You are on page 1of 2

สรุปย่อกฎหมายวิธีสบัญญัติ 3

ดังกล่าวใน ว. ก่อน )
สิ่งของ ที่ยึดได้ ต้อง ให้ผู้ครอบครองสถานที่ บุคคลในครอบครัว ผู้ต้องหา จำาเลย ผู้
แทน / พยาน ดูเพื่อให้รับรองว่าถูกต้อง ( ถ้าบุคคลเช่นกล่าวนั้น รับรอง / ไม่ยอมรับรอง
ก็ให้บันทึกไว้ )

มาตรา 103 ให้ เจ้าพนักงานผู้ค้น บันทึกรายละเอียดแห่งการค้น และ สิง่ ของที่ค้นได้


นัน้ ต้องมีบัญชีรายละเอียดไว้
บันทึกการค้นและบัญชีสิ่งของนั้น ให้อ่านให้ผู้ครอบครองสถานที่ บุคคลในครอบครัว ผู้
ต้องหา จำาเลย ผู้แทน / พยานฟัง
( แล้วแต่กรณี ) แล้วให้ผู้นั้นลงลายมือชื่อรับรองไว้

มาตรา 104 เจ้าพนักงานที่ ค้นโดยมีหมาย = ต้องรีบส่ง บันทึกและบัญชี งกล่าวใน ม.


ก่อน พร้อมด้วยสิ่งของที่ยึดมา ( ถ้าพอจะส่งได้ ) ไปยังผู้ออกหมาย / เจ้าพนักงานอื่น
ตามที่กำาหนดไว้ในหมาย
ในกรณีที่ ค้นโดยไม่มีหมาย (โดยเจ้าพนักงานอื่นที่ไม่ใช่พนักงานสอบสวน) = ให้ส่ง
บันทึกบัญชีและสิ่งของไปยังพนักงานสอบสวน / เจ้าหน้าที่ใดซึ่งต้องการสิ่งของเหล่า
นัน้

2. การจับ ( ม. 77 - ม. 85 ) / หมายอาญา ม.57 ว.แรก ( ผู้จัดการตามหมายอาญา


ม.61 , วิธีการจัดการ ม.62 –65 )
- เหตุ ที่จะออกหมายจับ = รธน. ม. 237 , ม.66
- ผูท้ ี่มีอำานาจออกหมาย จับ = ม.58 (1) , (2) , ม.59 , ม. 67 และ รธน. ม. 237
- ผูท้ ี่มีอำานาจจับ = เจ้าพนักงาน ม.78 , ราษฎร ม.79 , ม. 80 , ม. 82
- อำานาจ ในการ จับ = ม. 77 , ม. 68 , ม. 81 , ม. 83 - ม. 85 , ม. 7
- สิทธิของผู้ถูกจับ = ม. 7 ทวิ

เหตุที่จะออกหมายจับ ( หมายเหตุ : การคุมขัง ตาม ปอ. ม.1 (12) = คุมตัว ควบคุม ขัง
กักขัง / จำาคุก )
รัฐธรรมนูญ มาตรา 237 ในคดีอาญา การจับ และ คุมขังบุคคลใดจะกระทำามิได้ เว้น
แต่ มีคำาสั่งหรือหมายของศาล / ผู้นนั้ ได้กระทำาความผิดซึ่งหน้า / มีเหตุจำาเป็นอย่างอื่น
ให้จับได้โดยไม่ต้องมีหมายตามที่ กม.บัญญัติ โดยผู้ถูกจับ จะต้องได้รับการแจ้งข้อ
ควรรายละเอียดดูมาตรา 192 ซึ่งมีทั้งหมด 6 วรรค จากเอกสารการ
สอนเล่ม 2 หน่วย 14 ตั้งแต่หน้า 419 – 429 (สอบไล่ 1 / 48 ออก
ม.192 ว.1 และ ว.2 …สอบซ่อมอาจจะออก ม.192 ว.1 และ ว.3 ก็ได้
หรือวรรคอื่นก็ได้)

You might also like