You are on page 1of 13

พระราชนิพนธ์เรือ

่ งไกลบ้าน
ม. 6/8 เลขที่ 15,19,20,23

เนื้อหาโดยย่อ
ไ ก ล บ้ า น
เป็ นพระราชนิพนธ์ลายพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้
า อ ยู่ หั ว เ ป็ น ว ร ร ณ ค ดี ร้ อ ย แ ก้ ว ป ร ะ เ ภ ท จ ด ห ม า ย จ า น ว น 43 ฉ บั บ
แ ต่ ล ะ ฉ บั บ จ ะ ร ว ม พ ร ะ ร า ช บั น ทึ ก ร า ย วั น ห ล า ย ฉ บั บ เ ช่ น
พ ร ะ ร า ช หั ต ถ เ ล ข า ฉ บั บ ที่ 1 ร ว ม พ ร ะ ร า ช บั น ทึ ก 8
คื น เป็ นต้ น รวมเป็ นพระราชบัน ทึ ก 225 คื น ในพระราชหัต ถเลขา
เ มื่ อ ค รั้ ง เ ส ด็ จ ป ร ะ พ า ส ยุ โ ร ป ค รั้ ง ที่ 2 เ มื่ อ ปี พ . ศ .
2450 พระราชทานแก่ ส มเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ เจ้ า ฟ้ านิ ภ าน ภดล
กรมขุนอูท ่ องเขตขัตติยนารี ผูซ ้ ึ่งสนองพระเดชพระคุณสมเด็จพระบรมชนกน
า ถ ใ น ต า แ ห น่ ง ร า ช เ ล ข า นุ ก า ริ ณี ร ว ม จ า น ว น 43 ฉ บั บ
เ ส ด็ จ ป ร ะ พ า ส ยุ โ ร ป เ ป็ น ร ะ ย ะ เ ว ล า 225 วั น
ทรงพระราชนิพนธ์เกีย่ วกับพระราชภารกิจแต่ละวันนับตัง้ แต่เสด็จลง เรือพระ
ที่ นั่ ง ม ห า จั ก รี อ อ ก จ า ก ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ผ่ า น ป ร ะ เ ท ศ ต่ า ง ๆ
โ ด ย ท า ง เ รื อ แ ล ะ ร ถ ไ ฟ ผ่ า น ป ร ะ เ ท ศ ต่ า ง ๆ ไ ด้ แ ก่ ป ร ะ เ ท ศ ม า เ ล เ ซี ย
สิ ง ค โ ป ร์ ลั ง ก า อิ ต า ลี ส วิ ต เ ซ อ ร์ แ ล น ด์ เ ย อ ร ม นี ฝ รั่ ง เ ศ ส อั ง ก ฤ ษ
เบลเยีย่ ม ฮอลันดา เดนมาร์ก และนอร์เวย์
แนวทางเป็ นเล่าทานองการบันทึกจดหมายเหตุ หรือรายงานประจาวัน
อี ก ทั้ ง มี เ ก ร็ ด ค ว า ม รู ้ เ รื่ อ ง ร า ว ต่ า ง ๆ
พร้อมทัง้ เสนอแนวพระราชดาริและพระราชวินิจฉัยส่วนพระองค์ตอ ่ เหตุการณ์
ต่า ง ๆ เฉพาะส่วนที่เ กี่ย วข้อ งระหว่างเสด็ จประพาส สะท้อ นให้เห็ นทัศนคติ
สภาพบ้ า นเมื อ ง สัง คม ชี วิ ต ความเป็ นอยู่ ข องบุ ค คลในแต่ ล ะประเทศ
โ ด ย เ ฉ พ า ะ ทั ศ นี ย ภ า พ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ภู มิ อ า ก า ศ ธ ร ร ม ช า ติ
ต ล อ ด จ น ค ว า ม เ จ ริ ญ ท า ง วิ ท ย า ก า ร ข อ ง น า น า อ า ร ย ป ร ะ เ ท ศ
ซึง่ จุดเด่นของหนังสือไกลบ้านจึงอยูท ่ พ
ี่ ระราชดาริและพระราชวิจารณ์ ตอ ่ สิ่งต่า
ง ๆ
ในระหว่างเสด็จประพาสยุโรป ซึ่งโดยมากจะทรงเปรียบโยงกับสิง่ ทีม ่ ีอยูใ่ นเมื
องไทย

เ ส้ น ท า ง ก า ร เ ส ด็ จ ป ร ะ พ า ส ยุ โ ร ป ค รั้ ง ที่ 2
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห
่ วั

เนื้อหาทีเ่ ลือกมานาเสนอ
พ ร ะ ร า ช หั ต ถ เ ล ข า ฉ บั บ ที่ 1-7 ตั้ ง แ ต่ คื น ที่ 1 – 30
ซึ่ ง ในช่ ว งของการเดิ น ทางนั้น รัช กาลที่ 5 ได้ เ สด็ จ จาก กรุ ง เทพ ไปถึ ง
เนปอล(เนเปิ ลส์) โดยส่วนใหญ่ได้ทรงประทับอยูบ ่ นเรือ
เนื้อหาโดยสรุป
พระราชหัตถเลขาฉบับที่ 1
คืน 1 : เรือมหาจักรี – ปากน้า
เ ป็ น ช่ ว ง เ ว ล า ที่ ท่ า น เ ส ด็ จ ล ง เ รื อ ม ห า จั ก รี ณ ต า ห นั ก แ พ
โดยมีข้าราชการสยาม ฝรั่งมาส่งมากมาย รวมถึงพระราชินีนาถทีเ่ สด็จมาส่ง
และได้เดินทางถึงปากน้าตอนช่วงเย็น และมีเลี้ยงช่วงกลางวัน-เย็น

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห
่ วั เสด็จลงเรือพระทีน
่ ่ งั มหาจักรี
สมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ กลับจากส่งเสด็จในเรือพระทีน
่ ่ งั มหาจักรี

คืน 2 : เรือมหาจักรี – อ่าวไทย


เ ป็ น ช่ ว ง เ ว ล า ที่ ท่ า น เ ส ด็ จ อ อ ก จ า ก ป า ก น้ า ต อ น ช่ ว ง เ ช้ า
ซึ่ ง ในวัน นี้ อ ยู่ บ นเรื อ ทั้ง วัน ซึ่ ง ไม่ มี อ ะไรมากมายนอกจากบรรยายถึ ง ปลา
และวิวชมสวยงาน รวมถึงจดหมายของโอรสของท่านทีส ่ ง่ มาจากเมืองนอก

คืน 3 : เรือมหาจักรี - อ่าวไทย


เป็ นวันที่ร. 5 ทรงนิ พ นธ์ ล้อ ข้า ราชบริพ ารต่างๆ และเป็ นวันที่ล มสงบ
ไม่มีเหตุอน ้
ั ใดน่ าสนใจเกิดขึน
คืน 4 : เรือมหาจักรี - อ่าวไทย
เ ป็ น วั น ที่ ไ ด้ เ ดิ น ท า ง ใ ก ล้ ถึ ง สิ ง ค โ ป ร์
โดยมี ก ารทดลองการส่ ง สัญ ญาณ(ซิ ก แนล) แทนการยิ ง สลุ ต หรื อ ยกธง
ซึง่ ท่านได้รว่ มนิพนธ์นิราศกับข้าราชบริพาร
คืน 5 : เรือมหาจักรี - สิงคโปร์
ร. 5 ประพาส สิง คโปร์ ห ลายที่โ ดยได้เ ปรี ย บเที ย บสิ่ ง ต่า งๆกับ สยาม
ทั้ง โบตานิ ค ลั การ์ เ ดน (botanical garden) หรื อ แรฟั ล โฮเต็ ล (Raffles
Hotel)
คืน 6 : เรือมหาจักรี - สิงคโปร์
ประพาสยะโฮร์ ที่ฝังศพสุ ลต่านอะบู อ ะกา และสิงคโปร์ ห้างโรบิน ซัน
โดยได้พบเซอยอนแอนเดอสัน (Sir John Anderson) และมีการเลี้ยงปี ใหม่

รูปเรือซักซัน ซึง่ เสด็จจากสิงคโปร์ไปยุโรป

คืน 7 : เรือมหาจักรี - สิงคโปร์- ท่าบอร์เนียวกัมปานีฮอฟ


เป็ นวัน สุ ด ท้ า ยที่ พ ก
ั บนเรื อ มหาจัก รี ทรงบ่ น ถึ ง ก าหนดการต่ า งๆ
ต่ อ เ นื่ อ ง ไ ป แ ล ะ ไ ด้ เ ส ด็ จ ดู เ รื อ ซั ก ซั น เ พื่ อ เ ป็ น เ รื อ ใ ช้ ต่ อ
ต่ อ ม า ไ ด้ ไ ป ค อ เ ว อ น เ ม น เ ฮ้ า ส์ (Government House)
เพือ
่ ไปเสวยพระกายาหารเย็น
พระราชหัตถเลขาฉบับที่ 2
คืน 8 : เรือซักซัน
โ ด ย เ ส ด็ จ ป ร ะ พ า ส ห้ า ง โ ร บิ น ซั น
เ มื่ อ ล ง เ รื อ แ ล้ ว ท ร ง พ ร ร ณ า เ รื อ ซั ก ซั น แ ล ะ ก า ร เ ดิ น ท า ง ไ ป ปี นั ง
และตรัสถึงความเหนื่อยล้า คิดถึงบ้าน
เสด็จลงเรือซักซัน

คืน 9 : เรือซักซัน
ทรงบ่น ถึง สิ่ง อย่า งที่อ ยู่บ นเรื อ และพู ด ถึง โปสการ์ ด ที่ท รงส่ง ให้ โ อรส
โดยวันนัน
้ เสด็จถึงปี นังช่วงค่า
คืน 10 : บ้านจักรพงษ์ – เมืองปี นัง
มี ข้ า ร า ช บ ริ พ า ร ต่ า ง ๆ จ า ก เ มื อ ง ข อ ง ส ย า ม นั้ น ม า ต้ อ น รั บ
และทรงประพาสอยูเ่ มืองปี นังอยูท ่ ง้ ั วัน และตอนเย็นจึงเสด็จลงเรือ

พระราชหัตถเลขาฉบับที่ 3
คืน 11 : เรือซักซัน - อ่าวเบงกอล
ร . 5 ป ร ะ ส ง ค์ น้ า อ บ แ ล ะ ห ม า ก ซึ่ ง วั น นั้ น มี ว ง ด น ต รี เ ล่ น อ ยู่
ซึง่ อยูร่ ะหว่างการเดินทางไปโคลอมโป
คืน 12 : เรือซักซัน
ท่านอยูบ
่ นเรืออย่างเดียว พรรณนาถึงเหตุการณ์ ตา่ งๆ
คืน 13 : เรือซักซัน - เมืองโคลอมโบ
โดยเสด็ จ ประพาสห้ า งต่ า งๆ และได้ ป ระพาสพบกับ คอเวอนเมน
และตรัสถึงเครือ
่ งเทศ
คืน 14 : เรือซักซัน - เมืองโคลอมโบ
ทรงบ่นถึงสิง่ อย่างทีอ
่ ยูบ
่ นเรือ และซื้ออัญมณี ให้กลับกรุงเทพส่งให้โอรส
ธิดา มีฝนตกทีเ่ รียกว่า ดัสต์สตรอม

พระราชหัตเลขาฉบับที่ 4
คืน 15 : เรือซักซัน
เ รื อ แ ค ล ง
และท่านสุมงั คละและท่านสุภูตเิ อาหนังสือมาให้ดแ
ู ละแต่งคาถาทานองถวายพร

พระสงฆ์ลงั กามาเฝ้ าในเรือซักซัน และนายเรือซักซัน


คืน 16 : เรือซักซัน
ทรงนึกถึงสงกรานต์ มีการกาหนดจะสรงน้าพระพุทธรูปแลพระบรมอัษฐิ
คืน 17 : เรือซักซัน
พ ร ะ ร า ข ท า น น า ฬิ ก า ท อ ง แ ล ะ น า ฬิ ก า เ งิ น แ ก่ ส จ๊ ว ด
มีการแข่งการละเล่นต่างๆ จากเซกันต์คลาส
คืน 18 : เรือซักซัน
มีการละเล่นอีก และมีการคุยกันตอนกลางคืน
คืน 19 : เรือซักซัน
อากาศเปลีย่ นแปลง และนอนอ่านหนังสือจนหลับไป

เสด็จประทับในเรือซักซัน
คืน 20 : เรือซักซัน
้ จุลศักราช 1269 ปี มะแม
เป็ นวันเถลิงศกขึน

พระราชหัตถเลขาฉบับที่ 5
คืน 21 : เรือซักซัน - เอเดน
ประพาสเอเดน ที่ปัจ จุ บ น
ั เป็ นเยเมน โดยได้ท รงบ่น ถึง ผู้ค นในเมื อ ง
และความอนารยของเมือง
คืน 22 : เรือซักซัน - ทะเลน้าตา
ล่องเรือผ่านทะเลน้าตา และพรรณนาถึงโขดหินต่างๆ
คืน 23 : เรือซักซัน
ทรงนิพนธ์นิราศรัตนะ
คืน 24 : เรือซักซัน
ทรงอ่านหนังสือ เกี่ยวกับ เนเปิ ล และทรงราลึกถึงการประพาสครัง้ ก่อ น
และลองเสวยมะกะโรนี
คืน 25 : เรือซักซัน
พระองค์ทรงพระประชวร ในอาการไข้เล็กน้อย

พระราชหัตถเลขาฉบับที่ 6
คืน 26 : เรือซักซัน - สุเอซ
ล่องไปในคลองสุเอส ผ่านเมือง อิสไมเรีย ซึง่ อยูค
่ รึง่ ทางมาแล้ว โดยเมือ

5 โมง ได้ผา่ นคลองและจอดพักที่ ปอตเสด
คืน 27 : เรือซักซัน
ร. 5 ทรงซื้อหมวกพระราชทานแก่ขน
ุ นางและโอรส เมือ
่ แวะเมืองเตอรก
คืน 28 : เรือซักซัน
ท ร ง บ่ น ถึ ง ถ้ ว ย ญี่ ปุ่ น เ พ ร า ะ อ า ก า ศ เ ย็ น เ กิ น ไ ป เ ส ว ย ซุ ป ไ ม่ ไ ด้
ซึง่ อากาศเย็นมาก
คืน 29 : เรือซักซัน - ซิซิลี
ท ร ง ไ ป ตั ด ผ ม ใ น เ รื อ แ ล ะ ใ ห้ ช่ า ง โ ก น ห น ว ด
โดยได้เสด็จผ่านเมืองเมสซินาในอิตาลี และเห็นเมาน์เอตนา
คืน 30 : บ้านจักรพงษ์ – เมืองปี นัง
เ รื อ ถึ ง อ่ า ว เ น ป อ ล ต อ น เ ช้ า แ ล ะ เ ส ด็ จ ป ร ะ พ า ส เ น ป อ บ
เยีย่ มชมแอคแควเรียม และไปวันซันต์มาติโน
อ่าวเนเปอล ทรงถ่ายจากเรือซักซัน

วิพากษ์ วิจารณ์
พระองค์ ท่ า นทรงบัน ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ทุ ก อย่ า งที่ พ บเห็ น อย่ า งถี่ ถ้ ว น
น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ท ร ง ส อ ด แ ท ร ก ท ร ร ศ น ะ ส่ ว น พ ร ะ อ ง ค์
ท าให้ ไ ด้ ค วามรู ้เ ชิ ง วิ ช าการหลายแขนงจากการอ่ า นพระราชหัต ถเลขา
ทั้ ง นี้ พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง พ ร ร ณ น า เ ป็ น ภ า ษ า เ ขี ย น ที่ ชั ด เ จ น ส ล ะ ส ล ว ย
แ ต่ เ ป็ น ภ า ษ า ที่ เ ก่ า แ ล ะ อ่ า น ย า ก
ซึ่ ง ปั จ จุ บั น นั้ น เ ป็ น ภ า ษ า ที่ ไ ด้ ถู ก ดั ด แ ป ล ง ไ ป ม า ก แ ล้ ว นั้ น
หากผูใ้ ดทีไ่ ม่เคยอ่านภาษาเช่นนี้มาก่อนจะไม่สามารถเข้าใจได้
ในแง่ข องกลวิ ธี ก ารประพัน ธ์ พระองค์ น าเสนอข้อ มู ล อย่ า งละเอี ย ด
มี ก า ร อ้ า ง อิ ง ข้ อ มู ล ทั้ ง ห ลั ก ฐ า น ล า ย ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ บุ ค ค ล
ทั้ ง มี ก า ร แ ส ด ง เ ห ตุ ผ ล วิ พ า ก ษ์ วิ จ า ร ณ์ อี ก ด้ ว ย
ซึง่ นับเป็ นสิง่ ทีน
่ กั เขียนทั่วไปไม่คอ ่ ยได้ทา แต่เสห์น่ของการประพันธ์ครัง้ นี้น้น ั
เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ที่ พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง เ ก็ บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ทุ ก ก ร ะ เ บี ย ด นิ้ ว
ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง เ มื อ ง ที่ เ ส ด็ จ ไ ป ห รื อ เ รื อ ที่ ป ร ะ ทั บ
ไม่วา่ จะเป็ นสิง่ ของต่างๆ ห้างร้านต่างๆ ท่านพรรณนาได้เห็นภาพมาก
อี ก แ ง่ ที่ ส า ม า ร ถ วิ พ า ก ย์ แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย ไ ด้ คื อ
ค ว า ม รู ้ ที่ จ า เ ป็ น ต้ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้
เ พ ร า ะ ถ้ า ห า ก อ ย า ก จ ะ อ่ า น อ ย่ า ง ตั้ ง ใ จ จ ริ ง แ ล้ ว นั้ น
ค ว า ม รู ้ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ข อ ง ผู้ อ่ า น นั้ น ต้ อ ง มี ค ว า ม แ น่ น จ ริ ง ๆ
เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่ของจดหมายเกีย่ วกับเรือ ่ งส่วนตัวของกษัตริย์และพระบ
ร ม ว ง ศ า นุ ว ง ศ์ ต่ า ง ๆ ไ ม่ แ ม้ ก ร ะ ทั่ ง เ รื่ อ ง ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ต่ า ง ๆ
แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ม า เ ป็ น ไ ป ข อ ง ก า ร เ ดิ น ท า ง นี้ ก็ ต า ม
จึ ง ขึ้ น ชื่ อ ไ ด้ ว่ า ห า ก ไ ม่ มี ค ว า ม ตั้ ง ใ จ อ่ า น ก็ จ ะ อ่ า น ไ ด้ ย า ก ม า ก
และอาจจะอ่านได้เข้าใจผิวเผินเท่านัน ้

หลักฐาน
หลัก ฐานที่ พ ระองค์ น ามาเปรี ย บเที ย บ และขัด แย้ ง กับ สิ่ ง ที่ เ ห็ น นั้น
ส่ ว น ใ ห ญ่ แ ล้ ว เ ป็ น สิ่ ง ที่ พ ร ะ อ ง ค์ ที่ ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร เ ห็ น ด้ ว ย ต น เ อ ง
ซึ่ ง ห า ก ต้ อ ง ม อ ง ภ า พ แ ล้ ว
จะมองภาพออกก็ ต่ อ เมื่ อ เคยเห็ น สภาพสัง คมในสย ามเมื่ อ ก่ อ น จ ริ ง ๆ
ถึงจะสามารถนึกภาพออกได้
ส่ ว น ใ น แ ง่ ข อ ง ก ล วิ ธี ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ข้ อ มู ล นั้ น
พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง พ ร ร ณ น า เ ป็ น ภ า ษ า เ ขี ย น ที่ ชั ด เ จ น ส ล ะ ส ล ว ย
แ ล ะ ใ ส่ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ต น เ อ ง ทั้ ง ใ น ฐ า น ะ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์
และการเป็ นสามัญชนคนธรรมดาทีเ่ ป็ นผูเ้ ดินทางไปต่างประเทศเท่านัน ้
หลัก ฐานที่ ส ามารถ น ามาแย้ ง หนั ง สื อ เล่ ม นี้ นั้ น ไม่ ค่ อ ย มี ป รากฏ
เนื่อ งจากเป็ นการพรรณนาในสิ่ง ที่พ บเห็ นและมี ก ารถ่ายรูป เป็ นหลัก ฐานว่า
ฉัน ได้ม าที่นี่ จ ริง ๆ ซึ่ ง ท าให้เ ป็ นการยากที่จ ะแย้ง ว่า เป็ นสิ่ง ที่ป ลอมแปลงมา
ห รื อ ว่ า เ ป็ น สิ่ ง ที่ ถู ก แ ต่ ง ขึ้ น ใ น ภ า ย ห ลั ง
โ ด ย ห ลั ก ฐ า น แ ย้ ง ใ น ส่ ว น ใ ห ญ่ นั้ น จ ะ เ กี่ ย ว กั บ ข้ อ มู ล ข อ ง ส ถ า น ที่
ที่ เ ป็ น ส่ ว น ข อ ง ห ลั ก ฐ า น ชั้ น ร อ ง ม า ก ก ว่ า
ซึง่ ท่านอาจจะได้รบ ั มาแบบผิดก็เป็ นไปได้

ความน่ าเชือ
่ ถือ
ความน่ าเชื่อถือของหนังสือเล่มนี้ น้น
ั เปรียบได้เป็ นทัง้ หลักฐานชัน
้ ต้น
้ รอง เนื่องจากเป็ นทัง้ การบันทึกเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นร่วมสมัย
และหลักฐานชัน
รวมถึงการบันทึก เรื่อ งที่บุ ค คลอื่นๆ เล่ามา ทัง้ ในรูป ร้อ ยแก้ว และร้อ ยกรอง
จึงทาให้เปรียบได้เป็ นทัง้ สองแบบ
โ ด ย ห า ก เ ที ย บ ก า ร ห ลั ก ฐ า น ชิ้ น อื่ น ใ น ส มั ย นั้ น แ ล้ ว
ค ว า ม น่ า เ ชื่ อ ถื อ ข อ ง ห นั ง สื อ นี้ นั้ น มี ม า ก พ อ ส ม ค ว ร
เนื่ อ งจากบางสิ่ง ที่ท่า นพรรณนาแล้ว นั้น ยัง คงเห็ น ได้ช ด ั เจนได้ใ นปัจ จุ บ น

แ ต่ ใ น บ า ง สิ่ ง ที่ เ ห็ น นั้ น อ า จ จ ะ ไ ม่ มี อ ยู่ จ ริ ง แ ล้ ว
แ ล ะ บ ว ก กั บ พ ร ะ ร า ช ด า ริ ข อ ง พ ร ะ อ ง ค์ ท่ า น
และอาจจะมีความผิดเพี้ยนไปบ้างตามกาลเวลา จึงลดความน่ าเชือ ่ ถือลงไป

จ า ก ศิ ล ป ะ ก า ร ป ร ะ พ น ธ์
และการใช้ภาษาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หวั ทีม ่ ีความหลากห
ล า ย ดั ง ก ล่ า ว
แสดงให้ เ ห็ น ว่ า พระองค์ ท รงเป็ นกษัต ริ ย์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ป กครองบ้ า นเมื องได้ ดี
เ พี ย ง อ ย่ า ง เ ดี ย ว
แต่พระองค์ยงั ทรงเป็ นกวีทม ี่ ีพระปรีชาสามารถถ่ายทอดเนือหาสาระทีห ่ ลากหล
า ย ม า ก ม า ย โ ด ย ใ ช้ วิ ธี ก า ร ต่ า ง ๆ อ ย่ า ง มี ศิ ล ป ะ
ท า ใ ห้ ผู้ อ่ า น เ พ ลิ ด เ พ ลิ น ไ ป กั บ เ นื้ อ ห า ไ ด้ ดี ถึ ง แ ม้ ว่ า เ นื้ อ ห า
ส่ ว น ม า ก จ ะ เ ป็ น ส า ร ะ ท า ง วิ ช า ก า ร ก็ ต า ม
อี ก ทั้ง ยัง สะท้ อ นถึ ง กลวิ ธี แ ละการใช้ ภ าษาที่เ ป็ น ลัก ษณะเฉพาะพระองค์
พระราชนิพนธ์รอ้ ยแก้วบันทึกประจาวันการเสด็จประพาสในประเทศของพระ
บ า ท ส ม เ ด็ จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หวั ชัเป็ นวรรณกรรมทีม ่ ีคุณค่าครบถ้วนทุกด้านและมีคว
ามน่ า สนใจชวนติด ตามเป็ นอยางยิ่ง สมเป็ นมรดกของชาติที่ส าคัญ ชุ ด หนึ่ ง
ทึค่ นไทยทุกคนควรภาคภูมใิ จ
อ้างอิง
ไกลบ้าน เล่มที่ 1. (2552). "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์
บดินทรเทพยมหามงกุฏฯ
บรมนาถบพิตร พระจุฬาลงกรณ์ เกล้าเจ้าอยูห
่ วั ”. กรุงเทพฯ : วิสดอม
พับลิชชิง่ .

You might also like