You are on page 1of 6

มาตรา 706 “บุคคลมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินแต่ภายในบังคับเงื่อนไขเช่นใด จะจำเรืา่อนองทรั

ง : สรุปพย่ย์อสกฎหมายพาณิ ชย์ 3
ินนั้น ได้แต่ภายใน
บังคับเงื่อนไขเช่นนั้น ”
มาตรานี้ หมายความว่า สิทธิของผู้เป็นเจ้าของทรัพย์ที่จำานองตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่ง เจ้าของจะ
จำานองทรัพย์สินนั้นโดยปราศจากเงื่อนไข นั้นมิได้ เจ้าของจำานองทรัพย์สินนั้นได้ แต่สัญญาจำานองก็ต้องอยู่
ภายใต้เงื่อนไขนั้น เช่นกัน
อุทาหรณ์
ก. ขายฝากที่ดินไว้กับ ข. มีกำาหนดไถ่ถอนใน 5 ปี ข. จะจำานองที่ดินแปลงนั้นก็ได้ เพราะ ข. เป็นเจ้าของที่ดิน
คือ มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินแปลงนั้น แต่สัญญาจำานองนั้นต้องตกอยู่ภายใต้ข้อกำาหนดที่ ก. เจ้าของกรรมสิทธิ์เดิม
สามารถไถ่ถอน ที่ดินที่ขายฝากได้ภายใน 5 ปี
ข) ทรัพย์หลายสิ่งเอาจำานองประกันหนี้รายเดียว
มาตรา 710 “ทรัพย์สินหลายสิ่งมีเจ้าของคนเดียวหรือหลายคนจะจำานองเพื่อประกันการชำาระหนี้แต่รายหนึ่ง
รายเดียว ท่านก็ให้ทำาได้
และในการนี้คู่สัญญาจะตกลงกันดั่งต่อไปนี้ก็ได้ คือว่า
(1) ให้ผู้รับจำานองใช้สิทธิบังคับเอาแก่ทรัพย์สินซึ่งจำานองตามลำาดับอันระบุไว้
(2) ให้ถือเอาทรัพย์สินแต่ละสิ่งเป็นประกันหนี้เฉพาะแต่ส่วนหนึ่งส่วนใดที่ระบุไว้ ”
มาตรานี้ หมายความว่า ทรัพย์ที่นำามาจำานอง ประกันการชำาระหนี้ของลูกหนี้ จะเป็นทรัพย์สิ่งเดียว หรือ หลาย
สิง่ และ
ทรัพย์นั้นๆ จะมีเจ้าของคนเดียวหรือหลายคน เพื่อประกันหนี้รายเดียวก็ได้ หากมิได้จัดลำาดับทรัพย์จำานอง หรือ
มิได้แบ่งจำานวนหนี้ออกเป็นส่วนๆ แล้วตีราคาทรัพย์และแต่ละสิ่งเป็นประกันแต่ละส่วนแล้ว สิทธิของผู้รับ
จำานองมีอยู่ตาม ม.716
คือ จำานองเป็นการประกันหนี้เต็มจำานวน แม้จะมีทรัพย์จำานองหลายสิ่งเป็นประกันการชำาระหนี้จำานอง ก็ครอบ
ไปหมด ทุกอย่างเต็มจำานวน
ความหมายมาตรา 710 (2) กล่าวถึง ส่วนนั้น หมายถึง ส่วนในหนี้ซึ่งระบุไว้เป็นส่วนๆ มิใช่ในทรัพย์จำานอง
หากเป็นส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์ที่จำานองนั้นต้องด้วย ม.717
กิจกรรม 3.1.5
นายบุญกู้เงินนายชู 500,000 บาท โดยมีนายสมเอาที่ดินมาจำานองประกันหนี้เงินกู้ 300,000 บาท นายจิตเอาบ้าน
มาจำานองเป็นประกันหนี้ 200,000 บาท การตกลงกันจำานองเช่นนี้มีผลบังคับ หรือไม่
แนวตอบ
ตาม ม.710 ทรัพย์หลายสิ่งของเจ้าของหลายคน สามารถจำานองเป็นประกันหนี้รายเดียวได้ และอาจตกลงให้
ทรัพย์แต่ละสิ่งเป็นประกันหนี้เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดที่ระบุไว้ก็ได้ ฉะนั้นการที่นายสม และนายจิต เอาที่ดิน
กับบ้านของตนมาจำานองประกันหนี้ของนายบุญ โดยตกลงให้ที่ดินเป็นประกันหนี้ 300,000 บาท และบ้านเป็น
ประกันหนี้ 200,000 บาท
ย่อมมีผลบังคับได้ตามกฎหมาย

ตอนที่ 3.2 ขอบเขตของสิทธิจำานอง


แนวคิด
1. ทรัพย์สินซึ่งจำานอง ย่อมเป็นประกันชำาระหนี้ประธานกับทั้งค่าอุปกรณ์อันได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าสินไหมทดแทน
เงินตามตั๋วเงินบางส่วนหรือทั้งจำานวนโดยเขียนข้อความว่า “ใช้ได้เป็นอาวัล” หรือ
สำานวนอื่นทำานองเดียวกัน และลงลายมือชื่อผู้รับอาวัลหรือลงแต่ลายมือชื่อผู้รับอาวัลใน
ด้านหน้าแห่งตั๋วเงินหรือใบประจำาต่อ ผู้รับอาวัลอาจเป็นบุคคลภายนอกหรือคู่สัญญาแห่ง
ตัว๋ เงินนั้นก็ได้
5. ผู้สอดเข้าแก้หน้า (ม. 950) หมายความว่า บุคคลที่เข้ามารับรองหรือใช้เงินแทนลูกหนี้
ในตั๋วเงิน ในเมื่อลูกหนี้นั้นไม่ใช้หนี้ โดยเข้ามาเองเรียกว่า “ผู้สอดเข้าแก้หน้า” หรือ โดย
สัง่ ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังระบุไว้ล่วงหน้าเรียกว่า “ผู้สมอ้างยามประสงค์” (ม. 950 วรรค
แรก ม. 955 วรรคแรก ม. 1010) ซึง่ อาจเป็นบุคคลภายนอกหรือผู้สั่งจ่ายหรือบุคคลซึ่งต้อง
รับผิดโดยตั๋วเงินนั้นอยู่แล้วก็ได้ เว้นแต่ผู้รับรอง (ม. 950 วรรคสาม)
ค. คูส่ ัญญาคนก่อน ๆ ในตั๋วเงิน
ม. 906 “คำาว่า คู่สัญญาคนก่อน ๆ นั้น รวมทั้งผู้สั่งจ่ายหรือผู้ออกตั๋วเงินและผู้สลักหลังคน
ก่อน ๆ นั้นด้วย”
หมายความว่า คู่สัญญาคนก่อน ๆ ในตั๋วเงินหมายถึงบุคคลต่อไปนี้
1. ผู้สั่งจ่าย ได้แก่ ผูส้ ั่งจ่ายตั๋วแลกเงิน (ม. 908) ผู้สั่งจ่ายเช็ค (ม. 987)หรือ ผู้ออกตั๋วเงิน
ได้แก่ ผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (ม. 982)
2. ผู้สลักหลังตั๋วแลกเงินตั๋วสัญญาใช้เงินหรือเช็คคนก่อน ๆ
ส่วน ผู้รับอาวัล ผู้สอดเข้าแก้หน้า อาจจะมีหรือไม่มีในตั๋วเงินก็ได้และไม่ใช่คู่สัญญาคน
ก่อน ๆ
กิจกรรม
เอกเป็นผู้จัดการมรดกตามคำาสั่งศาลของโทฟ้องต่อตรีว่า ตรีออกเช็คสั่งจ่ายเงิน 100,000
บาท ลงวันที่ 1 ธันวาคม 2536 แก่โทเพื่อชำาระค่าสินค้าที่ตรีสั่งจากโท วันที่ 1 กันยายน
2536 โทถึงแก่กรรม ครั้นเช็คถึงกำาหนด เอกนำาเช็คไปขึ้นเงิน ธนาคารปฏิเสธการจ่ายว่า
คืนผูส้ ั่งจ่าย เอกจึงมีหนังสือทวงถามให้ตรีชำาระเงินตามเช็ค ตรีตอบจดหมายว่า ที่ได้สั่ง
งดจ่ายเช็คฉบับดังกล่าวเป็นความรอบคอบในกิจการ ขอให้นำาหลักฐานผู้มสี ิทธิโดยชอบ
ด้วยกฎหมายไปแสดงตรียินดีจะจ่ายเงินให้ แต่เมื่อเอกนำาคำาสั่งศาลเรื่องตั้งเอกเป็นผู้
จัดการมรดกโทไปแสดง ตรีก็ไม่จ่ายเงินให้ จึงขอให้ศาลบังคับ ตรีต่อสู้ว่า เช็คลงวันที่
ล่วงหน้าไม่เป็นตั๋วเงิน เมื่อโทถึงแก่กรรมไปก่อนถึงวันที่ลงในเช็ค สิทธิตามเช็คเป็นอัน
สูญสิ้นไปแล้ว ดังนี้เอกมีสิทธิฟ้องตรีให้รับผิดตามเช็คหรือไม่ เพราะเหตุใด
แนวตอบ
เช็คที่ตรีลงวันที่ไว้ล่วงหน้านั้นย่อมสมบูรณ์เป็นเช็ค (ม. 987, 988 (6)) เมื่อตรีลงลายมือ
ชือ่ เป็นผู้สั่งจ่ายเท่ากับตรีสัญญาว่าจะรับผิดตามเนื้อความแห่งตั๋วนั้นเมื่อถึงวันที่ลงไว้ (ม.
900) โทซึ่งเป็นผู้ทรงตั๋วนั้นโดยชอบย่อมมีสิทธิเป็นเจ้าหนี้ตามตัว๋ นั้น แม้หนี้นั้นจะยังไม่
ถึงกำาหนด เมื่อโทถึงแก่กรรมก่อนถึงวันที่ลงในเช็ค เอกซึ่งเป็นผู้จัดการมรดกของโทจึง
เข้าสวมสิทธิของโทได้ตามที่โทมีอยู่เป็นการโอนโดยผลของกฎหมาย (ม. 1599, ม. 1600)
ดังนั้นเอกในฐานะผู้จัดการมรดกของโทจึงเป็นเจ้าหนี้ในตั๋วเงินมีสิทธิฟ้องตรีให้รับผิด
ตามเช็คได้

8.2.6 ใบประจำาต่อ
ตอบ No. 2 ขอบคุณนะคะ กำาลังจะลงพอดีเลย อะ ให้ ละกันนะ ตอบแทนที่เอามาลงให้
จาก หญิงเอ
วันที่ 19/10/2549
8:29:08

กล่าวเหตุจำาเป็น อันมิอาจก้าวล่วงเสียได้นั้นแก่ผู้สลักหลังถัดตนขึ้นไป และถึงแม้ว่าจะ


เป็นการก่อนล่วงกำาหนด เวลายื่นตั๋วเงิน ก็ให้นับเช่นนั้น
การที่ผู้ทรงไม่นำาตั๋วแลกเงินไปยื่นให้ผจุ้ ่ายใช้เงินเมื่อวันตั๋วถึงกำาหนด ย่อมทำาให้เกิดผล
ดังนี้
1.ทำาให้ผู้สลักหลัง ผู้สั่งจ่าย และคู่สัญญาอื่น หลุดพ้นความรับผิด ยกเว้นผู้รับรอง (
ม.973)
แต่ถ้ามีเหตุจำาเป็นอันมิอาจจะก้าวล่วงเสียได้ ก็ให้ยืดเวลาออกไปจนกว่าเหตุจำาเป็นนั้นจะ
สิน้ สุดลง และผู้ทรงจะต้องแจ้งให้ผู้สลักหลังคนถัดจากตนขึ้นไปทราบโดยไม่ชักช้า และ
จดข้อความนั้นลงในตั๋วเงิน
และผูส้ ลักหลังที่ได้รับคำาบอกกล่าวก็จะต้องบอกกล่าวผูส้ ลักหลังคนถัดขึ้นไปตามลำาดับ
จนถึงผู้สั่งจ่าย เมื่อเหตุจำาเป็นสิ้นสุดลงแล้วให้ผู้ทรงทำาการยื่นตั๋วโดยไม่ชักช้า หรือทำาคำา
คัดค้านตามที่จำาเป็น แต่ถ้าเหหตุจำาเป็นมีอยู่เกิน 30 วันภายหลังตั๋วถึงกำาหนด ผู้ทรงก็ใช้
สิทธิไล่เบี้ยได้เลยโดยไม่ต้องยื่นตั๋ว และไม่ต้องทำาคำาคัดค้าน
กรณีที่ป็นตั๋วแลกเงินที่ให้ใช้เงินเมิ่ได้เป็น หรือให้ใช้เงินในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งภาย
หลังได้เห็น กำาหนดให้นับ 30 วันตั้งแต่วันที่ส่งคำาบอกกล่าว เหตุจำาเป็นแก่ผู้สลักหลังคน
ถัดตนขึ้นไป ( มาตรา 974 วรรค 5 )
2.การที่ผู้ทรงไม่ยื่นตั๋วให้ใช้เงินตามกำาหนด ไม่ทำาให้ผู้รับรองหลุดพ้นไปด้วย ทั้งนี้ผู้รับ
รองเป็นลุกหนี้ชั้นต้น ซึ่งต้องรับผิดโดยตรงตามมาตรา 937 แต่อาจเปลี่ยนตนให้พ้นความ
รับผิดโดยวางเงินจำานวนที่ค้างชำาระตามตั๋วนั้นก็ได้ ( ม.947 )
กิจกรรม 10.3.4
แดงออกตั๋วแลกเงินสั่งให้ดำาจ่ายเงินให้ขาว 10,000 บาท ดำายอมรับรองตั๋วเงินนี้ และขาว
สลักหลังโอนให้ขียว ครั้นถึงวันครบกำาหนด เขียวไม่นำาตั๋วไปยื่นต่อดำา ดังนี้ ใครจะหลุด
พ้นความรับผิดตามตั๋วได้บ้าง
แนวตอบ
บรรดาผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลัง คือ แดง และ ขาว จะหลุดพ้น แต่ ดำา ซึ่งเป็นผู้รับรองไม่
หลุดพ้น มาตรา 973
ผูส้ ั่งจ่าย แต่บางกรณีอาจมีผู้กระทำาความผิดหลายคนสมทบร่วมกันกระทำาความผิดได้
เช่น การกระทำาเป็นตัวการ ผู้ใช้ให้กระทำาความผิด ผู้สนับสนุน ตามประมวลกฎหมาย
อาญาก็เป็นความผิดร่วมกันกับผู้ออกเช็ค
1.ตัวการ ได้แก่ ผูส้ ั่งจ่าย หรือผู้ออกเช็ค....นิติบุคคลอาจเป็นผู้กระทำาความผิดตามตาม
พรบ.ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คได้หากปรากฏว่าผู้แทนนิติบุคคลได้กระทำา
ตามวัตถุประสงค์ ผู้แทนอาจร่วมรับผิดด้วย
2.ผู้ใช้ให้กระทำาความผิด เช่น แดงใช้ให้ขาวออกเช็คชำาระหนี้แก่ดำา โดยแดงรู้ว่าขาวไม่มี
บัญชีเงินฝากกับธนาคาร
3.ผู้สนับสนุน
กิจกรรม แดงกับดำาเป็นหนี้ขาว แดงเขียนกรอกข้อความในเช็ค ให้ดำาเซ็นชื่อเป็นผู้สั่งจ่าย
นำาเช็คไปชำาระหนี้ขาว ต่อมาธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค ขาวจึงร้องทุกข์และฟ้อง
คดีหาว่าแดงและดำาร่วมกันออกเช็คโดยไม่มีเงินอันเป็นความผิดตามตาม พรบ.ว่าด้วย
ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค แดงจะอ้างว่าตนมิใช่เป็นผู้สั่งจ่าย ไม่ต้องรับผิดได้หรือไม่
ตอบ การกระทำาของแดงที่เขียนกรอกข้อความในเช็คซึ่งธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินดัง
กล่าวย่อมมีความผิดฐานเป็นตัวการร่วมกระทำาความผิดฐานออกเช็คไม่มีเงิน
เรื่องที่ 15.3.3 การร้องทุกข์ อายุความร้องทุกข์ การฟ้องคดี การควบคุม ขัง ปล่อยชั่วคราว
ก.การร้องทุกข์ ต้องเป็นบุคคลที่มีสิทธิร้องทุกข์หรือผู้เสียหายมอบอำานาจให้ร้องทุกข์
แทน โดยทำาเป็นหนังสือมอบอำานาจระบุอย่างชัดแจ้ง เจ้าหน้าที่ผู้มีอำานาจรับคำาร้องทุกข์
ก็ต้องมีอำานาจตามที่กฎหมายกำาหนด และเจตนาของผู้ร้องทุกข์ จะต้องเป็นการกล่าวหา
โดยเจตนามุ่งประสงค์ให้เจ้าพนักงานดำาเนินคดีเพื่อลงโทษแก่ผู้กระทำาผิดอาญา ที่ทำาให้
เกิดความเสียหายแก่ผู้เสียหาย จึงจะถือเป็นการร้องทุกข์โดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
ในกรณีที่ผเู้ สียหายได้แจ้งความต่อเจ้าพนักงานในลักษณะที่มิได้มีเจตนาให้ผู้กระทำาความ
ผิดได้รับโทษแล้ว ย่อมไม่อาจถือได้ว่าคำาแจ้งความดังกล่าวเป็นคำาร้องทุกข์ตามกฎหมาย
เช่น แจ้งให้ทราบไว้เป็นหลักฐานมิให้เช็คขาดอายุความเท่านั้น....
ข.อายุความร้องทุกข์ ในความผิดอันเกิดจากการใช้เช็คต้องร้องทุกข์ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องความผิดและรู้ตัวผู้กระทำาความผิด ความผิดจะเกิดเมื่อ
ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค (ถ้าหลายครั้ง นับครั้งแรก)เมื่อร้องทุกข์ภายในกำาหนด
แล้ว อายุความก็จะต้องฟ้องร้องดำาเนินคดีภายในกำาหนด 5 ปี นับแต่วันที่รู้เรื่องความผิด
และรู้ตัวผู้กระทำาความผิดและต้องได้ตัวผู้กระทำาผิดมายังศาล มิฉะนั้น คดีขาดอายุความ
ค.การฟ้องคดี ต้องอยู่ในเขตอำานาจศาลที่จะพิพากษาคดีว่าเหตุเกิดในเขตความรับผิดชอบ
ของศาลใด บุคคลที่มีอำานาจในการฟ้องคดีอาญาก็คือพนักงานอัยการหรือผู้เสียหายต้อง
บรรยายฟ้องคดีอาญาอันเกี่ยวกับความรับผิดตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยความรับผิดอันเกิดจากการ
ใช้เช็ค พ.ศ.2534 ความผิดเกิดขึ้นต่อเมื่อธนาคารซึ่งมีชื่อเป็นผู้ใช้เงินตามเช็คได้ปฏิเสธ
การจ่ายเงินตามเช็คนั้น...สถานที่เกิดการกระทำาผิดคือสถานที่ที่ธนาคารปฏิเสธการจ่าย
เงินและการฟ้องคดีแพ่งรวมกับคดีอาญา ก็เพื่อให้การพิจารณาคดีดำาเนินไปด้วยความ
สะดวกรวดเร็วแก่คู่ความที่จะได้ไม่ต้องเสียเวลาดำาเนินคดีเรื่องเดียวกันถึงสองครั้ง แต่
ต้องอยู่ในอำานาจของผู้พิพากษาในการพิจารณาคดีด้วย แต่การพิจารณาคดีแพ่งต้องตาม

You might also like