You are on page 1of 3

รายงานวิชา ว30293

สัมมนาทางวิทยาศาสตร์
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561

เรือ
่ ง
การประยุกต์ใช้ความสัมพันธ์เชิงเส้นแบบแบ่งช่วงใ
นการสร้างโมเดลและคาดการณ์ อป ุ สงค์การท่องเทีย่
วในเขตปกครองพิเศษมาเก๊า
สาธารณรัฐประชาชนจีน
(A piecewise linear approach to modeling
and forecasting demand for Macau
tourism)

นาเสนอสาขาวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคานวณ

โดย
นายวัชรพงษ์ วงษ์ แก้ว ชัน
้ ม. 6/8 เลขที่ 23
กลุม
่ ที่ 1 ลาดับที่ 6 หน้าที่ 2

………………………………………………………
(นายวัชรพงษ์ วงษ์ แก้ว)
ผูพ
้ ูดสัมมนา

วิชา ว30293 สัมมนาทางวิทยาศาสตร์


ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561
เรือ
่ ง
การประยุกต์ใช้ความสัมพันธ์เชิงเส้นแบบแบ่งช่วงในการสร้างโมเดลและคาด
การณ์ อุปสงค์การท่องเทีย่ วในเขตปกครองพิเศษมาเก๊า
สาธารณรัฐประชาชนจีน
(A piecewise linear approach to modeling and forecasting
demand for Macau tourism)

นาเสนอสาขาวิชา คณิตศาสตร์และวิทยาการคานวณ วันที่ 12 ธันวาคม 2561


โดย นายวัชรพงษ์ วงษ์ แก้ว ชัน
้ ม. 6/8 เลขที่ 23

บทคัดย่อ

ใ น บ ท ค ว า ม นี้
ผูเ้ ขียนสร้างและใช้ความสัมพันธ์เชิงเส้นแบบแบ่งช่วงเพือ ่ จาลองและคาดก
ารณ์ อุ ป สงค์ ก ารท่ อ งเที่ ย วในเขตปกครองพิ เ ศษมาเก๊ า เป็ นรายเดื อ น
ซึ่งอุปสงค์การท่องเทีย่ วในทีน ่ ี้ วดั จากจานวนนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางเข้ามาเ
ก๊ า โ ด ย ใ ช้ ข้ อ มู ล ใ น รู ป แ บ บ ช่ ว ง เ ดื อ น ม ก ร า ค ม พ . ศ . 2534
ถึ ง เ ดื อ น ธั น ว า ค ม พ . ศ . 2548
แ ล ะ อ นุ ก ร ม เ ว ล า ที่ ถู ก ป รั บ ใ ห้ เ ข้ า กั บ เ ข ต ป ก ค ร อ ง พิ เ ศ ษ ม า เ ก๊ า
ด้ ว ย ก า ร ใ ช้ ดั ช นี ฤ ดู ก า ล ที่ ค า น ว น ม า จ า ก ข้ อ มู ล ใ น แ ต่ ล ะ เ ดื อ น
ทั้ ง นี้ ผู้ เ ขี ย น ไ ด้ ท า ก า ร ต ร ว จ ส อ บ 4
ขอบเขตของการคาดการณ์ ระยะเวลาตั้ง แต่ 6 ถึ ง 24 เดื อ นล่ ว งหน้ า
โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม ค ล า ด เ ค ลื่ อ น เ ป อ ร์ เ ซ็ น ต์ เ ฉ ลี่ ย ( MPE)
แ ล ะ ค ว า ม ค ล า ด เ ค ลื่ อ น เ ฉ ลี่ ย ข อ ง ร า ก ที่ ส อ ง ( RMSE)
เ ป็ น เ ก ณ ฑ์ ส า ห รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง
ผลของการคาดการณ์ ของแบบจาลองเชิงเส้นแบบแบ่งช่วงนี้ จะถูกเปรียบเที
ยบกับ แบบจ าลอง 3 ชนิ ด ได้แ ก่ แ บบจ าลองแนวโน้ ม แบบอัต ถดถอย
กลุม่ ที่ 1 ลาดับที่ 6 หน้าที่ 2
(Autoregressive), แ บ บ จ า ล อ ง ARIMA ( Autoregressive
Integrated Moving average)
ห รื อ แ บ บ จ า ล อ ง อัต ถ ด ถ อ ย ต า ม ฤ ดู ก า ล ร่ ว ม กับ ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ค ลื่ อ น ที่
และแบบจาลอง ARFIMA (Autoregressive fractionally integrated
moving average) ซึ่ ง พ บ ว่ า แ บ บ จ า ล อ ง เ ชิ ง เ ส้ น แ บ บ เ ป็ น ช่ ว ง นี้
มี ค ว า ม แ ม่ น ย า ใ น ก า ร ค า ด ก า ร ณ์ สู ง ก ว่ า ทั้ ง 3
แบบจาลองทีไ่ ด้นามาทดสอบและเห็นการพัฒนาเข้าสูภ ่ าคปฏิบตั ไิ ด้อย่างมี
นัยสาคัญ

คาสาคัญ การคาดการณ์ , มาเก๊า, แบบจาลองเชิงเส้นแบบแบ่งช่วง,


อุปสงค์การท่องเทีย่ ว
________________________________________________
_______________________
เอกสารอ้างอิง
Chu, F. (2011). A piecewise linear approach to modeling and
forecasting demand
for Macau tourism. Tourism Management, 32(6), 1414-
1420.
doi:10.1016/j.tourman.2011.01.018

You might also like