You are on page 1of 2

สรุปย่อกฎหมายวิธีสบัญญัติ 2 ( A )

มาใช้บังคับ
( 2 ) เมื่อศาลมีคำาสั่งสั่งตาม ( 1 ) หรือลูกหนี้หรือบริวารหลบหนี ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดำาเนินการตามมาตรา
296 ตรี
( 3 ) ปิดประกาศกำาหนดเวลา ให้ผู้ที่อ้างว่าไม่ใช่บริวารของลูกหนี้ยื่นคำาร้องแสดงอำานาจพิเศษต่อศษลภายใน 8
วันนับแต่วันปิด
ประกาศ ถ้าไม่ยื่น ให้สันนิษฐานว่าเป็นบริวารลูกหนี้
บุคคลที่อาศัยในทรัพย์ในระหว่างทีเ่ จ้าพนักงานบังคับคดีจัดการให้เจ้าหนี้เข้าครอบครองทรัพย์ ให้ถือว่าเป็น
บริวารลูกหนี้
มาตรา 296 เบญจ กรณีที่ลูกหนี้ต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างไปจากทรัพย์นั้นด้วย เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำานาจ
จัดการรื้อถอนและขนย้ายสิ่งของ ค่าใช้จ่ายลูก
หนี้เป็นผู้เสีย
การรื้อถอน ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีปิดประกาศกำาหนดการรื้อถอนไม่น้อยกว่า 7 วัน และให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีใช้ความ
ระมัดระวังตามสมควรแก่พฤติการณ์ในการรื้อถอนนั้น
เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ต้องรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรานี้ เว้นกระทำาโดยมีเจตนาร้ายหรือประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรง
วัสดุที่ถูกรื้อถอนและสิ่งของที่ขนย้ายออกจากสิ่งปลูกสร้าง ถ้าไม่รับคืนไป เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำานาจเก็บ
รักษาหรือขายแล้วเก็บ
เงินไว้ ถ้าไม่เรียกเอาทรัพย์หรือเงินนั้นคืนภายใน 5 ปีนับแต่วันประกาศกำาหนดการรื้อถอน ให้ตกเป็นของ
แผ่นดิน
กรณีสิ่งปลูกสร้างถูกยึด เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำานาจขายทอดตลาด แล้วเก็บเงินที่เหลือหักจากค่าใช้จ่ายและ
ค่าธรรมเนียมไว้
มาตรา 296 ฉ เจ้าหนี้มีหน้าที่ช่วยเจ้าพนักงานบังคับคดีในการดำาเนินการบังคับคดีดังกล่าว และทดรองเงินค่าใช้
จ่าย
มาตรา 296 สัตต เจ้าพนักงานบังคับคดีสามารถขอความช่วยเหลือจากพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำารวจได้ และ
เจ้าพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำารวจมี
อำานาจจับกุมและคุมตัวผู้ขัดขวาง
- การจับกุมและกักขังลูกหนี้ตามคำาพิพากษา
มาตรา 297 เจ้าหนี้สามารถยื่นคำาขอฝ่ายเดียวโดยทำาเป็นคำาร้องต่อศาล ในเวลาตั้งแต่ระยะเวลาที่กำาหนดไว้เพื่อ
การปฏิบัติตามคำาพิพากษาที่ขอให้มี
การบังคับได้พ้นไปจนถึงเวลาที่การบังคับคดีสิ้นสุดลง ขอให้ศาลสั่งจับกุมและกักขัง ลูกหนี้ที่จงใจไม่ปฏิบัติ
ตามหมายบังคับคดี
ห้ามศาลอนุญาตตามคำาขอ เว้นเป็นที่พอใจจากพยานหลักฐานที่ผู้ร้องนำามาสืบหรือที่ศาลเรียกมาสืบ ว่า
( 1 ) ลูกหนี้สามารถปฏิบัติตามคำาพิพากษาหรือคำาสั่งนั้นได้ ถ้าได้กระทำาการโดยสุจริต และ
( 2 ) ไม่มีวิธีบังคับอื่นใดที่เจ้าหนี้จะใช้บังคับได้
มาตรา 298 เมื่อมีคำาขอให้จับตัวลูกหนี้ ให้ศาลออกหมายเรียกลูกหนี้มาศาล
ถ้าออกหมายเรียกแล้วไม่มาศาล และไม่แจ้งเหตุอันควรที่ไม่มาให้ศาลทราบ ศาลจะออกหมายจับก็ได้ หรือถ้า
คุม้ ครองอย่างใด ๆ โดยคำาขอต้องทำาเป็นคำาร้อง และศาลมีอำานาจฟังคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง (
คือฝ่ายที่ถูกยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ) ศาลต้องทำาการไต่สวนสืบพยานหลักฐานให้ได้ข้อ
เท็จจริง
- การร้องขอคุ้มครองประโยชน์ของคู่ความ
คูค่ วามอาจมีคำาขอต่อศาลเพื่อให้มีคำาสั่งกำาหนดวิธีการเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของคู่ความ
ผูข้ อระหว่างพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคำาพิพากษา ซึ่งอาจเป็นการร้องในศาลชั้นต้น
หรือศาลอุทธรณ์หรือฎีกาก็ได้ ถ้ายื่นในระหว่างพิจารณาของศาลใด ศาลนั้นก็เป็นผู้สั่ง
- การขอให้ออกคำาบังคับและหมายบังคับคดี
1.การขอให้ออกคำาบังคับ
เมื่อศาลพิพากษา ถ้าศาลมิได้มีคำาบังคับ เจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาอาจขอให้ศาลมีคำาบังคับ
ได้ ในการขออาจแถลงด้วยวาจาหรือยื่นคำาแถลงก็ได้
2.การขอให้ออกหมายบังคับคดี
ถ้าเจ้าหนี้ตามคำาพิพากษาจะขอให้บังคับคดี กฎหมายให้ทำาเป็นคำาขอฝ่ายเดียวต่อศาลเพื่อ
ให้ออกหมายบังคับคดี
- การร้องขอให้บังคับตามสิทธิเหนือทรัพย์สินที่ยึดของบุคคลภายนอก
ในการบังคับคดีนั้น ถ้าเป็นทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำาพิพากษา เจ้าพนักงานบังคับคดีมี
อำานาจอายัดหรือยึดได้เสมอ ถ้าผู้ใดกล่าวอ้างว่าลูกหนี้ตามคำาพิพากษาไม่ใช่เจ้าของ
ทรัพย์สิน ก็ยื่นคำาร้องขอให้ปล่อยทรัพย์สินที่ยึดไว้นั้น โดยทางปฏิบัติในการยื่นคำาขอมัก
ทำากันเป็นคำาร้อง และศาลต้องไต่สวนฟังข้อเท็จจริงก่อนมีคำาสั่งให้ตามสิทธิของผู้ร้อง ผู้
ร้องต้องบรรยายสิทธิของตนในคำาร้องไว้ด้วย อันเป็นสาระสำาคัญของคำาร้องซึ่ง
หมายความว่าจะต้องมีความรู้กฎหมายสารบัญญัติพอสมควร มิฉะนั้นศาลอาจยกคำาร้อง
เสียได้โดยไม่ต้องไต่สวน
- การร้องขอให้ปล่อยทรัพย์สินที่ยึด
ถ้าผู้ใดกล่าวอ้างว่าลูกหนี้ตามคำาพิพากษาไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่ถูกบังคับคดี สามารถ
ยื่นคำาร้องขอต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีให้ปล่อยทรัพย์สินเช่นว่านั้นได้ ( เรียกว่า ร้อง
ขัดทรัพย์ ) การร้องขัดทรัพย์ กฎหมายให้ทำาเป็นคำาร้องขอ ( ขอให้ศาลสั่งปล่อยทรัพย์สิน
ที่ยึด ) และเป็นคำาฟ้อง ( เพราะเป็นการกล่าวหาว่าโจทก์เป็นผู้ยึดทรัพย์ไม่ถูกต้อง ) คำาร้อง
ขัดทรัพย์ทางปฏิบัติทำาในแบบพิมพ์คำาร้องธรรมดา ไม่ใช่ในแบบพิมพ์คำาฟ้อง ไม่ใช้แบบ
พิมพ์คำาขอท้ายฟ้องอย่างคดีแพ่งสามัญ โดยเหตุที่คำาร้องขัดทรัพย์เป็นเพียงคำาร้องขอให้
ปล่อยทรัพย์สินที่ยึด ในคำาร้องจึงไม่ต้องบรรยายว่าผู้ร้องได้รับความเสียหายอะไรบ้าง แต่
ต้องบรรยายไว้เสมอว่าทรัพย์สินที่โจทก์นำายึดนั้น ไม่ใช่ของจำาเลยหรือลูกหนี้ตามคำา
พิพากษา

You might also like