You are on page 1of 27

การปกครองสมัย

จอมพล ป. พิบูล
สงครามครงที ้ั ่ 1
กับช่วงการ

เปลียนแปลง
น.ส. ปุระหว่
ณยพร อภิาธงเกิ
นวิทยด์ ม.6/8 เลขที่ 7
น.ส. ภัทรลภา แซ่เอียบ ม.6/8
สงครามโลกคร ้ั ่ ่
งที เลขที ่9
นาย วัชรพงษ ์ วงษ ์แก ้ว ม.6/8 เลขที 23
2
1
ดารงตาแหน่ ง 14 ปี 11 เดือน 18 วัน (8 สมัย

เน้นพัฒนาประเทศไทยให ้มีความ
เจริญรุง่ เรืองทัดเทียมนานา
อารยประเทศ
ปลุกระดมให ้คนไทยรู ้สึกร ักชาติ

เปลียนชื ่ “ประเทศสยาม” เป็ น “ประเทศไท

มพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม
(14/7/2440-11/6/2507)

2
่ น
“เชือผู ้ าชาติพน
้ ภัย” “ท่านผู น
้ าไปไหนฉัน
“ไทยอยู ่คูฟ
่ ้ า” ไปด้วย”
3

ได ้ร ับยศร ้อยตรีและเข ้าประจาการทีกอง
19 ปี พลที่ 7 จังหวัดพิษณุโลก

เดินทางไปศึกษาต่อทีโรงเรี
ยนเสนาธิการทหารบก
่ั
ประเทศฝรงเศส ้ ง
และโรงเรียนทหารขันสู
ประเทศอิตาลี

24 มิถน
ุ ายน พ.ศ. 2475 เข ้าร่วมกับคณะราษฎร

พ.ศ. 2477 ่
ท่านได ้เลือนยศเป็ นพันเอกและดารงตาแหน่ งรอง
ผู บ
้ ญ
ั ชาการทหารบก

4
เข ้าดารงตาแหน่ งนายกร ัฐมนตรี
16 ธ ันวาคม พ.ศ. 2481 ในช่วงทีด่ ารงตาแหน่ งก็ได ้เลือนยศเป็
่ นพลตรี

28 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 ่ั


กองทัพไทยมีชยั ชนะต่ออินโดจีนฝรงเศส
พระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากา

์ “จอมพลแปลก พิบูลสงคราม”
ร ัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศ ักดิไทย

5
่ นที่ 16 ธ ันวาคม พ.ศ.
ดารงตาแหน่ งนายกร ัฐมนตรีเมือวั
2481 โดยการลงมติของสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร

นโยบายสร ้างชาติ มีแนวโน้มไปทางลัทธิชาตินิยม


• “ไทยทา ไทยใช้ ไทยเจริญ”
• ปลูกฝังให ้ใช ้สินค ้าไทย
• ออกกฎหมายคุ ้มครองอุตสาหกรรมใน
ประเทศ
• มีการงสวนอาชีพให ้คนไทยโดยเฉพาะ

6

มีการเปลียนแปลงว ัฒนธรรมประเพณี บางอย่าง

• ข ้าราชการเลิกนุ่ งผ้าม่วงและเลิกสวมเสือ้
ราชปะแตน และให ้ใส่กางเกงขายาว

• เปลียนชื ่
อประเทศจาก “สยาม” เป็ น
“ไทย”

• เปลียนวั ้ ใหม่เป็ นว ันที่ 1 มกราคม
นขึนปี
ตามแบบสากลแทน
• ยกเลิกการใส่โจงกระเบนและผ้าซิน ่ มาใส่
กระโปรงหรือผ้าถุงและกางเกงแทน

7
มีการประกาศร ัฐนิ ยมฉบับต่างๆ โดยเป็ นระเบียบการดาเนิ นชีวต

่ ้ประเทศไทยเป็ นอารยประเทศ โดยจัดตังสภาว
เพือให ้ ัฒนธรรม
ึ้ อ
แห่งชาติขนเมื ่ พ.ศ. 2485

• ห ้ามประชาชนเคียวหมาก
• ให ้สวมหมวก สวมรองเท ้า
• ไม่สง่ เสริมศิลปะและดนตรีไทยเดิม
• ส่งเสริมศิลปะและดนตรีสากลมากกว่า
• มีการใช ้คาแทนชือ่ เช่น ฉัน เรา

8

มีนโยบายให ้ประชาชนเปลียนชื ่
อให้เข้ากบ
ั เพศสภาพของตน

รวมถึงสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ ้า
เอง ก็ถก ่
ู ขอให ้ทรงเปลียนพระนาม
“สว่จาก
าง
ว ัฒนา”
เนื่ องจากเห็ นว่าพระนาม “สว่าง
วัฒนา” สมควรเป็ นชือผู ่ ช
้ าย

9
มีการรบระหว่างประเทศไทย
่ั
และฝรงเศสเนื ่ องจากความขัดแย ้ง

เรืองการใช้ แม่น้ าโขงเป็ นเส้นแบ่ง
พรมแดน ระหว่างไทยกับอินโดจีน ซึง่
อยูใ่ นครอบครองฝรงเศส ่ั ่ั
โดยฝรงเศสไม่

ยอมตกลงเรืองการใช ้ กเป็ นเส ้น
้ร่องนาลึ
เขตแดน
จากการลงอนุ สญ ั ญาโตเกียว
่ ปุ่่ นเข ้ามาเสนอตัวไกล่เกลียให
ทีญี ่ ้ ทาให ้
ไทยได ้ดินแดนฝั่งขวาแม่นาโขงคื ้ น

10
จังหวัดพิบูลสงคราม เป็ น 1 ใน 4

จังหวัดทีประเทศไทยได ้ดินแดนคืนจาก
่ั
ฝรงเศสในช่ วง พ.ศ. 2484 พืนที ้ ของ

้ มอยูใ่ นมณฑลบูรพาในสมัย
จังหวัดนี เดิ
ร ัชกาลที่ 5 และตกอยูภ ่ ายใต ้ความ
ปกครองของฝรงเศสเมื ่ั ่ พ.ศ. 2450
อปี
่ งหวัดพิบูลสงครามนี ตั
ชือจั ้ นเพื
้ งขึ ้ อ่
เป็ นเกียรติแก่จอมพลแปลก พิบูล 11

้ั สอง
ในช่วงสงครามโลกครงที ่
หลั ง จากกรณี พิ พ าทอิ นโดจี น จอม
พล.ป ไดป้ ระกาศใหป้ ระเทศไทยดารงสถานะ
เป็ นกลางไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดจนกระทั่งญีปุ่่ นทา
การยกพลขึนบกเพื ้ ่
อขอทางผ่ านไปโจมตีพม่า
แ ล ะ ม า เ ล เ ซี ย จ อ ม พ ล ป . ใ น ฐ า น ะ
นายกรฐั มนตรีไทยจึงประกาศเป็ นพันธมิตรกับ
ญีปุ่่ นและเข ้าร่วมฝ่ ายอักษะ
ในระหว่ า งสงครามจอมพล ป. ได ท ้ า
การตกลงช่วยเหลือญีปุ่่ นด้านการรบ โดย
ั จัง หวัด มาลัย อี ก ทั้งได ส
ประเทศไทยได ร้ บ ้ ่ง
กองทัพ พายัพ เข า้ ดิน แดนบางส่ ว นของพม่ า 12
หลังสงครามโลกสงบ

หลัง สงครามโลกสงบแล ว้ ท่ า นต อ้ งติด คุ ก ระหว่ า งการถู กไต่ ส วนในฐานะ


อาชญากรสงครามอยู่ระยะหนึ่ งตามพระราชบัญญัตอ ิ าชญากรรมสงครามทีร่ ฐั บาล
ไทยประกาศใช ้เป็ นกฎหมายหลังสงครามโลก อย่างไรก็ดี ศาลไทยไดพ ้ ิจ ารณาเห็ น
ว่า “กฎหมายย่อมไม่มผ ี ลย้อนหลัง” จึงปล่อยตัวท่านเป็ นอิสระ หลังจากนั้นท่าน
ก็ได ้ประกาศยุตบ ้
ิ ทบาททางการเมืองทังหมด
จอมพล ป. พิบูลสงครามกลับมาเรืองอานาจอีกครงหลั ้ั งพน้ คดี “อาชญากร

สงคราม” ระหว่างทีตนเป็ นรฐั บาลในสมัยสงครามโลกครงที้ั ่ 2 การหวนคืนอานาจ
ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม หลังสงครามโลกครงที้ั ่ 2 ในปี 2491

13
การปฏิว ัติเช้าตรู ว่ ันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490

คณะร ัฐประหารนาโดย “จอม


พลผิน ชุณหะวัณ” “นาวาอากาศเอก
หลวงกาจสงคราม เก่งระดมยิง ” จอมพล
ป. ที่ปรึก ษา และผู บ ้ งั คับ กองพัน หลาย
นาย ยึดอานาจจากร ัฐบาล “พล.ร.ต.
ถวล ั ย ์ ธารงนาวาสวส ั ดิ”์ และ “นาย
ปรีด ี พนมยงค ์” โดยกองกาลังของกลุ่ม
ปฏิวต ั ิพุ่ ง ตรงไปยังบ า้ นพัก ของนายปรีดี
พนมยงค ์ เพื่อจับ กุ ม ตัว แต่ น ายป รีดีไ ด ้
หนี ล งเรือ จ า้ งเข า้ คลองบางหลวงและใน
่ ดได ้ลีภั
ทีสุ ้ ยไปอยูต่ า่ งประเทศ
14
วันที่ 20 มกราคม 2491 มี
การเลือ กตังทั ้ ่ วไปและใน
วันที่ 21 กุมพาพันธ ์ 2491
“นายควง อภัยวงศ ์” ได ้รบั
ก ลั บ ม า ด า ร ง ต า แ ห น่ ง
นายกรฐั มนตรีอก ี ครง้ั แต่
นายควงอยู่ ใ นอ านาจได ้
เ พี ย ง เ ดื อ น เ ศ ษ ค ณ ะ
ร ฐั ประหารยื่ นค าขาดให ้
นายควงลาออกจาก
เมื ่อจอมพล
ต าแหน่ งนายกรป.พิบฐั ู ลมนตรี ้ั ค
สงคราม คุม อ านาจเบ็ ด เสร็จ อีก คร งได ้ วบต าแหน่ งร ฐั มนตรีว่า การ
มหาดไทยและเลื
เสีย ่
อนยศให ่ การช่วงชิงอานาจ แต่ทหารเอกของจอม
้ ยุคจอมพล ป. เป็ นยุคทีมี
พล ป. พิบูลสงคราม คือ “พล.ต.ต.เผ่า” และ “พล.ต.สฤษดิ”์
15
ขบถเสนาธิการ
• 1 ตุลาคม 2491 เวลา 20.00 น. เกิดขบถจากนายทหารส่วนใหญ่เป็ นอาจารย ์ใน
่ พอใจเนื่ องจากมีการแต่งตังโยกย้
โรงเรียนเสนาธิการทหารทีไม่ ้ ายนายทหาร
ตอบแทนผู เ้ ข้าร่วมร ัฐประหาร
• มีการวางแผนสังหารกลุม ่ ผูน้ าแบบถอนรากถอนโคนในทาเนี ยบรฐั บาล โดยกบฏ
้ั ถู
ครงนี ้ กร ัฐบาลจอมพล ป. ซ ้อนแผนปราบปรามอย่างราบคาบ
้ อหากบฏแบ่งแยกดินแดน
ตังข้
• ต ้นเดือนพฤศจิกายน ปี เดียวกันรัฐบาลจอมพล ป.ได ้จับกุมพลเรือนนักการเมือง
สายเสรีไทยในข ้อหา “กบฏแบ่งแยกดินแดน” ในขณะจับกุมตัวทางจอมพล ป.
ได ้ปราศร ัยทางวิทยุปลุกระดมหาความชอบธรรมในการจับกุมพลเรือนและ
นักการเมืองในครงนี้ั ว่้ า ขณะนี มี
้ ผูไ้ ม่หว ังดีตอ ่
่ ชาติบา้ นเมือง สมคิดก ันเพือ
กบฏ
16
กบฏวังหลวง
• วันที่ 23 กุมพาพันธ ์ 2492 ได ้มี
นายทหารได้นารถถังออกมา
6 คัน พร ้อมอาวุธครบมือมา
ทาเนี ยบร ัฐบาล แต่
“พล.ต.สฤษดิ ์ ธนะร ัชต ์” ทราบ

การเคลือนไหวนี ้ ยก่อน
เสี
“พล.ต.ต. เผ่า ศรียานนท ์” ไม่รอ
ช ้า ออกทาการกวาดล ้างทันที สืบ
ลึกเข ้าไปกลายเป็ นว่าเป็ นกบฏ
ใหญ่นายทหารและพลเรือนร่วม
วางแผนยึดอานาจ ข่าวลึกๆ เชือ ่
ว่ามีเสรีไทยและ “นายปรีด ี

พนมยงค ์” อยู ่เบืองหลั ง
17
คืนสังหารโหด 4 อดีตร ัฐมนตรี
• คนทัง้ 4 ทีถู
่ กจับกุมเคยเป็ นร ัฐมนตรีใน
สมัยก่อนๆ ทราบกันว่าเป็ นสายเสรีไทย
สนิ ทกับ “นายปรีดี พนมยงค ์” และตาย
่ า
อย่างมีเงือนง
• วันที่ 4 มีนาคม 2592 รถตารวจ 3 คัน
เบิกผูต้ ้องหาทัง้ 4 ไปสอบสวนระหว่าง
เดินทางเสียงปื นดังแผดคารามขึน ้
หลายนัด แล ้วผูต้ ้องหาการเมืองทัง้ 4 ก็

ดับดินตรงนั ้น ทุกศพมีรอยกระสุนคนละ
หลายนัดบอกกันว่าโจรมลายูเข ้าชิงตัว
ผูต้ ้องหา แต่เจ้าหน้าทีต่ ารวจลู กน้อง
เผ่าปลอดภัยทุกคน

18
เหตุชว
่ ง 2493
• วันที่ 22 พฤศจิกายน 2493 วางแผนจับนายทหารชันผู ้ ใ้ หญ่ในสนามกีฬา

แห่งชาติ ขณะมีการแข่งขันร ักบีระหว่
างทีมกองทัพบกกับทีมกองทัพเรือ
• 22 ตุลาคม 2493 คิดคุมตัวจอมพล ป. ในพิธส ี ง่ ทหารไปเกาหลี

เหตุชว
่ ง 2494
• ต ้นปี พ.ศ. 2494 คิดทาการอีก โดยจะมีการแจกเข็มเสนาธิปัตย ์ มีจอมพล ป.
เป็ นประธาน ทหารบางส่วนทีตกลงกั ่ ่
นไว ้ไม่กล ้าเคลือนออกมา
• กลุม ่ ทหารเรือหนุ่ มกาหนดวันที่ 26 มิถน ุ ายน 2494 จะบุกควบคุมนายทหารชัน้
ี่ าเนี ยบและจูโ่ จมยึดวังปารุสกวัน ครงถึ
ผูใ้ หญ่ทท ้ั งกาหนด นาวิกโยธิน 2 หน่ วยไม่

สามารถเคลือนพลได ้
19
กบฏแมนฮัตตัน (จับจอมพล ป.บนเรือแมนฮัต
ตัน)
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2494 จอมพล ป. จะทาพิธ ี
รบ ั เรือ มอบเรือ ขุ ด แมนฮัด ตัน โดยจาก

อเมริก ามอบให ้ โดยจอมพล ป. ก็ ขึนไปชมเรื อ
หลัง จากนั้ นมีก ารควบคุม นายกร ฐั มนตรีไ ปขึน้
เรือ รบหลวงอยุ ธ ยา แล ว้ เล่ นไปตามล าน้ าถึ ง
มหาวิ ท ยาลัย ธรรมศาสตร ์ ฝ่ ายร ฐ ั บาลได้
ปฏิเสธข้อเรียกรอ้ งของผู ก ้ ่อการ เรียกรอ้ ง
ให้มอบตัวและส่งจอมพล ป. คืนอย่างไม่ ม ี
เงื่ อนไข โดยยื่นค าขาดให จ้ านนในตอนรุง่ เช ้า
มิ ฉ ะนั้ นจะใช ก
้ าลั ง ปราบปรามอย่ า งรุ น แรง
สุ ด ท้า ย ร ฐั บาลปราบปราม 20
กบฎ 10 พ.ย. 2495 หรือกบฏสันติภาพ
ร ัฐบาลเรียกร ้องให ้ประชาชนอยู่ในความสงบ
ทางวิทยุกระจายเสียง ร ัฐบาลได ้ดาเนิ นการ
กวาดล ้างจับกุมนัดคิด นักเขียน
นักหนังสือพิมพ ์เป็ นจานวนมาก ในข้อหา
กบฏ
ี่ กจับกุมคุมขังจานวนหนึ่ งเป็ น
เนื่ องเพราะผูท้ ถู
สมาชิกคณะกรรมการสันติภาพแห่งประเทศ
ไทย ซึงก่่ อตังเมื
้ อวั ่ นที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2494
ตงขึ้ั นเพื
้ ่ อต้านสงครามในคาบสมุทร
อต่
เกาหลี ต่อต ้านร ัฐบาลสหร ัฐอเมริกาซึง่
สนับสนุ นสงครามเกาหลี และเรียกร ้องให ้ร ัฐบาล
ไทยถอนตัวจากสงครามเกาหลี
21
การสังหารครู เตียง สิรข
ิ น
ั ธ์
• นายเตียงได ้ไปเรียนต่อระดับครู ป.ม. ทีจุ่ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและไปเป็ นครู

สอนทีโรงเรียนหอวังระยะหนึ่ ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2481 ครูเตียงได ้กลับไปสมัคร
่ งหวัดสกลนคร โดยมี “ครูครอง จันดาวงศ ์” ช่วยวิงเต
ส.ส.ทีจั ่ ้นหาเสียงให ้ด ้วยจน
ชนะคะแนน “หลวงวรนิ ตป ้
ิ รีชา” ส.ส.แต่งตังคนเดิ ม
• ในปี 2497 “นายเตียง ศิรข ิ น
ั ธ ์” ส.ส. สกลนคร หัวหน้าเสรีไทยภาคอีสานพร ้อม

คนขับรถถูกจับไปสังหารโหดทีกลางป่ าจังหวัดกาญจนบุร ี

22
้ มี
การเลือกตังที ่ การโกงครงมโหฬาร
้ั
ปี 2500 มีการเลือกตังทั ้ วไปในวั
่ นที่ 26 กุม
พาพันธ ์ 2500 ปรากฏว่าการเลือกตัง้
เป็ นไปอย่างไม่บริสุทธิยุ์ ตธ ิ รรม มีการใช ้
อุบายต่างๆ เช่น การเวียนเทียนลงบัตร การ
้ ่ นป่ วนไปทั่ว ทุ ล ก
ทุ จ ริต การเลือ กตังปั ั ทุ เ ล
อึมครึม มีการใช ้อานาจร ัฐเต็มที่
ประชาชนและนั กศึกษาทีร่ กั ประชาธิปไตย
พ ย า ย า ม ต่ อ สู ้ แ ต่ ก็ มี อ ั น ธ พ า ล ท า ง
การเมื อ งเข้า รุ มซ อ ้ ม ให ป ้ ระชาช น
บาดเจ็ บมากมาย ขณะเตรียมจัดตังร ้ ฐั บาล
ประชาชนนั ก ศึก ษาออกมาเคลื่อนไหวและ 23
ประชาชนเดินขบวนไล่ร ัฐบาลจอมพล ป. พิบูล
สงคราม
ประชาชนเริมเดิ ่ น ขบวนจน ในที่สุ ด
จอมพล ป. ได ้ประกาศภาวะฉุ กเฉิ นใน
วันที่ 2 มีนาคม 2500 ห้ามชุมนุ ม
ใ น ที่ ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ห้ า ม พิ ม พ ์
โ ฆ ษ ณ า เ กี่ ย ว ก ั บ ก า ร เ มื อ ง
นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์ทา
หนั ง สือ เรีย กร อ้ งให ผ้ ู แ้ ทนฯ ลาออก
จ า ก ต า แ ห น่ ง นิ สิ ต จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์
มหาวิทยาลัยประทว้ งด ้วยการลดธงลง

ครึงเสา นั ก ศึก ษาทัง้ 2 แห่ ง กับ
ป ร ะ ช า ช น ต่ า งลุ กฮื อ บุ กเ ข้ า สู ่ 24
การประท้วงไล่ร ัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม
จอมพล ป. นายกรฐั มนตรี แต่งตังให ้ ้ จอม
พลสฤษดิ ์ เป็ นผูป้ ราบปรามการชุมนุ ม แต่
เมื่ อฝู ง ชนเดิ น ทางมาถึ ง สะพานมัฆ วาน
ร งั สรรค แ์ ล ว้ จอมพลสฤษดิกลั ์ บ เป็ นผู น ้ า
เดินขบวน ข ้ามสะพานมัฆวานรงั สรรค ์ โดย
ก ล่ า ว ว่ า ท ห า ร จ ะ ไ ม่ มี ว ั น ท า ร ้า ย
ประชาชน
ฝ่ ายจอมพลสฤษดิ ์ ได ส้ ร ้างความนิ ย มขึน ้
อย่ า งมากในหมู่ ป ระชาชน แต่ ก็ ถือ ว่ า ท้า

่ทายอานาจจอมพล ป. จอมพลสฤษดิยั์ ง
“แล้วพบกันใหม่ เมือชาติตอ
ได ป ้ งการ ้ ”า้ ยโดย
้ ระกาศด ว้ ยตนเองเป็ นนั ย ทิงท

25
การถึงแก่อสัญกรรม
จอมพล ป. พิบูลสงคราม

ถึงแก่อสัญกรรม เมือวันที ่
11 มิถนุ ายน พ.ศ. 2507 ใน
เวลาประมาณ 20.30 น. ณ
บ้านพักส่วนตัว ชาน
กรุ งโตเกียว สิรอ
ร่างจอมพล ิ ป.
ายุได้ ได้
66มปีพี ธ
ิ ฌี าปนกิจขึนที้ ประเทศญี
่ ปุ่่ น

ก่อนทีจะมี การนาอ ัฐิกลับคืนสู ่ประเทศไทยในวันที่ 27
มิถนุ ายน ปี เดียวกัน โดยมีพธ ิ รี ับอย่างสมเกียรติจากทัง้ 3
เหล่าทัพ
26
บรรณานุ กรม

สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. “จอมพล ป.


พิบูลสงคราม”
่ http://library.tru.ac.th/inlop/lppep/339-
[ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา
lppe0403.html
มกราคม
(16 2557.
No-face. “ย้2562) ่
อนอดีตยุค จอมพล ป. พิบูลสงคราม.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา
https://lonesomebabe.wordpress.com/2014/04/30/ (16 มกราคม 2562)

ดนัย ไชยโยธา. 2550. “ประวัติศาสตร ์ไทย : ธนบุร ี ถึง ร ัตนโกสินทร ์”

27

You might also like