You are on page 1of 12

รายงานเชิงวิชาการ การอ่านและพิจารณาเรื่ อง สามัคคีเภทคาฉันท์

จัดทาโดย

นาย ศมพู อัสสเมทางกูร ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๔ เลขที่ ๑


นางสาว ณัฐวรรณ เอกอัครวิจิตร ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๔ เลขที่ ๕
นาย แทนไท ลาภาวิวฒั น์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๔ เลขที่ ๑๐
นางสาว กัญญาอร ฤทัยเจตน์เจริ ญ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๔ เลขที่ ๑๗
นางสาว สุ เมธา วงศ์พิภพมงคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕/๔ เลขที่ ๒๕

เสนอ
อ.พนมศักดิ์ มนู ญปรัชญาภรณ์

ภาคเรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๐


โรงเรี ยนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้โครงงานเป็ นฐาน (Project Based Learning)


รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕

คำนำ
รำยงำนเรื่องสำมัคคีเภทคำฉันท์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำภำษำไทย ชั้นมัธยมศึกษำปีที่๕ โดยมี
จุดประสงค์ เพื่อให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจถึงเนื้อหำของเรื่องสำมัคคีเภทคำฉันท์รวมไปถึงกำรวิเครำะห์เนื้อหำและวิธี
ในกำรแต่ง กำรใช้ภำษำ ตลอดจนคุณค่ำและประโยชน์ในวรรณคดีเพื่อกำรศึกษำต่อนักเรียนท่ำนอื่น หำกมี
ข้อแนะนำหรือข้อผิดพลำดประกำรใด คณะผู้จัดทำขอน้อมรับและขออภัยมำ ณ ที่นี้ด้วย

สำรบัญ

คำนำ ก
สำรบัญ ข
๑. กำรอ่ำนและพิจำรณำเนื้อหำและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 2 ๑
๑.๑ เนื้อเรื่อง หรือเนื้อเรื่องย่อ ๑
๑.๒ โครงเรื่อง ๒
๑.๓ ตัวละคร ๒
๑.๔ ฉำกท้องเรื่อง ๓
๑.๕ บทเจรจำหรือรำพึงรำพัน ๓
๑.๖ แก่นเรื่องหรือสำรัตถะของเรื่อง ๔
๒. กำรอ่ำนและพิจำรณำกำรใช้ภำษำในวรรณคดีและวรรณกรรม ประกอบด้วย ๔
๒.๑ กำรสรรคำ ๔
๒.๒ กำรเรียบเรียงคำ ๕
๒.๓ กำรใช้โวหำร ๖
๓. กำรอ่ำนและพิจำรณำประโยชน์หรือคุณค่ำในวรรณคดีและวรรณกรรม ๘
๓.๑ คุณค่ำด้ำนอำรมณ์ ๘
๓.๒ คุณค่ำด้ำนคุณธรรม ๘
๓.๓ คุณค่ำด้ำนสังคม ๘
๓.๔ คุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์ ๘
บรรณำนุกรม ค

๑. กำรอ่ำนและพิจำรณำเนื้อหำและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม ประกอบด้วย
๑.๑ เนื้อเรื่อง
เริ่มต้นเรื่องด้วยกำร กล่ำวถึงพระเจ้ำอชำตศัตรูแห่งแคว้นมคธ ที่มีจุดประสงค์จะขยำยอำณำจักรให้
กว้ำงขวำงไปที่แคว้นวัชชีของกษัตริย์ลิจฉวี แต่เกิดปัญหำขึ้น ด้วยว่ำชำวแคว้นวัชชีนั้นยึดควำมสำมัคคีเป็นหลัก
พระเจ้ำอชำตศัตรูจึงได้ปรึกษำวัสสกำรพรำหมณ์ผู้รอบรู้ศิลปะศำสตร์และมีสติปัญญำเฉียบคม วัสสกำรพรำหม์ จึง
ใช้อุบำยให้กำรตีแคว้นวัชชีโดยอำสำเป็นไส้ศึกเพื่อให้แตกควำมสำมัคคี พระเจ้ำอชำตศัตรูทรงเห็นชอบ วัสสกำรพ
รำหมณ์จึงเริ่มแผนกำรโดยกรำบทูลทัดทำนกำรไปตีแคว้นวัชชีชีพระเจ้ำอชำตศัตรูแสร้งกริ้ว ทรงสั่งให้ลงโทษวัส
สกำรพรำหมณ์อย่ำงหนัก แล้วเนรเทศไป วัสสกำรพรำหมณ์มุ่งหน้ำไปเมืองเวสำลีเพื่อขอรับรำชกำร ด้วยควำมเป็น
ผู้มีวำทศิลป์รู้จักใช้ เหตุผลโน้มน้ำว ทำให้เหล่ำกษัตริย์ลิจฉวีทรงหลงเชื่อ รับวัสสกำรพรำหมณ์ไว้ในรำชสำนัก ให้
ทำหน้ำที่พิจำรณำคดีและ ถวำยพระอักษรพระกุมำรโดยออกอุบำยให้พระกุมำร เมื่อทำหน้ำที่เต็มควำมสำมำรถ
เพื่อให้เป็นที่ไว้วำงพระทัยแล้ว วัสสกำรพรำหมณ์ก็ดำเนินกำร ตำมอุบำยขั้นต่อไป วัสสกำรพรำหมณ์เริ่มสร้ำงควำม
แคลงใจในหมู่พระกุมำรโดยออกอุบำยให้พระกุมำรเข้ำใจผิดว่ำพระกุมำรพระองค์อื่น นำปมด้อยหรือข้อบกพร่อง
ของตนไปเล่ำให้ผู้อื่นทรำบทำให้เสียชื่อ เหล่ำพระกุมำรนำควำมไปกรำบทูลพระบิดำ ต่ำงก็ ทรงเชื่อถือพระโอรส
ของพระองค์ทำให้เกิดควำมขุ่นเคืองกันทั่วไปในหมู่กษัตริย์ลิจฉวีเมื่อเวลำผ่ำนไป ๓ ปี สำมัคคีธรรมในหมู่เหล่ำ
กษัตริย์ลิจฉวีก็สูญสิ้นไป วัสสกำรพรำหมณ์ทดสอบด้วยกำรที่กลองนัดประชุม ก็ไม่ปรำกฏว่ำมี กษัตริย์ลิจฉวีเข้ำ
ร่วมประชุม วัสสกำรพรำหมณ์เห็นว่ำแผนกำรเป็นผลสำเร็จ จึงลอบส่งข่ำวไปกรำบทูลพระเจ้ำอชำต ศัตรูให้ทรงยก
ทัพมำตีแคว้นวัชชีชำวเมืองวัชชีต่ำงตื่นตระหนก เมื่อทรำบข่ำวศึก แต่เหล่ำกษัตริย์ลิจฉวีต่ำงถือทิฐิไม่มีผู้ใดคิด
วำงแผนป้องกันภัย ดังนั้นเมื่อกองทัพ ของแคว้นมคธมำถึงเมืองเวสำลีจึงยกทัพเข้ำเมืองได้ง่ำยดำยและผู้ที่เปิด
ประตูเมืองให้กองทัพมคธ ก็คือวัสสกำรพรำหมณ์นั่นเอง

๑.๒ โครงเรือ่ ง
กษัตริย์พระองค์หนึ่งต้องกำรจะขยำยพื้นที่อำณำจักรของตน จึงมีควำมคิดที่จะตีอีกแคว้นนึงที่เจริญและ
ใหญ่ เนื่องด้วยเมืองนั้นมีควำมสำมัคคีกันมำกจึงยำกที่จะใช้กำลังเข้ำยึดแคว้นนั้นได้ แต่พระองค์มีปุโรหิตผู้มีปัญญำ
เฉียบแหลมและรอบรู้ทำงด้วยศิลปศำสตร์ พรำหมณ์ผู้นั่นจึงอำสำไปเป็นไส้ศึกในแคว้นนั้นโดยไปขอรับรำชกำร
และเนื่องด้วยปุโรหิตผู้นั้นมีควำมสำมำรถมำกจึงได้รับรำชกำร หลังจำกปุโรหิตทำหน้ำที่เต็มควำมสำมำรถ ปุโรหิต
จึงเป็นที่ไว้วำงพระทัย พรำหมณ์ปุโรหิตเริ่มแผนกำรยุยงให้เหล่ำโอรสเข้ำใจผิดกัน หลังจำกนั้นพระโอรสจึงนำไป
กรำบทูลพระบิดำ นำมำซึ่งกำรแตกควำมสำมัคคีภำยในเหล่ำกษัตริย์ของแคว้นนั้น ทำให้ฝ่ำยปุโรหิตสำมำรถเข้ำ
โจมตีและครอบครองแคว้นนั้นได้ง่ำยดำย
๑.๓ ตัวละคร
๑.๓.๑ วัสสกำรพรำหมณ์
ปุโรหิตผู้มีควำมฉลำดหลักแหลมและได้ร่วมมือกับพระเจ้ำอชำตศัตรูเพื่อสร้ำงควำมแตกแยก
ภำยในเมืองวัชชีก่อให้เกิดควำมไม่ไว้วำงใจกันภำยในเมืองทำให้พระเจ้ำอชำตศัตรูเข้ำยึดแคว้นวัชชีไว้ได้ ดังเช่น

ลำดับนั้นวัสสกำรพรำหมณ์ ธ ก็ยุศิษยตำม
แต่งอุบำยงำม ฉงนงำ
ปวงโอรสลิจฉวีดำ ริณวิรุธก็สำ
คัญประดุจคำ ธ เสกสรร

๑.๓.๒ พระเจ้ำอชำตศัตรู
เจ้ำเมืองแคว้นมคธผู้ปรำดเปรื่องและเหี้ยมเกรียม พระองค์วำงแผนจะขยำยอำณำเขตของคนโดย
กำรส่งวัสสกำรพรำหมณ์เข้ำไปสร้ำงควำมแตกแยกในแคว้นวัชชีทำให้คนในเเมืองเกิดควำมไม่ไว้ใจและสำมัคคี
จำกนั้นจึงทำกำรเข้ำยึดแคว้นวัชชีของกษัตริย์ลิจฉวี ดังเช่น

เหี้ยมนั้นเพรำะผันแผก คณะแตกและต่ำงมำ
ถือทิฐิมำนสำ หสโทษพิโรธจอง
แยกพรรคสมรรคภิน ทนสิ้น บ ปรองดอง
ขำดญำณพิจำรณ์ตรอง ตริมลักประจักษ์เจือ

๑.๔ ฉำกท้องเรื่อง
เป็นกำรพรรณำถึงควำมงดงำมของเมืองกรุงรำชคฤห์อันเป็นนครหลวงของพระเจ้ำอำชำตศัตรูแห่งแคว้น
มคธ ควำมว่ำ
“ช่อฟ้ำตระกำรกละจะหยัน จะเยำะยั่วทิฆัมพร
บรำลีพิลำศุภจรูญ นพศูลประภัศร
หำงหงส์ผจงพิจิตระงอน ดุจะกวักนภำลัย”

รวมไปถึงกำรพรรณนำกระบวนทัพช้ำงและทัพม้ำตอนพระเจ้ำอชำตศัตรูกรีธำทัพอย่ำงน่ำเกรงขำม ควำม
ว่ำ

“ขุนคชขึ้นคชชินชำญ คุมพลคชสำร
ละตัวกำแหงแข็งขัน
เคยเศิกเข้ำศึกฮึกครัน เสียงเพรียกเรียกมัน
คำรณประดุจเดือดดำล”

๑.๕ บทเจรจำหรือรำพึงรำพัน
เป็นกำรแกล้งต่อว่ำของพระเจ้ำอชำตศัตรูที่วัสสกำรพรำหมณ์ท้วงติงเรื่องกำรออกศึก ซึ่งมี กำร
กระแทกกระทั้นแสดงถึงอำรมณ์โกรธ ควำมว่ำ

เอออุเหม่นะมึงชิช่ำงกระไร
ทุทำสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มำเป็น
ศึก บ ถึงและมึงก็ยังมิเห็น
จะน้อยจะมกจะยำกจะเย็น ประกำรใด
อวดฉลำดและคำดแถลงเพรำะใจ
ขยำดขยั้นมิทันอะไร ก็หมิ่นกู

๑.๖ แก่นเรื่องหรือสำรัตถะของเรื่อง
๑.๖.๑ กำรแตกควำมสำมัคคีของหมู่คณะก่อให้เกิดควำมหำยนะได้
○ เมื่อเหล่ำโอรสของกษัตริย์ลิจฉวีถูกยุแยงให้แตกกันโดยวัสสกำรพรำหมณ์ พระเจ้ำอชำตศัตรูจึง
อำศัยโอกำสนี้ในกำรบุกรุกแคว้นวัชชี
๑.๖.๒ กำรรู้จักใช้ปัญญำแก้ปัญหำเอำชนะศัตรูโดยไม่ใช้กำลัง
○ พระเจ้ำอชำตศัตรูไม่ได้ยกทัพเข้ำไปตีเมืองโดยตรง หำกแต่ส่งพระองค์ได้ส่งไส้ศึกเข้ำไปยุแยง
เหล่ำโอรสให้เกิดควำมแตกแยกจนขำดจนขำดควำมสำมัคคี ส่งผลให้พระเจ้ำอชำตศัตรูสำมำรถ
ยึดแคว้น
○ วัชชีได้อย่ำงไม่ยำกเย็น
๑.๖.๓ กำรเลือกบุคคลให้เหมำะสมกับหน้ำที่ที่จะมอบหมำย
○ พระเจ้ำอชำตศัตรูเลือกวัสสกำรพรำหมณ์ในกำรทำให้กษัตริย์แคว้นวัชชีแตกแยกเพรำะรู้ว่ำเข้ำ
เป็นคนฉลำดรอบรู้และมีวำทศิลป์อันคมคำย
๑.๖.๔ กำรถือตนเป็นใหญ่และถือตนเหนือคนอื่นไม่เห็นแก่ส่วนรวม ย่อมนำไปสู่ควำมหำยนะ
○ เหล่ำกษัตริย์ต่ำงโกรธเคืองในสิ่งที่วัสสกำรพรำหมณ์ยุแยงโดยไม่คำนึงถึงสิ่งที่จะตำมมำต่อเมือง
ของตน
๑.๖.๕ กำรคิดก่อนทำก่อให้เกิดควำมรอบคอบและนำไปสู่ควำมสำเร็จ
○ พระเจ้ำอำชำตศัตรูมีกำรคิดวำงแผนล่วงหน้ำอย่ำงแยบยลเพื่อทำให้เป้ำหมำยที่ตนคิดไว้สำเร็จ
ลุล่วงตำมต้องกำร

๒. กำรอ่ำนและพิจำรณำกำรใช้ภำษำในวรรณคดีและวรรณกรรม
๒.๑ กำรสรรคำ
กวีจะเลือกใช้คำให้ถูกต้องและเหมำะสมกับเนื้อเรื่องและสอดคล้องกับลักษณะคำประพันธ์ เลือกคำที่มี
เสียงไพเรำะ อีกทั้งเลือกคำที่มีสำมำรถเข้ำใจง่ำย
๒.๑.๑ เสียงสัมผัส
ผู้แต่งได้เลือกคำเพื่อสร้ำงเสียงสัมผัส ทั้งเสียงพยัญชนะและเสียงสระ ทำให้บทร้อยกรองมีเสียงที่ไพเรำะมำกขึ้น
ดังเช่น

แตกร้ำวกร้ำวร้ำยก็ป้ำยปำม ลุวระบิตระลำม
ทีละน้อยตำม ณเหตุผล
ที่เชื่อฟังพจน์อุรสตน นฤวิเครำะหะเสำะสน
สืบจะหมองมล เพรำะหมำยใด

๒.๑.๒ สัมผัสเสียงพยัญชนะ
กวีได้มีกำรเล่นเสียงพยัญชนะ “คะเนกลขคะนึงกำร” “ระวังเหือด-ระแวงหำย”
ดังเช่น

ทิชงค์ชำติ์ฉลำดยล คเนกลคนึงกำร
กษัตริย์ลิจฉวีวำร ระวังเหือดระแวงหำย
๒.๑.๓ สัมผัสสระ
กวีได้มีกำรเล่นเสียงสระเพื่อทำให้ไพเรำะมำกขึ้น ดังเช่น

ล่วงลุประมำณ กำลอนุกรม
หนึ่ง ณ นิยม ท่ำนทวิชงค์
๒.๑.๔ กำรเล่นเสียงหนักเบำ
ผู้แต่งกำพย์สุรำงคนำงค์๒๘ นำยชิต บุรทัต ได้เพิ่มลักษณะบังคับ ใช้คำครุแต่งสลับกับคำลหุทำให้มีเสียง สั้นยำว
เป็นจังหวะคล้ำยฉันท์ตัวอย่ำง เช่น

สะพรึบสะพรั่ง ณ หน้ำและหลัง
ณ ซ้ำยและขวำ ละหมู่ละหมวด
ก็ตรวจก็ตรำ ประมวลกะมำ
สิมำกประมำณ

๒.๒ กำรเรียบเรียงคำ
ในเนื้อเรื่อง ผู้แต่งได้มีกำรจัดวำงคำที่เลือกสรรแล้วให้มำเรียงร้อยกัน มีกำรใช้คำศัพท์ง่ำยๆ ทำให้ผู้อ่ำนเข้ำใจได้ไม่
ยำกนัก ดังเช่น

รำชำลิจฉวี ไป่มีสักองค์
ที่ทรงจำนง เพื่อจักเสด็จไป
ต่ำงองค์ดำรัส เรียกนัดทำไม
ใครเปนใหญ่ใคร กล้ำหำญเห็นดี

ฃเชิญเทอญท่ำนต้อง ขัดข้องข้อไหน
ปฤกษำปรำไส ตำมเรี่องตำมที
แต่ส่วนเรำใช่ เปนใหญ่แลมี
ใจอย่ำงผู้ภี รุกห่อนอำจหำญ

เมื่อได้คำที่เลือกสรรแล้ว ผู้แต่งก็ได้เอำคำที่สรรมำเรียบเรียงให้มีควำมไพเรำะและเหมำะสม โดยผู้แต่งได้
เรียบเรียงให้ได้ตำมฉันทลักษณ์
๑.จัดลำดับควำมสำคัญโดยเรียงข้อควำมที่บรรจุสำรสำคัญไว้ท้ำยสุด
๒.เรียงประโยค คำ และวลีที่มีควำมสำคัญเท่ำๆกัน ขนำนกันไป
๓.เรียบเรียงประโยคให้เนื้อหำเข้มข้นขึ้นไปตำมล ำดับดุจขั้นบันไดจนถึงขั้นสุดท้ำยที่ สำคัญที่สุด
๔.เรียบเรียงประโยคให้เนื้อหำเข้มข้นขึ้นไปตำมล ำดับแต่คลำยควำมเข้มข้นลงในช่วง หรือประโยคสุดท้ำย
อย่ำงฉับพลัน
๕.เรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นประโยคคำถำมเชิงวำทศิลป์

๒.๓ กำรใช้โวหำร(โวหำรภำพพจน์ ภำษำไทย)


กำรใช้โวหำรภำพพจน์คือกำรที่กวีเลือกใช้ถ้อยคำที่เรียบเรียงโดยใช้โวหำรแต่ไม่ได้กว่ำวอย่ำงตรงไปตรงมำ เพรำะ
ต้องกำรให้ผู้อ่ำนได้เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเรื่องและคิดตำมไปอย่ำงลึกซึ้ง

๒.๓.๑.เปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง กำรเปรียบเทียบแบบนี้จะมีคำเหล่ำนี้ปรำกฏอยู่
คือ ประดุจ ดั่ง เฉก เช่น เพียง เป็นต้น โวหำรชนิดนี้เรียกว่ำอุปมำอุปไมย
“เมตตำทยำลุศุภกรรม อุปถัมภกำรุณย์
สรรเสริญเจริญพระคุณสุน ทรพูนพิบูลงำม
เปรียบปำนมหรรณพนที ทะนุที่ประทังควำม
ร้อนกำยกระหำยอุทกยำม นรหำกประสบเห็น
เอิบอิ่มกระหยิ่มหทยครำว ระอุผ่ำวก็ผ่อนเย็น
ยังอุณหมุญจนะและเป็น สุขปีติดีใจ

จำกบทร้อยกรองข้ำงต้น วัสสกำรพรำหมณ์ได้เปรียบน้ำพระรำชหฤทัยของกษัตริย์ลิจฉวี โดยได้มีกำรใช้กำร


เปรียบเทียบแบบอุปมำ อุปไมยในวรรคที่ว่ำ “เปรียบปำนมหรรณพนที” ได้มีกำรเปรียบเทียบควำมเมตตำของ
พระองค์กับมหำสมุทรอันกว้ำงใหญ่
๒.๓.๒ กำรเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง ส่วนมำกของโวหำรนี้จะมีคำว่ำ “เป็น” และ “คือ”
อยู่ด้วย เป็นกำรเปรียบเทียบแต่ไม่มีคำแสดงกำรเปรียบเปรยแบบอุปมำหรือโวหำรอุปลักษณ์

กุมำรลิจฉวีขัตติย์ ก็รับอรรถอออือ
กสิกเขำกระทำคือ ประดุจคำพระอำจำรย์
ก็เท่ำนั้นธเชิญให้ นิวัตในมิช้ำนำน
ประสิทธิ์ศิลป์ประศำสน์สำร สมัยเลิกลุเวลำ

จำกบทร้อยกรองข้ำงต้นสำมำรถแปลควำมได้ว่ำพระกุมำรลิจฉวีมีรับสั่งเห็นด้วย ว่ำชำวนำคงจะกระทำ
ตำมคำของพระอำจำรย์โดยมีกำรใช้คำว่ำ “คือ” ซึ่งเป็นโวหำรอุปลักษณ์ในร้อยกรองบทนี้

๒.๓.๓ กำรสมมติสิ่งต่ำงๆให้มีกิริยำ อำกำร มีควำมรู้สึกเหมือนมนุษย์ หรือบุคคลสมมุติ ใน


โบรำณจะถูกเรียกว่ำบุคลำธิษฐำน กวีใช้โวหำรภำพพจน์ประเภทนี้เพื่อทำให้ผู้อ่ำนเกิดอรรถรสในกำรอ่ำน
มำกยิ่งขึ้น

“ตื่นตำหน้ำเผือด หมดเลือดสั่นกำย
หลบลี้หนีตำย วุ่นหวั่นพรั่นใจ
ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกภัย
เข้ำดงพงไพร ทิ้งย่ำนบ้ำต”

จำกบทร้อยกรองข้ำงต้นสำมรถตีควำมได้ว่ำ ผู้คนต่ำงมีหน้ำตำที่แตกตื่น หน้ำซีดเผือด ตัวสั่นเทิ้มด้วย


ควำมหวำดกลัว ต่ำงพำกันหนีควำมตำยกันจ้ำละหวั่น พำกันทิ้งบ้ำนเรือนและซ่อนตัวในป่ำและอพยพหนีภัยไป

๒.๓.๔ กำรกล่ำวผิดไปจำกที่เป็นจริง คือ กำรเปรียบเทียบข้อควำมที่กล่ำวเกินจริง โดยมมี


วัตถุประสงค์เพื่อให้สิ่งที่กำลังกล่ำวอยู่มีน้ำหนักมำกขึ้นหรือทำให้น่ำเชื่อถือมำกขึ้น กำรกล่ำวเกินจริง
ประเภทนี้เรียกว่ำ อติพจน์ ส่วนกล่ำงน้อยเกินจริง เรียกว่ำ อวพจน์

“ช่อฟ้ำตระกำรกละจะหยัน จะเยำะยั่วทิฆัมพร
บรำลีพิลำศุภจรูญ นพศูลประภัศร
หำงหงส์ผจงพิจิตระงอน ดุจะกวักนภำลัย”

จำกบทร้อยหรองข้ำงต้นได้มีกำรกล่ำวเกินจริง “ช่อฟ้ำตระกำรกละจะหยัน จะเยำะยั่วทิฆัมพร” สำมำรถ


แปลควำมได้ว่ำ ช่อฟ้ำนั้นงดงำมมำกรำวกับจะเย้ยท้องฟ้ำ ซึ่งถือเป็นกำรกล่ำวเกินจริงเพื่อให้ผู้อ่ำนได้มีอำรมณ์ร่วม
ไปกับเนื้อเรื่องมำกขึ้นอย่ำงลึกซึ้ง

๒.๓.๕ กำรใช้ชื่อส่วนประกอบที่เด่นของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งนั้นๆทั้งหมด หรือ นำมนัย


นำมนัย คือ กำรแสดงควำมหมำยของสิ่งหนึ่งด้วยลักษณะเด่นของสิ่งนั้น โดยส่วนประกอบเหล่ำนั้นมีจะ
ควำมสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน หรือกำรใช้คำหรือวลีที่แสดงลักษณะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งมำแสดงควำมหมำยของสิ่งนั้น

“แม้มำกผิกิ่งไม้ ผิวใครจะใคร่ลอง
มัดกำกระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน
เหล่ำไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมู่ตน

กิจใดจะขวำยขวน บ มิพร้อมมิเพรียงกัน”

ในประโยค “แม้มำกผิกิ่งไม้ ผิวใครจะใคร่ลอง มัดกำกระนั้นปอง พลหักก็เต็มทน” ผู้แต่งได้มองเห็นถึง


ลักษณะเด่นของกำรกิ่งไม้ซึ่งอยู่เป็นกำ หำกอยู่เป็นกำจะแตกหักได้ยำก ซึ่งโดยธรรมชำติกิ่งไม้กิ่งเดียวนั้นเปรำะบำง
แตกหักได้ง่ำย ในทำงกลับกันถ้ำกิ่งไม้เหล่ำนั้นถูกมัดรวมกันเป็นกำก็จะหักได้ยำก เขำจึงใช้กิ่งไม้เพื่อเป็นสิ่งแทน
ควำมสำมัคคีของหมู่คณะ และในนำมนัยนี้สำมำรถแปลควำมได้ว่ำ เมื่อผู้ร่วมมือกันจะก่อเป็นควำมสำมัคคีที่
ยิ่งใหญ่เสียจนสิ่งเร้ำภำยนอกก็ไม่สำมำรถทำลำยควำมสำมัคคีนี้ลงได้

๓. กำรอ่ำนและพิจำรณำประโยชน์หรือคุณค่ำในวรรณคดีและวรรณกรรณ
๓.๑ คุณค่ำด้ำนอำรมณ์
ผู้แต่งได้สรรสร้ำงอำรมณ์ในคำประพันธ์ เพื่อทำให้ผู้อ่ำนเกิดอำรมณ์ร่วมและคล้อยตำมไปกับเนื้อเรื่องด้วย
๓.๒ คุณค่ำด้ำนคุณธรรม
จำกวรรณคดี ผู้แต่งได้สอนถึงควำมเสียสละและควำมสำมัคคี ควำมเสียสละของวัสสกำรพรำหมณ์ในกำรไปเป็นไส้
ศึกในเมืองลิจฉวี เพื่อช่วยพระเจ้ำอชำตศัตรูในกำรขยำยอำณำเขต และควำมสำมัคคี หำกไร้ซึ่งควำมสำมัคคคีก็จะ
ทำให้แคว้นอ่อนแอและถูกรุกรำนได้ง่ำย
๓.๓ คุณค่ำด้ำนสังคม
สะท้อนถึงระบบสำมัคคีธรรม ตำมหลักอปริหำนิยธรรม ๗ ซึ่งเป็นหลักธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งควำมเสื่อม ได้แก่
๓.๓.๑ หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ - กำรประชุมและปรึกษำหำรือกันเพื่อมองหำจุดบกพร่องและ
ร่วมกันแก้ไข
๓.๓.๒ พร้อมเพียงกันประชุม พร้อมเพียงกันเลิกประชุม พร้อมเพรียงกันทำกิจที่พึงทำ
๓.๓.๓ ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติเอำไว้ ไม่ล้มล้ำงสิ่งที่บัญญติไว้ ถือปฏิบัติมั่นตำมวัชชีธรรม
๓.๓.๔ เคำรพนับถือผู้ใหญ่
๓.๓.๕ กุลสตรีอย่ำอยู่อย่ำงถูกข่มเหง / ไม่ข่มเหงกุลสตรี
๓.๓.๖ เคำรพ สักกำระ บูชำเจดีย์/อนุสำวรีย์ประจำชำติ
๓.๓.๗ ให้กำรอำรักขำ คุ้มครอง อันชอบธรรมแก่พระอรหันต์
๓.๔ คุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์
๓.๔.๑ กำรเลือกสรรคำ - ใช้ภำษำที่เข้ำใจง่ำยซึ่งสำมำรถเข้ำใจได้อย่ำงชัดเจน
๓.๔.๒ กำรเลือกสรรค์กำรใช้โวหำร – ผู้เเต่งใช้โวหำรได้อย่ำงหลำยหลำยอย่ำงไพเรำะเเละ
นำมำใช้สลับกันตำมควำมเหมำะสมของเนื้อเรื่องได้อย่ำงลงตัว

บรรณำนุกรม

๑. ข้อมูลโดย ครูเมทินี (21 กรกฎำคม 2012)จำกเว็บไซต์


https://krumaytinee.wordpress.com/2012/07/31/โวหำรภำพพจน์/

๒. ข้อมูลเพิ่มเติมจำกวำระสุดท้ำยของพระพุทธเจ้ำ, สำนักพิมพ์มติชน ท่ำนอำจำรย์เสฐียรพงษ์ วรรณปก รำช


บัณฑิต จำกเว็บไซต์ https://www.phuttha.com/พระพุทธเจ้ำ/ปรินิพพำน/หลักอปริหำนิยธรรม-หรือ-
ลิจฉวีอปริหำนิยธรรม

๓. ข้อมูลโดย ครูแป๊ว กัลยำณี ถนอมแก้ว จำกเว็บไซต์ https://www.gotoknow.org/posts/336724

๔. ข้อมูลโดย ครูแป๊ว กัลยำณี ถนอมแก้ว จำกเว็บไซต์ https://www.gotoknow.org/posts/329686

๕. นำยสมมำตร์ มีศิลป์ วรรณคดีวิจักษ์ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๖. สกสค. ลำดพร้ำว : องค์กำรค้ำของ สกสค.


๑๖๙ หน้ำ

You might also like