว แต่ไปเข้าความผิดตามกฎหมายหลาย


บท
2. เม่ ือมีการทำาความผิดหลายบท กฎหมายกำาหนดให้ลงโทษหนักที่สุด
3. การกระทำาความผิดหลายกระทงหมายความว่า การกระทำาความผิดหลายอันต่างกัน และการกระทำา นัน
้ ไปเข้า
ความผิดตามกฎหมายหลายบท
4. เม่ ือมีการกระทำาความผิดหลายกระทง กฎหมายกำาหนดให้ลงโทษทุกกรรมเป็ นกระทงความผิดไป
5. การเพ่ิมโทษผู้กระทำา ความผิดมีหลักเกณฑ์คือ บุคคลนัน
้ เคยถู กศาลพิพากษาให้ ลงโทษจำา คุ กมาแล้ ว และได้
กระทำาความผิดต้องโทษจำาคุกอีกในเวลาที่กำาหนดไว้
6. การเพ่ิมโทษเพราะกระทำาความผิดอีกโดยทัว่ไปมีกำาหนดท่ีจะเพ่ิม หน่งึ ในสามของโทษท่จี ะลงในครัง้หลัง
7. อายุความฟ้ องคดีทัว่ไป เร่ิมนับแต่วันกระทำาความผิด
8. การนับอายุความคดีอาญาสิน ้ สุดลงเม่ ือ ได้ฟ้องคดีและได้ตัวผู้กระทำาความผิดมายังศาล
9. คดีความผิดอันยอมความได้ มีอายุความ 3 เดือน นับแต่วันที่รู้เร่ ืองความผิด และรู้ตัวผู้กระทำาความผิด
10. ความผิดลหุโทษหมายความว่า ความผิดที่มีโทษจำาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทัง้จำา
ทัง้ปรับ

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549


64

11. การกระทำาความผิดกรรมเดียว แต่ไปเข้าความผิดตามกฎหมายหลายบท เป็ นความหมายของการกระทำาความ


ผิดหลายบท
12. กฎหมายกำาหนดให้ลงโทษผู้กระทำาทุกกรรมเป็ นกระทงความผิดไป ในการกระทำาความผิดหลายกระทง
13. ความผิดซ่ึงมีโทษจำา คุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทัง้ปรับทัง้จำา เป็ นความหมายของ
ความผิดลหุโทษ
14. ความหมายของความผิดหลายกระทงคือ การกระทำาความผิดหลายอันต่างกัน แต่ไปเข้าความผิดตามกฎหมาย
หลายบท
15. กฎหมายกำาหนดให้ลงโทษผู้กระทำาโดยใช้บทมาตราท่ีมีโทษหนักท่ีสุดในการกระทำาความผิดหลายบท
16. กฎหมายกำา หนดให้เพ่ิมโทษผู้กระทำา ความผิดอีกหน่ึงในสามในกรณี เพิ่มโทษเพราะกระทำา ความผิดอีกโดย
ทั่วไป
17. การนับอายุความฟ้ องคดี เร่ิมนับตัง้แต่วันกระทำาความผิด
18. อายุความฟ้ องคดีอาญาจะนับไปจนถึง เม่ ือได้ฟ้องคดีและได้ตัวผู้กระทำาความผิดมายังศาล
19. ศาลต้องเพ่ิม โทษผู้ กระทำา ความผิดในกรณี ท่ี บุคคลนัน้ เคยถู ก ศาลพิ พ ากษาให้ ล งโทษจำา คุ ก มาแล้ ว และได้
กระทำาความผิดต้องโทษจำาคุกอีกในระยะเวลาที่กำาหนดไว้
20. อายุความของความผิดอันยอมความได้ คือ 3 เดือน นับแต่วันรู้เร่ ืองความผิดและรู้ตัวผู้กระทำาความผิด

*********************************************

สอบซ่อมวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2549

You might also like