You are on page 1of 3

1.

ทฤษฎีภเู ขาน้าแข็ง

ถ้าพูดถึงภูเขาน้าแข็ง น้องๆ หลายคนอาจจะนึกถึงหนังเรือ ่ งไททานิค


เพราะมีฉากทีส่ าคัญของเรือ ่ งเลย คือตอนทีเ่ รือไททานิคพุง่ เข้าชนภูเขาน้าแข็ง
ซึง่ เจ้าภูเขาน้าแข็งทีน ่ ้องๆ มองเห็นว่า ไม่ได้สงู ใหญ่อะไรมากมาย
แต่ทาไมสามารถทาให้เรือไททานิคล่มได้ ทัง้ ๆ ทีต ่ อนนัน
้ ได้รบั ขนานนามว่า
เป็ นเรือทีไ่ ม่มวี นั จม ก็เพราะจริงๆ แล้ว ส่วนทีน ่ ้องๆ
เห็นโผล่พน ้ น้าขึน ้ มาเป็ นภูเขาน้าแข็งนัน
้ คิดเป็ นเพียง 1 ใน 10 ส่วนเท่านัน ้ ค่ะ
ใต้มหาสมุทรนัน ้ ยังมีสว่ นทีใ่ หญ่กว่ามาก
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) บางคนอาจจะคุน ้ กับชือ ่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์
ได้ใช้รูปแบบทีเ่ รารูจ้ กั เกีย่ วกับภูเขาน้าแข็ง เปรียบเทียบกับคนว่า
จิตใต้สานึกของคนเราเหมือนกับภูเขาน้าแข็งส่วนทีอ่ ยูใ่ ต้น้า ซึง่ มีเยอะมาก
ทัง้ อารมณ์ และความรูส้ ก ึ ทีห่ ลากหลาย ซึง่ ต่างจากส่วนทีโ่ ผล่พน ้ น้า
ทีเ่ ป็ นส่วนอารมณ์ และความรูส้ ก ึ ทีเ่ รารูต
้ วั ค่ะ
โดยปกติแล้วเราจะไม่คอ่ ยใช้จต ิ ใต้สานึกแสดงออกมากนัก
แต่ถา้ เราเจอเหตุการณ์ ไม่คาดฝันทีท ่ าให้เกิด ความโกรธ ตกใจ ดีใจ ฯลฯ
เราก็อาจจะแสดงสิง่ ทีอ่ ยูภ ่ ายใต้จต ิ ใต้สานึกของเราโดยไม่รต ู ้ วั เปรียบเหมือนตอนทีค
่ ลืน
่ ต่างๆ
มากระทบภูเขาน้าแข็ง ก็จะทาให้ภเู ขาน้าแข็งเอียงไปตามแรงคลืน ่
และเผยให้เห็นส่วนทีอ่ ยูใ่ ต้น้าได้ เช่น เวลาทีเ่ ราตกใจแล้วทาหน้าแปลกๆ อุทานคาประหลาด
หรือเวลาทีเ่ ราดีใจแล้วกระโดดโลดเต้นแบบทีไ่ ม่เคยเป็ นมาก่อน
สิง่ ทีเ่ ราต้องระวังให้ดีก็คอ
ื อย่าให้จติ ใต้สานึกของเรามามีอท ิ ธิพลเหนือตัวเราได้คะ่
อย่าลืมมีสติอยูเ่ สมอ เพราะถ้าสิง่ ทีม ่ ากระทบน้องๆ ไม่ใช่ความตกใจ ไม่ใช่ความดีใจ
แต่คอื ความโกรธ ลองนึกดูวา่ ถ้าเพือ ่ นๆ มาแกล้งเรา หรือถ้าเป็ นวันทีเ่ ราผิดหวัง
จากผลการเรียน แล้วเราไม่มส ี ติเลย จิตใต้สานึกของเราทีแ่ สดงออกมา
อาจจะทาร้ายเรามากกว่าทีเ่ ราคิดก็ได้คะ่

2. ทฤษฎีการวางเงือ
่ นไข
เคยมีน้องๆ คนไหน ทีเ่ คยเดินหลงทางบ้างรึเปล่า เชือ ่ ว่าถ้าได้ลองหลงทางแต่ละครัง้
ต้องใช้เวลานานแน่ นอน แต่พอหาทางออกได้แล้ว ให้กลับมาหลงอีกรอบ
คราวนี้ก็สบายแล้วค่ะ แต่ทฤษฎีนี้งา่ ยกว่านัน
้ ค่ะ
เพราะเป็ นทฤษฎีทเี่ รียนรูม
้ าจากพฤติกรรมของหนูทหี่ วิ ตัวหนึ่ง
สกินเนอร์ (Skinner) ได้พฒ
ั นาทฤษฎีของตัวเอง (ทฤษฎีการวางเงือ
่ นไขแบบการกระทา)
มาจากทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
แต่เลือกมุมมองต่อวิธีการวางเงือ่ นไขให้แตกต่างกัน
โดยสกินเนอร์ได้พส ิ จู น์ทฤษฎีของตัวเอง ด้วยการทดลองกับหนู
โดยการใส่หนูทก ี่ าลังหิวเข้าไปในกล่องทีม ่ ก ี ลไกสาหรับการให้อาหาร ถ้าหนูไปแตะทีค ่ าน
จะมีอาหารหล่นลงมา 1 ชิน ้ ซึง่ ตอนแรกทีห ่ นูเข้าไปในกล่อง หนูก็ยงั วิง่ วนไปรอบๆ กล่องค่ะ
จนกระทั่งครัง้ หนึ่งทีห่ นูเผลอไปโดนคาน ทาให้อาหารหล่นลงมา หนูจงึ ได้กน ิ อาหาร
หลังจากทีส่ กินเนอร์ทาแบบนี้ซา้ ๆ
ก็พบว่าหนูสามารถวิง่ ตรงไปทีค ่ านทันทีทจี่ บั หนูใส่กล่องได้เลย พฤติกรรมนี้ทาให้พบว่า
หนูเกิดการเรียนรูแ ้ ล้ว
ทฤษฎีของสกินเนอร์ถูกนามาใช้เป็ นต้นแบบของการเรียนการสอน
รวมไปถึงชีวต ิ ประจาวันมากมาย เช่น การชมเมือ่ ใครสักคนทาดี ก็จะทาให้คนๆ นั้น
มีกาลังใจทีจ่ ะทาดีตอ ่ ไปเรือ
่ ยๆ หรือการเก็บสแตมป์แลกรับของรางวัลจากร้านค้า
สิง่ เหล่านี้ทาให้เราสามารถแสดงพฤติกรรมทีผ ่ วู้ างเงือ
่ นไขต้องการได้ เช่น
ทาให้เราต้องซื้อของเพือ ่ ได้รบั สแตมป์ หรือถ้าเราเจอเงือ ่ นไขว่า
ถ้าตัง้ ใจเรียนแล้วจะได้รางวัล ก็จะทาให้เราตัง้ ใจเรียน เพือ ่ ให้ได้รบั รางวัลค่ะ

3. ทฤษฎีหมวก 6 ใบ
ถ้าถามว่าในแต่ละวัน มีกจิ กรรมไหนทีเ่ ราทามากพอเทียบเท่ากับการหายใจ
พีอ
่ ฟ ่ ว่าคงเป็ น การคิด แน่ นอน ซึง่ ทุกสิง่ ทีเ่ ราแสดงออก ไม่วา่ จะเป็ นการพูด การเดิน
ี เชือ
การวิง่ ล้วนมาจากการคิดก่อนทัง้ นัน ้ อาจจะไม่ยากค่ะ ถ้าสิง่ ทีเ่ ราคิดเป็ นเรือ่ งของเราเอง
แต่ถา้ หากเป็ นการทางานร่วมกันล่ะคะ ต้องมีความคิดมากมายแน่ นอนในการทางาน
และคงดีถา้ ทุกคนมองเรือ่ งเดียวกัน แบบเข้าใจตรงกัน
ดร. เอ็ดเวิร์ด เดอ โบ โน (Dr. Edward de Bono) ได้เสนอวิธีคด
ิ แบบหมวก 6 ใบ (Six
Thinking Hats) โดยให้หมวกสีตา ่ งๆ แทนลักษณะการคิดทีแ ่ ตกต่างกัน ดังนี้
- หมวกสีขาวแสดงถึงความเป็ นกลาง เช่น ข้อมูล ตัวเลข ถ้าการคิดร่วมกันในทีม
แล้วทุกคนสวมหมวกใบนี้ แสดงว่าต้องการข้อเท็จจริง ไม่ใช่ขอ้ คิดเห็น
- หมวกสีแดงแสดงถึงความรูส้ ก
ึ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดี ไม่ดี ถ้าการคิดร่วมกันในทีม
แล้วทุกคนสวมหมวกใบนี้ แสดงว่าเราสามารถบอกความรูส้ ก ึ และข้อคิดเห็นของเราได้เต็มที่
- หมวกสีเหลือง
แสดงถึงความคิดทีม่ ป
ี ระโยชน์ เช่น จุดเด่น ข้อดี ถ้าการคิดร่วมกันในทีม
แล้วทุกคนสวมหมวกใบนี้ แสดงว่าต้องการความคิดสาหรับการแก้ปญ ั หา
การหาทางเลือกอย่างเหมาะสม
- หมวกสีดาแสดงถึงการปฏิเสธ หรือความคิดทีร่ ะมัดระวัง เช่น จุดด้อย
ความเหมาะสมในการทา ถ้าการคิดร่วมกันในทีม แล้วทุกคนสวมหมวกใบนี้
แสดงว่าทุกคนสามารถพูดถึงจุดด้อย อุปสรรค หรือความระมัดระวังในการทางานได้
- หมวกสีเขียว แสดงถึงโอกาส ความคิดใหม่ๆ หรือสิง่ ทีเ่ ป็ นประโยชน์
ถ้าการคิดร่วมกันในทีม แล้วทุกคนสวมหมวกใบนี้ แสดงว่าต้องการความคิดใหม่ๆ
หรือความคิดสร้างสรรค์ หรือการหาทางออกของอุปสรรคการทางานค่ะ
- หมวกสีน้าเงิน
หรือหมวกสีฟ้า แสดงถึงการคิดแบบมีระเบียบ จัดระเบียบความคิด
วางแผนการทางาน ถ้าการคิดร่วมกันในทีม แล้วทุกคนสวมหมวกใบนี้
แสดงว่าต้องการการคิดเพือ
่ ให้เกิดความชัดเจน คิดรวบยอด มีขอ
้ สรุป และยุตข
ิ อ
้ ขัดแย้ง
ลองหยิบวิธีคด ิ นี้ไปใช้กบั การทางานได้ทก
ุ อย่างเลยนะคะ
ไม่วา่ จะเป็ นงานเดีย่ วของเราเอง ทีส่ ามารถสวมหมวก 6 ใบสลับกันไปมาได้
หรือจะเป็ นงานกลุม ่ ทีล่ องให้เพือ่ นๆ ทุกคน สวมหมวกแต่ละใบไปพร้อมๆ กัน
รับรองว่าการทางานของน้องๆ ในครัง้ ต่อไป
ต้องราบรืน ่ และได้งานทีม ่ ป
ี ระสิทธิภาพแน่ นอนค่ะ

You might also like