You are on page 1of 30

ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา

บรรยายโดย
นายบรรจบ มุสิกสุคนธ์ และคณะ
ณ ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ.เพชรบุรี
14 กันยายน 2551
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ภาคที่ 1 ข้อความเบื้องต้น
ภาคที่ 2 สอบสวน
ภาคที่ 3 วิธพี ิจารณาในศาลชั้นต้น
ภาคที่ 4 อุทธรณ์และฎีกา
ภาคที่ 5 พยานหลักฐาน
ภาคที่ 6 การบังคับตามคำาพิพากษาและค่าธรรมเนียม
ภาคที่ 7 อภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นเบาและลดโทษ
ภาคที่ 1 ข้อความเบื้องต้น
ลักษณะที่ 1 หลักทั่วไป (มาตรา 1 – 15)
 ผู้เสียหายโดยตรง (ม.2(4))
ผูม้ ีอำานาจจัดการ (ม. 4 – 6)
สามี/ภริยา (ม.4)
ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม
บุพการี ผู้สบื สันดาน ม. 5
ผูแ้ ทนนิติบุคคล
ผูแ้ ทนเฉพาะคดี (ม. 6)
ภาคที่ 1 ข้อความเบื้องต้น
ลักษณะที่ 2 อำานาจพนักงานสอบสวนและศาล (มาตรา 16 – 27)
ความผิดเกิด
ผูต้ ้องหา/ จำาเลยมีที่อยู่
ผูต้ ้องหา/ จำาเลยถูกจับ
ลักษณะที่ 3 การฟ้องคดีอาญาและคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
(มาตรา 28 – 51)
การฟ้องคดีอาญา (ม. 28 – 39)
การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา (ม. 40 – 51)
ภาคที่ 1 ข้อความเบื้องต้น
ลักษณะที่ 4 หมายเรียกและหมายอาญา (มาตรา 52 – 76)

ลักษณะที่ 5 จับ ขัง จำาคุก ค้น ปล่อยชัว่ คราว (มาตรา 77 – 119 ทวิ)
ภาคที่ 2 สอบสวน
ลักษณะที่ 1 หลักทั่วไป (มาตรา 120 – 129)

ลักษณะที่ 2 การสอบสวน
การสอบสวนสามัญ (ม. 130 – 147)
พนักงานสอบสวนรวบรวมสำานวน พร้อมความเห็นส่ง
พนักงานอัยการสัง่ ฟ้อง
ไม่ฟ้อง
การชันสูตรพลิกศพ (มาตรา 148 – 156)
ภาคที่ 3 วิธีพิจาณาในศาลชั้นต้น
ลักษณะที่ 1 ฟ้องคดีอาญาและไต่สวนมูลฟ้อง (มาตรา 157 – 171)
ตรวจคำาฟ้อง (ม. 161) คำาฟ้องต้องเป็นตาม ม.158 (1)-(7)
แก้ฟ้อง
ยกฟ้อง
ไม่ประทับฟ้อง
ไต่สวนมูลฟ้อง (ม. 165) เป็นเรื่องระหว่างโจทก์กับศาล ก่อน
ประทับฟ้องไม่ถือว่าจำาเลยอยู่ในฐานะจำาเลย ห้ามมิให้
ศาลถามคำาให้การจำาเลย
หลักเกณฑ์การไต่สวนมูลฟ้อง
 มาตรา 162
(1)คดีราษฎรเป็นโจทก์อาญาแผ่นดินหรือความผิดส่วนตัว(ฟ้องภายใน
๓ เดือน นับแต่รู้การกระทำาและตัวผู้กระทำาผิด)
(2)
อัยการเป็นโจทก์(ไม่จำาเป็นต้องไต่สวนมูลฟ้องเว้นแต่เห็นสมควร)
วรรค 2 ไต่สวนแล้วจำาเลยรับสารภาพ ให้ศาลประทับฟ้องไว้พิจารณา
 มาตรา 163 โจทก์ขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมฟ้อง

ก่อนศาลชัน้ ต้นพิพากษา(มีเหตุอันควรและจำาเลยไม่เสียเปรียบในการต่อ
สู)้
จำาเลยขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมคำาให้การก่อนศาลชั้นต้นพิพากษา(ศาลเห็นส
มควร)
ไต่สวนมูลฟ้อง(ต่อ)
 มาตรา 166 โจทก์ไม่มาตามกำาหนดนัด
ให้ศาลยกฟ้อง(สัง่ เลื่อนได้เมื่อมีเหตุสมควร)
ยกฟ้องแล้วโจทก์อ้างเหตุสมควร ร้องขอไต่สวนใหม่ภายใน ๑๕ วันฯ
ถ้าไม่ใช้สิทธิจะฟ้องจำาเลยในเรื่องเดียวกันอีกไม่ได้
คดีราษฎรเป็นโจทก์ไม่ตัดอำานาจอัยการฟ้องใหม่ เว้นความผิดส่วนตัว
 มาตรา 170 ศาลสัง่ คดีมีมูลย่อมเด็ดขาด ไม่มีมูลโจทก์อุทธรณ์ฎีกาได้

 มาตรา 171

ให้นำาบทบัญญัติเรื่องการสอบสวนและการพิจารณามาใช้ยกเว้น มาตรา
175
พยานเด็กอายุไม่เกินสิบแปด ให้นำามาตรา 133 ทวิ และ 172
ภาคที่ 3 วิธีพิจาณาในศาลชั้นต้น
ลักษณะที่ 2 การพิจารณา (มาตรา 172 – 181)
ต้องเปิดเผย (ม. 172) ต่อหน้าจำาเลย
ศาลอ่านคำาฟ้องให้จำาเลยฟังและถามคำาให้การ
จำาเลยรับสารภาพหรือปฏิเสธ(ไม่ให้การ)ก็ได้
ศาลถาม/ ตั้งทนาย (ม. 173)
คดีโทษประหารชีวิตหรือจำาเลยอายุไม่เกินสิบแปดปี
ถามแล้วไม่มีทนายให้ศาลตั้งให้
ส่วนคดีโทษจำาคุกจำาเลยไม่มีและต้องการทนายความ ให้ศาลตั้งให้
จำาเลยรับสารภาพ (ม. 176) ศาลพิพากษาโดยไม่สืบพยานก็ได้
เว้นคดีโทษอย่างตำ่าให้จำาคุกตั้งแต่ ๕ ปีขึ้นไปหรือหนักกว่า
วิธีปฏิบัติบางประการในการพิจารณา
 มาตรา 30 ผู้เสียหายขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ ก่อนศาลชัน้ ต้นพิพากษา
 มาตรา 31 อัยการขอเข้าร่วมเป็นโจทก์ในคดีไม่ใช่ความผิดส่วนตัว

ก่อนคดีเสร็จเด็ดขาด
 มาตรา 33 คดีเรื่องเดียวกันทั้งผู้เสียหายและอัยการต่างเป็นโจทก์ฟ้อง

ศาลชัน้ ต้นเดียวกันหรือต่างศาล ศาลสั่งหรือโจทก์ขอให้รวมพิจารณาได้


 มาตรา 163 โจทก์หรือจำาเลยขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมฟ้องหรือคำาให้การ

 มาตรา 35

โจทก์(อัยการหรือผู้เสียหาย)ถอนฟ้องคดีอาญาแผ่นดินก่อนศาลชั้นต้น
พิพากษา ความผิดส่วนตัวก่อนคดีถึงที่สุด
 มาตรา 36 ถอนฟ้องแล้วฟ้องอีกไม่ได้ เว้นตาม (1)-(3)
ภาคที่ 3 วิธีพิจาณาในศาลชั้นต้น
ลักษณะที่ 3 คำาพิพากษาและคำาสัง่ (มาตรา 182 – 192)
คำาพิพากษา
ลงโทษ
ยกฟ้อง
จำาเลยมิได้กระทำาผิด
การกระทำาของจำาเลยไม่เป็นความผิด
คดีขาดอายุความ
มีเหตุตามกฎหมายที่จำาเลยไม่ควรต้องรับโทษ
คำาสัง่
ภาคที่ 4 อุทธรณ์และฎีกา
ลักษณะที่ 1 อุทธรณ์
ภายใน 1 เดือน (ม. 198)
เป็นข้อกฎหมายที่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วในศาลชั้นต้น (ม. 195)
ห้ามอุทธรณ์คำาสัง่ ระหว่างพิจารณา (ม. 196)
ห้ามอุทธรณ์ข้อเท็จจริง (ม. 193 ทวิ)
ภาคที่ 4 อุทธรณ์และฎีกา
ลักษณะที่ 2 ฎีกา
 ฎีกาภายใน 1 เดือน (ม. 216)

ห้ามฎีกาข้อเท็จจริง (ม. 218, 219)


ห้ามฎีกากรณียกฟ้องทั้งศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ (ม. 220)
ภาคที่ 5 พยานหลักฐาน
 หลักทั่วไป (มาตรา 226 – 231)
 พยานบุคคล (มาตรา 232 – 237 ทวิ)
 พยานเอกสาร (มาตรา 238 – 240)
 พยานวัตถุ (มาตรา 241 – 242)
 ผูเ้ ชีย่ วชาญ (มาตรา 243 – 244/1)
พยานบุคคล
 ป.วิ.แพ่ง มาตรา 106 ประกอบ ป.วิ.อาญา มาตรา 15
คู่ความขอให้ศาลออกหมายเรียกพยาน
 ป.วิ.แพ่ง มาตรา 112 ประกอบ ป.วิ.อาญา มาตรา 15
ก่อนเบิกความ พยานทุกคนต้องสาบานตน ยกเว้น (1)-(3) ฝ่าฝืนผิด
ป.อาญา ม.171
 ป.วิ.แพ่ง มาตรา 116,117,118 ประกอบ ป.วิ.อาญามาตรา
15 การซักถามพยาน(ห้ามนำา) ถามค้าน(นำา) ถามติง
(ห้ามนำา)
 มาตรา 232 ห้ามโจทก์อ้างจำาเลยเป็นพยาน
 มาตรา 233 จำาเลยอ้างตนเองเป็นพยาน ให้สืบก่อน ใช้ยันจำาเลยได้
 มาตรา 236 พยานคนอื่นรอเข้าเบิกความ อยู่นอกห้องพิจารณา
พยานบุคคล(ต่อ)
 มาตรา 237 ทวิ สืบพยานบุคคลก่อนฟ้องคดี(ล่วงหน้า)
 มาตรา 237 ตรี สืบพยานผู้เชี่ยวชาญและพยานวิทยาศาสตร์ล่วงหน้า
 มาตรา 243 ผู้เชีย่ วชาญทำาความเห็นเป็นหนังสือและมาสืบประกอบ
เว้นมีเหตุจำาเป็นหรือคู่ความไม่ติดใจซักถาม
 มาตรา 244 ผู้เชีย่ วชาญตรวจศพที่บรรจุหรือฝังแล้วตามคำาสั่งศาล
 มาตรา 244/1 จำาเป็นต้องตรวจพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์
เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่เป็นประเด็นสำาคัญแห่งคดีที่มีอัตราโทษจำาคุก
พยานเอกสารและพยานวัตถุ
 มาตรา 238 ต้นฉบับเท่านั้น
ถ้าหาไม่ได้ใช้สำาเนารับรองถูกต้องหรือพยานบุคคลแทน
หนังสือราชการใช้สำาเนารับรองถูกต้องก็ได้
 มาตรา 239 ให้ศาลเรียกเอกสารจากบุคคลที่ยึดถือ
 มาตรา 240
ให้ยื่นพยานเอกสารก่อนวันไต่สวนมูลฟ้องหรือสืบพยาน
 มาตรา 241 พยานวัตถุต้องนำามาศาล ถ้านำามาไม่ได้ให้ศาลไปตรวจ
 มาตรา 242 ระหว่างสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณา
ต้องให้คู่ความหรือพยานตรวจดูพยานวัตถุ
วิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง
 มาตรา 4 ให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม{ม.25(5)} ป.วิ.อ.
ป.วิ.พ.
 มาตรา 7
พนักงานสอบสวนส่งผู้ต้องหาพร้อมสำานวนให้อัยการฟ้องภายใน 48
ชัว่ โมงนับแต่ถูกจับ ฟ้องไม่ทันขอผัดฟ้องได้ไม่เกินคราวละ6
วันไม่เกิน 3 คราว ถ้ามีเหตุจำาเป็นขอผัดฟ้องได้อีกไม่เกิน 2 คราว
 มาตรา 9 ห้ามอัยการฟ้องคดีเมื่อพ้น ม.7 เว้นแต่อัยการสูงสุดอนุญาต
 มาตรา 19 ผู้เสียหายหรืออัยการฟ้องด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้
จำาเลยให้การด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือก็ได้
 มาตรา 20 ผู้ต้องหารับสารภาพ
วิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง(ต่อ)
 มาตรา 22 ห้ามอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง เว้นจำาเลยในกรณีต่อไปนี้
(1) จำาเลยถูกพิพากษาให้จำาคุกหรือกักขังแทนจำาคุก (2)
จำาเลยถูกพิพากษาให้จำาคุก แต่รอการลงโทษ (3)
ศาลพิพากษาว่าจำาเลยผิด แต่รอการกำาหนดโทษ หรือ (4)
จำาเลยถูกพิพากษาปรับเกินหนึ่งพันบาท
 มาตรา 22 ทวิ คดีห้ามอุทธรณ์ตาม ม.22
ถ้าผู้พพิ ากษาทำาความเห็นแย้งและอนุญาตให้อุทธรณ์ หรืออัยการสูงสุด
(ผู้รับมอบหมาย)ลงชื่อรับรองว่ามีเหตุอันควรที่ศาลอุทธรณ์จะได้วินิจฉั
ย ก็ให้รับอุทธรณ์ไว้พิจารณา
วิธีพิจารณาความอาญาในศาลเยาวชนและครอบครัว
 มาตรา 4 “เด็ก”อายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 14 ปีบริบูรณ์
“เยาวชน”อายุเกิน 14 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์
 มาตรา 5 เด็กและเยาวชนกระทำาความผิดให้ถืออายุในวันกระทำาความผิด
 มาตรา 49 ห้ามจับกุมเด็ก เว้นแต่กระทำาผิดซึ่งหน้าหรือมีหมายจับ
 มาตรา 50 แจ้งการจับกุมให้บิดามารดาฯทราบโดยไม่ชักช้า
พนักงานสอบสวนต้องสอบเด็กหรือเยาวชนให้เสร็จภายใน 24
ชัว่ โมงแล้วส่งตัวไปยังสถานพินิจ
บิดามารดาฯร้องขอปล่อยตัวชั่วคราวต่อผู้อำานวยการสถานพินิจ
ให้ผู้อำานวยการฯสั่งโดยพลัน
หากเห็นไม่สมควรให้ส่งคำาร้องพร้อมความเห็นไปให้ศาล
คำาสั่งของศาลเป็นที่สดุ
วิธีพิจารณาความอาญาในศาลเยาวชนและครอบครัว(ต่อ)
 มาตรา 51 ให้อัยการยื่นฟ้องภายใน30วันนับแต่วันที่เด็ก(เยาวชน
)ถูกจับความผิดอัตราโทษจำาคุกเกินหกเดือน ไม่เกินห้าปี
มีโทษปรับหรือไม่หากจำาเป็นขอผัดฟ้องได้ครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน
แต่ไม่เกินสองครั้ง ความผิดอัตราโทษจำาคุกเกินห้าปี
มีโทษปรับหรือไม่ก็ตาม ขอผัดฟ้องต่อได้อีกไม่เกินสองครั้ง
กรณีพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบแห่งท้องที่นอกเขตศาล
ให้ขยายเวลาเป็นหกสิบวันหรือเก้าสิบวัน ตามลำาดับ
 มาตรา 53 ห้ามอัยการฟ้องคดีเมื่อพ้น ม.51
เว้นอัยการสูงสุดอนุญาต
 มาตรา 64 ห้ามผู้เสียหายฟ้อง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก
ผอ.สถานพินิจ
วิธีพิจารณาความอาญาในศาลเยาวชนและครอบครัว(ต่อ)
 มาตรา 77 การพิจารณาคดีไม่ต้องดำาเนินการโดยเคร่งครัด
 มาตรา 82 การพิจารณาและพิพากษา ให้ศาลคำานึงถึง
สวัสดิภาพและอนาคตของเด็กฯสงเคราะห์ให้กลับตัวเป็นพลเมืองดี
และลงโทษหรือเปลี่ยนโทษหรือใช้วิธกี ารสำาหรับเด็กเป็นคนๆไป
แม้กระทำาผิดร่วมกัน
 มาตรา 83 กรณีจำาเลยไม่มีที่ปรึกษากฎหมายให้ศาลตั้งให้
เว้นแต่จำาเลยไม่ต้องการและศาลเห็นว่าไม่จำาเป็นแก่คดี (ไม่นำา ป.วิ.อ.ม.
173 มาใช้)
 มาตรา 97 อ่านคำาพิพากษาให้ทำาเป็นการลับ
 มาตรา 100 กรณีศาลพิพากษาว่าจำาเลยไม่มีความผิดและปล่อยตัวไป
ศาลมีอำานาจกำาหนดเงื่อนไขเพือ่ คุมความประพฤติ ตาม (1)-(6)
การขอถอนคำาให้การเดิมที่ให้การรับสารภาพกับขอให้การใหม่เป็นปฏิเสธ
เป็นการแก้ไขคำาให้การตาม ป.วิ.อ. ม.๑๖๓ วรรคสอง
กำาหนดให้สทิ ธิจำาเลยที่จะยื่นคำาร้องขอแก้หรือเพิ่มเติมคำาให้การได้ก่อนศาล
พิพากษาเมื่อมีเหตุอันสมควร
ถึงแม้ว่าการอนุญาตหรือไม่นั้นเป็นดุลพินิจของศาลก็ตาม
แต่สำาหรับกรณีนี้จำาเลยได้คัดค้านข้อเท็จจริงตามรายงานการสืบเสาะและพิ
นิจของพนักงานคุมประพฤติซึ่งสรุปผลข้อเท็จจริงเป็นผลร้ายต่อจำาเลย
ถือว่าคดีมีเหตุอันสมควรที่จำาเลยจะขอแก้ไขเพิ่มเติมคำาให้การได้
ฎ.๕๒๓๙/๒๕๔๗
ศาลมีอำานาจเรียกสำานวนการสอบสวนจากพนักงานอัยการมาเพื่อประกอบ
คำาวินิจฉัยได้ตาม ป.วิ.อ.ม.๑๗๕
การดำาเนินการของศาลดังกล่าวมิใช่การพิจารณาหรือสืบพยานในศาล
จึงไม่ต้องทำาต่อหน้าจำาเลยตาม ป.วิ.อ.ม.๑๗๒ ว.๑
และเมื่อมิใช่การสืบพยาน จำาเลยที่ ๑ จึงไม่มีอำานาจถามค้านพยานตาม
ฎ.๒๐๘๕/๒๕๔๗ โจทก์ที่ ๑
ทราบกำาหนดนัดไต่สวนมูลฟ้องโดยชอบแล้วมีหน้าที่มาศาลตามกำาหนดนัด
แต่ในวันนัดฝ่ายโจทก์ที่ ๑
กลับไม่มีผู้ใดมาศาลโดยไม่แจ้งเหตุขัดข้องหรือขอเลื่อนคดี
ถึงแม้จะปรากฏว่าการส่งหมายนัดและสำาเนาคำาฟ้องให้จำาเลยที่ ๑ ที่ ๒
และที่ ๓ โดยวิธปี ิดหมายยังไม่มีผลใช้ได้ตามกฎหมายดังที่ฝ่ายโจทก์ที่ ๑
กล่าวอ้าง ก็หาทำาให้ฝ่ายโจทก์ที่ ๑
หมดหน้าที่ที่จะต้องมาศาลตามกำาหนดนัดไม่
ฎ.๗๑๗๘/๒๕๔๗ บทบัญญัติตาม ป.วิ.อ. ม. ๑๖๖ และ ๑๘๑
ได้กำาหนดหน้าที่ของโจทก์ว่าในวันนัดไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณาคดี
โจทก์จะต้องมาศาลตามนัด มิฉะนั้นให้ศาลยกฟ้องเสีย
เว้นแต่จะมีเหตุสมควรจึงจะให้เลื่อนคดีไป
บทบัญญัติดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ของกฎหมายที่จะเร่งรัดการ
ดำาเนินกระบวนพิจารณาให้เป็นไปโดยสะดวกและรวดเร็วมิให้มีการประวิง
ฎ.๗๗๐๑/๒๕๔๗ คดีนี้เป็นคดีอัตราโทษประหารชีวิต ซึง่ ป.วิ.อ.
ม.๑๗๓ ว.๑
บัญญัติว่าก่อนเริ่มพิจารณาให้ศาลถามจำาเลยว่ามีทนายความหรือไม่
ถ้าไม่มีก็ให้ศาลตั้งให้เป็นคนละกรณีกับวรรคสอง
ที่ศาลต้องสอบถามด้วยว่าจำาเลยต้องการทนายความหรือไม่
ทั้งนี้เพื่อให้ความคุ้มครองแก่จำาเลยในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต
เมื่อคดีนี้ศาลชั้นต้นเพียงแต่สอบถามจำาเลยเรื่องทนายความโดยไม่ตั้งทนายค
วามให้จำาเลย การพิจารณาของศาลชัน้ ต้นจึงเป็นการไม่ชอบ
ฎ.๑๑๖๔/๒๕๔๗ ป.วิ.อ. ม. ๒๓๒
บัญญัติห้ามมิให้โจทก์อ้างจำาเลยเป็นพยาน หมายถึงจำาเลยในคดีเดียวกัน แต่
น. มิได้เป็นจำาเลยร่วมกับจำาเลยในคดีนี้ กรณีจึงไม่ต้องห้ามตาม ป.วิ.อ.ม.
๒๓๒
ฎ.๖๗๔๔/๒๕๔๘ ป.วิ.อ. ม.๒๔๑
เป็นเพียงบทบัญญัติสำาหรับวิธีการสืบพยานวัตถุเท่านั้น
หาใช่บทบังคับให้สบื พยานวัตถุเสมอไปไม่
หากศาลเห็นว่าไม่จำาเป็นต้องตรวจดูพยานวัตถุ
ก็อาจใช้ดุลพินิจไม่ตรวจดูเสียได้
การที่โจทก์อ้างส่งสำาเนาภาพถ่ายธนบัตรที่ใช้ล่อซื้อ
ซึง่ มีความชัดเจนสามารถตรวจดูลักษณะและหมายเลขธนบัตรได้โดยง่าย
ทั้งจำาเลยก็มิได้โต้แย้งความไม่ถูกต้องของสำาเนาภาพถ่ายธนบัตรดังกล่าว
ศาลจึงรับฟังสำาเนาภาพถ่ายธนบัตรประกอบพยานบุคคล
และพยานเอกสารอื่นๆเป็นพยานหลักฐานในคดีได้
ฎ.๑๓๒๔/๒๕๔๖ บันทึกคำาให้การพยานชั้นสอบสวน
แม้จะเป็นพยานบอกเล่าก็รับฟังประกอบพยานหลักฐานอืน่ ได้
หาใช่ต้องห้ามรับฟังไม่
ฎ.๘๓๑๔/๒๕๔๙
ในคดีอาญาจำาเลยมีสทิ ธิที่จะให้การอย่างใดหรือไม่ให้การเลยก็ได้
เป็นหน้าที่ของโจทก์ต้องนำาสืบพยานก่อนให้เห็นว่าจำาเลยเป็นผู้กระทำาความ
ผิด จำาเลยไม่จำาเป็นต้องยกประเด็นข้อต่อสูไ้ ว้ในคำาให้การ
ก็มีสทิ ธิที่จะนำาสืบในประเด็นนั้นๆได้และมีอำานาจนำาพยานเข้าสืบเพื่อพิสูจ
น์ความบริสทุ ธิ์ของจำาเลยได้โดยไม่จำาต้องซักถามพยานโจทก์ในเรื่องที่จำาเล
ยจะนำาพยานหลักฐานเข้าสืบต่อไป
ฎ.๑๕๙๖/๒๕๔๙ เหตุเกิดรถชนกันผู้ตายมีสว่ นประมาทอยู่บ้าง
ผู้ตายจึงไม่ใช่ผู้เสียหายโดยนิตินัยในความผิดตาม ป.อ.มาตรา ๒๙๑ ตาม
ป.วิ.อ.มาตรา ๒ (๔)
โจทก์ร่วมซึง่ เป็นบุพการีผู้ตายย่อมไม่มีอำานาจจัดการแทนผู้ตายได้ตามมาตร
า ๕ (๒) โจทก์ร่วมจึงไม่มีอำานาจเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนัก
งานอัยการตามมาตรา ๓๐
โจทก์ร่วมย่อมไม่มีสทิ ธิอุทธรณ์ขอให้ลงโทษจำาเลยสถานหนักโดยไม่รอกา
ประพฤติตนวุ่นวายในทางสาธารณะหรือสาธารณสถาน
และโจทก์ได้ชำาระค่าปรับตามที่พนักงานสอบสวนได้เปรียบเทียบแล้ว
ทำาให้คดีอาญาที่โจทก์ถูกกล่าวหาเป็นอันเลิกกันตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๓๗
(๒) แต่เมื่อโจทก์กล่าวหาต่อจำาเลย
ในฐานะพนักงานสอบสวนว่าจ่าสิบตำารวจ ป. ทำาร้ายร่างกายโจทก์
ทำาให้โจทก์เสียหาย โดยมีเจตนาจะให้จ่าสิบตำารวจ ป.ได้รับโทษ
จึงเป็นคำาร้องทุกข์ตามมาตรา ๒ (๗)
และเป็นการกระทำาที่แยกต่างหากจากการกระทำาที่โจทก์ถูกกล่าวหาดังกล่า

จำาเลยในฐานะพนักงานสอบสวนมีหน้าที่ต้องรับคำาร้องทุกข์ของโจทก์ไว้เพื่
อดำาเนินการสอบสวนตามอำานาจหน้าที่ต่อไป
การที่จำาเลยไม่รับคำาร้องทุกข์ของโจทก์ในข้อหาทำาร้ายร่างกาย
อ้างเพียงว่าคดีเลิกกันแล้วโดยไม่มีกฎหมายให้อำานาจ
จึงเป็นการละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบทำาให้โจทก์ได้รับความเสียหายมีค
ขออวยพร
ให้นักศึกษาทุกท่านสอบผ่านทุกวิชา
และเมื่อเรียนจบแล้วขอให้เป็นนักกฎหมายทีด่ ี
นำาความถูกต้อง ชอบธรรม มาสู่สังคม

สวัสดี

You might also like