You are on page 1of 4

สรุปย่อประสบการณ์วิชาชีพกฎหมาย

ฝ่ายนั้นจะนำาพยานบุคคลมาสืบแทนพยานเอกสารหรือสืบเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในพยาน
เอกสารดังกล่าวมิได้ และพยานเอกสารจะต้องได้ยื่นโดยถูกต้องตามกฎหมายด้วย ซึ่งมีหลักเกณฑ์
โดยสรุปดังนี้
2.2.1 คูค่ วามต้องยื่นบัญชีแสดงรายการพยานหลักฐานต่าง ๆ ที่ประสงค์จะอ้างอิงต่อศาลก่อนวันนัด
สืบพยานไม่น้อยกว่า 3 วัน หากมีการเพิ่มเติมพยานหลักฐานใดก็ให้ยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมก่อน
เสร็จการสืบพยานของคู่ความซึ่งมีหน้าที่นำาสืบก่อน
2.2.2 คูค่ วามจะต้องส่งสำาเนาเอกสารที่อ้างเป็นพยานต่อศาลและคู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง ก่อนวันสืบพยาน
ไม่น้อยกว่า 3 วัน
2.2.3 พยานเอกสารบางชนิดต้องปิดอากรแสตมป์ให้ครบถ้วนและมีการขีดฆ่าอากรแสตมป์นั้นแล้ว
2.2.4 พยานเอกสารต้องเสียค่าอ้างเอกสารเป็นพยานในศาลชั้นต้น ฉบับละ 5 บาท แต่รวมกันแล้วไม่
เกิน 250 บาท ชั้นอุทธรณ์และฎีกาฉบับละ 10 บาท แต่รวมกันแล้วไม่เกิน 400 บาท
- พยานหลักฐานที่รับฟังได้ และยื่นโดยชอบแล้วศาลจะนำามาพิจารณาอีกทีว่าจะเชื่อถือพยานชั้นใด
ได้เพียงใด ขั้นตอนนี้เรียกว่าการชั่งนำ้าหนักพยานหลักฐาน
- การวินิจฉัยคดีแพ่งมีหลักเกณฑ์ คือ ศาลต้องพิจารณาประเด็นพิพาทในคดีเสียก่อน โดยดูจาก
คำาฟ้องและคำาให้การ หากปรากฏว่าจำาเลยมิได้ให้การปฏิเสธหรือให้การต่อสู้ฟ้องโจทก์ในข้อใด
ถือว่าฟ้องข้อนั้นไม่เป็นข้อโต้เถียงจึงไม่เป็นประเด็นพิพาทในคดี โจทก์ไม่ต้องนำาสืบในประเด็นนั้ น
ศาลรับฟังตามที่โจทก์กล่าวอ้างมาในฟ้องได้เลย เมื่อได้ประเด็นพิพาทแล้ว ศาลจะดูพยานหลักฐาน
ของคูค่ วามทุกฝ่ายในคดี แล้ววินิจฉัยว่าพยานหลักฐานทั้งหมดนั้นเจือสมหนักไปข้างฝ่ายใด แม้จะ
ไม่ถึงกับปราศจากข้อสงสัย ศาลก็วินิจฉัยชี้ขาดให้ฝ่ายนั้นเป็นผูช้ นะคดีได้ ส่วนในคดีที่มีประเด็นข้อ
พิพาทหลายประเด็น หากพยานหลักฐานของฝ่ายใดน่าเชื่อมากกว่าในประเด็นใดก็ตัดสินให้ฝ่ายนั้ น
ชนะคดีไปเฉพาะในประเด็นนั้น
- ในกรณีที่คู่ความฝ่ายใดมีหน้าที่นำาสืบและได้นำาพยานหลักฐานที่รับฟังได้เข้าสืบแล้ว แต่อีกฝ่ายไม่
สามารถถามค้านทำาลายนำ้าหนักคำาพยานฝ่ายแรกได้ และไม่สามารถนำาสืบให้เห็นเป็นอย่างอื่นได้
เช่นนี้ถือว่าพยานหลักฐานของฝ่ายที่มีหน้าที่นำาสืบมีนำ้าหนักดีกว่า ศาลต้องตัดสินให้คู่ความฝ่ายนั้น
ชนะคดี
- ถ้าคู่ความฝ่ายใดมีหน้าที่นำาสืบข้อเท็จจริงนั้น เมื่อกรณีกำ้ากึ่งกันต้องถือว่าฝ่ายทีม่ ีหน้าที่นำาสืบไม่สม
ศาลต้องตัดสินให้ฝ่ายนั้นแพ้คดีไป

8.3 หลักเกณฑ์การชั่งนำ้าหนักพยานหลักฐานในคดีอาญา

แนวคิด
1. พยานหลักฐานที่ศาลจะนำามาพิจารณาชั่งนำ้าหนักในคดีอาญาได้ ต้องเป็นพยานหลักฐานที่ใช้
พิสูจน์ว่าจำาเลยมีความผิดหรือบริสุทธิ์ ซึ่งพยานหลักฐานนั้นต้องมิได้เกิดจากการกระทำาอันมิชอบ
ด้วยกฎหมาย
2. การสืบพยานในคดีอาญา โจทก์มีหน้าที่นำาสืบก่อนเสมอ การวินิจฉัยชั่งนำ้าหนักพยานหลักฐานก็
ต้องวินิจฉัยพยานหลักฐานของโจทก์ก่อน เพราะถือว่าโจทก์มีหน้าที่นำาสืบพิสูจน์แล้ว มีการกระ
ทำาความผิดเกิดขึ้นและจำาเลยเป็นผู้กระทำาความผิดนั้น หากโจทก์สืบไม่สม ศาลก็ยกฟ้องได้เลยโดย
- ลักษณะการสนทนาที่มีประสิทธิผลอาจสรุปเป็น 4 ประการดังนี้
1. เนื้อหาในการสนทนามีสาระประโยชน์แก่ทุกฝ่าย 3. ก่อให้เกิดความเข้าใจที่ดี
ต่อกัน
2. ทุกคนมีสว่ นได้พูดโดยทั่วถึงกัน 4. ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล
- การสัมภาษณ์มีข้อแตกต่างกับการสนทนาคือ การสัมภาษณ์สว่ นมากมีรูปแบบ
เป็นพิธีการ มีจุดมุ่งหมายแน่นอน และผู้สัมภาษณ์กับผู้ถูกสัมภาษณ์มีบทบาทต่าง
กันอย่างแน่ชัด
- โดยทั่วไปแล้วผู้บริหารอาจใช้การสัมภาษณ์เพื่อจุดประสงค์สำาคัญ 2 ประการ
คือ สัมภาษณ์เพื่อหาข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นนำามาใช้ประโยชน์อย่างใดอย่าง
หนึ่ง และสัมภาษณ์เพื่อให้ข้อเท็จจริงข้อคิดเห็นและข้อแนะนำา
- เราแบ่งคำาถามที่มักใช้ในการสัมภาษณ์ออกเป็น 5 ประเภท คือ
1. คำาถามเปิด เปิดกว้างให้ผู้ตอบตอบ อาจคลุมเครือบ้าง
2. คำาถามปิด ต้องการคำาตอบที่เฉพาะเจาะจงเพียงไม่กี่คำาพูด
3. คำาถามทวน เมื่อผู้ถามมีความต้องการได้รับการยืนยันให้แน่ใจ
4. คำาถามหยั่ง ถามลึกลงไปเพื่อหยั่งทราบเหตุผล ทัศนคติ และความเชื่อของผู้ถูก
ถาม
5. คำาถามนำา เป็นคำาถามที่นำาผู้ตอบให้ตอบตามที่ผู้ถามคาดเอาไว้
- การพูดในกลุ่มหรือที่สาธารณะ พูดหรืออ่านจากต้นฉบับที่ได้เขียนไว้ พูดตามที่
จำามาพูดอย่างฉับพลัน และพูดจากความเข้าใจตามที่ได้เตรียมไว้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
โอกาส สถานการณ์ ความจำาเป็น รวมทั้งความสามารถเฉพาะของแต่ละบุคคล
- ข้อเสียของการพูดตามที่ท่องจำามา คือคนฟังจะสังเกตได้ง่ายว่าผู้พูดขาดลักษณะ
ของความมีชวี ิตจิตใจ
- การพูดเพื่อค้นหาคำาตอบ ข้อสำาคัญอยู่ที่การตั้งปัญหาให้แจ่มชัด
- การพูดเพื่อให้ความรู้ ต้องมีความรู้ในเรื่องนั้น ๆ อย่างแท้จริง มิใช่ไม่รู้แต่ทำา
เป็นว่ารู้ ซึ่งจะทำาให้ผู้ฟังเสื่อมความเชื่อถือ
- การพูดเพื่อโน้มน้าวใจ จุดประสงค์ทั่วไปคือ เพื่อให้ผู้ฟังเชื่อถือ หรือปฏิบัติตาม
เป็นสำาคัญ
- การพูดเพื่อจรรโลงใจ เป็นการพูดเพื่อก่อให้เกิดคามรู้สึกที่สูงส่งดีงาม ชี้ให้เห็น
ถึงอุดมคติหรือให้เห็นแนวทางในการดำาเนินชีวิต

15.3 การค้นคว้าทางวิชาการ

แนวคิด
1. การค้นคว้าทางวิชาการมีความสำาคัญต่อการพัฒนาภาวะผู้นำาเป็นอย่างมาก
เพราะความรู้และข้อมูลข่าวสารที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจะเสริมสร้างภูมิรู้
ภูมิปัญญาของผู้นำาให้ลุ่มลึก สามารถนำาไปใช้ในสถานการณ์ที่แสดงให้เห็นถึง
ภาวะผู้นำาที่สมบูรณ์ ไม่ว่าจะเป็นในการพูด การเขียน หรือการตัดสินใจวินิจฉัย
กลับหน้าหลัก

You might also like