You are on page 1of 3

สรุปย่อกฎหมายภาษีอากร

ก. หักค่าใช้จ่ายตามความจำาเป็นและสมควร
ข. หักค่าใช้จ่ายเหมา ตามจำานวนปีที่ถือครอง
ตอนที่ 2
เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย หาร จำานวนปีที่ถือครอง = เงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อปี
เงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อปี คูณอัตราภาษี = ภาษีเงินได้เฉลี่ยต่อปี
ภาษีเงินได้เฉลี่ยต่อปี คูณ จำานวนปีที่ถือครอง = ภาษีที่ต้องชำาระ
-ไม่ต้องคำานวณภาษีอัตราร้อยละ 0.5 และภาษีที่ต้องชำาระต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของราคาขาย
2.รวมกับเงินได้ประเภทอื่น หักค่าใช้จ่ายเหมาตามจำานวนปีที่ถือครอง แต่ไม่ต้องจำานวนปีที่ถือครองไปหาร
และคูณ

7.4.3 กรณีที่ได้มาโดยมุ่งในทางการค้าหรือหากำาไร
-ต้องนำาไปรวมกับเงินได้ประเภทอื่นตามปกติ โดยหักค่าใช้จ่ายตามความจำาเป็นและสมควรเท่านั้น

7.4.4 การคำานวณหักภาษี ณ ที่จ่าย จากการขายอสังหาริมทรัพย์


-40 เฉพาะที่จ่ายให้แก่ผู้ซึ่งขายอสังหาริมทรัพย์ ให้คำานวณหักภาษีและนำาส่งเจ้าหน้าที่ที่จดทะเบียน กรณีไม่มี
การจดทะเบียนนำาส่งทีว่ ่าการอำาเภอภายใน 7 วันนับแต่วันที่จ่ายเงิน
-โอนกรรมสิทธิ์อสังหาฯโดยไม่มีค่าตอบแทนให้ผู้โอนหักภาษีตามเกณฑ์ โดยถือว่าผู้โอนเป็นผู้จ่ายเงินได้

7.4.5 ภาษีอื่นๆทีเ่ กี่ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์


1.ภาษีธุรกิจเฉพาะ สำาหรับทางการค้าหรือหากำาไร ถ้าไม่เข้าลักษณะทางการค้า แต่ขายภายใน 5 ปี ก็ต้องเสีย
เว้นแต่ เวนคืน...ได้มาทางมรดก...ที่อยู่มชี ื่อในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่าหนึ่งปี... ไม่มีค่าตอบแทนแก่บุตร ไม่
รวมบุตรบุญธรรม...มรดกแก่ทายาท...ราชการไม่มีค่าตอบแทน
-เสียร้อยละ 3 ของรายรับก่อนหักค่าใช้จ่าย
2.ภาษีท้องถิ่น ร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ
3.อากรแสตมป์ ทุก 200 บาทหรือเศษของ 200 ค่าอากร 1 บาท
-ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร ใบรับสำาหรับรายรับที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีธุรกิจเฉพาะ
จาก พิษณุโลก (124.157.132.204) วันที่ 20/10/2549 6:22:57
ให้เพิม่ เงินเท่าจำานวนที่เหลือเศษนั้นรวมเข้ากับเงินภาษีที่ จะต้องหักไว้ครั้งสุดท้ายในปี
นั้น เพื่อให้ยอดเงินภาษีที่หักรวมทั้งปีเท่าจำานวนภาษีที่จะต้องเสียทั้งปี
ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) และ (2) ซึ่งเป็นเงินที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียว
เพราะเหตุออกจากงาน ซึ่งได้คำานวณจ่ายจากระยะเวลาที่ทำางาน และได้จ่ายตามหลัก
เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกำาหนด ให้คำานวณภาษีตามเกณฑ์ในมาตรา 48(5) เป็น
เงินภาษีทั้งสิ้นเท่าใดให้หักเป็นเงินภาษีไว้เท่านั้น
ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) นอกจากที่ระบุไว้ในวรรคสาม ที่จ่ายให้แก่
ผูร้ ับซึ่งมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย ให้คำานวณหักในอัตราร้อยละ 15.0 ของเงินได้
(2) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(3) และ (4) ให้คำานวณหักตามอัตราภาษี
เงินได้ เว้นแต่
(ก) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(3) และ (4) นอกจากที่ระบุไว้ใน (ข)(ค)(ง)
และ (จ) ทีจ่ ่ายให้แก่ผู้รับซึ่งมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย ให้คำานวณหักในอัตราร้อยละ
15.0 ของเงินได้
(ข) ในกรณีเงินได้พึงประเมินที่ระบุในมาตรา 48(3) (ก) และ(ค) ให้คำานวณหักในอัตรา
ร้อยละ 15.0 ของเงินได้
(ค) ในกรณีเงินได้พึงประเมินที่ระบุในมาตรา 48(3) (ข) ให้ถือว่าผู้ออกตั๋วเงิน ผู้ออก
ตราสารแสดงสิทธิในหนี้ หรือนิติบุคคลผู้โอนตั๋วเงินหรือตราสารดังกล่าว ให้แก่ผู้มีหน้า
ทีเ่ สียภาษีเงินได้ตามส่วนนี้เป็นผู้จ่ายเงินได้พึงประเมิน และให้เรียกเก็บภาษีเงินได้จากผู้มี
เงินได้ ในอัตราร้อยละ 15.0 ของเงินได้ และให้ถือว่าภาษีที่เรียกเก็บนั้นเป็นภาษีที่หักไว้
(ง) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) (ก) ที่มิได้ระบุใน (ข) และ (ค) แห่งมาตรา
นี้ ถ้าผู้จ่ายเงินได้มิใช่เป็นนิติบุคคล และจ่ายให้แก่ผู้รับซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย ไม่ต้อง
หักภาษีตามมาตรานี้
(จ) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4) (ข) ให้คำานวณหักในอัตราร้อยละ 10.0
ของเงินได้ (3) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(5) และ (6) ทีจ่ ่ายให้แก่ผู้รับซึ่ง
มิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย ให้คำานวณหักในอัตราร้อยละ 15.0 ของเงินได้
(4) นอกจากกรณีตาม (5) ในกรณีผู้จา่ ยเงินตามมาตรานี้เป็นรัฐบาล องค์การของรัฐบาล
เทศบาล สุขาภิบาล หรือองค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ซึง่ จ่ายเงินได้พึงประเมิน
ตามมาตรา 40(5)(6) (7) หรือ แต่ไม่รวมถึงการจ่ายค่าซื้อพืชผลทางการเกษตรให้กับผู้รับ
รายหนึ่ง ๆ มีจำานวนรวมทั้งสิ้นตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป แม้การจ่ายนั้นจะได้แบ่งจ่ายครั้ง
หนึ่งๆ ไม่ถึง 10,000 บาทก็ดี ให้คำานวณหักในอัตราร้อยละ 1 ของยอดเงินได้พึงประเมิน
แต่เฉพาะเงินได้ในการประกวดหรือแข่งขัน ให้คำานวณหักตามอัตราภาษีเงินได้
(5) ในกรณีเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 เฉพาะที่จ่ายให้แก่ผู้รับซึ่งขาย
อสังหาริมทรัพย์ ให้คำานวณหักดังต่อไปนี้
(ก) สำาหรับอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับจากการให้โดย
เสน่หา ให้คำานวณภาษีตามเกณฑ์ในมาตรา 48(4) (ก) เป็นเงินภาษีทั้งสิ้นเท่าใด ให้หักเป็น
เงินภาษีไว้เท่านั้น
(ข) สำาหรับอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่นนอกจาก (ก) ให้หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา
ตามที่กำาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา แล้วคำานวณภาษีตามเกณฑ์ในมาตรา 48(4) (ข) เป็น

You might also like